27.12.2014 Views

หลักสูตรวิศวกรรมโลหการ ปี 2545 - kmutt

หลักสูตรวิศวกรรมโลหการ ปี 2545 - kmutt

หลักสูตรวิศวกรรมโลหการ ปี 2545 - kmutt

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมโลหการ<br />

ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร<br />

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี<br />

พ.ศ. <strong>2545</strong><br />

---------------------------------<br />

1. ชื่อหลักสูตร<br />

ชื่อภาษาไทย หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมโลหการ<br />

ชื่อภาษาอังกฤษ Master of Engineering Program in Metallurgical Engineering<br />

1<br />

2. ชื่อปริญญา<br />

ชื่อเต็ม (ไทย) วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต(วิศวกรรมโลหการ)<br />

ชื่อยอ (ไทย) วศ.ม. (วิศวกรรมโลหการ)<br />

ชื่อเต็ม(อังกฤษ) Master of Engineering (Metallurgical Engineering)<br />

ชื่อยอ (อังกฤษ) M. Eng. (Metallurgical Engineering)<br />

3. หนวยงานที่รับผิดชอบ<br />

ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี<br />

4.ปรัชญาของหลักสูตร<br />

หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมโลหการ มุงเนนผลิตมหาบัณฑิตใหมี<br />

ความรูความสามารถทั้งทางดานทฤษฎี ทักษะ และงานวิจัย เพื่อนําไปประยุกตใชงานไดจริงใน<br />

อุตสาหกรรมที่เกี่ยวของกับโลหการ และใหสามารถศึกษาตอในระดับที่สูงขึ้นตอไป นอกเหนือจากที่<br />

นักศึกษาจะไดมีโอกาสศึกษาหลักสูตรในมหาวิทยาลัยฯ แลว นักศึกษายังมีโอกาสที่จะเลือกฝกฝนใชความรู<br />

ที่ไดศึกษาในการแกไขปญหาจริงในโรงงานอุตสาหกรรมตามสาขาวิชาหลักที่นักศึกษาเลือกอีกดวย<br />

วัตถุประสงคของหลักสูตร<br />

ดวยปจจุบันอุตสาหกรรมการผลิตและบริการภายในประเทศที่เกี่ยวของกับโลหะ มีความตองการ<br />

วิศวกรที่มีความรู ความชํานาญเฉพาะทางมากยิ่งขึ้น อีกทั้งในหนวยงานบริการและสถาบันการศึกษาที่<br />

เกี่ยวของกับทางดานงานวิจัย หรือที่มีการเรียนการสอนที่เกี่ยวของกับโลหะและโลหะวิทยามีมากขึ้น หลัก<br />

สูตรวิศวกรรมโลหการที่จัดตั้งขึ้นใหมนี้ มีวัตถุประสงคเพื่อผลิตมหาบัณฑิตที่มีความรูความสามารถในสาขา<br />

วิชาวิศวกรรมโลหการ โดยจะมุงเนนในการประยุกตองคความรูที่ไดศึกษามาทั้งจากหองเรียน การทํางาน


2<br />

วิจัย การสัมมนา เพื่อใชในการประกอบวิชาชีพภายหลังจากสําเร็จการศึกษา โดยเปนวิศวกรที่มีความ<br />

รูความสามารถในการออกแบบการวิจัยพัฒนา การใหคําปรึกษาไดเปนอยางดี<br />

4.1 วัตถุประสงคสาขาวิชาวิศวกรรมโลหการ<br />

4.1.1 เพื่อผลิตมหาบัณฑิตที่มีความรูความสามารถอยางถองแทในดานวิศวกรรม<br />

โลหการ โดยเนนการเพิ่มขีดความสามารถทางดานการทํางานวิจัย การวิเคราะห<br />

ปญหา และการออกแบบเพื่อแกปญหาเพื่อความเปนเลิศทั้งทางดานวิชาการและ<br />

ในอุตสาหกรรม<br />

4.1.2 เพื่อพัฒนาขีดความสามารถและโอกาสของคณาจารยในมหาวิทยาลัยโดยใหมี<br />

โอกาสทํางานรวมกับนักศึกษา หนวยงานวิจัยภายนอก และองคกรเอกชน ภาค<br />

อุตสาหกรรม และเพื่อแลกเปลี่ยนความรูผานการใหคําปรึกษาแกอุตสาหกรรมใน<br />

ประเทศ<br />

4.1.3 เพื่อทําการวิจัย พัฒนา และถายทอดเทคโนโลยีดานโลหะวิทยา และโลหะวิทยา<br />

เพื่อการผลิตใหกับอุตสาหกรรมและหนวยงานวิจัยตาง ๆ<br />

5. กําหนดการเปดสอน<br />

ตั้งแตภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา <strong>2545</strong><br />

6. คุณสมบัติของผูมีสิทธิ์เขาศึกษา<br />

ผูสําเร็จการศึกษาวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วศ.บ.) หรือเทียบเทา ทั้งนี้ขึ้นอยูกับดุลยพินิจของ<br />

คณะกรรมการบัณฑิตศึกษาภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ<br />

7. การคัดเลือกผูเขาศึกษา<br />

วิธีการรับนักศึกษาเขาศึกษาจะพิจารณาจากการสอบสัมภาษณ และ/หรือขอเขียน<br />

8. ระบบการศึกษา<br />

ระบบการศึกษาใหเปนไปตามระเบียบวาดวยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา<br />

เทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี<br />

ของมหาวิทยาลัย<br />

9. ระยะเวลาการศึกษา<br />

ใชระยะเวลาการศึกษาตลอดหลักสูตร 2 ป


10. การลงทะเบียนเรียน<br />

ใหเปนไปตามระเบียบวาดวยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา<br />

พระจอมเกลาธนบุรี<br />

3<br />

ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี<br />

11. การวัดผลและการสําเร็จการศึกษา<br />

การวัดผลและการสําเร็จการศึกษา ใหเปนไปตามระเบียบวาดวยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา<br />

ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี พ.ศ.2534 ฉบับเพิ่มเติมที่ 2 พ.ศ.2538 และฉบับเพิ่มเติม<br />

ที่ 3 พ.ศ. 2540


4<br />

12. อาจารยผูสอน<br />

ลําดับที่ ชื่อ - สกุล คุณวุฒิ สาขาวิชาเอก สาขาการวิจัย ภาระงานสอน (ชม./สป.)<br />

<strong>2545</strong> 2546 2547<br />

ภาค 1 ภาค 2 ภาค 1 ภาค 2 ภาค 1 ภาค 2<br />

1 ดร.ไชยา ดําคํา Ph.D. วิศวกรรมวัสดุ วิศวกรรมพื้นผิว 10 10 9 10 12 11<br />

2 ดร.เชาวลิต ลิ้มมณีวิจิตร Ph.D. วิศวกรรมโลหการ วิศวกรรมโลหการ 8 8 8 11 8 9<br />

3 ดร.สมบุญ เจริญวิไลศิริ Ph.D. วิศวกรรมโลหการ วิศวกรรมหลอโลหะ - - - - 8 9<br />

4 ดร.บวรโชค ผูพัฒน Ph.D. วิศวกรรมการเชื่อม วิศวกรรมการเชื่อม 8 10 11 8 9 10.5<br />

5 ดร.พงษศักดิ์ ถึงสุข Ph.D. วิศวกรรมโลหการ วิศกรรมโลหการ - - - - 8 9<br />

6 ดร.อาษา ประทีปเสน Ph.D. วิศวกรรมตรวจสอบเครื่องกล วิศวกรรมการตรวจสอบโดยไมทําลาย - - - - - -<br />

7 ผศ.กอบสิน ทวีสิน M.Eng. วิศวกรรมเครื่องกล วิศวกรรมหลอหลอมโลหะ 14.5 17.1 15.75 13.5 15.8 13.5<br />

8 รศ.กิติศักดิ์ พลอยพานิชเจริญ M.Eng. วิศวกรรมอุตสาหการ วิศวกรรมบริหารอุตสาหกรรม 11.5 12 11.5 20.7 11.5 21<br />

9 อ.เชาว เนียมสอน M.Eng. วิศวกรรมเครื่องกล วิศวกรรมหลอหลอมโลหะ 4.5 16 7.75 14 7.75 14<br />

10 อ.นิธิ บุรณจันทร M.Eng. วิศวกรรมเครื่องกล วิศวกรรมเชื่อมประสานโลหะ 9.5 14 12 14 12 14<br />

11 อ.เมธินี มุกดาสิริ M.Eng. วิศวกรรมอุตสาหการ วิศวกรรมโลหการ 12.5 14 10.5 14 10.5 14<br />

12 อ.ประสาท จันทวงษโส M.Sc. วิศวกรรมวัสดุ วิศวกรรมวัสดุ 11 13 9 12 10 11


ลําดับที่ ชื่อ - สกุล คุณวุฒิ สาขาวิชาเอก สาขาการวิจัย ภาระงานสอน (ชม./สป.)<br />

2542 2543 2544<br />

ภาค 1 ภาค 2 ภาค 1 ภาค 2 ภาค 1 ภาค 2<br />

ลาศึกษาตอตางประเทศระดับปริญญาเอก<br />

1 อ.พิเนษฐ ศรีโยธา M.Sc. วิศวกรรมไฟฟาและเครื่องกล วิศวกรรมระบบการผลิต - - - - - -<br />

5<br />

อาจารยตางภาควิชาและคณะ<br />

1 ดร.วารุณี เปรมานนท Ph.D. วิศวกรรมการผลิต วิศวกรรมเครื่องมือ - 0.6 - 0.37 - -<br />

2 ดร. กุศล พรอมมูล Ph.D. วิศวกรรมการผลิต Manufacturing - - - - - -<br />

3 ผศ.ดร.สุพัฒนพงษ ดํารงครัตน Ph.D. วิศวกรรมวัสดุ Physical Vapor Deposition - - - - - -<br />

4 ดร.บัณฑิต ทิพากร Ph.D. วิศวกรรมคอมพิวเตอร วิศวกรรมคอมพิวเตอร - - - - - -<br />

5 ดร. พงษพันธ แกวตาทิพย D.Eng. วิศวกรรมเครื่องกล Metal Forming<br />

6 ดร. นคร ศรีสุขุมบวรชัย Ph.D. วิศวกรรมโลหการ Materials Characterization<br />

7 ดร. สุรศักดิ์ สุรนันทชัย Ph.D. วิศวกรรมเครื่องกล Applied Mechanics<br />

อาจารยพิเศษ<br />

1 Dr. John Pearce Ph.D. วิศวกรรมโลหการ วิศวกรรมหลอหลอมโลหะ - 0.6 - 0.37 - -<br />

2 ดร.พีรยุทธ ชาญเศรษฐิกุล Ph.D. วิศวกรรมอุตสาหการ Operations Management 3 - 3 - - -<br />

