06.06.2015 Views

ปชีวิตที่ปรับดวยความพิการ/ปสุขภาวะ

ปชีวิตที่ปรับดวยความพิการ/ปสุขภาวะ

ปชีวิตที่ปรับดวยความพิการ/ปสุขภาวะ

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

1<br />

Disability – Adjusted Life Year<br />

(DALY)<br />

ปชีวิตที่ปรับดวยความพิการ/ปสุขภาวะ<br />

นพ.ยงเจือ เหลาศิริถาวร<br />

สํานักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค


2<br />

คําถามการวิจัย / การศึกษา<br />

• ขนาดของปญหา / โรค (Magnitude)<br />

− จํานวนผูปวย / เสียชีวิต ดวย โรคพิษสุนัขบา ไขเลือดออก มาลาเรีย วัณโรค เอดส<br />

− อัตราปวย / อัตราตาย ดวย โรคพิษสุนัขบา ไขเลือดออก มาลาเรีย วัณโรค เอดส<br />

• ความสัมพันธของปจจัยตอการเกิดปญหา (Association)<br />

− การปวย / ตาย ดวย โรคพิษสุนัขบา ไขเลือดออก มาลาเรีย วัณโรค เอดส มี<br />

ความสัมพันธกับอาชีพหรือไม?<br />

• ผลกระทบของปจจัยตอการเกิดโรค (Impact)<br />

− การใชวัคซีน มีประสิทธิผลตอการลดการปวย / ตาย ดวย โรคพิษสุนัขบา<br />

ไขเลือดออก วัณโรค เอดส อยางไร


3<br />

การวัดทางระบาดวิทยา<br />

• ขนาดของปญหา (วัดการเกิดโรค, การปวยการตาย)<br />

− อุบัติการณ (Incidence) Descriptive Study<br />

− ความชุก (Prevalence) Descriptive Study<br />

• ความสัมพันธของปจจัยตอการเกิดปญหา (วัดขนาดของความสัมพันธ)<br />

−<br />

−<br />

−<br />

Risk ratio Cohort Study<br />

Odds Ratio Case-Control Study<br />

Prevalence Ratio Cross-Sectional Study<br />

• ผลกระทบของปจจัยตอการเกิดโรค (วัดประสิทธิผล)<br />

−<br />

−<br />

Exposure attributable fraction<br />

Population attributable fraction


4<br />

ขอมูลอุบัติการณโรค ประเทศไทย พ.ศ.2549<br />

• พิษสุนัขบา:<br />

− ปวย 26 ราย (0.04 ตอแสน) ตาย 26 ราย (0.04 ตอแสน) อัตราปวยตาย 100%<br />

• ไขเลือดออก:<br />

− ปวย 46,829 ราย (74.78 ตอแสน) ตาย 59 ราย (0.09 ตอแสน) อัตราปวยตาย 0.13%<br />

• วัณโรค:<br />

− ปวย 33,422 ราย (53.37 ตอแสน) ตาย 216 ราย (0.34 ตอแสน) อัตราปวยตาย 0.65%<br />

• มาลาเรีย:<br />

− ปวย 28,962 ราย (46.25 ตอแสน) ตาย 51 ราย (0.08 ตอแสน) อัตราปวยตาย 0.18%<br />

• เอดส<br />

− ปวย 15,762 ราย (25.17 ตอแสน) ตาย 2,682 ราย (4.28 ตอแสน) อัตราปวยตาย 17.02%<br />

หมายเหตุ: อัตราปวยตายบางโรค ผูตายไมไดเปนผูปวยในปเดียวกัน (ปวยในปกอนๆ)


Summary measures of population health<br />

(SMPM)<br />

5<br />

“Measures that combine information on<br />

mortality and non-fatal health outcomes to<br />

represent the health of a particular population<br />

as a single number”<br />

“การวัดขนาดของปญหาสุขภาพในประชากรที่รวมขอมูลทั้งขอมูล<br />

การปวยและการเสียชีวิตเขาดวยกันเปนตัวเลขเดียว”


