29.01.2015 Views

Untitled

Untitled

Untitled

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

11<br />

ภาพที่ 2-2 กราฟแสดงการเปลี่ยนแปลงพลังงานในตำแหน่งต่างๆ<br />

(Element) และเอลิเมนต์จะเชื่อมกันด้วยจุดต่อ (Node) แล้วจึงนำสมการควบคุมระบบมาสร้างสมการ<br />

ไฟไนต์เอลิเมต์สำหรับแต่ละเอลิเมนต์บนโดเมนจากนั้นจึงแก้ระบบสมการดังกล่าวซึ่งจะได้เฉลยโดย<br />

ประมาณทึ่จุดต่อบนโดเมน ซึ่งสามารถนำมาประยุกต์ใช้กับการวิเคราะห์ สวิทช์รีลัคแตนซ์มอเตอร์ได้<br />

เป็นอย่างดี ที่มีการนำวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์มาทำการสร้างแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ หาค่าพารามิเตอร์<br />

ต่างๆ รวมไปถึงการออกแบบ และเนื่องจากว่า สวิทช์รีลัคแตนซ์มอเตอร์เป็นระบบที่เป็นแบบพลวัตร<br />

(Dynamic) ซึ่งเป็นผลทำให้พารามิเตอร์บางตัวมีการเปลี่ยนแปลง การวิเคราะห์จึงอาจจะสามารถ<br />

วิเคราะห์ได้ทั้งแบบพลวัตร (Dynamic) และ สถิตย์ (Static) การวิเคราะห์โดยใช้วิธีไฟไนต์เอลิเมนต์<br />

ต้องเริ่มจากการสร้างสมการควบคุม (Governing Equation) ซึ่งสำหรับการวิเคราะห์แบบ 2 มิติ สมการ<br />

ของสนามแม่เหล็กสำหรับสวิทช์รีลัคแตนซ์มอเตอร์ คือ<br />

(<br />

∂<br />

∂x<br />

v ∂A z<br />

∂x<br />

)<br />

+ ∂ (<br />

∂y<br />

v ∂A z<br />

∂y<br />

)<br />

+ J 0 = 0 (2-6)<br />

A z<br />

คือ ค่าเวกเตอร์สนามแม่เหล็ก<br />

J o คือ ความหนาแน่นกระแส<br />

ภาพที่ 2-3 การแบ่งเอลิเมนต์เป็นรูปสามเหลี่ยมย่อยโดยแต่ละเอลิเมนต์จะประกอบด้วยจุดต่อ 3 จุด

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!