3 ดร.พีระวัฒน สมนึก Ph.D. วิศวกรรมการผลิต Plastic Process - 0.6 - 0.37 - -<br />

4 ดร.จุลเทพ ขจรไชยกูล Ph.D. วิศวกรรมโลหการ โลหะวิทยากายภาพ - - - - - -<br />

5 ดร.พงษศักดิ์ ดุลยประพันธ Ph.D. วิศวกรรมอุตสาหการ การใชคอมพิวเตอรในงานหลอโลหะ - 1.5 - 1.5 - -<br />

6 ดร. อิทธิพล เดี่ยววณิชย Sc.D. วิศวกรรมโลหการ Solidification<br />

7 ดร. ไสว สุขวิทยาวงษ Ph.D. วิศวกรรมเครื่องกล วิศวกรรมหลอหลอมโลหะ<br />

8 น.ต.ผศ.ดร. ไกรพ กมลนาวิน Ph.D. วิศวกรรมโลหการ Failure Analysis


13. จํานวนนักศึกษา<br />

ตารางที่ 2 จํานวนนักศึกษาสําหรับสาขาวิศวกรรมโลหการในชวงปการศึกษา <strong>2545</strong>-2549<br />

แผน ก (2)<br />

ปการศึกษา <strong>2545</strong> 2546 2547 2548 2549<br />

ชั้นปที่ 1<br />

ชั้นปที่ 2<br />

รวม<br />

ผูสําเร็จการศึกษา<br />

15<br />

-<br />

15<br />

-<br />

15<br />

15<br />

30<br />

15<br />

15<br />

15<br />

30<br />

15<br />

15<br />

15<br />

30<br />

15<br />

15<br />

15<br />

30<br />

15<br />

แผน ข<br />

ปการศึกษา <strong>2545</strong> 2546 2547 2548 2549<br />

ชั้นปที่ 1<br />

ชั้นปที่ 2<br />

รวม<br />

ผูสําเร็จการศึกษา<br />

25<br />

-<br />

25<br />

-<br />

25<br />

25<br />

50<br />

25<br />

25<br />

25<br />

50<br />

25<br />

25<br />

25<br />

50<br />

25<br />

25<br />

25<br />

50<br />

25<br />

6<br />

14. สถานที่และอุปกรณการสอน<br />

1. ใชสถานที่และอุปกรณการสอนของภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร และ<br />

ภาควิชาตาง ๆ ที่เกี่ยวของทั้งในและนอกคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระ<br />

จอมเกลาธนบุรี<br />

15. หองสมุด<br />

ใชสํานักหองสมุดฯ ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี ซึ่งมีหนังสือทางวิทยาศาสตร<br />

และเทคโนโลยีมากกวา 95,000 เลม และมีวารสารทางวิชาการกวา 1,800 รายการ มีตําราที่เกี่ยวของกับ<br />

วิศวกรรมโลหการมากกวา 30,000 เลม และมีวารสารดานวิศวกรรมอุตสาหการมากกวา 30 รายการ


16. งบประมาณ<br />

7<br />

ตารางที่ 4 งบประมาณรายรับ<br />

รายละเอียดรายรับ<br />

ประมาณรายรับ (หนวย 1,000 บาท)<br />

<strong>2545</strong> 2546 2547 2548 2549<br />

คาลงทะเบียน 1,368 5,472 5,472 5,472 5,472<br />

คาบํารุงการศึกษา 456 1,824 1,824 1,824 1,824<br />

เงินสดคงเหลือยกมา - (932) 554 1,024 1,018<br />

รวมรายรับ 4,369 8,910 10,397 10,868 10,863<br />

ตารางที่ 5 งบประมาณรายจาย<br />

หมวดเงิน<br />

งบประมาณรายจาย (หนวย 1,000 บาท)<br />

<strong>2545</strong> 2546 2547 2548 2549<br />

ก. งบดําเนินการ<br />

1. คาใชจายบุคลากร 480 486 492 499 499<br />

2. คาใชจายดําเนินงาน 1,641 2,257 3,297 3,712 3,812<br />

3. ทุนการศึกษา 420 470 520 620 720<br />

4. รายจายสมทบมหาวิทยาลัย 362 1,422 1,392 1,447 1,447<br />

รวม ( ก ) 2,903 4,635 5,702 6,278 6,478<br />

ข. งบลงทุน<br />

คาครุภัณฑ - 550 550 550 550<br />

รวม ( ข ) - 550 550 550 550<br />

รวม ( ก ) + ( ข ) 2,903 5,185 6,252 6,828 7.028<br />

เงินสดคงเหลือปลายงวด (932) 554 1,024 1,018 912


17. หลักสูตร<br />

8<br />

17.1 จํานวนหนวยกิตตลอดหลักสูตร 40 หนวยกิต<br />

17.2 โครงสรางหลักสูตร<br />

หลักสูตรไดแบงออกเปน 2 แบบคือ แผน ก (2) (แบบทําวิทยานิพนธ) และแผน ข (แบบทําโครงงาน<br />

วิจัยอุตสาหกรรม) สําหรับทั้ง 2 วิชาเอก โดยมีรายละเอียดดังนี้<br />

แผน ก (2) (แบบทําวิทยานิพนธ)<br />

ก. หมวดวิชาบังคับ 9 หนวยกิต<br />

ข. หมวดวิชาเลือก 18 หนวยกิต<br />

ค. สัมมนา 1 หนวยกิต<br />

ง. วิทยานิพนธ 12 หนวยกิต<br />

แผน ข (โครงงานวิจัยอุตสาหกรรม)<br />

ก. หมวดวิชาบังคับ 9 หนวยกิต<br />

ข. หมวดวิชาเลือก 24 หนวยกิต<br />

ค. สัมมนา 1 หนวยกิต<br />

ง. โครงงานวิจัยอุตสาหกรรม 6 หนวยกิต<br />

17.3 ความหมายรหัสประจํารายวิชา<br />

รหัสวิชาที่ใชกําหนดเปนตัวอักษร 3 ตัวตามดวยเลข 3 หลักดังตอไปนี้<br />

PRE หมายถึง วิชาในภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ<br />

รหัสตัวเลข 3 ตัว ที่ใชคือ<br />

หลักรอย หมายถึง วิชาที่สอนในระดับปริญญาโท ซึ่งจะใชเลข 6 และ 5<br />

หลักสิบ หมายถึง วิชาในแตละหมวด<br />

1 หมายถึงหมวดวิชาวิศวกรรมเครื่องมือกล<br />

2 หมายถึงหมวดวิชาวิศวกรรมเชื่อมและโลหะแผน<br />

3 หมายถึงหมวดวิชาวิศวกรรมหลอโลหะ<br />

4 หมายถึงหมวดวิชาการออกแบบและการประยุกตใชงาน<br />

5 หมายถึงหมวดวิชาโลหะวิทยา<br />

6 หมายถึงหมวดวิชาวิศวกรรมการผลิต<br />

7 หมายถึงหมวดวิชาบริหารอุตสาหกรรม<br />

8 หมายถึงหมวดวิชาระบบอัตโนมัติ<br />

9 หมายถึงหมวดวิชาฝกงาน<br />

หลักหนวย หมายถึง ลําดับที่ของวิชาตาง ๆ


17.4 รายวิชา<br />

9<br />

แผน ก (2)<br />

17.4.1 หมวดวิชาบังคับ 9 หนวยกิต<br />

หมวดวิชาบังคับของหลักสูตรมีอยู 3 รายวิชา ดังตอไปนี้<br />

PRE 551 โลหะวิทยาทางกายภาพประยุกต 3(3-0-9)<br />

(Applied Physical Metallurgy)<br />

PRE 653 ปรากฏการณการถายเทในโลหะวิทยาการผลิต 3(3-0-9)<br />

(Transport Phenomena in Process Metallurgy)<br />

PRE 654 อุณหพลศาสตรของของแข็ง 3(3-0-9)<br />

(Thermodynamics of Solids)<br />

17.4.2 หมวดวิชาเลือก 18 หนวยกิต<br />

PRE 521 การเชื่อมและการประสานโลหะ 3(3-0-9)<br />

(Welding and Joining of Metals)<br />

PRE 525 การตรวจสอบวัสดุโดยไมทําลายสภาพ 3(2-3-6)<br />

(Nondestructive Testing of Materials)<br />

PRE 531 เทคโนโลยีการหลอโลหะ 3(3-0-9)<br />

(Foundry Technology)<br />

PRE 552 การศึกษาพฤติกรรมทางกลของวัสดุ 3(3-0-9)<br />

(Mechanical Behavior of Materials)<br />

PRE 554 การกัดกรอนและการปองกัน 3(3-0-9)<br />

(Corrosion and its preventions)<br />

PRE 555 การวิเคราะหความเสียหายทางโลหะวิทยา 3(3-0-9)<br />

(Metallurgical Failure Analysis)<br />

PRE 556 วิธีการวิเคราะหคุณลักษณะของพื้นผิวและหนาสัมผัส 3(3-0-9)<br />

(Methods of Surface and Interface Characterization)<br />

PRE 557 วิทยาศาสตรและวิศวกรรมพื้นผิว 3(3-0-9)<br />

(Surface Science and Engineering)<br />

PRE 558 กลไกการแตกหัก 3(3-0-9)<br />

(Fracture Mechanics)<br />

PRE 559 กรรมวิธีทางความรอนของโลหะ 3(3-0-9)<br />

(Heat Treatment of Metals)


