รายงานสถานการณความรุนแรง จังหวัดสระแก้ว ประจำปี 2556
รายงานสถานการณความรุนแรง จังหวัดสระแก้ว ประจำปี 2556
รายงานสถานการณความรุนแรง จังหวัดสระแก้ว ประจำปี 2556
You also want an ePaper? Increase the reach of your titles
YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.
รายงานการเฝ้าระวังและเตือนภัยทางสังคม<br />
เรื่อง สถานการณ์ความรุนแรงทางสังคม<br />
สระแก้ว <strong>2556</strong><br />
สิงหาคม <strong>2556</strong><br />
ส านักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong><br />
ศาลากลาง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ชั้น 2 อ.เมืองสระแก้ว จ.สระแก้ว 27000<br />
http://www.sakaeo.m-society.go.th E-mail: sakaeo@m-society.go.th
รายงานการเฝ้าระวังและเตือนภัยทางสังคม<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี <strong>2556</strong><br />
เรื่อง สถานการณ์ความรุนแรงทางสังคม
เอกสารวิชาการ เลขที่ 3/<strong>2556</strong><br />
รายงานการเฝ้าระวังและเตือนภัยทางสังคม<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี <strong>2556</strong><br />
เรื่อง สถานการณ์ความรุนแรงทางสังคม<br />
ที่ปรึกษา<br />
นายพงษ์พิชญ์ ทองหิตานุวัฒน์ พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong><br />
คณะผู้ด าเนินการ<br />
ส านักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong><br />
นายบรรจบ ปัทมินทร์ นักพัฒนาสังคมช านาญการพิเศษ<br />
หัวหน้ากลุ่มนโยบายและวิชาการ<br />
นางพรทิพย์ เงาทอง นักพัฒนาสังคมช านาญการ<br />
นางสาวเพชรไพลิน วิสุทธิอุทัยกุล นักพัฒนาสังคมปฏิบัติการ<br />
นายณรกฤต ประมวล นักพัฒนาสังคม<br />
นางสาวณิชชากร รัชอินทร์ เจ้าหน้าที่ระบบงานคอมพิวเตอร์<br />
มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตสระแก้ว<br />
นายชิตพล ชัยมะดัน และคณะ ที่ปรึกษาด้านวิชาการและด าเนินการ<br />
รายงานการเฝ้าระวังและเตือนภัยทางสังคม<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี <strong>2556</strong><br />
เรื่อง สถานการณ์ความรุนแรงทางสังคม<br />
หน่วยงานที่เผยแพร่ ส านักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong><br />
พิมพ์ครั้งที่ 1 สิงหาคม <strong>2556</strong><br />
จ านวน<br />
ศาลากลาง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ถนนสุวรรณศร อ าเภอเมืองสระแก้ว <strong>จังหวัดสระแก้ว</strong><br />
โทรศัพท์ 037-425068-9 โทรสาร 037-425201<br />
100 เล่ม
การส ารวจสถานการณ์ความรุนแรง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี <strong>2556</strong><br />
บทสรุปส ำหรับผู้บริหำร<br />
การส ารวจสถานการณ์ความรุนแรง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี <strong>2556</strong> ครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ<br />
ส ารวจสถานการณ์ความรุนแรงต่อเด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ ผู้ด้อยโอกาสและศึกษารูปแบบในการ<br />
ป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงของชุมชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong><br />
ตลอดจน ศึกษาข้อเสนอเชิงนโยบายในการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงของ<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong><br />
