05.08.2018 Views

No Title for this magazine

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

การบริหารยาฉีด


สู ้ว้อยยยย!!!!!


แนวปฏิบัติการบริหารยาฉีด<br />

• 1. อ่านค าสั่งการรักษาของแพทย์อย่างระมัดระวัง หากมีข้อสงสัยควรตรวจสอบก่อน<br />

• 2. ตรวจสอบค าสั่งการรักษาของแพทย์กับใบบันทึกการบริหารยา<br />

• 3. อ่านเอกสารแนบ เอกสารแนบจะอยู่ในกล่องยาซึ ่งมีรายละเอียดเกี่ยวกับการยาที่ ผู้เตรียมยาควร<br />

ทราบ เช่น ชื่อทางการค้าของยา ชื่อสามัญของยา ปริมาณยาใน 1 ขวด ทางที่ให้ วิธีการเตรียมยา<br />

วันหมดอายุของยา วันหมดอายุของยาหลังผสม การเก็บรักษายา ข้อห้ามใช้ ข้อควรระวัง อาการไม่<br />

พึงประสงค์จากการใช้ยา ปฏิกิริยาระหว่างกันของยา เป็ นต้น<br />

• 4. ปฏิบัติตามหลัก 10 R ในบริหารยาฉีดอย่างเคร่งครัด<br />

• 5. ผู้เตรียมยากับผู้ฉีดยาต้องเป็ นคนเดียวกัน


แนวปฏิบัติการบริหารยาฉีด<br />

6. การเตรียมอุปกรณ์เหมาะสมกับทางที่ให้ยา อายุผู้ป่ วย ขนาดยา และความหนืดของยา<br />

7. การวัดต าแหน่งฉีดถูกต้อง<br />

8. การตรวจสอบสภาพผิวหนัง การเตรียมผิวหนัง และองศาของการปักเข็มให้ถูกต้อง<br />

9. การปฏิบัติทุกขั ้นตอนตั ้งแต่เริ่มเตรียมยาจนเสร็จสิ้นการฉีดยาต้องกระท าโดยยึด หลักการคง<br />

ความปราศจากเชื ้ออย่างเคร่งครัด เพื่อป้องกันการน าเชื ้อโรคเข้าสู่ร่างกายผู้ป่ วย<br />

10. การอ่านชื่อยาจากขวดยา/ หลอดยา ต้องอ่านอย่างน้อย 3 ครั ้ง คือ ก่อนหยิบขวดยา ขณะเตรียมยา<br />

และเมื่อเตรียมยาเสร็จเรียบร้อย


NEE<br />

DLE


SYRIN<br />

GE


การเลือกขนาดของ NEEDLE และ SYRINGE<br />

Intradermal , ID 26 G 26 G 1 ml. / tuberculin<br />

Subcutaneous, SQ<br />

25-27 G<br />

3/8 – 5/8 นิ้ว<br />

25-27 G 1 ml.<br />

Intramuscular, IM 21-25 G 25 G Adult 2-5 ml.<br />

Child 1 ml.


ขวดบรรจุยาตามค าสั่งการรักษา (ชนิดขวดยาหรือหลอดยา)<br />

AMPULE / VIAL


วิธีการหัก AMPULE ยา


อุปกรณ์ที่ใช้ในการฉีดยา


วิธีการฉีดยา<br />

1. ล้างมือให้สะอาด เช็ดให้แห้ง<br />

2. การปฏิบัติทุกขั ้นตอนให้ค านึงถึงวิธีปราศจากเชื ้อ<br />

3. เตรียมยาที่จะฉีด โดยดูดยาเข้ากระบอกฉีดยา ไล่ฟองอากาศออกจนหมด เปลี่ยนเข็มฉีดยา<br />

4. เลือกบริเวณที่จะฉีดยา ได้แก่ ต้นแขนด้านนอก ต้นขาด้านหน้า หน้าท้อง เลือกบริเวณที่ไม่มีผื่นแผล อักเสบ และ<br />

บริเวณส่วนนูนของกระดูก<br />

5. ในกรณีที่เป็ นเด็กเล็ก ให้ผู้ช่วยจับหรือท าการห่อตัวเด็กให้อยู่นิ่ง<br />

6. ท าความสะอาดผิวหนังด้วยยาฆ่าเชื ้อ รอให้แห้ง<br />

7. แทงเข็มให้เร็ว การท ามุมขึ ้นกับความหนาของไขมันใต้ชั ้นผิวหนัง อาจยกผิวหนังและชั ้นใต้ผิวหนังขึ ้นเพื่อ<br />