PRE 564 การวิเคราะหกระบวนการขึ้นรูป<br />

10<br />

3(3-0-9)<br />

(Forming Process Analysis)<br />

PRE 622 การออกแบบงานเชื่อมทางวิศวกรรม 3(3-0-9)<br />

(Welding Engineering Design)<br />

PRE 626 โลหะวิทยางานเชื่อม 1 3(2-3-6)<br />

(Welding Metallurgy I)<br />

PRE 627 โลหะวิทยางานเชื่อม 2 3(2-3-6)<br />

(Welding Metallurgy II)<br />

PRE 628 โลหะวิทยางานเชื่อม 3 3(2-3-6)<br />

(Welding Metallurgy III)<br />

PRE 632 วิศวกรรมการหลอโลหะขั้นสูง 3(3-0-9)<br />

(Advanced Foundry Engineering)<br />

PRE 633 การออกแบบงานหลอ 3(3-0-9)<br />

(Casting Design)<br />

PRE 634 วิทยาศาสตรการแข็งตัว 3(3-0-9)<br />

(Solidification Science)<br />

PRE 635 โลหะวิทยาของโลหะผง 3(3-0-9)<br />

(Powder Metallurgy)<br />

PRE 652 แผนภูมิสมดุลของเฟสแบบหลายองคประกอบ 3(3-0-9)<br />

(Multicomponent Phase Equilibria)<br />

PRE 655 โลหะวิทยาทางเคมีขั้นสูง 3(3-0-9)<br />

(Advanced Chemical Metallurgy)<br />

PRE 656 การเปลี่ยนแปลงของของแข็ง 3(3-0-9)<br />

(Transformation of Solids)<br />

PRE 657 วัสดุสําหรับการใชงานที่อุณหภูมิสูง 3(3-0-9)<br />

(Materials for Elevated Temperature Service)<br />

PRE 658 โลหะวิทยาและกระบวนการผลิตของโลหะกลุมเหล็ก 3(3-0-9)<br />

(Ferrous Metallurgy and Its Processing)<br />

PRE 659 โลหะวิทยาและกระบวนการผลิตของโลหะนอกกลุมเหล็ก 3(3-0-9)<br />

(Nonferrous Metallurgy and Its Processing)<br />

PRE 663 กระบวนการเปลี่ยนแปลงรูปราง 3(3-0-9)<br />

(Deformation Processing)


PRE 697 หัวขอศึกษาพิเศษในงานโลหะวิทยากายภาพ<br />

11<br />

3(3-0-9)<br />

(Special Topics in Physical Metallurgy)<br />

PRE 699 หัวขอศึกษาพิเศษในงานโลหะวิทยาการผลิต 3(3-0-9)<br />

(Special Topics in Process Metallurgy)<br />

17.4.4 หมวดวิชาสัมมนา 1 หนวยกิต<br />

PRE 691 สัมมนา 1(1-0-2)<br />

(Seminar)<br />

17.4.5 หมวดวิชาวิทยานิพนธ 12 หนวยกิต<br />

PRE 692 วิทยานิพนธ 12(0-36-72)<br />

(Thesis)


แผน ข<br />

12<br />

17.4.6 หมวดวิชาบังคับ 9 หนวยกิต<br />

หมวดวิชาบังคับของหลักสูตรมีอยู 3 รายวิชา ดังตอไปนี้<br />

PRE 551 โลหะวิทยาทางกายภาพประยุกต 3(3-0-9)<br />

(Applied Physical Metallurgy)<br />

PRE 653 ปรากฏการณการถายเทในโลหะวิทยาการผลิต 3(3-0-9)<br />

(Transport Phenomena in Process Metallurgy)<br />

PRE 654 อุณหพลศาสตรของของแข็ง 3(3-0-9)<br />

(Thermodynamics of Solids)<br />

17.4.7 หมวดวิชาเลือก 24 หนวยกิต<br />

เลือกจากหมวดเดียวกับแผน ก ในหัวขอ 17.4.2<br />

17.4.8 หมวดวิชาสัมมนา 1 หนวยกิต<br />

PRE 691 สัมมนา 1(1-0-2)<br />

(Seminar)<br />

17.4.9 หมวดวิชาโครงงานวิจัยอุตสาหกรรม 6 หนวยกิต<br />

PRE 693 โครงงานวิจัยอุตสาหกรรม 6(0-18-36)<br />

(Industrial Research Project)


17.5 แผนการศึกษา<br />

13<br />

17.5.1 แผนการศึกษาแผน ก(2) (แบบทําวิทยานิพนธ)<br />

ชั้นปที่ 1<br />

ภาคการศึกษาที่ 1<br />

PRE 551 โลหะวิทยาทางกายภาพประยุกต 3(3-0-9)<br />

(Applied Physical Metallurgy)<br />

PRE 653 ปรากฏการณการถายเทในโลหะวิทยาการผลิต 3(3-0-9)<br />

(Transport Phenomena in Process Metallurgy)<br />

PRE 654 อุณหพลศาสตรของของแข็ง 3(3-0-9)<br />

(Thermodynamics of Solids)<br />

PRE --- วิชาเลือก 3(3-0-9)<br />

(Elective)<br />

รวม 12(12-0-36)<br />

ภาคการศึกษาที่ 2<br />

PRE --- วิชาเลือก 3(3-0-9)<br />

(Elective)<br />

PRE --- วิชาเลือก 3(3-0-9)<br />

(Elective)<br />

PRE --- วิชาเลือก 3(3-0-9)<br />

(Elective)<br />

PRE 692 วิทยานิพนธ 3(0-9-18)<br />

(Thesis)<br />

รวม 12(9-9-45)


ชั้นปที่ 2<br />

14<br />

ภาคการศึกษาที่ 1<br />

PRE --- วิชาเลือก 3(3-0-9)<br />

(Elective)<br />

PRE --- วิชาเลือก 3(3-0-9)<br />

(Elective)<br />

PRE 692 วิทยานิพนธ 3(0-9-18)<br />

(Thesis)<br />

รวม 9(6-9-36)<br />

ภาคการศึกษาที่ 2<br />

PRE 691 สัมมนา 1(1-0-2)<br />

(Seminar)<br />

PRE 692 วิทยานิพนธ 6(0-18-36)<br />

(Thesis)<br />

รวม 7(1-18-38)


17.5.2 แผนการศึกษาแผน ข (ทําโครงงานอุตสาหกรรม)<br />

15<br />

ชั้นปที่ 1<br />

ภาคการศึกษาที่ 1<br />

PRE 551 โลหะวิทยาทางกายภาพประยุกต 3(3-0-9)<br />

(Applied Physical Metallurgy)<br />

PRE 653 ปรากฏการณการถายเทในโลหะวิทยาการผลิต 3(3-0-9)<br />

(Transport Phenomena in Process Metallurgy)<br />

PRE 654 อุณหพลศาสตรของของแข็ง 3(3-0-9)<br />

(Thermodynamics of Solids)<br />

PRE --- วิชาเลือก 3(3-0-9)<br />

(Elective)<br />

รวม 12(12-0-36)<br />

ภาคการศึกษาที่ 2<br />

PRE --- วิชาเลือก 3(3-0-9)<br />

(Elective)<br />

PRE --- วิชาเลือก 3(3-0-9)<br />

(Elective)<br />

PRE --- วิชาเลือก 3(3-0-9)<br />

(Elective)<br />

PRE --- วิชาเลือก 3(3-0-9)<br />

(Elective)<br />

รวม 12(12-0-36)


ชั้นปที่ 2<br />

16<br />

ภาคการศึกษาที่ 1<br />

PRE --- วิชาเลือก 3(3-0-9)<br />

(Elective)<br />

PRE --- วิชาเลือก 3(3-0-9)<br />

(Elective)<br />

PRE --- วิชาเลือก 3(3-0-9)<br />

(Elective)<br />

รวม 9(9-0-27)<br />

ภาคการศึกษาที่ 2<br />

PRE 691 สัมมนา 1(1-0-2)<br />

(Seminar)<br />

PRE 693 โครงงานวิจัยอุตสาหกรรม 6(0-18-36)<br />

(Industrial Research Project)<br />

รวม 7(1-18-38)


17.6 คําอธิบายรายวิชา<br />

หมวดวิชาบังคับ<br />

17<br />

PRE 551 โลหะวิทยาทางกายภาพประยุกต 3(3-0-9)<br />

(Applied Physical Metallurgy)<br />

ศึกษาคุณสมบัติทางกลและทางกายภาพของวัสดุทางวิศวกรรม ความสัมพันธระหวางคุณสมบัติ<br />

ตาง ๆ กับโครงสรางทางจุลภาคของโลหะ ความบกพรองในผลึก การแพรในโลหะแข็ง หลักการแข็งตัวของ<br />

โลหะและแผนภาพสมดุล การเปลี่ยนโครงสรางในโลหะแข็ง การทําใหแข็งแรงขึ้นในโลหะเหล็กกลากลุม<br />

HSLA โลหะวิทยาทางกายภาพของโลหะกลุมเหล็กคารบอนและระบบธาตุผสมอื่น ๆ การแบงประเภทและ<br />

การใชงานของกลุมเหล็กหลอ หลักการแข็งตัวของน้ําโลหะในระบบธาตุผสม 2 ชนิด<br />

PRE 653 ปรากฏการณการถายเทในโลหะวิทยาการผลิต 3(3-0-9)<br />

(Transport Phenomena in Process Metallurgy)<br />

หลักการที่วาดวยการไหล การถายเทความรอนและการแพร ตัวอยางในเชิงปฏิบัติที่เกี่ยวของกับ<br />

วิศวกรรมโลหการ การประยุกตใชงานในกรรมวิธีทางโลหการ (กรรมวิธีทางความรอน การชุบแข็งโดย<br />

เลเซอร การเชื่อมโลหะ การหลอโลหะ การปลูกผลึกเดี่ยว)<br />

PRE 654 อุณหพลศาสตรของของแข็ง 3(3-0-9)<br />

(Thermodynamics of Solids)<br />

อุณหพลศาสตรของวัสดุทางวิศวกรรม ทบทวนกฎทางอุณหพลศาสตรขอที่หนึ่ง สอง และสาม<br />

คํานวณหาสมดุลของธาตุบริสุทธิ์และสมดุลของธาตุบริสุทธิ์และสารละลาย พฤติกรรมของสารละลายและ<br />

กาซ ปฏิกิริยาที่สัมพันธกับกาซตาง ๆ พลังงานอิสระกิ๊บ (Gibbs Free Energy) กับแผนภาพสมดุลของธาตุ<br />

ผสม 2 ชนิด


หมวดวิชาเลือก<br />

18<br />

PRE 521 การเชื่อมและการประสานโลหะ 3(3-0-9)<br />

(Welding and Joining of Metals)<br />

ศึกษากระบวนการเชื่อมโลหะแบบหลอมละลายและแบบของแข็ง การบัดกรีและการประสานโลหะ<br />