คณะผู้วิจัยได้ก าหนดวิธีการด าเนินการวิจัยทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพสระแก้ว ซึ่งในการวิจัยครั้งนี้<br />
ได้ท าการเก็บข้อมูลจาก กลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่ม คือ 1) ประชาชนในพื้นที่ 9 อ าเภอ ทั้ง 58 ต าบลของ<br />
<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> จ านวน 2,720 คนวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive Sampling) กลุ่มเด็ก<br />
และเยาวชน กลุ่มผู้ที่มีงานท า และกลุ่มผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบ<br />
โควตา (Quota Sampling) เพื่อใช้ในการเก็บข้อมูลแบบสอบถาม โดยใช้แบบส ารวจข้อมูล<br />
สถานการณ์ความรุนแรง ปี <strong>2556</strong> ของศูนย์เฝ้าระวังและเตือนภัยทางสังคม ส านักงานมาตรฐานการ<br />
พัฒนาและความมั่นคงของมนุษย์ ส านักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์<br />
และท าการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา โดยแบบสอบถามปลายปิดจะใช้วิธีการวิเคราะห์<br />
ข้อมูลด้วยการแจกแจงค่าความถี่ ค่าร้อยละ ส่วนของปลายเปิดจะใช้วิธีการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย<br />
ค่าความถี่และการจัดกลุ่มของปัญหาและข้อเสนอแนะ 2) ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องการป้องกันและแก้ไข<br />
ปัญหาความรุนแรงของชุมชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> จ านวน 3 แห่ง<br />
ประกอบด้วย 1) ชุมชนบ้านคลองอาราง ต.บ้านแก้ง อ.เมืองสระแก้ว จ.สระแก้ว 2) องค์การบริหาร<br />
ส่วนต าบลพระเพลิง อ.เขาฉกรรจ์ จ.สระแก้ว และ3) องค์การบริหารส่วนต าบลทับพริก อ.อรัญ<br />
ประเทศ จ.สระแก้ว โดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive Sampling) ผู้บริหารและผู้มีส่วน<br />
เกี่ยวข้อง เพื่อท าการสัมภาษณ์ข้อมูลและท าการวิเคราะห์ข้อมูลใช้วิธีการวิเคราะห์เนื้อหา (Content<br />
Analysis) ตามวัตถุประสงค์ของการวิจัย โดยคณะผู้วิจัยข้อเสนอผลการส ารวจดังนี้<br />
1. สถำนกำรณ์ควำมรุนแรงในครอบครัว<br />
จากผลการส ารวจข้อมูลสถานการณ์ความรุนแรงในครอบครัว พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถาม<br />
ส่วนใหญ่ มีความสัมพันธ์ของบุคคลในครอบครัวอบอุ่น มีจ านวนร้อยละ 89.90 และความสัมพันธ์<br />
ในครอบครัวไม่อบอุ่น มีจ านวนร้อยละ 10.10 มีบุคคลในครอบครัวที่มีอารมณ์รุนแรงหรือชอบใช้ก าลัง<br />
มีจ านวนร้อยละ 4.40 เคยถูกกระท าความรุนแรงจากคนในครอบครัว มีจ านวนร้อยละ 2.00 ภายใน<br />
ครอบครัว มีการกระท าความรุนแรง มีจ านวนร้อยละ 2.40<br />
เมื่อจ าแนกตามความรุนแรง พบว่า ภายในครอบครัวมีการกระท าความรุนแรงด้านร่างกาย<br />
โดยส่วนใหญ่ มีการกระท าความรุนแรงทางร่างกาย 1 - 2 ครั้ง มีการกระท าความรุนแรงทางจิตใจ<br />
1 - 2 ครั้ง มีการกระท าความรุนแรงทางเพศ 1 - 2 ครั้ง ซึ่งเมื่อเกิดความรุนแรงในครอบครัวผู้ตอบ<br />
แบบสอบถามส่วนใหญ่เคยคิดหรือกระท าในการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงในครอบครัว โดย<br />
ส่วนใหญ่ ท ากิจกรรมนอกบ้าน ส่วน สาเหตุของการเกิดความรุนแรงในครอบครัวมาจากการเมาสุรา<br />
ลักษณะความสัมพันธ์ของผู้กระท าและผู้ถูกกระท าส่วนใหญ่เป็น ผู้ที่อยู่กินกันฉันสามีภรรยา(ไม่ได้จด<br />
ทะเบียน)
การส ารวจสถานการณ์ความรุนแรง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี <strong>2556</strong><br />
หากเกิดความรุนแรงในครอบครัว โดยส่วนใหญ่ ช่วยห้ามปราม/ไกล่เกลี่ย และส าหรับการ<br />
