12.07.2015 Views

TNSC Newsletter : October 2012 Vol.2

TNSC Newsletter : October 2012 Vol.2

TNSC Newsletter : October 2012 Vol.2

SHOW MORE
SHOW LESS
  • No tags were found...

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

Highlight from Thailand International Logistics Fair <strong>2012</strong>(19 - 22 กันยายน 2555)สภาผู้ส่งออกได้จัดทำโครงการประเมินศักยภาพการให้บริการสายเรือในกลุ่มสายเรือ Container ภายใต้โครงการ Best Container Liner Awardจากมุมมองและประสบการณ์การใช้บริการของผู้ส่งออก ซึ่งเป็นสมาชิกของสภาผู้ส่งออก เพื่อผลักดันให้เกิดการพัฒนาการให้บริการให้ตรงตามความต้องการของผู้ส่งออก เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจของผู้ส่งออกในการเลือกใช้บริการสายเรือให้มีความเหมาะสมยิ่งขึ้น ซึ่งจะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อการยกระดับความสามารถในการแข่งขันของประเทศในด้านการส่งออก และลดต้นทุนโลจิสติกส์ต่อ GDP ของประเทศ2. ค่าระวาง ซึ่งมีความหมายครอบคลุมถึงอัตราค่าระวางเรือ, ค่าSurcharge และค่าบริการอื่นๆ ที่สายเรือเรียกเก็บ3. ความตรงต่อเวลา หมายถึงสายเรือนั้นๆ ได้ให้บริการตรงตามตารางเดินเรือที่ได้แจ้งแก่ลูกค้า, ไม่มีสินค้าตกเรือ หรือการ Delay ของสินค้า4. บริการหลังการขาย / คุณภาพในการขนส่ง ซึ่งครอบคลุมถึงการจองระวาง (Booking) สายเรือ, การจัดทำเอกสาร, การติดตามแนวทางการดำเนินการ เพื่อประเมินศักยภาพของผู้ประกอบการสายเรือในการให้บริการตามเส้นทางขนส่งทางน้ำระหว่างประเทศ สภาผู้ส่งออกฯได้ดำเนินการจัดแบ่งเส้นทางออกเป็น 7 เส้นทาง ประกอบด้วย1. เส้นทาง เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (ASEAN) ประกอบด้วย มาเลเซียฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย สิงคโปร์ บรูไน ลาว กัมพูชา เวียดนามและพม่า2. เส้นทาง จีน3. เส้นทาง สหภาพยุโรป (Europe) ซึ่งมีสมาชิกทั้งสิ้น 27 ประเทศเช่น เยอรมัน อังกฤษ สวีเดน โปรตุเกส เป็นต้น4. เส้นทาง เอเชียใต้ เช่น ประเทศอินเดีย, ศรีลังกา, บังกลาเทศ เป็นต้น5. เส้นทาง ญี่ปุ่น6. เส้นทาง ตะวันออกกลาง ได้แก่ ประเทศสหรัฐอาหรับเอมิเรสต์,อิรัก, อิหร่าน, ซาอุดิอาราเบีย, เยเมน เป็นต้น7. เส้นทาง สหรัฐอเมริกา โดยจะครอบคลุมการขนส่งไปทั้งฝั่งตะวันตกและตะวันออกของสหรัฐฯการประเมินศักยภาพในการให้บริการของสายเรือในแต่ละเส้นทางนั้นสภาผู้ส่งออกได้จัดส่งแบบสอบถามไปยังสมาชิกซึ่งเป็นผู้ส่งออกเพื่อสอบถามเกี่ยวกับความนิยมในการเลือกใช้บริการสายเรือในแต่ละเส้นทาง รวมถึงสอบถามถึงความพึงพอใจในการให้บริการของสายเรือนั้นๆ โดยความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ ประเมินใน 4 ด้าน