Summary measures of population health<br />

(SMPM)<br />

6<br />

• เปรียบเทียบสภาวะสุขภาพระหวางสองประชากรหรือประชากรเดียวใน<br />

ชวงเวลาที่ตางกัน<br />

• เปรียบเทียบสภาวะโรคที่ตางกัน<br />

• วิเคราะหประโยชนของ health intervention โดยใช costeffectiveness<br />

analysis<br />

• จัดลําดับความสําคัญของปญหาสุขภาพ เพื่อวางแผนนโยบาย


7<br />

ดัชนีสุขภาพแบบองครวม/สรุปรวบยอด<br />

(SMPH)<br />

% surviving<br />

100<br />

90<br />

80<br />

70<br />

60<br />

50<br />

40<br />

30<br />

20<br />

10<br />

0<br />

A<br />

B<br />

ปวย<br />

สุขภาพดี<br />

0 20 40 60 80 100<br />

Age<br />

C<br />

ตาย<br />

Health<br />

Expectancy<br />

= A + f(B)<br />

Health Gap =<br />

C + g(B)


8<br />

Summary measures of population health<br />

• Health Expectancy<br />

−<br />

Disability Free Life Expectancy, Disability<br />

Adjusted Life Expectancy, Health<br />

Adjusted Life Expectancy<br />

• Health Gap<br />

−<br />

Disability Adjusted Life Years, Year of<br />

Life Lost, Year Lived with Disability


9<br />

Health expectancies<br />

Survivors (%)<br />

100<br />

90<br />

80<br />

70<br />

60<br />

50<br />

40<br />

30<br />

20<br />

10<br />

life expectancy , health expectancy<br />

Health state 1<br />

(Full health)<br />

Health state 2<br />

Health state 3<br />

Health<br />

state 4<br />

0<br />

0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100<br />

Age (years)


10<br />

Disability-free life expectancy<br />

Survivors (%)<br />

100<br />

90<br />

80<br />

70<br />

60<br />

0<br />

0<br />

0<br />

50<br />

40<br />

30<br />

Weight = 1<br />

20<br />

10<br />

0<br />

0 10 20 30 40 50 Age (years) 60 70 80 90 100


11<br />

Disability-adjusted life expectancy<br />

Survivors (%)<br />

100<br />

90<br />

80<br />

70<br />

60<br />

w 4<br />

w 3<br />

w 2<br />

50<br />

40<br />

30<br />

Weight = 1<br />

20<br />

10<br />

0<br />

0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100<br />

Age (years)