ขอความช่วยเหลือหรือแจ้งเหตุหากเกิดความรุนแรงในครอบครัว โดยส่วนใหญ่ เพื่อนบ้าน/คนใน<br />
ชุมชน/อบต./เทศบาล ส่วนการการรับทราบถึงพ.ร.บ.คุ้มครองผู้ถูกกระท าด้วยความรุนแรงใน<br />
ครอบครัว พ.ศ.2550 พบว่า ส่วนใหญ่ ไม่เคยได้ยิน ไม่สนใจ<br />
2. ควำมรุนแรงในครอบครัวของคนในชุมชนและควำมรุนแรงในชุมชน<br />
จากผลการส ารวจข้อมูลสถานการณ์ความรุนแรงในครอบครัวของคนในชุมชนและความ<br />
รุนแรงในชุมชน พบว่า ส่วนใหญ่ภายในชุมชนไม่มีการกระท าความรุนแรง มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ<br />
95.40 และ ภายในชุมชนมีการกระท าความรุนแรง มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 4.60<br />
เมื่อจ าแนกตามความรุนแรง พบว่า พบว่า ภายในชุมชนมีการกระท าความรุนแรงทาง<br />
ร่างกาย โดยส่วนใหญ่ มีการกระท าความรุนแรงทางร่างกาย 1 - 2 ครั้ง เคยมีการกระท าความรุนแรง<br />
ทางจิตใจ 1 - 2 ครั้ง และเคยมีการกระท าความรุนแรงทางเพศ 1 - 2 ครั้ง<br />
ส่วนสถานที่ในการกระท าความรุนแรงในครอบครัวของคนในชุมชนพบว่า มีการกระท า<br />
ความรุนแรงที่บ้าน มากที่สุด โดยสาเหตุของการเกิดความรุนแรงในครอบครัวของคนในชุมชนของ เกิด<br />
จาก เมาสุรา และเมื่อเกิดความรุนแรง ส่วนใหญ่ไม่เคยไกล่เกลี่ยความรุนแรง ลักษณะความสัมพันธ์<br />
ของผู้กระท าและผู้ถูกกระท าของคนในชุมชน ส่วนใหญ่เป็น ผู้ที่อยู่กินกันฉันสามีภรรยา(ไม่ได้จด<br />
ทะเบียน)<br />
หากเกิดความรุนแรงในครอบครัวของคนในชุมชน โดยส่วนใหญ่ ขอความช่วยเหลือ/แจ้ง<br />
เหตุ และการขอความช่วยเหลือหรือแจ้งเหตุหากเกิดความรุนแรงในครอบครัวของคนในชุมชน โดย<br />
ส่วนใหญ่ ขอความช่วยเหลือหรือแจ้งเหตุจาก เพื่อนบ้าน/คนในชุมชน/อบต./เทศบาล<br />
ข้อเสนอแนะเพื่อแก้ไขปัญหาความรุนแรงในครอบครัวของคนในชุมชนโดยส่วนใหญ่ ให้<br />
ร่วมกันเฝ้าระวังปัญหาความรุนแรง รองลงมาคือ ปลูกจิตส านึกให้คนในชุมชนตระหนักถึงปัญหาความ<br />
รุนแรงในชุมชน และให้มีส่วนร่วมกับหน่วยงาน/องค์กรในการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรง<br />
3. ควำมรุนแรงในที่ท ำงำน<br />
จากผลการส ารวจข้อมูลสถานการณ์ความรุนแรงในที่ท างาน พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถาม<br />
โดยส่วนใหญ่ ไม่ได้ท างาน มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 57.70 รองลงมาคือ ท างาน แต่ไม่มีการกระท า<br />
ด้วยความรุนแรง มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 40.60 และท างานและเคยพบเห็นการกระท าด้วยความ<br />
รุนแรง มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 1.30<br />
และพบว่า เคยถูกกระท าความรุนแรงทางร่างกายในที่ท างาน (โดย หัวหน้า ลูกน้อง เพื่อน<br />
ร่วมงาน เจ้าของกิจการ) มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ0.10 เคยถูกกระท าความรุนแรงทางจิตใจในที่ท างาน<br />
มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 0.70 เคยถูกกระท าความรุนแรงทางเพศในที่ท างาน มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ<br />
0.40<br />
และพบว่าสถานที่ท างานของผู้ตอบแบบสอบถามเคยมีการกระท าความรุนแรงทางร่างกาย<br />
มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 1.00 เคยมีการกระท าความรุนแรงทางจิตใจ มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 1.00<br />