ได้แก่1. การให้บริการก่อนการขาย ซึ่งครอบคลุมถึงการ Booking สายเรือ,การจัดทำเอกสาร, การติดตามสินค้า (Tracking), การประสานงานแจ้งลูกค้า4“ BEST CONTAINER LINER AWARD <strong>2012</strong>การจัดลำาดับศักยภาพด้านการให้บริการของสายเรือโดย สภาผู้ส่งออกฯ : สภาผู้ส่งสินค้าทางเรือแห่งประเทศไทย”สินค้า (Tracking), การประสานงานแจ้งลูกค้าซึ่งในแต่ละปัจจัยนั้นทางผู้ดำเนินโครงการได้ให้ความสำคัญที่ไม่เท่ากันโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้ส่งออกพิจารณาเลือกใช้บริการสายเรือจากปัจจัยอื่นๆ ที่นอกเหนือไปจากอัตราค่าระวางเรือ ซึ่งสิ่งที่ควรให้ความสำคัญควบคู่ไปด้วย คือ การบริการก่อนการขายและความตรงต่อเวลาและเป็นการกระตุ้นให้สายเรือ พัฒนาการให้บริการในด้านต่างๆ เหล่านี้ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อการลดต้นทุนด้านโลจิสติกส์และเพิ่มประสิทธิภาพด้านการแข่งขันของประเทศสรุปผลอันดับความพึงพอใจการให้บริการสายเรือในเส้นทางต่างๆจากการสำรวจโดยแบบสอบถามต่อสมาชิกสภาผู้ส่งออก ในเส้นทางการเดินเรือเส้นทางต่างๆ ได้ผลการจัดอันดับ ดังนี้➔เส้นทาง อันดับที่ 1 อันดับที่ 2 อันดับที่ 3อาเซียนจีนยุโรปอินเดียญี่ปุ่นตะวันออกกลางสหรัฐอเมริกาOOCLOOCLHanjinShippingAPLHyundaiOOCLAPLNYK LineEvergreenShippingMaerskRCLMitsui O.S.K.EasternMaritimeMaerskEvergreenShippingOOCLAPLNYK LineWan HaiAPLHapag-Lloyd/HPL


Green Logistics Contest <strong>2012</strong>Thailand International Logistics Fair <strong>2012</strong> 22 กันยายน 2555ณ Bangkok International Trade and Exhibition Center (BITEC)เนื่องด้วยสภาผู้ส่งสินค้าทางเรือแห่งประเทศไทย (สรท.) ตระหนักถึงความสำคัญของการบริหารจัดการโลจิสติกส์ทั้งในระดับองค์กรและโซ่อุปทาน ภายในบริบทของการรักษาสิ่งแวดล้อม ซึ่งคู่ค้าของไทยในตลาดระหว่างประเทศได้เริ่มให้ความสำคัญมากขึ้นในปัจจุบัน ดังนั้นเพื่อสร้างความตระหนักและความตื่นตัวให้กับภาคอุตสาหกรรมและภาคการศึกษา และเพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมด้าน GREENLOGISTICS สำหรับการสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันทางการค้าของอุตสาหกรรมไทยในตลาดโลก สรท. จึงได้พัฒนาโครงการ “การประกวดการนำเสนอแผนปรับปรุงและพัฒนากระบวนการภายในองค์กรด้วยGREEN LOGISTICS” ขึ้น โดยให้นิสิตนักศึกษาได้มีการนำเสนอแผนงานด้าน GREEN LOGISTICS จากกรณีศึกษา และนำเสนอภายในงานTHAILAND INTERNATIONAL LOGISTICS FAIR <strong>2012</strong> ซึ่งสรท.