12<br />

Disability- Adjusted Life Year (DALY)<br />

• วัดการสูญเสียสุขภาวะเปนจํานวนปชีวิตที่ปรับดวยความพิการ หนวยคือ<br />

จํานวน DALY (แทนจํานวนรายในกรณี การวัดการปวยการตาย ทั่วๆไป)<br />

• การวัดที่รวมการสูญเสียทั้งจากการตายและความพิการหรือความเจ็บปวยที่<br />

เกิดขึ้นในระดับประชากร<br />

• เปรียบเทียบสภาวะโรคที่ตางกัน<br />

เชน กระดูก scapula หัก = .5 DALYs lost<br />

ภาวะทุพโภชนาการจากการขาดโปรตีน = 2 DALYs lost


13<br />

Disability- Adjusted Life Year (DALY)<br />

DALY = YLL + YLD<br />

• DALY = Year Life Loss (YLL) due to premature death + Year Lived<br />

with Disability (YLD)<br />

• ปที่สูญเสียจากการตายกอนวัยอันควร (Year Life Loss, YLL)<br />

YLL = number of death X Life expectancy<br />

• ปที่อยูกับความพิการหรือการเจ็บปวย (Year Lived with Disability, YLD)<br />

YLD = number of case X disability weight X duration of disease


Death/Life<br />

expectancy<br />

80 yr<br />

DALYs = YLDs + YLLs<br />

14<br />

Years lost due to premature<br />

death (YLLs)<br />

40 yr<br />

25 yr<br />

death<br />

ill<br />

Years lived with disability<br />

(YLDs)<br />

birth<br />

0 yr<br />

person


15<br />

DALY Calculation: ตัวอยาง<br />

อุบัติเหตุรถชน<br />

เสียชีวิต 4 คน (1 ครอบครัว)<br />

− บุตรหญิง 10 ป<br />

− บุตรชาย 8 ป<br />

− มารดา 38 ป<br />

− บิดา 42 ป<br />

บาดเจ็บ 2 คน<br />

− หญิง 45 ป – epidural hematoma<br />

− ชาย 55 ป – fractured rib<br />

YLLs จากการเสียชีวิต<br />

− อายุคาดหวังเฉลี่ยที่เสียไป 70<br />

− อายุคาดหวังเฉลี่ยที่เสียไป 73<br />

− อายุคาดหวังเฉลี่ยที่เสียไป 46<br />

− อายุคาดหวังเฉลี่ยที่เสียไป 33<br />

−<br />

−<br />

YLDs จากการบาดเจ็บ<br />

Duration (36 year LE) X Disability Wt<br />

(.725) = 26 YLDs<br />

Duration (.115 years) X Disability Wt<br />

(.199) = 0.02 YLDs<br />

222 YLLs<br />

+ 26.02 YLDs = 248.02 YLDs


16<br />

ขั้นตอนการคาดประมาณคาทางระบาดวิทยา<br />

ศึกษาสืบคนความรูเกี่ยวกับโรค<br />

•<br />

สรางแผนผังธรรมชาติของโรค<br />

•<br />

หาตัวชี้วัดทางระบาดวิทยาที่ตองใช<br />

•<br />

ทบทวนวรรณกรรมทั้งที่ตีพิมพและไมตีพิมพ<br />

•<br />

ตรวจความสอดคลองและคุณภาพขอมูล<br />

•<br />

นําตัวเลขไปใชคํานวณ YLL และ YLD<br />


17<br />

เปาหมาย<br />

• YLL<br />

− จํานวนการตายจําแนกตามสาเหตุการเสียชีวิต<br />

− อายุคาดหวังเฉลี่ย (Life expectancy)<br />

• YLD<br />

− อุบัติการณการปวยจําแนกตามโรค<br />

− Disability weight<br />

− ระยะเวลาเฉลี่ยของการปวยจําแนกตามโรค<br />

โดยวิธีการตรง (มีขอมูล<br />

โดยตรง) หรือ โดยวิธี<br />

ทางออม (ประมาณจากขอมูล<br />

อื่นๆ)<br />

สวนใหญเปนขอมูลทุติยภูมิ<br />

DALY


18<br />

ศึกษาสืบคนความรูเกี่ยวกับโรค<br />

สิ่งที่ตองทํา<br />

ประเด็นที่ตองสนใจไดแก นิยามโรค ธรรมชาติของโรค การ<br />

•<br />

จําแนกกลุมยอยหรือประเภทในโรคนั้น ความรุนแรง ระบาด<br />

วิทยา และ ภาวะแทรกซอนหรือผลกระทบที่เกิดภายหลัง<br />

โรคนั้น<br />

ศึกษาองคความรูที่เปนปจจุบันจากตําราเฉพาะโรคนั้น หรือ<br />

•<br />

การทบทวนความรูจากแหลงอื่น เชน ในการศึกษาภาระโรค<br />

ของโลก หรือของประเทศอื่นที่ทํามากอน


19<br />

ศึกษาสืบคนความรูเกี่ยวกับโรค<br />

ผลผลิตที่ได<br />

• องคความรูเกี่ยวกับโรค โดยเฉพาะเรื่องลักษณะทาง<br />

ระบาดวิทยาของโรค (ความชุก, อุบัติการณ, ระยะเวลาที่ปวย,<br />

อายุเมื่อเริ่มปวย, อัตราการหายปวย, ความเสี่ยงสัมพัทธ, ระดับ<br />