และและ เคยมีการกระท าความรุนแรงทางเพศ มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 0.20<br />
ส่วนสาเหตุของการเกิดความรุนแรงในที่ท างาน เกิดจาก เมาสุรา ส่วนการแก้ไขปัญหาของ<br />
ผู้ถูกกระท าความรุนแรงในที่ท างานส่วนใหญ่ คือ หลบเลี่ยง ผู้ถูกกระท าความรุนแรงในที่ท างานของ
การส ารวจสถานการณ์ความรุนแรง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี <strong>2556</strong><br />
ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ คือ สตรี และเมื่อมีการเกิดความรุนแรงในที่ท างานพบว่า ไม่เคยไกล่<br />
เกลี่ยความรุนแรง<br />
และหากเกิดความรุนแรงในสถานที่ท างาน พบว่า โดยส่วนใหญ่ ช่วยห้ามปราม/ไกล่เกลี่ย<br />
ข้อเสนอแนะเพื่อแก้ไขปัญหาความรุนแรงในสถานที่ท างาน โดยส่วนใหญ่ปลูกจิตส านึกให้คนในที่<br />
ท างานตระหนักถึงปัญหาความรุนแรง รองลงมาคือ ให้ร่วมกันเฝ้าระวังปัญหาความรุนแรง และให้มี<br />
ส่วนร่วมกับหน่วยงาน/องค์กรในการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรง<br />
และจากการส ารวจความเครียด วิตกกังวล จากความรุนแรงด้านต่าง ๆ พบว่าโดยส่วนใหญ่<br />
เครียดและวิตกกังวลจากความรุนแรงของครอบครัวของคนในชุมชน โดยบุคคลอื่นที่ไม่รู้จักกัน(คนร้าย<br />
คนแปลกหน้า ฯลฯ จากปัญหาความขัดแย้ง การเมือง ปัญหาชายแดนใต้ การระเบิด ปล้น จี้<br />
อาชญากรรมฯลฯ ) ส าหรับการช่วยลดความรุนแรงในครอบครัวและความรุนแรงอื่นๆ พบว่า โดยส่วน<br />
ใหญ่ เฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่(คนในครอบครัว คนในชุมชน เพื่อนบ้าน ฯลฯ) รองลงมาคือ<br />
แจ้งผู้เกี่ยวข้องเมื่อพบเหตุการณ์ต่างๆ และช่วยไกล่เกลี่ยประนีประนอม<br />
4. รูปแบบกำรป้องกันและแก้ไขปัญหำควำมรุนแรงของชุมชนและองค์กรปกครองส่วน<br />
ท้องถิ่น<br />
จากการวิเคราะห์ข้อมูลความรุนแรงที่เกิดขึ้นและวิธีการป้องกันและแก้ไขปัญหาของชุมชน<br />
และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใน<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong>พบว่าการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงใน<br />
ครอบครัวและชุมชนต้องมีองค์ประกอบที่ส าคัญ 4 องค์ประกอบ คือ ครอบครัว ชุมชน องค์กร<br />
ปกครองส่วนท้องถิ่นและภาคีเครือข่าย โดยมีกลไกที่ส าคัญในการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรง<br />
ได้แก่ กระบวนการมีส่วนรวม การสร้างความสามัคคีในชุมชน การสร้างองค์ความรู้และการ<br />
ประสานงาน และบูรณาการงาน<br />
5. ข้อเสนอเชิงนโยบำย<br />
คณะผู้วิจัยจึงได้ก าหนดเป็นข้อเสนอเชิงนโยบายในการป้องกันและแก้ไขปัญหาความ<br />
รุนแรงงออกเป็น 2 ระยะดังนี้<br />
5.1 นโยบำยและมำตรกำรระยะสั้น<br />
5.1.1 ควรมีนโยบายและมาตรการในการเร่ง รณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ความ<br />
เข้าใจในเรื่องความรุนแรงในครอบครัว ชุมชนและที่ท างานเช่น พ.ร.บ.คุ้มครองผู้ถูกกระท าด้วยความ<br />
รุนแรงในครอบครัว พ.ศ.2550 กับประชาชนทุกภาคส่วน โดยการใช้สื่อประชาสัมพันธ์อย่าง<br />
หลากหลาย ทั้งวิทยุ โทรทัศน์ สื่อสิ่งพิมพ์และสื่อออนไลน์ รวมถึงการจัดอบรมให้กับกลุ่มเป้าหมาย<br />
เด็ก เยาวชนและสตรี ผู้สูงอายุซึ่งเป็นผู้ถูกกระท าความรุนแรงโดยส่วนใหญ่ ให้ครอบคลุมทุก<br />
กลุ่มเป้าหมายและทุกพื้นที่<br />
5.1.2 ควรมีนโยบายและมาตรการเพิ่มภาคีเครือข่ายทั้งในหน่วยงานภาครัฐและ<br />
ภาคเอกชนอย่างต่อเนื่องเพื่อให้กลไกด้านต่างๆ ของเครือข่ายภาครัฐและเอกชน ร่วมกันป้องกันและ<br />