หลีกเลี่ยงการฉีดลึกเข้าไปในชั ้นกล้ามเนื ้อ ดูดตรวจสอบว่าได้เลือดหรือไม่ ถ้าได้เลือดให้ดึงเข็มออก แล้วเริ่มต้น<br />

ใหม่<br />

8. ถ้าไม่มีเลือด ให้ฉีดยาช้าๆ ดึงเข็มออก<br />

9. กดนวดเบาๆ บริเวณที่ฉีด<br />

10. ล้างมือ


ทางที่ฉีดยา<br />

การฉีดยาเข้าสู่ร่างกายที่อยู่ในบทบาทหน้าที่ มีด้วยกัน 4 ทาง ได้แก่<br />

• การฉีดยา เข้าชั ้นผิวหนัง (intradermal injection; ID)<br />

• การฉีดยาเข้าชั ้นใต้ผิวหนัง (subcutaneous injections; SQ)<br />

• การฉีดยาเข้าชั ้นกล้ามเนื ้อ (intramuscular injection; IM)


การฉีดวัคซีนเข้าในผิวหนัง (INTRADERMAL)<br />

• การฉีดยาเข้าชั ้นผิวหนัง เป็ นการฉีดยาผ่านเข้าไปเพียงแค่ในหนังเท่านั ้น<br />

• ใช้ส าหรับการทดสอบการแพ้ (skin testing) เช่น allergy tests, tuberculin screening เป็ นต้น<br />

• สารหรือยาที่ฉีดเข้าชั ้นผิวหนังใช้ปริมาณเล็กน้อย (0.02 mL)<br />

• เทคนิคการฉีดควรดึงหนังบริเวณที่ฉีดให้ตึง ค่อย ๆ แทงเข็มลงไปท ามุมประมาณ 15 องศา แล้วดัน<br />

วัคซีนเข้าไป<br />

• ถ้าเทคนิคถูกต้องจะเห็นว่าเมื่อดันวัคซีนเข้าไปจะมีตุ่มนูนขึ ้นมาให้เห็นชัด


การฉีดยาเข้าใต้ชั ้นผิวหนัง (SUBCUTANEOUS)<br />

• เป็ นการฉีดยาเข้าต าแหน่ง fatty tissue อยู่ใต้ชั ้นผิวหนังและอยู่เหนือชั ้นกล้ามเนื ้อ ต าแหน่งนี ้มี<br />

เลือดมาเลี ้ยงน้อยกว่าชั ้นกล้ามเนื ้อ ดังนั ้นการดูดซึมของยาจึงช้ากว่าการฉีดยาเข้าชั ้นกล้ามเนื ้อ<br />

• ส าหรับเด็กเล็ก บริเวณที่นิยมให้วัคซีน คือ บริเวณหน้าขา<br />

• ถ้าเป็ นเด็กโตหรือผู้ใหญ่ก็จะใช้บริเวณ upper outer triceps ของแขน


• ใช้นิ้วหัวแม่มือและนิ้วชี ้ดึงผิวหนังขึ ้นมา<br />

จะรู้สึกได้ว่าจับในส่วนของชั ้นไขมันขึ ้นมา<br />

• แทงเข็มและดันวัคซีนเข้าไป<br />

การฉีดยาเข้าใต้ชั ้นผิวหนัง (SUBCUTANEOUS)