ร่วมจัดกับกรมส่งเสริมการส่งออก กระทรวงพาณิชย์ และในปี 2555 นี้ได้จัดกิจกรรม GREEN LOGISTICS CONTEST ขึ้นเป็นปีที่ 5วัตถุประสงค์1. เพื่อเปิดโอกาสให้นิสิตนักศึกษาได้มีโอกาสหรือเวทีในการนาเอาวิชาความรู้ด้านการบริหารจัดการโลจิสติกส์ และโซ่อุปทานมาประยุกต์ใช้เพื่อแก้ไขปัญหา พร้อมนาเสนอแนวคิดในการปรับปรุงและพัฒนากระบวนการภายในองค์กรด้วย GREEN LOGISTICS2. เพื่อสร้างความตระหนักให้กับผู้ประกอบการไทยเห็นความสำคัญในการปรับปรุงและพัฒนาการบริหารจัดการภายในองค์กรด้วยการบริหารจัดการด้านโลจิสติกส์ เพื่อลดต้นทุนและเสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันในตลาดโลก โดยคำนึงถึงผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม3. เพื่อเป็นกิจกรรมพิเศษกิจกรรมหนึ่งในงาน THAILANDINTERNATIONAL LOGISTICS FAIR <strong>2012</strong> (TILOG)ผลการตัดสินทีม มหาวิทยาลัย เงินรางวัลรางวัลชนะเลิศ Green Bean มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์Dynamics มหาวิทยาลัยรางวัลรองชนะเกษตรศาสตร์เลิศอันดับที่ 1 En- Tech SU 08 มหาวิทยาลัยศิลปากรรางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 2Green RangersBBMมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์สภาผู้ส่งออกฯ เป็นเจ้าภาพจัดงานสัมมนาหัวข้อ “Green Logistic: Experience in Japan and Implementation of Thai Exporters”โดยได้รับเกียรติจากคุณเตชะ บุณยะชัย รองประธานสภาผู้ส่งออกฯคุณสมศักดิ์ บริสุทธนะกุล นายกสมาคมพลาสติกชีวภาพไทย และMr. Hiroaki Machii, Senior Deputy Director of METI โดยมีคุณคงฤทธิ์ จันทริก รองผู้อำนวยการบริหารสภาผู้ส่งออกฯ ทำหน้าที่เป็นผู้ดำเนินรายการ ซึ่งการสัมมนาได้นำเสนอถึงประสบการณ์การพัฒนา Green Logistics ในประเทศญี่ปุ่น ซึ่งเน้นการประยุกต์ใช้แนวทาง 3R ประกอบไปด้วย Reduce Reuse Recycle ในการลดมลภาวะและของเสียที่เกิดขึ้นในระบบการผลิตและโลจิสติกส์ซึ่งมีตัวอย่างการพัฒนาที่ประสบความสำเร็จ อาทิ บริษัท AjinomotoFood Co., Ltd. ที่ได้มีการสร้างระบบที่มีการใช้วัสดุเหลือใช้และของเสียให้เกิดประโยชน์ได้ 99.99% ในปัจจุบัน และจะมีการขยายไปสู่ Zero Waste ภายในปี 2013สำหรับในประเทศไทยได้มีการประยุกต์ใช้แนวคิด Triple Bottom Lineประกอบไปด้วย Social People และ Economics ตลอดจนพัฒนาเทคโนโลยีในการปฏิบัติตามแนวคิด 3R เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน โดยมีการพัฒนาอุปกรณ์และเครื่องจักรในการนำของเสียมาแปรรูปเป็นพลังงาน อาทิ เครื่อง Gasification ซึ่งสามารถนำของแข็งหรือพลังงานชีวมวลมาแปลงให้เป็นก๊าซเชื้อเพลิง เพื่อใช้ในกระบวนการผลิตในองค์กรได้ เป็นต้น นอกจากนี้ ประเทศไทยยังได้มีการพัฒนาพลาสติกชีวภาพ เพื่อยกระดับและสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้าเกษตร ซึ่งเป็นอนาคตที่สำคัญในการสร้างเศรษฐกิจและสังคมเพื่อสิ่งแวดล้อมในประเทศไทยทั้งนี้ ในปัจจุบันมีหน่วยงานภาครัฐจำนวนมากให้การสนับสนุนด้านการเงินสำหรับผู้ประกอบการที่ต้องการลงทุนในเทคโนโลยีเพื่อสิ่งแวดล้อม ซึ่งสมาชิกที่สนใจสามารถติดต่อสอบถามรายละเอียดได้ที่สภาผู้ส่งออกฯVolume 2 ❘ <strong>October</strong> ❘ <strong>2012</strong>30,000 บาท10,000 บาท10,000 บาท5,000 บาท5,000 บาทการสัมมนาหัวข้อ GREEN LOGISTIC :EXPERIENCE IN JAPAN AND IMPLEMENTATIONOF THAI EXPORTERS5


➔<strong>TNSC</strong> MOVEMENT6SEMINAR ON “FREIGHT MANAGEMENT :PRACTICE ON SEA FREIGHT”เมื่อวันที่ 25 กันยายน 2555 ที่ผ่านมา สภาผู้ส่งออกฯ ได้ร่วมมือกับสมาคมเจ้าของและตัวแทนเรือกรุงเทพฯ จัดสัมมนาหัวข้อ “FreightManagement : Practice on Sea Freight” โดยได้รับเกียรติจากประธานสมาคมเจ้าของและตัวแทนเรือกรุงเทพ คุณสุวัฒน์ อัศวทองกุลผู้จัดการสมาคมเจ้าของและตัวแทนเรือกรุงเทพ คุณเหรียญ วรพิพัฒน์กำธร และรองผู้อำนวยการบริหารสภาผู้ส่งออกฯ คุณคงฤทธิ์ จันทริกให้เกียรติเป็นวิทยากร และได้นำเสนอแนวทางที่ถูกต้องในการใช้บริการขนส่งสินค้าทางทะเลในหลายประการสถานการณ์ทางเศรษฐกิจในตลาดโลกปัจจุบันได้รับผลกระทบจากวิกฤติการณ์ทางเศรษฐกิจใน Eurozone และสภาพเศรษฐกิจจีนที่เริ่มตกต่ำจากยอดการส่งออกที่เติบโตลดน้อยลง ทำให้การส่งออกของไทยมีการเติบโตได้มากที่สุดเพียง 5.9% ในปี <strong>2012</strong> และอาจได้รับผลกระทบต่อเนื่องไปในปี 2013 ซึ่งทำให้ผู้ประกอบการสายเรือได้รับผลกระทบและมีการจอดเรือไว้เฉยๆ เพื่อสร้างความสมดุลระหว่างDemand & Supply ในตลาดขนส่งสินค้าทางทะเลระหว่างประเทศและมีการเรียกเก็บค่า Surcharge ต่างๆ เพิ่มมากขึ้นเพื่อให้ครอบคลุมต้นทุนการใช้บริการ ซึ่งทำให้ผู้ใช้บริการมีต้นทุนเพิ่มขึ้น ขณะที่ตู้สินค้าอาจมีไม่เพียงพอ ในการขนส่งเพราะสายเรือมีการนำเข้าตู้เปล่ามาสำรองลดน้อยลง และผู้ใช้บริการต้องหันไปพัฒนาประสิทธิภาพการขนส่งในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรมโลจิสติกส์ในองค์กรโดยต้องมีการคัดเลือกผู้ให้บริการที่มีประสิทธิภาพตรงตามหลักเกณฑ์ในการเลือกใช้ผู้ให้บริการขนส่งสินค้าทางทะเล (รางวัล Best ContainerLiner Award) ซึ่งครอบคลุมทั้งเรื่องของการให้บริการก่อนการขายค่าระวาง ความตรงต่อเวลา บริการหลังการขาย คุณภาพการขนส่ง และความต้องการเฉพาะด้านของบริษัท โดยต่อรองต้นทุนการให้บริการในระดับราคาที่เหมาะสมกับบริการที่เราต้องการในการติดต่อใช้บริการขนส่งสินค้าทางทะเลระหว่างประเทศ ผู้ใช้บริการต้องทำความเข้าใจถึงความพร้อมและความสามารถในการให้บริการของผู้ให้บริการ / สายเรือ โดยในปัจจุบันสามารถติดต่อใช้บริการได้ทั้งการโทรศัพท์ การส่งโทรสาร และการติดต่อผ่านระบบ Internet บนWebsite ของบริษัท / สายเรือ แต่ละแห่ง