แก้ไขปัญหาความรุนแรงในครอบครัวและสังคม<br />
5.1.3 ควรมีนโยบายและมาตรการให้หน่วยงานยุติธรรมเร่งรัดในการจัดการคดีความ<br />
รุนแรงในครอบครัวทั้งต่อเด็ก สตรี ผู้สูงอายุอย่างจริงจัง
การส ารวจสถานการณ์ความรุนแรง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี <strong>2556</strong><br />
5.1.4 ควรมีนโยบายและมาตรการมาตรการในการให้ความช่วยเหลือทางสังคมแก่<br />
ประชาชนเพื่อบรรเทาภาวะวิกฤตต่าง ๆ อาทิ ปัญหาการว่างงาน ปัญหาความยากจน และการ<br />
ส่งเสริมผู้ด้อยโอกาสทางสังคม เป็นต้น เพื่อไม่น าไปสู่การกระท าความรุนแรงในครอบครัวและสังคม<br />
5.1.5 ควรมีนโยบายและมาตรากรส่งเสริมการจัดกิจกรรมที่ก่อให้เกิดความสัมพันธ์ที่<br />
ดีในครอบครัวและชุมชน<br />
5.1.6 ควรมีนโยบายและมาตรากรส่งเสริมและสนับสนุนการรวมกลุ่มของครอบครัว<br />
ในชุมชนเพื่อเฝ้าระวังป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงในครอบครัวและสังคม<br />
5.1.7 ควรมีนโยบายและมาตรากรส่งเสริมองค์กรทางศาสนาเข้ามามีบทบาทร่วมใน<br />
การป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงในครอบครัวและสังคม<br />
5.1.8 ควรมีนโยบายและมาตรการขับเคลื่อนบทบาทของศูนย์ประชาบดีหรือศูนย์<br />
อื่นๆของกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ เป็นที่รู้จักและยอมรับของประชาชน<br />
โดยทั่วไป<br />
5.1.9 ควรมีนโยบายและมาตรการรณรงค์ยุติความรุนแรงในที่ท างาน<br />
5.2 นโยบำยและมำตรกำรระยะยำว<br />
5.2.1 ควรเสนอให้รัฐบาลประกาศนโยบาย การยุติความรุนแรงในครอบครัว ความ<br />
รุนแรงต่อเด็ก สตรี ผู้สูงอายุและผู้ด้อยโอกาส ให้เป็นนโยบายที่ส าคัญของชาติ เพื่อแก้ปัญหารากเหง้า<br />
ของความรุนแรงในสังคมไทย<br />
5.2.2 ควรมีนโยบายและมาตรการรณรงค์สร้างทัศนคติในการปกป้องผู้หญิงและ<br />
เด็กผู้สูงอายุและผู้ด้อยโอกาสไม่ให้ตกเป็นเหยื่อความรุนแรง<br />
5.2.3 ควรมีนโยบายหน่วยงานให้ค าปรึกษาแนะแนวด้านครอบครัว ให้ครอบคลุม<br />
ทุกพื้นที่<br />
5.2.4 ควรมีนโยบายในการป้องกันและจัดการสิ่งเสพติด ซึ่งเป็นสาเหตุที่ก่อให้เกิด<br />
ความรุนแรงในครอบครัวและสังคมอย่างจริงจัง<br />
5.2.5 ควรมีนโยบายสร้างความมั่นคงในชีวิต เช่น ส่งเสริมการมีงานท าเพื่อสร้าง<br />
ความมั่นคงในชีวิต ให้กับผู้ถูกกระท าความรุนแรงให้สามารถกลับมาด ารงชีวิตในสังคมได้
การส ารวจสถานการณ์ความรุนแรง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี <strong>2556</strong><br />
ค ำน ำ<br />
ปัญหาสังคมที่เกิดขึ้นในปัจจุบันมีความรุนแรง และมีผลกระทบต่อทุกคนในสังคมเป็นอย่าง<br />
มาก การเฝ้าระวังและเตือนภัยทางสังคมจึงมีบทบาทและมีความส าคัญ เพราะจะท าให้สังคมได้รับรู้ถึง<br />
ปัญหาสังคมที่อาจเกิดขึ้นหรือเกิดขึ้นแล้ว สังคมจะได้มีการตื่นตัวและตระหนักถึงผลกระทบ<br />
ที่จะเกิดขึ้นและร่วมมือป้องกัน หรือแก้ไขปัญหาสังคมให้ลดระดับความรุนแรงและควบคุมได้ต่อไป<br />
ส านักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ได้ด าเนินการส ารวจข้อมูล<br />
ตามแบบสอบถามของศูนย์เฝ้าระวังและเตือนภัยทางสังคม ส านักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคม<br />
และความมั่นคงของมนุษย์ พร้อมทั้งสัมภาษณ์เชิงลึกกับผู้บริหารและผู้เกี่ยวข้องในพื้นที่ตัวอย่าง<br />
3 พื้นที่ เพื่อน ามาประมวลเป็นข้อเสนอเชิงนโยบายของ<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong>และจัดท ารายงานเฝ้าระวัง<br />