การไหลของความรอนในการเชื่อมและวงจรของความรอนในงานเชื่อม โครงสรางและคุณสมบัติของงาน<br />

เชื่อม อิทธิพลของความรอนในงานเชื่อม ความเคนตกคาง การแตกและการบิดของงานเชื่อม ขอบกพรองใน<br />

งานเชื่อม การปฏิบัติทางความรอน การออกแบบรอยตอ การทดสอบงานเชื่อม ความสามารถในการเชื่อม<br />

ของอัลลอย การประกันคุณภาพของงานเชื่อม<br />

PRE 525 การตรวจสอบวัสดุโดยไมทําลายสภาพ 3(2-3-6)<br />

(Nondestructive Testing of Materials)<br />

หลักการเบื้องตน วัตถุประสงค การใชงาน และสวนประกอบเบื้องตนของ NDT การแปรผลการ<br />

ตรวจสอบ ทบทวนวิธีการตาง ๆ ของ NDT : การตรวจสอบดวยอัลตราโซนิค การตรวจสอบดวยภาพถาย<br />

รังสี การตรวจสอบดวยผงแมเหล็ก การตรวจสอบดวยของเหลวแทรกซึม การตรวจสอบดวยกระแสไหลวน<br />

และวิธีการอื่น ๆ เชน อะคูสติกอิมิสชั่น การตรวจสอบการรั่ว การสังเกตและวิธีการทางความรอน การ<br />

ประยุกตใช NDT ในการตรวจสอบรอยตอ การควบคุมคุณภาพ กระบวนการและเกณฑการยอมรับหรือ<br />

ปฏิเสธ ทดลองปฏิบัติการใชเทคนิค NDT ตาง ๆ<br />

PRE 531 เทคโนโลยีการหลอโลหะ 3(3-0-9)<br />

(Foundry Technology)<br />

เทคนิคการหลอโลหะ ขอดีและความเหมาะสมของงานหลอ หลักของกระบวนการไหลของน้ําโลหะ<br />

หลักการแข็งตัว กระสวนแบบหลอ และกระบวนการหลอโลหะ เครื่องมือและอุปกรณที่ใชในงานหลอโลหะ<br />

ขอคํานึงในการออกแบบงานหลอ การหลอโลหะผสมของเหล็กที่มีสวนผสมและไมมีสวนผสมของเหล็ก<br />

การนําคอมพิวเตอรชวยในการหลอโลหะ<br />

PRE 552 การศึกษาพฤติกรรมทางกลของวัสดุ 3(3-0-9)<br />

(Mechanical Behavior of Materials)<br />

ศึกษาความสัมพันธและสมบัติทางกลของวัสดุ การแปรรูปอยางถาวรของวัสดุ ความสัมพันธ<br />

ระหวางโครงสรางจุลภาคของวัสดุกับความแข็งแรงทางกล ศึกษาถึงลักษณะของรอยแตก ทฤษฎีการคลาน<br />

ตัวและทฤษฏีการลาตัวของวัสดุ


PRE 554 การกัดกรอนและการปองกัน<br />

19<br />

3(3-0-9)<br />

(Corrosion and Its Prevention)<br />

อุณหพลศาสตรและจลศาสตรของการกัดกรอนของโลหะ ลักษณะของการกัดกรอน และการ<br />

ทดสอบแนวโนมของการกัดกรอน การปองกันการกัดกรอนและขอพิจารณาโดยใชหลักเศรษฐศาสตร การ<br />

เกิดออกซิเดชั่นที่อุณหภูมิสูง กรณีศึกษา<br />

PRE 555 การวิเคราะหความเสียหายทางโลหะวิทยา 3(3-0-9)<br />

(Metallurgical Failure Analysis)<br />

กรรมวิธีในการวิเคราะหความเสียหาย เทคนิคในการสืบสวน ความเสียหายเนื่องจากการบิด ลักษณะการแตกหัก<br />

จากภาระกรรมแบบครั้งเดียว ระบบความเครียดที่เกี่ยวเนื่องกับการแตกหักดวยภาระกรรมแบบครั้งเดียวของโลหะที่เหนียว<br />

และเปราะ การแตกราวโดยการลา ความเสียจากการสึกหรอ ความเสียหายจากการกัดกรอน กรณีศึกษาความเสียหายทาง<br />

โลหะวิทยา<br />

PRE 556 วิธีการวิเคราะหคุณลักษณะของพื้นผิวและหนาสัมผัส 3(3-0-9)<br />

(Methods of Surface and Interface Characterization)<br />

หลักการและการประยุกตใชวิธีการหลัก ในการวิเคราะหคุณลักษณะของโครงสรางและหนาสัมผัส<br />

ที่รวมถึงกลองจุลทรรศนแบบแสง การศึกษาโครงสรางโลหะแบบยอมสี การใชแสงแบบมีแสงไปทางเดียว<br />

และแบบนอมารสกี้ในกลองจุลทรรศนแบบแสง กลองจุลทรรศนอิเล็กตรอนแบบลําแสงกวาด กลอง<br />

จุลทรรศนอิเล็กตรอนแบบลําแสงทะลุ เครื่องมือและวิธีการในวิเคราะหโครงสราง สมบัติทางกายภาพ และ<br />

ทางเคมี<br />

PRE 557 วิทยาศาสตรและวิศวกรรมพื้นผิว 3(3-0-9)<br />

(Surface Science and Engineering)<br />

ศึกษาทฤษฎีการตกแตงผิว สมบัติทางอิเลคโทรนิคของผิว ผิวหนาสัมผัส การจําแนกลักษณะของ<br />

ผิวโดยโฟตรอน อิเล็คตรอนและอิออน ศึกษาถึงอิทธิพลของสารประกอบบนโครงสรางของผิวตอสมบัติของ<br />

ผิวดานนอก ทฤษฎีและกรรมวิธีการทดลองเพื่อหาพลังงานพื้นผิว ผิวหนาสัมผัสระหวางของแข็ง-ของเหลว<br />

ของแข็ง-กาซ การดูดซับและปฏิกิริยาของพื้นผิว ความเสียหายของผิวโดยการกัดกรอนและการสึกกรอน<br />

กลไกและชนิดของการสึกกรอน การปรับสภาพผิวโดยขบวนการแพร กรรมวิธีทางความรอน และการชุบ<br />

เคลือบผิว การปรับสภาพผิวงานดวยลําแสงเลเซอร อิเล็คตรอนและอิออน


PRE 558 กลไกการแตกหัก 3(3-0-9)<br />

20<br />

(Fracture Mechanics)<br />

กลไกของการเปลี่ยนรูปและแตกหักของโลหะ ผลของโครงสรางตอการทนตอการแตกหัก การแตกหัก<br />

เนื่องจากสภาวะรอบขาง การแตกแบบลา การออกแบบเพื่อปองกันการเกิดการแตกหักในชิ้นงานและกรณีศึกษา<br />

PRE 559 กรรมวิธีทางความรอนของโลหะ 3(3-0-9)<br />

(Heat Treatment of Metals)<br />

ศึกษาถึงทฤษฎีและหลักการของดิสโลเคชั่นและกลไกการเพิ่มความแข็งแรงของโลหะ การคืนตัว การเกิด<br />

ผลึกใหมและการโตของขนาดเกรน การเปลี่ยนแปลงเฟสของของแข็งในโลหะ กรรมวิธีการทําผิวแข็ง กรรมวิธีตาง ๆ<br />

ทางความรอน<br />

PRE 564 การวิเคราะหกระบวนการขึ้นรูป 3(3-0-9)<br />

(Forming Process Analysis)<br />

การขึ้นรูปเชิงพลาสติกของโลหะ การดัดโคง การทุบอัด รีด รัดอัด ลากขึ้นรูป การขึ้นรูปโลหะแผน การทุบ<br />

ขึ้นรูปซับซอน เรขาคณิตของบริเวณแปรสภาพการขึ้นรูปได อสมมารตรเชิงพลาสติก ปฏิการวิเคราะหกระบวน<br />

การขึ้นรูปโดยใชคอมพิวเตอร<br />

PRE 622 การออกแบบงานเชื่อมทางวิศวกรรม 3(3-0-9)<br />

(Welding Engineering Design)<br />

หลักการออกแบบที่ใชในการเชื่อมโครงสราง หลักการออกแบบเบื้องตน การคํานวณความแข็งแรง<br />

ของงานเชื่อม ความแข็งแรงที่ยอมรับไดและขนาดรอยเชื่อมใน AWS การออกแบบรอยตอและสัญลักษณ<br />

ปริมาณของรอยเชื่อมและการตออยางงาย การตอแบบแข็งเกร็งและกึ่งแข็งเกร็ง การตอฐาน การตอคาน<br />

การตอทอ การออกแบบสําหรับรับแรงกระแทกและการสั่นสะเทือน ชิ้นสวนที่รับแรงดึง ชิ้นสวนที่รับแรงอัด<br />

ชิ้นสวนที่รับแรงกด คานที่ผานการเชื่อมประกอบ ถังผิวหนาและทอความดัน ฐานเครื่องจักร/สวนที่ตานทาน<br />

แรงบิด การออกแบบกรณีตัวอยางและโปรเจคการออกแบบในเทอม<br />

PRE 626 โลหะวิทยางานเชื่อม 1 3(2-3-6)<br />

(Welding Metallurgy I)<br />

การใชงานลักษณะทางกายภาพทางโลหะวิทยาสําหรับลักษณะการเย็นตัวทางกลที่ไมสมดุลยซึ่ง<br />

เกิดในงานเชื่อม ขอบเขตในการเชื่อมแบบหลอมเหลว ขอบเขตในการเชื่อมในสภาวะของแข็ง หลักการแข็ง<br />

ตัวของงานเชื่อม บริเวณการหลอมเหลวและบริเวณที่ไมมีการผสม บริเวณกึ่งหลอมเหลวของ HAZ บริเวณ


21<br />

กระทบรอน การจัดประเภทของรอยบกพรองในงานเชื่อมและความไมตอเนื่อง การแตกขณะแข็งตัว<br />

ของงานเชื่อม การแตกบริเวณ HAZ และเนื้อเชื่อม ปรากฏการณแตกในสภาวะแข็งตัว การแตกเนื่องจาก<br />

ไฮโดรเจน การทดสอบความสามารถในการเชื่อม คุณลักษณะการไหลและการแทรกซึมของโลหะเชื่อม ผล<br />