ความรุนแรงของโรค และระยะเวลาจากเริ่มปวยจนถึงมีความ<br />

พิการ)<br />

• แหลงขอมูลที่อาจนํามาใชได


20<br />

ธรรมชาติของโรค<br />

• ประชากรแตละกลุม เชน เพศ อายุ มีความแตกตางกันในแงของ<br />

อุบัติการณของปวยหรือเสียชีวิต อายุคาดหวังเฉลี่ย<br />

• โรคแตละโรคมีความแตกตางกันหลายระดับความรุนแรงขึ้นอยูกับ<br />

ธรรมชาติของโรค<br />

DALY รวม = DALY 1 + DALY 2 + DALY 3 +…<br />

DALY 1 = YLL 1 + YLD 1<br />

DALY 2 = YLL 2 + YLD 2<br />

… …<br />

DALY n = YLL n + YLD n


21<br />

หาตัวชี้วัดทางระบาดวิทยาที่ตองใช<br />

จําแนกตามกลุมอายุ และ เพศ<br />

• Incidence อุบัติการณ (ทั้งการปวย การตาย)<br />

• Prevalence ความชุก<br />

• Remission การหายจากโรค<br />

• Duration ระยะเวลาปวย/พิการ<br />

• Case fatality อัตราการปวยตาย<br />

• Mortality อัตราตาย<br />

• Risk ratio (RR) on total mortality ความ<br />

เสี่ยงตอการตาย


22<br />

ปญหาของขอมูลทางระบาดวิทยา<br />

• มักจะไมครบถวนสมบูรณ<br />

− มีความชุก แตไมมีอุบัติการณ<br />

• มักไมสอดคลองกัน<br />

− อัตราตาย มากกวา อุบัติการณ Mortality and incidence<br />

− ความสัมพันธระหวาง Incidence and prevalence


23<br />

ทบทวนวรรณกรรมทั้งที่ตีพิมพและไมตีพิมพ<br />

• ขอมูลที่พบนั้นคุณภาพเปนอยางไร<br />

• จะใชประโยชนอะไรไดบาง<br />

• ขอมูลจากระบบทะเบียนหรือระบบรายงาน มี<br />

ขอจํากัดบางประการ ควรเสาะหาแหลงขอมูลอื่นมา<br />

พิจารณารวมดวย


24<br />

ขอมูลมาตรฐาน<br />

• ตางรางชีพ (Life expectancy table)<br />

• Disability weight


อายุคาดหวังเฉลี่ยในแตละกลุมอายุและ YLL จากการเสียชีวิตในแตละ<br />

กลุมอายุที่ใชใน global burden of disease study<br />

25<br />

Age<br />

Life Expectancy (years)<br />

YLLs due to a death at each age<br />

(years) Females Males Females Males<br />

0 82.50 80.00 33.12 33.01<br />

1 81.84 79.36 34.07 33.95<br />

5 77.95 75.38 36.59 36.46<br />

10 72.99 70.40 37.62 37.47<br />

15 68.02 65.41 36.99 36.80<br />

20 63.08 60.44 35.24 35.02<br />

25 58.17 55.47 32.78 32.53<br />

30 53.27 50.51 29.92 29.62<br />

35 48.38 45.57 26.86 26.50<br />

40 43.53 40.64 23.74 23.32<br />

45 38.72 35.77 20.66 20.17<br />

50 33.99 30.99 17.69 17.12<br />

55 29.37 26.32 14.87 14.21<br />

60 24.83 21.81 12.22 11.48<br />

65 20.44 17.50 9.75 8.95<br />

70 16.20 13.58 7.48 6.69<br />

75 12.28 10.17 5.46 4.77<br />

80 8.90 7.45 3.76 3.27<br />

85 6.22 5.24 2.45 2.12<br />

90 4.25 3.54 1.53 1.30<br />

95 2.89 2.31 0.94 0.76<br />

100 2.00 1.46 0.57 0.42


26<br />

Disability weight<br />

• คาแสดงระดับความรุนแรงของการเจ็บปวย<br />

• มีคาระหวาง 0 ถึง 1<br />

− 0 คือ สุขภาพดี ไมมีการเจ็บปวย<br />

− 1 คือ เสียชีวิต


27<br />

Disability weight (DW)<br />

1.000<br />

0.800<br />

0.600<br />

Dementia Severe Stroke Severe<br />

Birth trauma and asphyxia<br />

Severe intellectual disability<br />

Dementia Moderate<br />

0.400<br />

0.200<br />

0.000<br />

AIDS<br />

Skull-short term Fracture<br />

DM Amputation foot or leg<br />

Heroin<br />

Peptic<br />

Infertility<br />

ulcer Untreated cases<br />

2 Dental caries


28<br />

แหลงขอมูลการปวย การตาย<br />

• ทะเบียนโรค (Disease registers)<br />

• การสํารวจ (Population surveys)<br />

• การศึกษาทางระบาดวิทยา (Epidemiological studies)<br />

• ขอมูลจากสถานพยาบาล (Health facility data)