และต้องมีการให้ข้อมูลที่สำคัญของสินค้าและความต้องการใช้บริการอย่างชัดเจนแก่สายเรือ เพื่อให้สามารถคำนวณราคาได้อย่างถูกต้อง ซึ่งสายเรือส่วนใหญ่จะมีการกำหนดBasic Ocean Freight ตามขนาดของตู้ 20’/40’/40’HC และมีการเรียกเก็บค่าใช้จ่ายส่วนเพิ่มที่สำคัญ อาทิ Currency Adjustment Factor,Bunker Adjustment Factor, Peak Season Surcharge เป็นต้นรวมทั้งค่าใช้จ่ายในการยกขนสินค้า (Terminal Handling Charge) และค่าใช้จ่าย Local Charge ที่อาจเรียกเก็บได้ทั้งต้นทางและปลายทางทั้งนี้ มีข้อแนะนำสำคัญสำหรับการใช้บริการขนส่งสินค้าทางทะเลโดยตรงกับสายเรือเพิ่มเติม อาทิ• ให้พยายามหลีกเลี่ยงการขนส่งสินค้าในช่วงสัปดาห์สุดท้ายของแต่ละเดือน เนื่องจากมักเกิดเหตุการณ์ Overbooking คือมีสินค้าต้องการใช้บริการ 120% จากความจุของเรือ จึงทำให้สินค้าตกเรือ โดยเฉพาะสินค้าหนักซึ่งจะถูกตัดออกเป็นลำดับแรก และแนะนำให้มีการใช้บริการขนส่งสินค้าในสัปดาห์ที่ 1 - 2 ของแต่ละเดือนจะทำให้สามารถต่อรองราคาได้ดีกว่า• เนื่องจากสินค้าจำนวนมากที่ขนส่งจากประเทศไทยเป็นสินค้าหนักทำให้การใช้บริการผ่านท่าเรือคลองเตยมีปัญหาเรื่องน้ำหนักการบรรทุกของเรือในการผ่านสันดอนปากแม่น้ำเจ้าพระยา จึงควรใช้บริการส่งออกผ่านท่าเรือแหลมฉบัง จะทำให้มีโอกาสที่สินค้าตกเรือน้อยกว่า เป็นต้นนอกจากนี้ วิทยากรได้มีการนำเสนอแนวทางการดำเนินการที่สำคัญ อาทิการตรวจสอบตู้คอนเทนเนอร์และการบรรจุสินค้าในตู้คอนเทนเนอร์การตรวจสอบความถูกต้องของสินค้าที่ได้รับ และการเคลมกรณีเกิดความเสียหายกับสินค้า เป็นต้น ซึ่งเป็นข้อมูลและแนวทางการดำเนินงานที่สำคัญในการใช้บริการขนส่งสินค้าทางทะเลให้เกิดประโยชน์สูงสุดกับองค์กรอนึ่ง สมาชิกที่สนใจข้อมูลและรายละเอียดเพิ่มเติม สามารถ Downloadเอกสารประกอบการสัมมนา และสามารถติดตามความคืบหน้าการจัดสัมมนาหัวข้อ “Freight Management : Practice on Sea Freight”ในครั้งต่อไป ได้จาก www.tnsc.comEXPORT CORNERมูลค่าการส่งออกของไทยในเดือนสิงหาคม 2555 เท่ากับ 19,750.20ล้านเหรียญสหรัฐฯ โดยลดลง 6.95% ในรูปเงินบาทมีมูลค่า 621,324.20ล้านบาท ลดลง 1.44% เนื่องมาจากสภาวะเศรษฐกิจยุโรปและการลุกลามของปัญหาซึ่งส่งผลกระทบต่อการนำเข้าสินค้าของไทยในเกือบทุกตลาด โดยการส่งออกที่ลดลงดังกล่าว ได้ส่งผลทำให้มูลค่าการส่งออกในระยะ 8 เดือนของปี 2555 (ม.ค.-ส.