05.08.2018 Views

No Title for this magazine

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

การบริหารยาฉีด


สู ้ว้อยยยย!!!!!


แนวปฏิบัติการบริหารยาฉีด<br />

• 1. อ่านค าสั่งการรักษาของแพทย์อย่างระมัดระวัง หากมีข้อสงสัยควรตรวจสอบก่อน<br />

• 2. ตรวจสอบค าสั่งการรักษาของแพทย์กับใบบันทึกการบริหารยา<br />

• 3. อ่านเอกสารแนบ เอกสารแนบจะอยู่ในกล่องยาซึ ่งมีรายละเอียดเกี่ยวกับการยาที่ ผู้เตรียมยาควร<br />

ทราบ เช่น ชื่อทางการค้าของยา ชื่อสามัญของยา ปริมาณยาใน 1 ขวด ทางที่ให้ วิธีการเตรียมยา<br />

วันหมดอายุของยา วันหมดอายุของยาหลังผสม การเก็บรักษายา ข้อห้ามใช้ ข้อควรระวัง อาการไม่<br />

พึงประสงค์จากการใช้ยา ปฏิกิริยาระหว่างกันของยา เป็ นต้น<br />

• 4. ปฏิบัติตามหลัก 10 R ในบริหารยาฉีดอย่างเคร่งครัด<br />

• 5. ผู้เตรียมยากับผู้ฉีดยาต้องเป็ นคนเดียวกัน


แนวปฏิบัติการบริหารยาฉีด<br />

6. การเตรียมอุปกรณ์เหมาะสมกับทางที่ให้ยา อายุผู้ป่ วย ขนาดยา และความหนืดของยา<br />

7. การวัดต าแหน่งฉีดถูกต้อง<br />

8. การตรวจสอบสภาพผิวหนัง การเตรียมผิวหนัง และองศาของการปักเข็มให้ถูกต้อง<br />

9. การปฏิบัติทุกขั ้นตอนตั ้งแต่เริ่มเตรียมยาจนเสร็จสิ้นการฉีดยาต้องกระท าโดยยึด หลักการคง<br />

ความปราศจากเชื ้ออย่างเคร่งครัด เพื่อป้องกันการน าเชื ้อโรคเข้าสู่ร่างกายผู้ป่ วย<br />

10. การอ่านชื่อยาจากขวดยา/ หลอดยา ต้องอ่านอย่างน้อย 3 ครั ้ง คือ ก่อนหยิบขวดยา ขณะเตรียมยา<br />

และเมื่อเตรียมยาเสร็จเรียบร้อย


NEE<br />

DLE


SYRIN<br />

GE


การเลือกขนาดของ NEEDLE และ SYRINGE<br />

Intradermal , ID 26 G 26 G 1 ml. / tuberculin<br />

Subcutaneous, SQ<br />

25-27 G<br />

3/8 – 5/8 นิ้ว<br />

25-27 G 1 ml.<br />

Intramuscular, IM 21-25 G 25 G Adult 2-5 ml.<br />

Child 1 ml.


ขวดบรรจุยาตามค าสั่งการรักษา (ชนิดขวดยาหรือหลอดยา)<br />

AMPULE / VIAL


วิธีการหัก AMPULE ยา


อุปกรณ์ที่ใช้ในการฉีดยา


วิธีการฉีดยา<br />

1. ล้างมือให้สะอาด เช็ดให้แห้ง<br />

2. การปฏิบัติทุกขั ้นตอนให้ค านึงถึงวิธีปราศจากเชื ้อ<br />

3. เตรียมยาที่จะฉีด โดยดูดยาเข้ากระบอกฉีดยา ไล่ฟองอากาศออกจนหมด เปลี่ยนเข็มฉีดยา<br />

4. เลือกบริเวณที่จะฉีดยา ได้แก่ ต้นแขนด้านนอก ต้นขาด้านหน้า หน้าท้อง เลือกบริเวณที่ไม่มีผื่นแผล อักเสบ และ<br />

บริเวณส่วนนูนของกระดูก<br />

5. ในกรณีที่เป็ นเด็กเล็ก ให้ผู้ช่วยจับหรือท าการห่อตัวเด็กให้อยู่นิ่ง<br />

6. ท าความสะอาดผิวหนังด้วยยาฆ่าเชื ้อ รอให้แห้ง<br />

7. แทงเข็มให้เร็ว การท ามุมขึ ้นกับความหนาของไขมันใต้ชั ้นผิวหนัง อาจยกผิวหนังและชั ้นใต้ผิวหนังขึ ้นเพื่อ<br />