29<br />

ทะเบียนโรค<br />

ตัวอยาง:<br />

• tuberculosis, cancer, renal failure,<br />

epilepsy, schizophrenia, diabetes,<br />

hypertension, thallassaemia, cystic<br />

fibrosis<br />

ขอพิจารณา:<br />

• ความครบถวน<br />

• คุณภาพขอมูล<br />

• ความเปนตัวแทน


30<br />

การสํารวจ<br />

• การสํารวจแบบใหรายงานขอมูลเอง : ความพิการ, การเจ็บปวยที่ผานมา,<br />

ปจจัยเสี่ยงตางๆ<br />

• การสํารวจแบบมีการวัดการตรวจ<br />

− เลือด (ภูมิคุมกันบกพรอง, ตับอักเสบ, เบาหวาน)<br />

− อุจจาระ (หนอนพยาธิ)<br />

− การตรวจรางกาย (การพิการตางๆ)<br />

− การตรวจอื่นๆ (PPD for TB, spirometry,ECG, vision,<br />

hearing)<br />

− IQ testing, neuro-developmental tests, motor<br />

function


31<br />

ขอพิจารณา:<br />

• ความเปนตัวแทน:<br />

การสํารวจ<br />

− ตัวอยาง : ทั้งประเทศ ?, เฉพาะกลุมอายุ ? ,มีอคติในดานเพศหรือเชื้อชาติ?<br />

− อัตราการตอบรับการสํารวจ (response rate)<br />

− คัดตัวอยางบางกลุมออก: ชาวตางดาว<br />

• ความถูกตอง<br />

− เครื่องมือที่ใชวัดสามารถวัดสิ่งที่ตองการศึกษา?<br />

− ความสอดคลองของขอมูลที่ไดรับ<br />

• ความแมนยํา<br />

− วิธีการวัดมีความคงที่ในเวลาที่ตางกันหรือผานไป ?