ของกาซ/โลหะและการเกิดสิ่งเจือปน<br />

PRE 627 โลหะวิทยางานเชื่อม 2 3(2-3-6)<br />

(Welding Metallurgy II)<br />

การศึกษาโลหะวิทยาและการเชื่อมเหล็กกลาที่สามารถแปรรูปได ความสําคัญของเหล็กกลาและ<br />

ความสามารถในการขึ้นรูป เฟสไดอะแกรมของเหล็กกลาคารบอน อัลลอยในเหล็กกลาและความสามารถ<br />

ในการชุบแข็ง TTT ไดอะแกรม CCT ไดอะแกรม กระบวนการผลิตเหล็กกลา โครงสรางจุลภาคของ<br />

เหล็กกลา คุณสมบัติของโครงสรางจุลภาคเหล็กกลา การแข็งตัว การเกิดเฟสเฟอรริติคและโครงสราง<br />

บริเวณโลหะเชื่อม โครงสรางจุลภาคบริเวณกระทบรอน การเสียหายในเหล็กกลา การเชื่อมเหล็กกลา<br />

คารบอน โลหะเติม การเชื่อมเหล็กกลาคารบอน ความยากและขอบกพรอง ไฮโดรเจนในเหล็กกลาและการ<br />

วัดปริมาณ การแตกเนื่องจากไฮโดรเจน และการเสียหายในรอยเชื่อม การเชื่อมเหล็กกลาความแข็งแรงสูง<br />

โลหะเติม ความสามารถในการเชื่อม การทดสอบความสามารถในการเชื่อมสําหรับการแตก เนื่องจาก<br />

ไฮโดรเจน เทคนิคการวิเคราะหการเสียหายในการเชื่อม<br />

PRE 628 โลหะวิทยางานเชื่อม 3 3(2-3-6)<br />

(Welding Metallurgy III)<br />

โลหะวิทยางานเชื่อมและความสามารถในการเชื่อมของสเตนเลส อะลูมิเนียมอัลลอยและนิเกิล<br />

และโคบอลซูเปอรอัลลอย การตอโพลิเมอรและวัสดุผสมโพลิเมอร คุณลักษณะของโครงสรางงานเชื่อมใน<br />

สเตนเลส อะลูมิเนียมอัลลอย และนิเกิลซูเปอรอัลลอย สเตนเลสเบื้องตน Fe-Cr, Fe-Cr-C และ Fe-Cr-Ni<br />

เฟสไดอะแกรม โลหะวิทยางานเชื่อมและความสามารถในการเชื่อมของสเตนเลสเฟอรริติค โลหะวิทยางาน<br />

เชื่อมและความสามารถในการเชื่อมของสเตนเลสมารเทนซิติค โลหะวิทยางานเชื่อมและความสามารถใน<br />

การเชื่อมของสเตนเลสออสเตนนิติค โลหะวิทยางานเชื่อม และความสามารถในการเชื่อมของสเตนเลส<br />

ดูเพล็กซ โลหะวิทยางานเชื่อมและความสามารถในการเชื่อมของสเตนเลสที่ชุบแข็งโดยการสรางนิวเคลียส<br />

เทียม การเชื่อมตอกันสเตนเลส พฤติกรรมการกัดกรอนของงานเชื่อมสเตนเลส โลหะวิทยางานเชื่อมของ<br />

นิเกิลอัลลอย ความสามารถในการเชื่อมของนิเกิลอัลลอย โลหะวิทยางานเชื่อมของคอปเปอรอัลลอย ความ<br />

สามารถในการเชื่อมของคอปเปอรอัลลอย โลหะวิทยางานเชื่อมของอะลูมิเนียมอัลลอย ความสามารถใน<br />

การเชื่อมของอะลูมิเนียมอัลลอย โลหะวิทยาทางกายภาพของไทเทเนียมอัลลอย ความสามารถในการเชื่อม<br />

ของไทเทเนียมอัลลอย การเลือกใชอัลลอย


PRE 632 วิศวกรรมการหลอโลหะขั้นสูง<br />

22<br />

3(3-0-9)<br />

(Advanced Foundry Engineering)<br />

ศึกษาหลักการ ขบวนการของน้ําโลหะเหลว ขบวนการการทําแบบหลอและการหลอ ขบวนการและ<br />

อุปกรณที่ใชในงานหลอ รวมไปถึงขบวนการหลอมและขบวนการตกแตงชิ้นงานหลอ แบบจําลองการแข็งตัว<br />

และการถายเทความรอน แบบจําลองการเกิดและเปลี่ยนแปลงโครงสรางของงานหลอ<br />

PRE 633 การออกแบบงานหลอ 3(3-0-9)<br />

(Casting Design)<br />

การศึกษาปฏิกิริยาที่เกิดในน้ําโลหะ การออกแบบแบบหลอ การเลือกใชไสแบบ ปญหาตาง ๆ ใน<br />

งานหลอบาง ๆ และบริเวณรอยตอ การกําหนดขนาดและระยะความเผื่อในงานหลอ โพรงหดตัวจากการ<br />

แข็งตัวของน้ําโลหะ ความถูกตองในงานหลอที่ได การตกแตงผิวขั้นสุดทาย โครงสรางคุณสมบัติและจุด<br />

บกพรองของงานหลอที่เสร็จแลว การออกแบบงานหลอสําหรับงานหลอแบบฉีด การออกแบบงานหลอ<br />

สําหรับงานที่ตองการความตานทานการกัดกรอนและการทนความรอน การเลือกวัสดุ คุณสมบัติและการใช<br />

งานในงานหลอโลหะผสมที่ไมใชเหล็ก<br />

PRE 634 วิทยาศาสตรการแข็งตัว 3(3-0-9)<br />

(Solidification Science)<br />

ศึกษาการเกิด และพัฒนาของสถานะตาง ๆ ของโลหะในอุตสาหกกรรมงานหลอโลหะ และ<br />

อุตสาหกรรมการเชื่อมประสาน การนําหลักการทางวิทยาศาสตรและวิศวกรรมศาสตร ไปประยุกตใชกับ<br />

ปรากฎการณการแข็งตัวของน้ําโลหะ ปญหาในงานหลอโลหะและงานเชื่อมประสาน ทฤษฎีการตกผลึกและ<br />

การเติบโตของเม็ดผลึก<br />

PRE 635 โลหะวิทยาของโลหะผง 3(3-0-9)<br />

(Powder Metallurgy)<br />

ศึกษาถึงชนิดตาง ๆ ของขบวนการของโลหะผงและอิทธิพลของขบวนการที่มีตอคุณสมบัติตาง ๆ<br />

ของชิ้นสวนที่ผลิต กรรมวิธีและเทคโนโลยีทันสมัยในปจจุบันที่เกี่ยวของ ตั้งแตระบบการผลิตที่มีปริมาณ<br />

มาก ๆ จนถึงวัสดุขนาดเล็กจะถูกนํามาศึกษา ขั้นตอนและขบวนการเตรียมและขึ้นรูปผงโลหะ คุณสมบัติ<br />

ทางวิศวกรรมและการใชงานในอุตสาหกรรม ทฤษฎีการอัดขึ้นรูปและการอบชิ้นงานโลหะผง


PRE 652 แผนภูมิสมดุลของเฟสแบบหลายองคประกอบ<br />

23<br />

3(3-0-9)<br />

(Multicomponent Phase Equilibria)<br />

หลักการทางอุณหพลศาสตรที่ใชครอบคลุมบังคับถึงแผนภูมิสมดุล การประมาณของคาทาง<br />

อุณหพลศาสตร ระบบองคประกอบเดียว และระบบสององคประกอบ: ระบบ eutectic, peritectic, และ<br />

ระบบที่ซับซอนอื่น การแข็งตัวและโครงสรางทางจุลภาค ระบบสามองคประกอบชนิดที่ 1 2 และ 3 ที่ไมมี<br />

การแปรผัน การนําเอาแผนภูมิสมดุลของเฟสมาใชในการออกแบบการเชื่อม กรรมวิธีทางความรอน การ<br />

หลอ และดานอื่นๆ<br />

PRE 655 โลหะวิทยาทางเคมีขั้นสูง 3(3-0-9)<br />

(Advanced Chemical Metallurgy)<br />

เนื้อหาที่วาดวยการดุลสมการเคมี การสมดุลของมวลและพลังงาน กระบวนการที่ซับซอนของกรรม<br />

วิธีทางโลหะการ เชน การเตรียมแร การยาง ปฏิกิริยาการเพิ่มและลดออกซิเจน การถลุงแร การปรับสภาพ<br />

บริสุทธ การถายโอนอิออนในเซลลไฟฟา การเกิดและการควบคุมสแลก<br />

PRE 656 การเปลี่ยนแปลงของของแข็ง 3(3-0-9)<br />

(Transformation of Solids)<br />

ปจจัยพื้นฐานในการพิจารณาถึงสมดุลยของเฟส และคุณลักษณะทางโครงสรางของของแข็ง การ<br />

เปลี่ยนแปลงของเฟส การเกิดผลึก การตกผลึกใหม การตกตะกอน การกัดกรอน การเกิดออกไซด ความรู<br />

พื้นฐานระดับอะตอมสําหรับการแพร การวิเคราะหจลศาสตร การแพรในระบบเฟสเดี่ยวและหลายเฟส<br />

โครงสรางผลึกและโครงสรางทางจุลภาคของการเปลี่ยนแปลงไปเปนมารเทนไซท<br />

PRE 657 วัสดุสําหรับการใชงานที่อุณหภูมิสูง 3(3-0-9)<br />

(Materials for Elevated Temperature)<br />

คุณสมบัติทางกลของโลหะ และวัสดุอื่น ๆ โดยพิจารณาถึงสวนผสมทางเคมี โครงสราง สภาพการ<br />

ใชงาน ความเสถียรของโครงสราง การคืบคลานตัวและการแตกหักจากความเคน<br />

PRE 658 โลหะวิทยาและกระบวนการผลิตของโลหะกลุมเหล็ก 3(3-0-9)<br />

(Ferrous Metallurgy and Its Processing)<br />

กรรมวิธีการผลิตเหล็กและเหล็กกลา การผลิตเหล็กกลาดวยเตาออกซิเจน เตาอารค โลหะวิทยาใน<br />

เบาพักน้ําโลหะ กรรมวิธีอารกอน-ออกซิเจน ดีออกซิเดชั่น (เอโอดี) กรรมวิธีไดเรครีดักชั่นแอนดสเมลลิ่ง การ<br />