หลีกเลี่ยงการฉีดลึกเข้าไปในชั ้นกล้ามเนื ้อ ดูดตรวจสอบว่าได้เลือดหรือไม่ ถ้าได้เลือดให้ดึงเข็มออก แล้วเริ่มต้น<br />

ใหม่<br />

8. ถ้าไม่มีเลือด ให้ฉีดยาช้าๆ ดึงเข็มออก<br />

9. กดนวดเบาๆ บริเวณที่ฉีด<br />

10. ล้างมือ


ทางที่ฉีดยา<br />

การฉีดยาเข้าสู่ร่างกายที่อยู่ในบทบาทหน้าที่ มีด้วยกัน 4 ทาง ได้แก่<br />

• การฉีดยา เข้าชั ้นผิวหนัง (intradermal injection; ID)<br />

• การฉีดยาเข้าชั ้นใต้ผิวหนัง (subcutaneous injections; SQ)<br />

• การฉีดยาเข้าชั ้นกล้ามเนื ้อ (intramuscular injection; IM)


การฉีดวัคซีนเข้าในผิวหนัง (INTRADERMAL)<br />

• การฉีดยาเข้าชั ้นผิวหนัง เป็ นการฉีดยาผ่านเข้าไปเพียงแค่ในหนังเท่านั ้น<br />

• ใช้ส าหรับการทดสอบการแพ้ (skin testing) เช่น allergy tests, tuberculin screening เป็ นต้น<br />

• สารหรือยาที่ฉีดเข้าชั ้นผิวหนังใช้ปริมาณเล็กน้อย (0.02 mL)<br />

• เทคนิคการฉีดควรดึงหนังบริเวณที่ฉีดให้ตึง ค่อย ๆ แทงเข็มลงไปท ามุมประมาณ 15 องศา แล้วดัน<br />

วัคซีนเข้าไป<br />

• ถ้าเทคนิคถูกต้องจะเห็นว่าเมื่อดันวัคซีนเข้าไปจะมีตุ่มนูนขึ ้นมาให้เห็นชัด


การฉีดยาเข้าใต้ชั ้นผิวหนัง (SUBCUTANEOUS)<br />

• เป็ นการฉีดยาเข้าต าแหน่ง fatty tissue อยู่ใต้ชั ้นผิวหนังและอยู่เหนือชั ้นกล้ามเนื ้อ ต าแหน่งนี ้มี<br />

เลือดมาเลี ้ยงน้อยกว่าชั ้นกล้ามเนื ้อ ดังนั ้นการดูดซึมของยาจึงช้ากว่าการฉีดยาเข้าชั ้นกล้ามเนื ้อ<br />

• ส าหรับเด็กเล็ก บริเวณที่นิยมให้วัคซีน คือ บริเวณหน้าขา<br />

• ถ้าเป็ นเด็กโตหรือผู้ใหญ่ก็จะใช้บริเวณ upper outer triceps ของแขน


• ใช้นิ้วหัวแม่มือและนิ้วชี ้ดึงผิวหนังขึ ้นมา<br />

จะรู้สึกได้ว่าจับในส่วนของชั ้นไขมันขึ ้นมา<br />

• แทงเข็มและดันวัคซีนเข้าไป<br />

การฉีดยาเข้าใต้ชั ้นผิวหนัง (SUBCUTANEOUS)