• บริเวณที่ใช้ฉีดยาเข้าชั ้นใต้ผิวหนัง<br />

(Subcutaneous Injection)<br />

1. บริเวณหน้าท้องรอบๆ สะดือ<br />

(umbilicus)<br />

2. บริเวณต้นแขน จุดกึ ่งกลางของ<br />

กล้ามเนื ้อ deltoid<br />

3. บริเวณต้นขาด้านหน้า (Rectus<br />

femoris)<br />

4. สะโพกส่วนบน (upper ventral or<br />

dorsal gluteal areas)<br />

5. ด้านหลังส่วนบน


้<br />

• ยาที่ฉีดเข้าชั ้นใต้ผิวหนังส่วนใหญ่เป็ น heparin<br />

และ insulin<br />

• หากเป็ น heparin ให้ฉีดที่หน้าท้องห่างจาก<br />

สะดือประมาณ 2 นิ้ว เพื่อป้องกันการฉีดเข้าถึง<br />

ชั ้นกล้ามเนื ้อ<br />

• ส่วน insulin ซึ ่งผู้ป่ วยมักจะต้องฉีดอย่าง<br />

ต่อเนื่อง จึงควรหมุนเวียนต าแหน่งฉีดทั ้งนี<br />

เพื่อให้ยาดูดซึม ได้อย่างมีประสิทธิภาพ<br />

• หากยาที่ฉีดเข้าไปไม่ดูดซึมจะเป็ นตุ่มลักษณะ<br />

แข็ง กดเจ็บ


บริเวณที่เหมาะสมในการฉีดยาเข้าชั ้นใต้<br />

ผิวหนังมากที่สุด คือ บริเวณหน้าท้อง<br />

เนื่องจากบริเวณต้นแขนและต้นขา เมื่อผู้ป่ วยที่<br />

ท ากิจกรรมต่างๆ เช่น เดิน ใช้แขนหรือมือ<br />

ท างานมากๆ อาจท าให้ยาที่ฉีดออกฤทธิ ์ เร็ว<br />

เกินไป


การฉีดยาเข้าชั ้นกล้ามเนื้อ (INTRAMUSCULAR)<br />

• การฉีดยาเข้าชั ้นกล้ามเนื ้อ ยาจะถูกดูดซึมเร็วเพราะมีเลือด<br />

มาเลี ้ยงมาก แต่อาจจะเกิดอันตรายต่อเส้นประสาทหรือฉีด<br />

เข้าหลอดเลือดได้<br />

• เนื่องจากกล้ามเนื ้อเป็ นเนื ้อเยื่อที่ทนต่อการระคายเคืองได้ดี<br />

ยาที่มีความเหนียวข้น และระคายเคืองต่อเนื ้อเยื่อ หรือมี<br />

ส่วนผสมของน ้ามันก็สามารถฉีดเข้ากล้ามเนื ้อได้


้<br />

บริเวณส าหรับฉีดยาเข้ากล้ามเนื ้อมีดังนี<br />

1. Dettoid muscle (กล้ามเนื ้อต้นแขน)<br />

2. Gluteal muscle (กล้ามเนื ้อสะโพก)<br />

- Ventrogluteal muscle (กล้ามเนื ้อสะโพกส่วนหน้า)<br />

- Dorsogluteal muscle (กล้ามเนื ้อสะโพกส่วนหลัง<br />

3. Vastus lateralis muscle (กล้ามเนื ้อหน้าขา)


วิธีหาบริเวณฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อต้นแขน (Deltoid muscle)<br />

วัดโดยวางนิ้วชี ้ตรงต าแหน่ง acromion process 2 FB คือ ใช้นิ้วชี ้ นิ้วกลาง และนิ้วนาง (วางให้ชิดกัน)<br />

จะเป็ นบริเวณที่มีกล้ามเนื ้อมาก ควรฉีดบริเวณส่วนกลางของกล้ามเนื ้อ deltoid ซึ ่งมีขอบเขตเป็ นรูป<br />