หลอแบบตอเนื่องสําหรับผลิตภัณฑเหล็กกลา ชนิดและโลหะวิทยาพื้นฐานของเหล็กหลอและเหล็กกลา


24<br />

คุณสมบัติตาง ๆ ของเหล็กหลอและเหล็กกลา กรรมวิธีการอบชุบของเหล็กหลอและเหล็กกลา กรรม<br />

วิธีการเกิดผลึกกราไฟท การเปลี่ยนแปลงเฟสในระบบ Fe-C การเกิดโครงสรางมารเทนไซด เหล็กกลาผสม<br />

ต่ําความแข็งแรงสูง โลหะวิทยาสําหรับเหล็กกลาไรสนิม<br />

PRE 659 โลหะวิทยาและกระบวนการผลิตของโลหะนอกกลุมเหล็ก 3(3-0-9)<br />

(Nonferrous Metallurgy and Its Processing)<br />

เนนถึงคุณสมบัติ กระบวนการผลิตและการใชงานของทองแดงผสม อลูมิเนียมผสม แมกนีเซียม<br />

ผสมและไทเทเนียมผสม ตลอดจนความสัมพันธระหวางสวนผสมทางเคมี โครงสรางทางจุลภาค กรรมวิธี<br />

ทางความรอนและคุณสมบัติที่ไดมา<br />

PRE 663 กระบวนการการเปลี่ยนแปลงรูปราง 3(3-0-9)<br />

(Deformation Processing)<br />

ศึกษาโครงสรางระดับมหภาคและจุลภาคที่เกิดขึ้นระหวางการเปลี่ยนแปลงรูปรางและการ<br />

สังเคราะห เชน การรีด การดันขึ้นรูปที่อุณหภูมิคงที่ การพิมพในขณะรอน การขึ้นรูปขณะเย็น ขบวนการ<br />

HIP และ psuedo-HIP ขบวนการพลาสมาสเปรย กระบวนการใชเลเซอรเพื่อการปรับปรุงคุณสมบัติ เปนตน<br />

และยังหาความสัมพันธระหวางโครงสรางและคุณสมบัติของวัสดุ<br />

PRE 697 หัวขอศึกษาพิเศษในงานโลหะวิทยากายภาพ 3(3-0-9)<br />

(Special Topics in Physical Metallurgy)<br />

ศึกษาหัวขอใหม ๆ ที่ทันสมัยและกําลังเปนที่สนใจในดานโลหะวิทยากายภาพ ซึ่งรายละเอียดของ<br />

วิชาจะทําการกําหนดขึ้นมาตามหัวขอที่ศึกษา<br />

PRE 699 หัวขอศึกษาพิเศษในงานโลหะวิทยาการผลิต 3(3-0-9)<br />

(Special Topics in Process Metallurgy)<br />

ศึกษาหัวขอใหม ๆ ที่ทันสมัยและกําลังเปนที่สนในวงการอุตสาหกรรมดานโลหะวิทยาการผลิต ซึ่ง<br />

รายละเอียดของวิชาจะทําการกําหนดขึ้นมาตามหัวขอที่ศึกษา


หมวดวิชาสัมมนา<br />

25<br />

PRE 691 สัมมนา 1(1-0-2)<br />

(Seminar)<br />

นักศึกษาจับกลุมอภิปรายประสบการณในระหวางการปฏิบัติงานในโรงงานอุตสาหกรรม รวมทั้ง<br />

การอภิปรายจากวิทยากรภายนอก และคณาจารย<br />

หมวดวิชาวิทยานิพนธและโครงงานวิจัยอุตสาหกรรม<br />

PRE 692 วิทยานิพนธ 12(0-36-72)<br />

(Thesis)<br />

วิทยานิพนธประกอบดวยการศึกษาและวิจัยในหองปฏิบัติการหรือในภาคสนาม ภายใตการดูแล<br />

จากคณาจารยในหัวขอที่เกี่ยวของและไดรับการอนุมัติ โดยมีการเขียนและสอบวิทยานิพนธ<br />

PRE 693 โครงงานวิจัยอุตสาหกรรม 6(0-18-3)<br />

(Industrial Research Project)<br />

นักศึกษาจะตองปฏิบัติงานวิเคราะหและแกปญหางานในอุตสาหกรรมเปนระยะเวลา 4 เดือน พรอมกับเขียนราย<br />

