03.07.2015 Views

1. ปี 2553 “Innovation Management เติมเต็มวิถีความเป็นเลิศขององค์กร”

1. ปี 2553 “Innovation Management เติมเต็มวิถีความเป็นเลิศขององค์กร”

1. ปี 2553 “Innovation Management เติมเต็มวิถีความเป็นเลิศขององค์กร”

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

Innovation <strong>Management</strong><br />

เติมเต็มวิถีความเป็นเลิศขององค์กร<br />

โครงการประชุมวิชาการ ประจ าปี <strong>2553</strong> ฝ่ ายการพยาบาล โรงพยาบาลศิริราช<br />

21–22 กรกฎาคม <strong>2553</strong><br />

การวิเคราะห์สังเคราะห์เอกสารย้อนหลังเพื่อป้ องกันอุบัติเหตุการพลัดตกหกล้มของผู ้ป่ วยในโรงพยาบาล<br />

จากการมีส่วนร่วมของผู ้ป่ วยหรือผู ้ดูแลในการออกแบบเครื่องหมายความปลอดภัย<br />

บทคัดย่อ<br />

การวิจัยนี ้ มีวัตถุประสงค์เพื ่อให้ได้รูปแบบของเครื ่องหมายความปลอดภัยในการป้องกันการพลัดตกหกล้มจากการ<br />

มีส่วนร่วมของผู้ป่วยหรือผู้ดูแลและประเมินอุบัติเหตุพลัดตกหกล้มภายหลังจากการทดลองใช้เครื ่องหมายความปลอดภัยฯ<br />

กลุ่มตัวอย่างคือเอกสารการประเมินการพัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื ่อง20 เอกสารที ่ได้จากผู้ป่วยหรือผู้ดูแล ประกอบด้วยข้อมูล<br />

ส่วนบุคคล และเอกสารบันทึกจากแบบสัมภาษณ์ความคิดเห็น ของหอผู้ป่วยแห่งหนึ ่ง ในช่วง 3 เดือน โดย เอกสารการประเมิน<br />

ดังกล่าว ได้จากการประเมินเพียง 1ครั้ง ภายหลังจากที ่ผู้ป่วยหรือผู้ดูแลได้ชมรูปแบบของเครื ่องหมายความปลอดภัยฯโดยผู้ป่วย<br />

ดังกล่าวได้รับการประเมินจากพยาบาลว่ามีความเสี ่ยงต่อการพลัดตกหกล้มในระดับสูง(HENDRICH FALL RISK SCORE ≥ 5)<br />

วิเคราะห์ข้อมูลโดยค่าร้อยละ<br />

ผลการวิจัย พบว่า ข้อมูลส่วนใหญ่ได้จากตัวผู้ป่วยเอง(ร้อยละ 75) ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง(ร้อยละ 75) ระดับการศึกษาปวช/<br />

ปวส.(ร้อยละ 50) ส่วนข้อความที ่เขียนลงบนเครื ่องหมายส่วนใหญ่เห็นว่าขอความช่วยเหลือเพื ่อความปลอดภัย(ร้อยละ95)และ<br />

ควรมีรูปคนลื ่นล้มอยู ่ด้วยเพื ่อสื ่อกับผู้ที ่อ่านหนังสือไม่ออก ด้านรูปแบบเครื ่องหมายความปลอดภัยส่วนใหญ่ เห็นด้วยกับ<br />

รูป STOP SIGN ชนิด 8 เหลี ่ยม(ร้อยละ 90) กลุ่มตัวอย่างทั้งหมด เห็นว่าขนาดควรเป็น 15x15 นิ ้วฟุต และควรใช้สีส้มเนื ่องจาก<br />

เด่นช้ด (ร้อยละ 100)ทุกความเห็นเลือกต าแหน่งที ่ติดเครื ่องหมายว่าควรติดที ่ฝาผนังบริเวณปลายเตียง(ร้อยละ100)และไม่พบ<br />

อุบัติเหตุพลัดตกหกล้มในหอผู้ป่วยภายหลังจากการทดลองใช้เครื ่องหมายความปลอดภัยที ่ได้จากการมีส่วนร่วมในการออกแบบ<br />

ของผู้ป่วยหรือผู้ดูแลตลอดระยะเวลาการวิจัย<br />

ข้อเสนอแนะ:ควรเปิดโอกาสให้กลุ่มตัวอย่างได้แสดงความคิดเห็นอย่างอิสระโดยไม่น าตัวอย่างเครื ่องหมายจากพยาบาลมา<br />

แสดงให้เห็นก่อน เพื ่อจะได้ให้เกิดจินตนาการ และความคิดเห็นที ่หลากหลายมากขึ ้น<br />

ค าส าคัญ การป้องกันการพลัดตกหกล้ม, เครื ่องหมายความปลอดภัย

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!