32<br />

การศึกษาทางระบาดวิทยา<br />

ตัวอยาง:<br />

• การศึกษาระยะยาว: ธรรมชาติของโรค เชน อุบัติการณ, ระยะเวลาของ<br />

โรค, ระดับความรุนแรงของโรค, อัตราการหาย, อัตราปวยตาย<br />

• การศึกษาภาวะทุพพลภาพเรื้อรัง: ภาวะปญญาออน, สมองบาดเจ็บ<br />

• การศึกษาในประชากรเฉพาะกลุม: ชาวเมือง / ชาวชนบท<br />

ขอพิจารณา:<br />

• generalisability ของการศึกษาจากที่อื่น


33<br />

ขอมูลจากสถานพยาบาล<br />

• มีขอจํากัดในการใชเพื่อศึกษาภาระโรค<br />

• มีประโยชนในกรณีที่ภาวะโรคนั้นตองมารับการรักษาที่สถานพยาบาล<br />

เชน การบาดเจ็บรุนแรง<br />

ขอพิจารณา:<br />

• จํานวนครั้งของการเจ็บปวย หรือ จํานวนคนเจ็บปวย<br />

• ความถูกตองของขอมูล: incentives and disincentives


34<br />

ทะเบียนการตาย<br />

ตัวอยาง:<br />

• ขอมูลใบมรณบัตร<br />

ขอพิจารณา:<br />

• ความครบถวน<br />

• ความถูกตองของการวินิจฉัยสาเหตุการตาย


35<br />

ทบทวนวรรณกรรมทั้งที่ตีพิมพและไมตีพิมพ(ตอ)<br />

กิจกรรมที่ตองทํา<br />

• เรียบเรียงผลการศึกษาเพื่อใหงายตอการเปรียบเทียบผลการศึกษา<br />

• เลือกการศึกษาที่มีคุณภาพมากที่สุด และประชากรในการศึกษาตรงกับ<br />

ประชากรเปาหมายที่ตองการ หรือถาหากคิดวาไมมีการศึกษาใดที่เชื่อถือได<br />

ดีที่สุดก็ใหเลือกคาที่เปนไปไดและสมเหตุสมผล<br />

ผลผลิต<br />

• ชุดคาคาดประมาณทางระบาดวิทยาจากการศึกษาที่นาเชื่อถือไดมากที่สุดที่<br />

หาได และเปนตัวแทนประชากรที่ตองการดวย


36<br />

ทบทวนวรรณกรรมทั้งที่ตีพิมพและไมตีพิมพ(ตอ)<br />

คําถามสําคัญ<br />

• มั่นใจหรือไมวาคาที่ไดนี้เปนขอมูลที่นาเชื่อถือที่สุด และเปนตัวแทน<br />

ประชากรที่ตองการ<br />

• เหตุผลที่ไมเลือกคาจากการศึกษาอื่น ๆ ชัดเจนเพียงพอหรือไม<br />

• มีคาใดบางที่ยังไมมี เหตุใดจึงไมสามารถหาไดในขั้นตอนที่ผานมา


37<br />

ตรวจสอบความสอดคลองและคุณภาพขอมูล<br />

(ใชโปรแกรม DisMod)<br />

ตรวจสอบความสอดคลองภายใน ของคาตาง ๆ โดยใช<br />

•<br />

โปรแกรม DisMod<br />

ปรับแกความไมเปนตัวแทน<br />

•<br />

ประมาณคาที่เปนไปได<br />

•<br />

ปรึกษาคณะผูเชี่ยวชาญ<br />

•<br />

***เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงคาใด ๆ แลว ตองตรวจความสอดคลองเสมอ


38<br />

Relationship between DisMod input and output data<br />

Input<br />

Output<br />

Prevalence Mortality<br />

Duration<br />

Incidence ⇑ ⇑⇑⇑ ⇑<br />

Remission rate ⇑ ⇓⇓ ⇓ ⇓⇓<br />

Case-fatality rate ⇑ ⇓ ⇑⇑⇑ ⇓


39<br />

ตรวจความสอดคลองและคุณภาพขอมูล(ตอ)<br />

ความสอดคลองของขอมูล<br />

⇒ ขอมูลชนิดเดียวกันจากตางแหลงกัน: เชน ความชุกของโรค<br />

⇒ ขอมูลตางชนิดกัน: เชน อุบัติการณ, ความชุก, การตาย, การหาย<br />

ขอพิจารณา:<br />

⇒ ตรวจสอบความสอดคลองของขอมูลโดยใชโปรแกรมเฉพาะ เชน<br />

DisMod<br />

⇒ อยางไรก็ตาม ขอมูลสวนใหญมักไมสอดคลองกัน … ใช<br />

วิจารณญาณสวนบุคคล


40<br />

DisMod<br />

• Incidence อุบัติการณ<br />

• Prevalence ความชุก<br />

• Remission การหายจากโรค<br />

• Duration ระยะเวลาปวย/พิการ<br />

• Case fatality อัตราการปวยตาย<br />

• Mortality อัตราตาย<br />

• RR on total mortality ความเสี่ยงตอการตาย<br />

DISMOD


DisMod กับแผนผังธรรมชาติของโรค<br />

41<br />

DisMod<br />

Population<br />

without disease<br />

General<br />

mortality rate<br />

Deaths from<br />

general mortality<br />

Incidence<br />

rate<br />

Remission<br />

rate<br />

General<br />

mortality rate<br />

Cases of disease<br />

Case<br />

fatality rate<br />

Cause-specific<br />

deaths


ประโยชนของ DisMod ในการประมาณคาที่ยังขาด<br />

42<br />

สถานการที่พบไดบอย:<br />