งานโครงงานวิจัยอุตสาหกรรม และสอบโครงงาน


18. การประกันคุณภาพของหลักสูตร<br />

26<br />

18.1 ระบบการจัดการเรียนการสอน<br />

เปาหมาย การดําเนินการ การประเมินผล<br />

เพื่อจัดการเรียนการสอนในแตละวิชาใหตรง<br />

กับความตองการและความจําเปนของผู<br />

เรียนและเพื่อกระตุนใหผูเรียนคิดอยางมี<br />

ระบบและสงเสริมใหผูเรียนไดพัฒนาศักย<br />

ภาพในการเรียนรูและประยุกตใชสิ่งที่ได<br />

จากการเรียนภาคทฤษฎีในภาคปฏิบัติของ<br />

แตละรายวิชาใหตรงตามวัตถุประสงค<br />

1. จัดระบบการเรียนการสอนที่เนนผูเรียน<br />

เปนศูนยกลาง สงเสริมใหผูเรียนได<br />

แสดงความคิดเห็นอยางอิสระตอทุก<br />

รายวิชาที่เปดสอน<br />

2. จัดอุปกรณการเรียนการสอนที่ทันตอ<br />

นวัตกรรมทางเทคโนโลยี ใหผูเรียนได<br />

ใชอยางเต็มประสิทธิภาพ โดยเฉพาะ<br />

อยางยิ่งอุปกรณตาง ๆ ในหองปฏิบัติ<br />

การ (Laboratory)<br />

3. จัดหาแหลงขอมูลทางวิชาการที่ทัน<br />

สมัยใหนักศึกษาไดคนควาประกอบ<br />

การศึกษาและเปดโลกทัศนดานความรู<br />

เชิงวิชาการ<br />

4. ปรับปรุงเนื้อหาวิชาที่สอนในหลักสูตร<br />

ใหทันตอความเจริญทางวิชาการ<br />

5. กําหนดมาตรฐานในการวัดผลและการ<br />

สําเร็จการศึกษาที่ชัดเจน<br />

6. กําหนดขอบเขตของงานวิจัยใหเหมาะ<br />

กับบุคลากร สภาพปญหา และอุปกรณ<br />

ที่มี<br />

ทําแบบสอบถามเพื่อประเมินทัศนคติ<br />

ทางวิชาการเกี่ยวกับเนื้อหาวิชาและ<br />

เทคนิควิธีการสอนของอาจารยตลอด<br />

ถึงการวัดผลการเรียนใหผูเรียนแตละ<br />

รายวิชาไดแสดงความคิดเห็นโดยเสรี<br />

ผลจากแบบสอบถามและการ<br />

สั มภาษณ จะนําเสนอต อคณะ<br />

กรรมการประจําหลักสูตร เพื่อนําไป<br />

ปรับเปลี่ยนตามความเหมาะสมและ<br />

ตรงตามความตองการของนักศึกษาใน<br />

แตละภาคการศึกษา


18.2 ระบบการทําและการสอบวิทยานิพนธ<br />

เปาหมาย การดําเนินการ การประเมินผล<br />

สงเสริมใหนักศึกษามีความเชี่ยวชาญทั้ง<br />

ทางดานทฤษฎีและปฏิบัติในสาขาที่ทําวิจัย<br />

อยางลึกซึ้ง สามารถวางแผนและกําหนด<br />

เปาหมายงานวิจัยไดดวยตนเอง<br />

1. กําหนดใหนักศึกษาเสนอโครงราง<br />

วิทยานิพนธ/โครงการศึกษาวิจัยการ<br />

เรียนการสอน ตอคณะกรรมการประจํา<br />

สาขาวิศวกรรมอุตสาหการเพื่อ<br />

พิจารณารวมกันและใหขอเสนอแนะ<br />

2. นักศึกษาจะไดรับการประเมินความ<br />

กาวหนาวิทยานิพนธ/โครงการการ<br />

ศึกษาวิจัย ภาคการศึกษาละ 1 ครั้ง<br />

โดยมีกรรมการวิทยานิพนธและ<br />

กรรมการโครงการศึกษาวิจัยเปนผู<br />

ตรวจสอบ โดยนักศึกษาจะตองเสนอ<br />

ผลงานวิจัยและรับคําปรึกษาวิทยา<br />

นิพนธหรือโครงการการศึกษาวิจัย<br />

อยางตอเนื่องตลอดภาคการศึกษา<br />

3. สงเสริมใหนักศึกษาไดเสนอผลงาน<br />

วิจัยวิทยานิพนธ หรือโครงการการ<br />

ศึกษาวิจัยในการประชุมวิชาการตางๆ<br />

และเสนอบทความในวารสารทางวิชา<br />

การ<br />

27<br />

1. ประเมินผลความกาวหนาและ<br />

ทักษะการแกไขปญหาระหวาง<br />

ทําวิทยานิพนธ/โครงการการ<br />

ศึกษาวิจัยอยางนอยภาคการ<br />

ศึกษาละ 1 ครั้ง โดยมีคณะ<br />

กรรมการที่มีองคประกอบเปน<br />

ไปตามขอกําหนดของทบวง<br />

มหาวิทยาลัย<br />

2. ประเมินผลโดยการสอบวิทยา<br />

นิพนธ โดยมีคณะกรรมการที่มี<br />

องคประกอบเปนไปตามขอ<br />

กําหนด


18.3 ระบบการประเมินหลักสูตร<br />

28<br />

เปาหมาย การดําเนินการ การประเมินผล<br />

เพื่อใหเห็นจุดออนและจุดแข็งของหลักสูตร<br />

โดยรวมในแตละปการศึกษาเพื่อปรับ<br />

เปลี่ยนใหทันกับความกาวหนาทางวิทยา<br />

การและตรงตามความตองการของนัก<br />

ศึกษาและสถาบันตางๆ ที่เกี่ยวของ<br />

1. ในแตละวิชาของทุกภาคการศึกษา จะ<br />

มีการสัมภาษณนักศึกษาและใหนัก<br />

ศึกษากรอกแบบสอบถามเพื่อประเมิน<br />

ทัศนคติทางวิชาการตอเนื้อหาวิชาและ<br />

เทคนิคการสอนของอาจารยและวิธีการ<br />

วัดผลขอมูลเหลานี้จะไดรับการ<br />

พิจารณาในคณะกรรมการบัณฑิต<br />

ศึกษาของภาควิชา เพื่อการปรับปรุงวิธี<br />

การสอนและเนื้อหาของวิชาตามความ<br />

เหมาะสมและตรงตอความตองการ<br />

ของนักศึกษาภายในภาคการศึกษา<br />

นั้นๆ<br />

2. ใหนักศึกษากรอกแบบสอบถามที่เกี่ยว<br />

กับหลักสูตรเมื่อจบการศึกษา และขอ<br />

มูลจะถูกพิจารณาในคณะกรรมการ<br />

บัณฑิตศึกษาของภาควิชา เพื่อการ<br />

พิจารณาปรับปรุงหลักสูตรเปนรายป<br />

3. ทุก 4 ปการศึกษา จะมีการประเมิน<br />

หลักสูตรรวมกัน ระหวางนักศึกษาที่จบ<br />

การศึกษาแลว และไปทํางานในหนวย<br />

งานตาง ๆ กับนักศึกษาปจจุบันและ<br />

คณะกรรมการบัณฑิตศึกษาของภาค<br />

วิชา รวมทั้งผูเชี่ยวชาญในสาขาวิชา<br />

ตาง ๆ มารวมกันประเมินเนื้อหาและ<br />

วิธีการเรียนการสอน และการวัดผล<br />

เพื่อพิจารณา ปรับปรุงหลักสูตรใหดียิ่ง<br />

ขึ้น ทั้งในดานคุณภาพ และประสิทธิ<br />

ภาพ<br />

มีการประเมินในรายละเอียด และโดย<br />

ภาพรวมของหลักสูตรดังนี้<br />

1. ผลที่ไดจากแบบสอบถามและการ<br />

สัมภาษณนักศึกษาทั้งรายภาค<br />

การศึกษาและรายปจะนํามา<br />

พิจารณาในคณะกรรมการประจํา<br />

สาขาวิชา เพื่อปรับปรุงตามที่สม<br />

ควร<br />

2. ผลจากการประชุมเชิงวิชาการ<br />

ของนักศึกษาคณาจารย และผู<br />

เชี่ยวชาญจะนํามาวิเคราะหเพื่อ<br />

ใหเกิดแนวทางในการปรับปรุง<br />

หลักสูตรโดยละเอียดเพื่อให<br />

เหมาะสมตรงกับสถานการณที่<br />

เปนไปในวงการศึกษาในปจจุบัน


18.4 ระบบการพัฒนาหลักสูตรใหทันสมัย<br />

เปาหมาย การดําเนินการ การประเมินผล<br />

เพื่อใหอาจารยและนักศึกษากาวทันตอ<br />

ทฤษฎีและเทคโนโลยีใหมๆ<br />

1. สงเสริมใหอาจารยและนักศึกษามีการ<br />

ใชเครือขายสื่อสารทาง Internet เพื่อ<br />

ใหไดทราบถึงทฤษฎีและเทคโนโลยี<br />

ใหมๆ<br />

2. จัดหาหนังสือ วารสาร ตําราใหมๆ ที่<br />

เกี่ยวของกับรายวิชาในหลักสูตรทุก<br />

ภาคการศึกษารวบรวมไว เพื่อใหนัก<br />

ศึกษาและคณาจารยสามารถใชได<br />

อยางสะดวก<br />

3. จัดหาโสตทัศนูปกรณ และครุภัณฑที่<br />

จําเปนสําหรับการเรียนการสอนใหทัน<br />

ตอความกาวหนาทางวิชาการของวง<br />

การการศึกษาระดับสากล<br />

4. ทุกภาคการศึกษาจะมีการจัดการ<br />

สัมมนาภายในภาควิชาอยางนอยภาค<br />

การศึกษาละ 4 ครั้ง สําหรับนักศึกษา<br />

และคณาจารยของภาควิชาวิศวกรรม<br />

อุตสาหการ จากหนวยงานภายในและ<br />

ภายนอกมหาวิทยาลัยไดเขารวม<br />

ประชุม/สัมมนา ทั้งนี้โดยมีผูเชี่ยวชาญ<br />

ในดานตาง ๆ เพื่อเปนวิทยากร<br />

5. สงเสริมอาจารยประจําหลักสูตรใหไป<br />

สัมมนาและประชุมทางวิชาการใน<br />

ระดับชาติและระดับนานาชาติ<br />

29


19. เหตุผลขอเปดหลักสูตรและปการศึกษาที่ใชหลักสูตร<br />

30<br />

19.1 เหตุผลในการขอเปดหลักสูตร<br />

เนื่องจากในปจจุบันการแขงขันทางดานอุตสาหกรรมทางดานโลหะไดทวีความรุนแรงและเขมขน<br />

อยูตลอดเวลา อุตสาหกรรมภายในประเทศตองการวิศวกรที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะสาขามากยิ่งขึ้น<br />

หลักสูตรที่เปดจึงตองมีทั้งรายวิชาเลือกและวิชาบังคับเพื่อใหนักศึกษามีโอกาสเลือกเรียนวิชาที่มีประโยชน<br />

เพื่อสามารถนําไปประยุกตใชกับงานจริงตามความสนใจ เพื่อใหบัณฑิตที่สําเร็จการศึกษามีความรูความ<br />

สามารถที่ดี ทั้งทางดานโลหะวิทยาและทางดานเทคโนโลยีการผลิตโลหะ เพื่อนําพาองคกรไปสูความเปน<br />

เลิศในอุตสาหกรรม ลดการนําเขาเทคโนโลยีราคาแพง และสงเสริมการพัฒนาเทคโนโลยีขึ้นใชเอง โดย<br />

หลักสูตรดังกลาวนี้มุงเนนเพื่อใหเกิดการประยุกตองคความรูดานโลหะวิทยาเพื่อใชในการผลิต โดยผานทาง<br />

การเรียนการสอนในหองเรียน การทํางานวิจัยรวมกับคณาจารย การสัมมนากลุมวิจัย และการมีโอกาส<br />

สัมผัสกับปญหาจริงของอุตสาหกรรม เพื่อประโยชนสูงสุดในการประกอบวิชาชีพหลังสําเร็จการศึกษา<br />

19.2 ปการศึกษาที่เริ่มเปดหลักสูตรใหม<br />

หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมโลหการนี้ จะเริ่มใชในปการศึกษา<br />

<strong>2545</strong> โดยเริ่มเปดรับนักศึกษาเขามาศึกษาภาคการศึกษาแรกในภาคการศึกษาที่ 1 ปการศึกษา <strong>2545</strong>


COMPULSORY COURSES<br />

31<br />

PRE 551 Applied Physical Metallurgy 3(3-0-9)<br />

Mechanical and physical properties of materials. Atomics and crystal structure and their relation to<br />

properties. Crystal imperfection. Diffusion in solids. Phase diagram and solidification. Transformation in solid<br />

state. Precipitation hardening in HSLA steels. Physical metallurgy of the Fe-C and other selected alloy<br />

systems. Classification and applications of cast irons. Solidification theory of binary alloy systems.<br />

PRE 653 Transport Phenomena in Process Metallurgy 3(3-0-9)<br />

Principles of fluid flow, heat transfer and diffusion. Practical examples relevant to<br />

metallurgical engineering. Applications in Metallurgical Processing (heat treating, laser<br />

transformation hardening, welding, casting, crystal growth).<br />

PRE 654 Thermodynamics of Solids 3(3-0-9)<br />

Thermodynamics of materials science and engineering. Review of first, second and third<br />

laws of thermodynamics. Equilibrium calculations for pure substances. Equilibrium calculations<br />

involving pure substances and solutions. Behavior of solutions. Behavior of gases. Reactions<br />

involving gases. Gibbs free energy composition and phase diagrams of binary systems.


ELECTIVE COURSES<br />

32<br />

PRE 521 Welding and Joining of Metals 3(3-0-9)<br />

Survey of metal joining processes: fusion, solid phase welding, soldering, brazing and<br />

adhesive bounding. Heat flow in welding and the weld thermal cycle. Structures and properties<br />

of weld metal and heat affected zone. Residual stresses, cracking and distortion in weld. Weld<br />

defects. Preheat and postwelding, heat treatments. Thickness and joint design. Testing of<br />

weldments. Welding and weldability of ferrous and nonferrours alloys. Quality assurance of<br />

welds.<br />

PRE 525 Nondestructive Testing of Materials 3(3-0-9)<br />

Introduction to concepts, aim, application and basic elements of NDT, interpretation,<br />

review of different NDT methods, Ultrasonic, Radiographic, Magnetic Particle, Dye Penetrant,<br />

Eddy Current methods and brief discussion of other non-conventional NDT methods, Acoustic<br />

Emission, Leak Testing, Optical and Thermal Methods. Application of NDT to inspection of<br />

joints, quality process control and accept/reject criteria. The practical sessions of this course<br />

include hands-on experiments by students for different NDT techniques.<br />

PRE 531 Foundry Technology 3(3-0-9)<br />

Various casting techniques, casting advantages and applications. Principle of liquid<br />

metal processing, principle of solidification, pattern, molding and casting process foundry<br />

equipment and processing, design consideration, ferrous casting alloys, nonferrous casting<br />

alloys, computer applications in metal alloys.<br />

PRE 552 Mechanical Behavior of Materials 3(3-0-9)<br />

Mechanical properties and relationship. Plastic deformation of crystalline materials.<br />

Relationship of microstructures to mechanical strength. Fracture, creep, and fatigue.