ค.) มีการเติบโตติดลบ โดยมีมูลค่าเพียง 151,559.30 ล้านเหรียญสหรัฐฯลดลง 1.31% ในรูปเงินบาท มีมูลค่า 4,698,200.30 ล้านบาทเพิ่มขึ้น 1.72%ทั้งนี้ สภาผู้ส่งออกฯ ร่วมกับ คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้ปรับตัวเลขคาดการณ์ส่งออกทั้งปีจาก 5.9% เหลือเพียง 4.6% ซึ่งประเมินจากการคาดการณ์การเติบโตของเศรษฐกิจโลกจากองค์กรระหว่างประเทศ เช่น World Bank หรือ IMF ที่คาดการณ์สถานการณ์เศรษฐกิจโลกอยู่ในระดับ 2.5-3.5% เท่านั้น เช่นเดียวกับที่ผู้ส่งออกจากหลายอุตสาหกรรม คาดการณ์การส่งออกโดยรวมที่2.6% เท่านั้น โดยสถานการณ์ส่งออกในไตรมาสที่ 4 อาจจะจะเพิ่มขึ้นเพียง 3.5% เนื่องจากปัจจัยกดดันด้านต้นทุนที่เพิ่มขึ้น และภาวะเศรษฐกิจโลกที่ชะลอตัวทำให้ลูกค้าหลายรายมีการกดราคาสินค้าเช่น อุตสาหกรรมไก่สด แม้ว่าจะได้รับอนุญาตให้ส่งไก่สดเข้าสู่สหภาพยุโรปได้แล้ว แต่ราคายังคงต่ำ ทำให้ไม่สามารถเพิ่มมูลค่าการส่งออกได้มากนัก แม้ว่าผู้ประกอบการจะสามารถฟื้นฟูกำลังการผลิตได้เต็มที่จากสถานการณ์น้ำท่วมก็ตามอย่างไรก็ตาม ผู้ส่งออกยังคงมีทัศนคติที่ดีต่อแนวโน้มการส่งออกในช่วงไตรมาสที่ 4 เนื่องจากคาดการณ์คำสั่งซื้อในช่วงปลายปีที่มีเทศกาลคริสต์มาสและปีใหม่จะทำให้ยอดการสั่งซื้อเพิ่มขึ้น แต่อยากให้รัฐบาลมีนโยบายด้านการเงินเพื่อช่วยลดความผันผวนด้านอัตราแลกเปลี่ยนและลดความเสี่ยงของผู้ประกอบการ รวมทั้งขอให้รัฐดำเนินมาตรการช่วยเหลือด้านภาษีที่ผู้ส่งออกเคยเสนอไว้ในช่วงกลางปีที่ผ่านมา


EXPORT CORNERตลาดส่งออก 10 อันดับแรกของไทย ระหว่างเดือนมกราคม - สิงหาคม 2555ทุกสินค้ามูลค่า : ล้านบาท อัตราขยายตัว (%) สัดส่วน (%)อันดับที่ ประเทศ2552255325542554(ม.ค. - ส.ค.)2555(ม.ค. - ส.ค.)2552255325542554(ม.ค.-ส.ค.)2555(ม.ค.-ก.ค.)2552255325542554(ม.ค.)2555(ม.ค.)12345678910จีนญี่ปุ่นสหรัฐอเมริกามาเลเซียฮ่องกงอินโดนีเซียสิงคโปร์ออสเตรเลียเวียดนามอินเดีย548,760.05535,880.34567,698.96260,837.29323,220.23158,917.86257,967.52291,955.77159,224.41109,863.06678,631.83645,210.24638,820.07334,598.81413,785.01232,856.21285,187.15297,098.72184,463.07139,178.33791,212.19719,382.47656,591.57373,614.58360,080.42303,877.17343,976.47241,047.24212,703.66156,288.72528,926.07494,361.62447,372.76253,264.09252,733.17206,395.51236,734.61170,840.67144,784.38107,222.53557,589.00485,021.22470,877.05254,645.72253,142.23234,054.76223,099.07185,667.67141,113.63110,481.543.09-19.00-14.98-19.81-2.28-23.60-22.4010.93-3.56-0.3023.6720.4012.5328.2828.0246.5310.551.7615.8526.6816.5911.502.7811.66-12.9830.5020.61-18.8715.3112.2920.4017.756.7012.461.2429.1726.04-15.8324.0814.345.42-1.895.250.550.1613.40-5.768.68-2.543.0410.5610.3210.935.026.223.064.975.623.072.1110.9910.4510.345.426.703.774.624.812.992.2511.8010.729.795.575.374.535.133.593.172.3311.4510.709.695.485.474.475.133.703.132.3211.8710.3210.025.425.394.984.753.953.002.35รวม 10 