15.01.2015 Views

TNSC Newsletter : April 2013 Vol.8

TNSC Newsletter : April 2013 Vol.8

TNSC Newsletter : April 2013 Vol.8

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

<strong>TNSC</strong> MOVEMENT<br />

ตัวอย่างการวิเคราะห์<br />

ผลกระทบสิ่งแวดล้อมของการผลิตเมล็ดกาแฟคั่ว<br />

1. กำหนดเป้าหมายและขอบเขต<br />

ผลิตภัณฑ์ที่ศึกษา : เมล็ดกาแฟคั่ว<br />

กำหนดเป้าหมาย : เพื่อศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมของ<br />

การผลิตเมล็ดกาแฟคั่ว (Gate to Gate)<br />

หน่วยการทำงาน : ปริมาณ 1 ถุง ขนาด 250 กรัม<br />

2. การวิเคราะห์บัญชีรายการด้านสิ่งแวดล้อม<br />

(Life Cycle Inventory)<br />

Input (Ton/หน่วยการทำงาน)<br />

- ถุงอะลูมิเนียมฟรอยด์<br />

5x10 -5<br />

- ก๊าซหุงต้ม LPG<br />

การคั่วเมล็ดกาแฟ<br />

Output (มลพิษทางอากาศ)<br />

- CO2 4.78x10 -6<br />

- CH4 5.92x10 -9<br />

- N2O 2.78x10 -11<br />

3. การประเมินผลกระทบตลอดวัฎจักรชีวิตของผลิตภัณฑ์<br />

(Life Cycle Impact Assessment)<br />

วัสด / มลพิษที่มีผล<br />

ต่อสิ่งแวดล้อม<br />

ปริมาณ<br />

(TON)<br />

EF<br />

(NETS/TON)<br />

ค่าผลกระทบ(NETS)<br />

= ปริมาณ x EF<br />

ถุงอลูมิเนียมฟรอยด์ 5x10 -5 2 1x10 -4<br />

ก๊าซหุงต้ม LPG 2.78x10 -6 5.68x101 1.58x10 -4<br />

ไฟฟ้า 7x10 -8 1.3x10 -16 8.91x10 -23<br />

มลพิษทางอากาศ<br />

CO2 4.78x10 -6 2.83x10 -1 1.35x10 -6<br />

CH4 5.92x10 -9 5.46 3.23x10 -8<br />

N2O 2.78x10 -11 8.06x101 2.24x10 -9<br />

NOx 4.44x10 -8 2.98x103 1.32x10 -4<br />

ผลกระทบรวม 3.93x10 -4<br />

• การแปลผล (Interpretation) ทำการวิเคราะห์ผลลัพธ์ที่ได้จากขั้นตอนที่<br />

3 และทำการสรุป แนวทางการปรับปรุงและข้อเสนอแนะ รวมถึงรายงานผล<br />

การศึกษา จากตัวอย่างการผลิตเมล็ดกาแฟคั่วพบว่าจาก input และ output<br />

ทั้งหมดของการผลิตเมล็ดกาแฟคั่ว จะมีค่าผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมเท่ากับ<br />

3.93x10-4 NETS ซึ่งค่า NETS นี้สามารถนำมาเป็นข้อมูลประกอบการ<br />

ส่งออกไปยังประเทศที่มีมาตราการทางภาษี Border Tax Adjustments, ใช้<br />

ในการเปรียบเทียบความเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมของสินค้าชนิดเดียวกันใน<br />

ตลาด เพื่อปรับปรุงกระบวนการผลิต นอกจากนี้ยังสามารถนำมาประยุกต์ใน<br />

ด้านอื่นๆ ดังนี้<br />

ภาคอุตสาหกรรม/เอกชน<br />

• ใช้สื่อสารให้ทราบถึงข้อมูลด้านสิ่งแวดล้อมของผลิตภัณฑ์<br />

• ใช้ต่อรองกับผู้จัดหาวัตถุดิบ (Supplier) ให้ผลิตภัณฑ์เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม<br />