33<br />

PRE 554 Corrosion and Its Prevention 3(3-0-9)<br />

Thermodynamics and kinetics of metallic corrosion. The common forms of corrosion and<br />

corrosion susceptibility tests. Corrosion prevention, economic considerations. High temperature<br />

oxidation.<br />

PRE 555 Metallurgical Failure Analysis 3(3-0-9)<br />

Procedure for failure analysis. Investigative techniques. Distortion failures. Basic singleload<br />

fracture modes. Stress systems related to single-load fracture of ductile and brittle metals.<br />

Fatigue fracture. Wear failures. Corrosion failures. Elevated-temperature failures. Case study of<br />

metallurgical failure analysis.<br />

PRE 556 Methods of Surface and Interface Characterization 3(3-0-9)<br />

Principles and engineering applications of major methods of structural and chemical<br />

characterization of surfaces and interfaces, including light microscopy, color metallography<br />

techniques, polarized and Nomarski optical microscopy, scanning electron microscopy, EDS,<br />

WDS, low-energy electron diffraction.<br />

PRE 557 Surface Science and Engineering 3(3-0-9)<br />

Theory of surface reconstructions, electronic properties of surfaces, interfaces and<br />

overlayers. Characterization of surfaces by photons, electrons and ions as probes. The effect of<br />

substrate surface structure on the overlayer properties. Theoretical and experimental evaluation<br />

of surface energies, solid-liquid and solid-gas interfaces-surface potentials, colloids,<br />

sedimentation, adsorption and reaction on surfaces. Damage of the surfaces by corrosion and<br />

wear. Wear mechanisms, and categories of wear. Surface modifications by diffusion, heat<br />

treatment and by coatings, surface processing by laser, electrons and ions.<br />

PRE 558 Fracture Mechanics 3(3-0-9)<br />

Deformation and fracture mechanics of engineering materials, fracture, microstructural<br />

aspects of fracture toughness, environment assisted cracking, fatigue crack propagation,<br />

analysis of engineering failures.


34<br />

PRE 559 Heat Treatment of Metals 3(3-0-9)<br />

Study the fundamental and theory of dislocation and strengthening mechanism.<br />

Recovery, recrystallization, and grain growth, solid state transformation in metals, case<br />

hardening process, various heat treatment processes and its fundamental.<br />

PRE 564 Forming Process Analysis 3(3-0-9)<br />

Plastic forming of metals, bending, forging rolling, forge rolling, drawing, sheet metal<br />

forming, forging of complicated shapes, geometry of plastic area, formability, asymmetry of<br />

plastic deformation, computer analysis of forming process.<br />

PRE 622 Welding Engineering Design 3(3-0-9)<br />

Design fundamentals applicable to welded structures. Introduction to Design Concepts,<br />

Weld Stress Calculation, AWS Allowable Stresses and Weld Sizing, Joint Design and Welding<br />

symbol, Degree of Restraint and Simple Connection, Rigid and Semi-Rigid Connection, Rigid<br />

Frame Knee, Beam-to-Girder Connection, Tubular Connection, Design for Impact Loading &<br />

Vibration Control, Fabricated Tension Member, Fabricated Compression Member, Fabricated<br />

Bending Member, Fabricated Plate Girder, Thick-Shell Vessel and Pressure Piping, Machine<br />

Base Structured/Torsional Resistance, Design Case Studies and Term Design Project.<br />

PRE 626 Welding Metallurgy I 3(2-3-6)<br />

Application of physical metallurgy principles to nonequilibrium thermo-mechanical<br />

conditions associated with welding. Chemical Reactions in the welding zone. Regions of a<br />

fusion weld, Regions of a solid-state weld, Weld solidification principles, The weld fusion<br />

boundary and unmixed zone, The partially melted zone., The heat affected zone, Classification<br />

of weld defects and discontinuities, Weld solidification cracking, HAZ and weld metal liquation<br />

cracking, Solid-state cracking phenomena, Hydrogen-induced cracking, Weldability testing,<br />

Weld metal fluid flow and penetration characteristics, Gas/metal reactions and porosity<br />

formation.


35<br />

PRE 627 Welding Metallurgy II 3(2-3-6)<br />

Study of the Metallurgy and Welding of Transformable Steels. Introduction-The<br />

importance of steel and its fabricability. Review of Iron-iron carbide phase diagram. Alloying<br />

elements in steel and hardenability, TTT diagrams, CCT diagrams, Steel processing, Steel<br />

microstructures, Properties of steel microstructures, Solidification, peritectic reaction and WM<br />

microstructure, Weld pool convection and evaporation. Weld HAZ microstructures, Fracture<br />

mechanisms in steels. Welding carbon steels, filler metals. Welding carbon steel, difficulties and<br />

defects. Hydrogen in steel and measurement. Hydrogen induced cracking. (HIC), and failures in<br />

welds. Welding High Strength Low Alloy steels, filler metals. Weldability. Weldability Testing for<br />

Hydrogen Cracking. Weld Failure Analysis Techniques. Chemical Heterogeneity in the fusion<br />

zone.<br />

PRE 628 Welding Metallurgy III 3(2-3-6)<br />

Welding metallurgy and weldability of stainless steels, aluminum alloys, and nickel- and<br />

cobalt-based superalloys; joining of polymers and polymer-based composites. Characterization of<br />

weld structures in stainless steel, aluminum alloys, and Ni-base superalloys. Introduction to<br />

Stainless Steels. Fe-Cr, Fe-Cr-C, and Fe-Cr-Ni phase diagrams. Welding Metallurgy and Weldability<br />

of Ferritic Stainless Steels. Welding Metallurgy and Weldability of Martensitic Stainless Steels.<br />

Welding Metallurgy and Weldability of Austenitic Stainless Steels. Welding Metallurgy and<br />

Weldability of Duplex Stainless Steels. Welding Metallurgy and Weldability of Precipitation-<br />

Hardened Stainless Steels. Dissimilar Combinations with Stainless Steels. Corrosion Behavior of<br />

Welded Stainless Steels. Welding Metallurgy of Ni-base Alloys. Weldability of Ni-base Alloys.<br />

Welding Metallurgy of Cu-base Alloys. Weldability of Cu-base Alloys. Welding Metallurgy of<br />

Aluminum Alloys. Weldability of Aluminum Alloys. Physical Metallurgy of Titanium Alloys. Weldability<br />

of Titanium Alloys. Alloy Selection.<br />

PRE 632 Advanced Foundry Engineering 3(3-0-9)<br />

Principles of liquid metal processing. Molding and casting processes. Foundry equipment and<br />

processing; melting processing, processing of castings, modeling of solidification and heat transfer, modeling<br />

of microstructural evaluation.


36<br />

PRE 633 Casting Design 3(3-0-9)<br />

Melt reactions, mold design, Coring, Problems encounter in thin sections and junctions. Dimensional<br />

variation and tolerance, solidification shrinkage, casting accuracy, surface finishing. Structure properties and<br />

defects of the finished casting. Design for die casting, corrosion resistant castings, heat resistant casting.<br />

The selection, properties, and applications of non-ferrous alloy casting.<br />

PRE 634 Solidification Science 3(3-0-9)<br />

Advanced developments in various phases of the foundry and welding industries,<br />

application of scientific and engineering principles to solidification phenomena, refining, metal<br />

casting and welding problems. Nucleation and growth theory.<br />

PRE 635 Powder Metallurgy 3(3-0-9)<br />

Describing the various typer of powder processing and how these affect properties of<br />

the components made. Current issues in the subject area, from high production to<br />

nanomaterials, will be discussed. Preparation and fabrication of metal powder; engineering<br />

properties and industrial uses; theory of compaction and sintering.<br />

PRE 652 Multicomponents phase Equilibria 3(3-0-9)<br />

Thermodynamic principles governing phase equilibria. Estimation of thermodynamic<br />

properties. One-component systems Two-component systems: eutectic, peritectic, and complex<br />

equilbria. Ssolidification and microstructure. Three-component systems: type I, II and III invariant<br />

equilibria. Applications of phase equilibria to the design of welding, heat treatment, casting, and<br />

other topics.<br />

PRE 655 Advanced Chemical Metallurgy 3(3-0-9)<br />

Concepts such as stoichiometry, mass and energy balances. Complex metallurgical<br />

processes such as mineral processing, roasting, oxidation-reduction, smelting, refining,<br />

leaching, and electrolysis. Formation and control of slag.


37<br />

PRE 656 Transformation of Solids 3(3-0-9)<br />

The basic factors that determine phase equilibria and structural characteristics of solids.<br />

Phase transformations, nucleation, recrystallization, precipitation, corrosion, and oxidation.<br />

Atomistic basis for diffusion.Analysis of diffusion kinetics in single and multiphase systems.<br />

Martensitic transformation-crystallography and microstructures.<br />

PRE 657 Materials for Elevated Temperature Survice 3(3-0-9)<br />

Mechanical behavior of metals and other nonmetallic materials considering composition, structure,<br />

environment, and service conditions. Structural stability. Creep and stress rupture.<br />

PRE 658 Ferrous Metallurgy and Its Processing 3(3-0-9)<br />

Iron and Steel making process, oxygen steelmaking process, electric furnance<br />

steelmaking, ladle metallurgy; AOD process, direct reduction and smelting processes. Castingsteel<br />

and iron. Continuous casting of steel products. Classification and basic metallurgy of cast<br />

irons and steels. Metallurgy and properties of cast irons and steels. Heat treating of cast irons<br />

and steels. Graphite formation. Phase transformation in Fe-C system. Martensitic<br />

transformation. HSLA steels and stainless steel metallurgy.<br />

PRE 659 Nonferrous Metallurgy and Its Processing 3(3-0-9)<br />

Emphasis on properties, manufacturing process and uses of copper alloys, aluminum alloys,<br />

magnesium alloys, and titanium alloys. Correlations between composition, microstructure, heat treatment, and<br />

properties.<br />

PRE 663 Deformation Processing 3(3-0-9)<br />

Macro- and micro-structures evolved during deformation processing and synthesis such<br />

as rolling, extrusion, isothermal forging, hot pressing, cold working, HIPing, pseudo-HIPing,<br />

plasma spraying, laser treatment, etc. and to systematize the relation between the structures<br />

and properties.


38<br />

PRE 697 Special Topics in Physical Metallurgy 3(3-0-9)<br />

Teach the advanced topics of current research interests in physical metallurgy.<br />

PRE 699 Special Topics in Process Metallurgy 3(3-0-9)<br />

Teach the updated and interesting topics in manufacturing community related to process<br />

metallurgy.


SEMINAR<br />

39<br />

PRE 691 Seminar 1(1-0-2)<br />

Students form a group to express and discuss their experience during their industrial<br />

research project.<br />

THESIS AND INDUSTRIAL RESEARCH PROJECT<br />

PRE 692 Thesis 12(0-36-72)<br />

This course consists of a laboratory or field project under the supervision of a faculty<br />

member in the related approved topics. They must write up the thesis and perform final<br />

presentation.<br />

PRE 693 Industrial Research Project 6(0-18-36)<br />

Every student must complete the industrial research project in manufacturing industries<br />

for 4 months. They must write up the industrial research project report and perform final<br />

presentation.

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!