• บริเวณที่ใช้ฉีดยาเข้าชั ้นใต้ผิวหนัง<br />

(Subcutaneous Injection)<br />

1. บริเวณหน้าท้องรอบๆ สะดือ<br />

(umbilicus)<br />

2. บริเวณต้นแขน จุดกึ ่งกลางของ<br />

กล้ามเนื ้อ deltoid<br />

3. บริเวณต้นขาด้านหน้า (Rectus<br />

femoris)<br />

4. สะโพกส่วนบน (upper ventral or<br />

dorsal gluteal areas)<br />

5. ด้านหลังส่วนบน


้<br />

• ยาที่ฉีดเข้าชั ้นใต้ผิวหนังส่วนใหญ่เป็ น heparin<br />

และ insulin<br />

• หากเป็ น heparin ให้ฉีดที่หน้าท้องห่างจาก<br />

สะดือประมาณ 2 นิ้ว เพื่อป้องกันการฉีดเข้าถึง<br />

ชั ้นกล้ามเนื ้อ<br />

• ส่วน insulin ซึ ่งผู้ป่ วยมักจะต้องฉีดอย่าง<br />

ต่อเนื่อง จึงควรหมุนเวียนต าแหน่งฉีดทั ้งนี<br />

เพื่อให้ยาดูดซึม ได้อย่างมีประสิทธิภาพ<br />

• หากยาที่ฉีดเข้าไปไม่ดูดซึมจะเป็ นตุ่มลักษณะ<br />

แข็ง กดเจ็บ


บริเวณที่เหมาะสมในการฉีดยาเข้าชั ้นใต้<br />

ผิวหนังมากที่สุด คือ บริเวณหน้าท้อง<br />

เนื่องจากบริเวณต้นแขนและต้นขา เมื่อผู้ป่ วยที่<br />

ท ากิจกรรมต่างๆ เช่น เดิน ใช้แขนหรือมือ<br />

ท างานมากๆ อาจท าให้ยาที่ฉีดออกฤทธิ ์ เร็ว<br />

เกินไป


การฉีดยาเข้าชั ้นกล้ามเนื้อ (INTRAMUSCULAR)<br />

• การฉีดยาเข้าชั ้นกล้ามเนื ้อ ยาจะถูกดูดซึมเร็วเพราะมีเลือด<br />

มาเลี ้ยงมาก แต่อาจจะเกิดอันตรายต่อเส้นประสาทหรือฉีด<br />

เข้าหลอดเลือดได้<br />

• เนื่องจากกล้ามเนื ้อเป็ นเนื ้อเยื่อที่ทนต่อการระคายเคืองได้ดี<br />

ยาที่มีความเหนียวข้น และระคายเคืองต่อเนื ้อเยื่อ หรือมี<br />

ส่วนผสมของน ้ามันก็สามารถฉีดเข้ากล้ามเนื ้อได้


้<br />

บริเวณส าหรับฉีดยาเข้ากล้ามเนื ้อมีดังนี<br />

1. Dettoid muscle (กล้ามเนื ้อต้นแขน)<br />

2. Gluteal muscle (กล้ามเนื ้อสะโพก)<br />

- Ventrogluteal muscle (กล้ามเนื ้อสะโพกส่วนหน้า)<br />

- Dorsogluteal muscle (กล้ามเนื ้อสะโพกส่วนหลัง<br />

3. Vastus lateralis muscle (กล้ามเนื ้อหน้าขา)


วิธีหาบริเวณฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อต้นแขน (Deltoid muscle)<br />

วัดโดยวางนิ้วชี ้ตรงต าแหน่ง acromion process 2 FB คือ ใช้นิ้วชี ้ นิ้วกลาง และนิ้วนาง (วางให้ชิดกัน)<br />

จะเป็ นบริเวณที่มีกล้ามเนื ้อมาก ควรฉีดบริเวณส่วนกลางของกล้ามเนื ้อ deltoid ซึ ่งมีขอบเขตเป็ นรูป<br />