รายการรวมอื่นๆรวมทุกประเทศ3,214,325.51,980,271.25,194,596.733,849,829.42,326,472.66,176,302.064,158,774.52,549,215.06,707,989.462,842,635.41,776,325.94,618,961.352,915,691.91,782,508.44,698,200.26-10.63-12.17-11.2219.7717.4818.908.029.578.6113.0615.9214.142.570.351.7261.8838.12100.0062.3337.67100.0062.0038.00100.0061.5438.46100.0062.0637.94100.00ที่มา : ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ โดยความร่วมมือจากกรมศุลกากรสินค้าส่งออก 10 อันดับแรกของไทย ระหว่างดือนมกราคม - สิงหาคม 2555อันดับที่12345678910รวม 10 รายการรวมอื่นๆรวมทั้งสิ้นชื่อสินค้ารถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วนประกอบน้ำมันสำเร็จรูปอัญมณีและเครื่องประดับยางพาราเม็ดพลาสติกเคมีภัณฑ์ผลิตภัณฑ์ยางแผงวงจรไฟฟ้าเครื่องจักรกลและส่วนประกอบของเครื่อง2552378,348.9545,468.9214,175.9333,700.5146,188.2151,978.8152,208.9152,799.5219,508.7113,336.62,407,714.92,786,881.85,194,596.7มูลค่า : ล้านบาท อัตราขยายตัว (%) สัดส่วน (%)2553561,108.8596,677.7245,996.2366,818.3249,262.5200,326.0182,464.7203,428.1255,322.1154,486.13,015,890.63,160,411.56,176,302.12554511,503.6513,710.1303,794.8371,239.3382,903.5265,381.6250,053.8253,054.9238,173.4184,492.13,274,307.03,433,682.56,707,989.52554(ม.ค. - ส.ค.)362,752.1374,200.7195,387.1268,339.0259,734.5181,302.3165,038.2165,151.3173,618.4115,365.82,260,889.42,358,071.94,618,961.32555(ม.ค. - ส.ค.)443,046.9404,483.2265,168.3260,996.5187,109.4177,460.2175,383.8174,208.1133,954.4128,695.52552-26.27-9.89-27.5921.75-34.63-16.117.421.94-7.76-18.682,350,506.3 -12.832,347,694.0 -9.794,698,200.3 -11.22255348.309.3914.869.9270.5131.8119.8833.1316.3236.3125.2613.4018.90255448.309.3914.869.9270.5131.8119.8833.1316.3236.318.578.658.612554(ม.ค. - ส.ค.)-3.07-7.6917.8618.9867.0541.9840.7224.081.5912.2515.2813.0714.142555(ม.ค. - ส.ค.)22.138.0935.71-2.74-27.96-2.126.275.48-22.8511.553.96-0.441.72ที่มา : ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ โดยความร่วมมือจากกรมศุลกากรโลก25527.2810.504.126.422.812.932.932.944.232.1846.3553.65100.0025539.089.663.985.944.043.242.953.294.132.5048.8351.1725547.637.664.535.535.713.963.733.773.552.7548.8151.192554(ม.ค.)7.858.104.235.815.623.933.573.583.762.5048.9551.052555(ม.ค.)9.438.615.645.563.983.783.733.712.852.7450.0349.97100.00 100.00 100.00 100.00Volume 1 ❘ September ❘ <strong>2012</strong>7