• พัฒนากลยุทธ์ด้านการตลาด กลยุทธ์ด้านธุรกิจ และแผนการลงทุน<br />

• พัฒนากลยุทธ์ด้านนโยบาย<br />

• พัฒนานโยบายของผลิตภัณฑ์<br />

ผู้บริโภค<br />

• ใช้ข้อมูลเพื่อประกอบการการตัดสินใจเลือกซื้อผลิตภัณฑ์<br />

ทั้งนี้ หากมีข้อสงสัยหรือต้องการสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม สามารถติดต่อสอบถามได้ที่<br />

หน่วยวิจัยเพื่อการจัดการพลังงานและเศรษฐนิเวศ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี<br />

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เบอร์โทรศัพท์ (053) 942-086 E-mail : sate@eng.cmu.ac.th<br />

หรือเข้าไปอ่านข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ www.thailca.net<br />

ที่มา<br />

ปราณี หนูทองแก้ว, การประเมินวัฏจักรชีวิตของการผลิตไบโอดีเซลจากปาล์มน้ำมัน,<br />

คณะ วิศวกรรมศาสตร์, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2551<br />

ศูนย์เฉพาะทางด้านการประเมินวัฏจักรชีวิตและพัฒนาผลิตภัณฑ์เชิงนิเวศ เศรษฐกิจ, เอ็มเทค<br />

บุตรี เทียมเทียบรัตน์, Border Carbon Adjustment (BCA) มาตราการใหม่ด้านสิ่งแวดล้อม<br />

ที่อุตสาหกรรมไทยต้องเตรียมรับมือ, ส ำนักเศรษฐกิจอุตสาหกรรมระหว่างประเทศ<br />

www.greennet.cor.th, Life cycle assessment - LCA [การประเมินวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์]<br />

เรียนเชิญท่านสมาชิกสภาผู้ส่งออกฯ เข้าร่วม<br />

โครงการศึกษาดูงานการบริหารการจัดการโลจิสติกส์<br />

และการอำนวยความสะดวกทางการค้า พร้อมเยี่ยมชมงานแสดงสินค้า<br />

Korea Material Handling & Logistics Exhibition <strong>2013</strong><br />

ณ กรุงโซล ประเทศเกาหลีใต้ ระหว่างวันที่ 26-30 พฤษภาคม 2556 (5 วัน 3 คืน)<br />

โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเยี่ยมชมการดำเนินงานของท่าเรือปูซาน ซึ่งเป็นท่าเรือที่ใหญ่<br />

ที่สุดของประเทศเกาหลีใต้และเป็นเมืองใหญ่อันดับ 2 รองจากเมืองหลวง<br />

เยี่ยมชมการบริหารจัดการของบริษัทชั้นนำด้าน Logistics ของประเทศเกาหลีใต้<br />

พร้อมเข้าชมงาน Korea Material Handling & Logistics Exhibition <strong>2013</strong><br />

ซึ่งท่านจะได้พบกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่เกี่ยวกับอุปกรณ์เคลื่อนย้ายและบรรจุ<br />

ภัณฑ์ที่น่าสนใจ พร้อมร่วมรับประทานอาหารค่ำกับนักธุรกิจเกาหลีใต้และนักธุรกิจ<br />

ชาวไทยที่ประกอบธุรกิจในประเทศเกาหลีใต้<br />

ค่าใช้จ่ายในการเดินทาง (ราคาดังกล่าวยังไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม 7%)<br />

สมาชิกสภาผู้ส่งออกฯ 49,900 บาท บุคคลทั่วไป 53,900 บาท<br />

**สนใจสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ คุณสุกัญญา โทรศัพท์: 0-2679-7555 ต่อ 503<br />

ด่วน!<br />

รับสมัครจำนวนจำกัด<br />

Volume 8 l <strong>April</strong> <strong>2013</strong> 7

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!