สามเหลี่ยม


วิธีหาบริเวณฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อสะโพก<br />

(Glutens muscle)<br />

วิธีที่ 1 แบ่งสะโพกออกเป็ น 3 ส่วน<br />

ใช้ landmark 2 แห่ง คือ anterior superior<br />

iliac spine และ coccyx ลากเส้นสมมุติระหว่าง 2 จุด<br />

แบ่งเส้นสมมุติออกเป็ น 3 ส่วนเท่า ๆ กัน ต าแหน่งที่<br />

ฉีดยาได้คือส่วนแรกนับจาก anterior superior iliac<br />

spine โดยฉีดต ่ากว่าระดับของ iliaccrest ประมาณ<br />

2-3 นิ้วมือ


้<br />

วิธีที่ 2 แบ่งสะโพกออกเป็ น 4 ส่วน โดยมี<br />

ขอบเขตดังนี<br />

- ด้านบน มีขอบเขตตามแนวของ iliac<br />

crest<br />

- ด้านล่าง มีขอบเขตตามแนวของก้น<br />

ย้อย (glutealfold)<br />

- ด้านใน (medial) มีขอบเขตตามแนว<br />

แบ่งครึ ่ งจากกระดูก Coccyx ขึ ้นไปตามแนว<br />

แบ่งครึ ่ งของกระดูก sacrum<br />

- ด้านนอก (lateral) มีขอบเขตตามแนว<br />

ด้านข้างของต้นขาและสะโพก


กล้ามเนื้อ Vastus lateralis<br />

- เป็ นกล้ามเนื ้อต้นขาด้านข้าง ที่มีขนาดใหญ่มัด<br />

หนึ ่ง เหมาะส าหรับฉีดยาเข้ากล้ามเนื ้อทั ้งใน<br />

ผู้ใหญ่และในเด็กเพราะไม่มีหลอดเลือด หรือ<br />

เส้นประสาทพาดผ่าน ยาดูดซึมได้เร็ว<br />

- การวัดต าแหน่งฉีดยาส าหรับผู้ใหญ่กระท าโดย<br />

ก าหนดเส้น ขอบเขต 2 เส้น เส้นบนลากผ่านต้น<br />

ขาตรงขาหนีบ เส้นล่างลากผ่านขอบหัวเข่า<br />

ด้านบน ต าแหน่งที่ฉีด คือ กึ ่งกลางของเส้น<br />

ขอบเขตทั ้ง 2 เส้น หรือต าแหน่งที่อยู่ระหว่าง<br />

เหนือหัวเข่า 1 ฝ่ ามือ และต ่ากว่าขา หนีบ 1 ฝ่ ามือ


• Rectus femoris นี ้เป็ นกล้ามเนื ้อด้านหน้า<br />

ตรงกลางต้นขา วิธีวัดต าแหน่งฉีดยา<br />

เช่นเดียวกับการวัดต าแหน่งกล้ามเนื ้อ<br />

Vastus lateralis และฉีดที่ด้านหน้าตรง<br />

กลางต้นขา<br />

• ข้อควรระวังคือ ห้ามฉีดยาเข้าด้านในต้นขา<br />

เพราะมีหลอดเลือดเส้นประสาทมาเลี ้ยง<br />

หากฉีดยาลงไปจะก่อให้ เกิดอันตรายต่อ<br />

ผู้ป่ วยได


• ส าหรับเด็กเล็ก ตั ้งแต่แรกเกิด หรือถึงก่อนเข้าวัยเรียน สามารถฉีดยาบริเวณกล้ามเนื ้อต้นขาส่วนหน้า( vastus lateralis)<br />

ซึ ่งจะอยู่บริเวณต้นขาหน้าขาด้านนอกก่อนฉีดจะต้องท าการวัดก่อน โดยแบ่งบริเวณตั ้งแต่ปุ ่ มกระดูกใหญ่ของกระดูก<br />

ต้นขา (greater tronchanter of femur) ถึง ปุ ่ มกระดูกบริเวณหัวเข่า (lateral femoral condyle) เป็ น 3 ส่วน ฉีดส่วนที่ 2<br />

• ส าหรับเด็กโตและผู ้ใหญ่ การฉีดยาเข้าชั ้นกล้ามเนื ้อ มักจะฉีดเข้าบริเวณกล้ามเนื ้อ ต้นแขน (deltoid)<br />

• ขนาดเข็มและความยาวของเข็ม : ใช้เข็มเบอร์ 25 ความยาว 1 – 1.5 นิ้ว ขึ ้นกับความหนาของผิวหนังและชั ้นไขมัน<br />

• เทคนิค : กดบริเวณที่ฉีดให้ตึง แทงเข็มท ามุม 90° และดันวัคซีนเข้าไป (ควรทดสอบก่อนดันวัคซีนเข้าไปทุกครั ้ ง) การ<br />

ฉีดเข้าชั ้นกล้ามเนื ้อต้องพิจารณาขนาดความยาวของเข็มให้แน่ใจว่าเข้าถึงชั ้นกล้ามเนื ้อจริง ๆ ดังนั ้นการพิจารณาจะ<br />

ขึ ้นอยู่กับขนาดรูปร่างของผู้รับวัคซีน เมื่อ ฉีดวัคซีนเสร็จใช้ส าลีแห้งกดบริเวณที่ฉีด หรือใช้พลาสเตอร์ปิ ดโดยกด<br />

เล็กน้อย<br />

• จ านวนยาฉีดเข้ากล้ามเนื ้อสะโพก หรือหน้าขาแต่ละครั ้งได้ไม่เกิน 5 cc. ถ้าฉีดเข้ากล้ามเนื ้อต้นแขน ฉีดครั ้งหนึ ่งไม่<br />

เกิน 2 cc.

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!