สามเหลี่ยม


วิธีหาบริเวณฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อสะโพก<br />

(Glutens muscle)<br />

วิธีที่ 1 แบ่งสะโพกออกเป็ น 3 ส่วน<br />

ใช้ landmark 2 แห่ง คือ anterior superior<br />

iliac spine และ coccyx ลากเส้นสมมุติระหว่าง 2 จุด<br />

แบ่งเส้นสมมุติออกเป็ น 3 ส่วนเท่า ๆ กัน ต าแหน่งที่<br />

ฉีดยาได้คือส่วนแรกนับจาก anterior superior iliac<br />

spine โดยฉีดต ่ากว่าระดับของ iliaccrest ประมาณ<br />

2-3 นิ้วมือ


้<br />

วิธีที่ 2 แบ่งสะโพกออกเป็ น 4 ส่วน โดยมี<br />

ขอบเขตดังนี<br />

- ด้านบน มีขอบเขตตามแนวของ iliac<br />

crest<br />

- ด้านล่าง มีขอบเขตตามแนวของก้น<br />

ย้อย (glutealfold)<br />

- ด้านใน (medial) มีขอบเขตตามแนว<br />

แบ่งครึ ่ งจากกระดูก Coccyx ขึ ้นไปตามแนว<br />

แบ่งครึ ่ งของกระดูก sacrum<br />

- ด้านนอก (lateral) มีขอบเขตตามแนว<br />

ด้านข้างของต้นขาและสะโพก


กล้ามเนื้อ Vastus lateralis<br />

- เป็ นกล้ามเนื ้อต้นขาด้านข้าง ที่มีขนาดใหญ่มัด<br />

หนึ ่ง เหมาะส าหรับฉีดยาเข้ากล้ามเนื ้อทั ้งใน<br />

ผู้ใหญ่และในเด็กเพราะไม่มีหลอดเลือด หรือ<br />

เส้นประสาทพาดผ่าน ยาดูดซึมได้เร็ว<br />

- การวัดต าแหน่งฉีดยาส าหรับผู้ใหญ่กระท าโดย<br />

ก าหนดเส้น ขอบเขต 2 เส้น เส้นบนลากผ่านต้น<br />

ขาตรงขาหนีบ เส้นล่างลากผ่านขอบหัวเข่า<br />

ด้านบน ต าแหน่งที่ฉีด คือ กึ ่งกลางของเส้น<br />

ขอบเขตทั ้ง 2 เส้น หรือต าแหน่งที่อยู่ระหว่าง<br />

เหนือหัวเข่า 1 ฝ่ ามือ และต ่ากว่าขา หนีบ 1 ฝ่ ามือ


• Rectus femoris นี ้เป็ นกล้ามเนื ้อด้านหน้า<br />

ตรงกลางต้นขา วิธีวัดต าแหน่งฉีดยา<br />

เช่นเดียวกับการวัดต าแหน่งกล้ามเนื ้อ<br />

Vastus lateralis และฉีดที่ด้านหน้าตรง<br />

กลางต้นขา<br />

• ข้อควรระวังคือ ห้ามฉีดยาเข้าด้านในต้นขา<br />

เพราะมีหลอดเลือดเส้นประสาทมาเลี ้ยง<br />

หากฉีดยาลงไปจะก่อให้ เกิดอันตรายต่อ<br />

ผู้ป่ วยได


• ส าหรับเด็กเล็ก ตั ้งแต่แรกเกิด หรือถึงก่อนเข้าวัยเรียน สามารถฉีดยาบริเวณกล้ามเนื ้อต้นขาส่วนหน้า( vastus lateralis)<br />

ซึ ่งจะอยู่บริเวณต้นขาหน้าขาด้านนอกก่อนฉีดจะต้องท าการวัดก่อน โดยแบ่งบริเวณตั ้งแต่ปุ ่ มกระดูกใหญ่ของกระดูก<br />

ต้นขา (greater tronchanter of femur) ถึง ปุ ่ มกระดูกบริเวณหัวเข่า (lateral femoral condyle) เป็ น 3 ส่วน ฉีดส่วนที่ 2<br />

• ส าหรับเด็กโตและผู ้ใหญ่ การฉีดยาเข้าชั ้นกล้ามเนื ้อ มักจะฉีดเข้าบริเวณกล้ามเนื ้อ ต้นแขน (deltoid)<br />

• ขนาดเข็มและความยาวของเข็ม : ใช้เข็มเบอร์ 25 ความยาว 1 – 1.5 นิ้ว ขึ ้นกับความหนาของผิวหนังและชั ้นไขมัน<br />

• เทคนิค : กดบริเวณที่ฉีดให้ตึง แทงเข็มท ามุม 90° และดันวัคซีนเข้าไป (ควรทดสอบก่อนดันวัคซีนเข้าไปทุกครั ้ ง) การ<br />

ฉีดเข้าชั ้นกล้ามเนื ้อต้องพิจารณาขนาดความยาวของเข็มให้แน่ใจว่าเข้าถึงชั ้นกล้ามเนื ้อจริง ๆ ดังนั ้นการพิจารณาจะ<br />

ขึ ้นอยู่กับขนาดรูปร่างของผู้รับวัคซีน เมื่อ ฉีดวัคซีนเสร็จใช้ส าลีแห้งกดบริเวณที่ฉีด หรือใช้พลาสเตอร์ปิ ดโดยกด<br />

เล็กน้อย<br />

• จ านวนยาฉีดเข้ากล้ามเนื ้อสะโพก หรือหน้าขาแต่ละครั ้งได้ไม่เกิน 5 cc. ถ้าฉีดเข้ากล้ามเนื ้อต้นแขน ฉีดครั ้งหนึ ่งไม่<br />

เกิน 2 cc.

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!