ข่าวประชาสัมพันธ์การส่งออกวัสดุบรรจุภัณฑ์ไม้ที่ใช้ขนส่งสินค้าไปต่างประเทศด้วยสำนักควบคุมพืชและวัสดุการเกษตร กรมวิชาการเกษตร ได้รับหนังสือแจ้งเตือนจากประเทศผู้นำเข้าว่าวัสดุบรรจุภัณฑ์ไม้ที่ใช้ประกอบการขนส่งสินค้าไปยังสหภาพยุโรปตรวจพบแมลงศัตรูพืชและไม่มีการปฏิบัติตามเงื่อนไขที่กำหนดไว้ในมาตรฐานระหว่างประเทศว่าด้วยเรื่องของมาตรฐานด้านสุขอนามัยพืช ฉบับที่ 15(ISPM No.15) ซึ่งเป็นเรื่องของข้อกำหนดสำหรับวัสดุบรรจุภัณฑ์ไม้ที่จะใช้ขนส่งไปต่างประเทศ รวมทั้งข้อปฏิบัติเพื่อขอใบรับรองและหรือขอประทับตราเครื่องหมายรับรองบนวัสดุบรรจุภัณฑ์ไม้ดังนั้นเพื่อให้การส่งออกเป็นไปตามเงื่อนไขของประทศผู้นำเข้าสำนักควบคุมพืช และวัสดุการเกษตร ขอแจ้งให้ทราบว่าการใช้วัสดุบรรจุภัณฑ์ไม้จะต้องผ่านการขึ้นทะเบียนจากกรมวิชาการเกษตร และสามารถตรวจสอบรายชื่อผู้ประกอบการที่ได้รับการขึ้นทะเบียนจากกรมวิชาการเกษตร จากเว็บไซต์ http://www.doa.go.thหรือติดต่อ กลุ่มบริการส่งออกสินค้าเกษตร สำนักควบคุมพืชและวัสดุการเกษตร 0-2940-6466-7ท่านสมาชิกสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้จากhttp://www.tnsc.com/html/content/view/2135/234/กิจกรรมและการฝึกอบรมที่น่าสนใจ• สภาผู้ส่งออกฯ ร่วมกับ สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน)จัดการศึกษาดูงานนวัตกรรมด้านอาหารและการจัดตั้งพื้นที่เศรษฐกิจนวัตกรรมด้านอาหาร ณ ประเทศฝรั่งเศส และเนเธอร์แลนด์เข้าเยี่ยมชมงาน SIAL <strong>2012</strong> และ Food Valley Expo <strong>2012</strong> ในวันที่21 - 28 ตุลาคม 2555• การสัมมนาหัวข้อ “กฎระเบียบ/มาตรการทางการค้าของไทยและประเทศในกลุ่ม ASEAN & ASEAN +3” ณ ห้องประชุม 802 กรมการค้าต่างประเทศ (Free Seminar) ในวันที่ 25 ตุลาคม 2555 เวลา08.30 - 16.00 น.• กิจกรรมเยี่ยมชม ICD ลาดกระบังและคลังสินค้า FREE ZONE สนามบินสุวรรณภูมิ (หลักสูตรฝึกอบรมประจำ) เดือนพฤศจิกายน 2555 ในวันพฤหัสบดีที่ 8 พฤศจิกายน 2555 เวลา 08.00 - 16.30 น.<strong>TNSC</strong> CALENDAR• 29 กันยายน - 5 ตุลาคม 2555 คณะกรรมการสรท. เดินทางเยืยนรัฐแอตแลนต้า ประเทศสหรัฐอเมริกา เพื่อเข้าร่วมการประชุม Councilof Supply Chain Management Professional (CSCMP)• 31 ตุลาคม 2555 LQSP Certification Ceremonyสภาผู้ส่งออกฯ :สภาผู้ส่งสินค้าทางเรือแห่งประเทศไทย (สรท.)(Thai National Shipper's Council)1168/97 อาคารลุมพินีทาวเวอร์ ชั้น 32 ถนนพระราม 4 แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ 101201168/97 Zone C, Lumpini Tower Bldg., 32 Fl., Rama IV Road, Thungmahamek, Sathorn, Bangkok 10120Tel : (662) 679-7555 • Fax : (662) 679-7500-2 • www.tnsc.com • Email : tnsc_crm@tnsc.com

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!