ขอมูลที่มี<br />

ขอมูลที่ยังขาด<br />

ตัวอยาง<br />

1. Prevalence<br />

2. Prevalence<br />

+ mortality<br />

3. Prevalence<br />

+ mortality<br />

Incidence and<br />

remission<br />

Incidence and<br />

CFR or RR<br />

Incidence and<br />

CFR/RR and<br />

remission<br />

Non-fatal conditions, normal<br />

life expectancy e.g. asthma<br />

High fatality conditions without<br />

remission e.g. COPD<br />

e.g. alcohol dependence, TB,<br />

anaemia


ความนาเชื่อถือของขอมูล<br />

43<br />

สอดคลองกับระบาดวิทยาของโรค ? เชน<br />

⇒ ระยะเวลาของโรคยาวสําหรับโรคเรื้อรัง<br />

⇒ การประมาณอุบัติการณโรคตับแข็งจากตับอักเสบตองไมเกินจํานวนโรคตับ<br />

แข็งทั้งหมดจากทุกสาเหตุ<br />

⇒ การประมาณจํานวนผูปวยภาวะปญญาออนจาก ปญหาพันธุกรรม การ<br />

คลอด การติดเชื้อ การบาดเจ็บ และอื่นๆ รวมกันตองไมเกินจํานวนเด็ก/<br />

ผูใหญทั้งหมด แลวแตกลุมประชากรที่ศึกษา


ความนาเชื่อถือของขอมูล (ตอ)<br />

44<br />

การปรึกษาผูเชี่ยวชาญ:<br />

⇒ ผูเชี่ยวชาญทั้งดานสาธารณสุขและดานการรักษาพยาบาล<br />

⇒ อภิปรายเกี่ยวกับแหลงขอมูล ความเปนไปไดของขอมูล<br />

⇒ อยางไรก็ตาม … ความเห็นของผูเชี่ยวชาญอาจมีอคติ เนื่องจากเหตุผลดาน<br />

การสนับสนุนสวนบุคคลในสาขาวิชาที่ตนเองเชี่ยวชาญ หรือผูเชี่ยวชาญมัก<br />

พบผูปวยที่อาการรุนแรงหรืออาการทายสุดเปนสวนใหญ


ความนาเชื่อถือของขอมูล (ตอ)<br />

45<br />

การปรับคาขอมูลที่ไมเปนตัวแทนของประชากรทั้งหมด:<br />

⇒ ปรับคาการคาดประมาณจากขอมูลเฉพาะพื้นที่หรือเฉพาะกลุม โดยใชความรู<br />

ดานการกระจายของโรคหรือภาวะสุขภาพ เชน ความแตกตางทางเศรษฐานะ<br />

ความแตกตางของพื้นที่เมือง/ชนบท<br />

พยายามคาดประมาณแมวาจะมีขอมูลไมมากนัก<br />

⇒ even if only expert “guestimates” are available<br />

make an estimate


46<br />

ผลผลิต<br />

นําตัวเลขไปใชคํานวณ DALY<br />

• ภาระโรคในหนวยนับ DALY<br />

คําถามสําคัญ<br />

• การประเมินทางระบาดวิทยาเปนไปอยางดีหรือไม<br />

• เงื่อนไขขอตกลงที่อาจมีความไมแนนอนสงผลตอพิสัยของผลภาระโรค<br />

ที่เปนไปไดมากหรือไม<br />

• คณะผูเชี่ยวชาญเห็นดวยกับผลการคํานวณหรือไม<br />

• ผลการศึกษาสมเหตุสมผลเพียงใด โดยเฉพาะเมื่อเปรียบเทียบกับ<br />

แหลงขอมูลที่เปนที่ยอมรับอื่น ๆ เชน การศึกษาภาระโรคระดับโลกหรือ<br />

ภูมิภาค ผลงานตีพิมพระดับชาติ เปนตน


47<br />

การปรับคาการคํานวณ DALY<br />

• ใชเพื่อการปรับคาทางเศรษฐกิจและสังคม<br />

• Age-weighting(คาถวงน้ําหนักอายุ)– ตัวอยางเชน การใหน้ําหนักการ<br />

ตายกับคนกลุมอายุหนุมสาว มากกวากลุมอายุอื่นตามความสําคัญทางสังคม<br />

• Discounting(คาลดทอน) – มักใชในการวิเคราะหทางเศรษฐกิจ และ<br />

แนะนําใหใชกับการคํานวณ DALY หากมีการวิเคราะหในเชิงเศรษฐกิจ<br />

• อยางไรก็ตาม มีการโตแยงวิธีปรับการคํานวณเนื่องจากเกิดการแบงแยกทาง<br />

สังคม<br />

• การคํานวณ DALY ไมจําเปนตองปรับการคํานวณ อาจพิจารณาเปนกรณีไป


ผลของการ discount YLL สําหรับการตาย<br />

48<br />

ในแตละกลุมอายุ<br />

YLL (years)<br />

90<br />

80<br />

70<br />

60<br />

Undiscounted - male<br />

Undiscounted - female<br />

3% discount - male<br />

3% discount - female<br />

50<br />

40<br />

30<br />

20<br />

10<br />

0<br />

0 20 40 60 80 100<br />

Age at death (years)


49<br />

ปญหาในการคํานวณ DALY<br />

• ความถูกตองและเชื่อถือไดของขอมูล<br />

• จําเปนใชขอมูลจากหลายแหลง<br />

• ขอมูลจากแตละแหลงอาจไมสอดคลองกัน<br />

• ตองมีความรูทางดานระบาดวิทยาของโรค, ธรรมชาติของโรคและ<br />

ภาวะแทรกซอน

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!