และเตือนภัยทางสังคม เรื่องสถานการณ์ความรุนแรงทางสังคม<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> พ.ศ.<strong>2556</strong> ฉบับนี้<br />
หวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานการเฝ้าระวังและเตือนภัยทางสังคม<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี <strong>2556</strong> ฉบับนี้จะเป็น<br />
ประโยชน์ต่อสังคมและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องด้านสังคมที่จะใช้เป็นข้อมูลประกอบการด าเนินงาน<br />
ในการร่วมกันป้องกันและแก้ไขปัญหาสังคมตามสมควรต่อไป<br />
ส านักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong><br />
สิงหาคม <strong>2556</strong>
การส ารวจสถานการณ์ความรุนแรง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี <strong>2556</strong>
การส ารวจสถานการณ์ความรุนแรง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี <strong>2556</strong><br />
บทสรุปส าหรับผู้บริหาร<br />
ค าน า<br />
สารบัญ<br />
สารบัญตาราง<br />
สารบัญภาพ<br />
สำรบัญ<br />
หน้า<br />
บทที่<br />
1 บทน ำ 1<br />
ความเป็นมาและความส าคัญของปัญหา 1<br />
วัตถุประสงค์การวิจัย 2<br />
ขอบเขตการวิจัย 3<br />
นิยามศัพท์เฉพาะ 3<br />
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 4<br />
2 แนวคิด ทฤษฎี และงำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง 5<br />
แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับความรุนแรง 5<br />
พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ถูกกระท าด้วยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ. 2550 10<br />
สถานการณ์ด้านสังคมและความรุนแรงในครอบครัว 11<br />
สถานการณ์ด้านสังคม<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> 15<br />
เอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 19<br />
กรอบแนวคิดในการวิจัย 22<br />
3 วิธีกำรด ำเนินกำรวิจัย 23<br />
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 23<br />
เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล 25<br />
การเก็บรวบรวมข้อมูล 25<br />
การวิเคราะห์ข้อมูล 25
การส ารวจสถานการณ์ความรุนแรง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี <strong>2556</strong><br />
สำรบัญ(ต่อ)<br />
บทที่ หน้ำ<br />
4 ผลกำรวิจัย 27<br />
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม 27<br />
ส่วนที่ 2 ข้อมูลสถานการณ์ความรุนแรง 29<br />
ส่วนที่ 3 ข้อมูลการสัมภาษณ์ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องการป้องกันและแก้ไขปัญหาความ 50<br />
รุนแรงของชุมชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น<br />
5 สรุป อภิปรำยผลและข้อเสนอแนะ 57<br />
สรุปผลการศึกษา<br />
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม 58<br />
ส่วนที่ 2 ข้อมูลสถานการณ์ความรุนแรง 58<br />
ส่วนที่ 3 รูปแบบการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงของชุมชนและองค์กร 62<br />
ปกครองส่วนท้องถิ่น<br />
ภาคผนวก<br />
บรรณานุกรม<br />
ข้อเสนอเชิงนโยบาย 67<br />
69<br />
75
การส ารวจสถานการณ์ความรุนแรง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี <strong>2556</strong><br />
สำรบัญตำรำง<br />
ตำรำงที่ หน้ำ<br />
2-1 แสดงการจ าแนกระดับพฤติกรรมก้าวร้าวในสัมพันธภาพระหว่างคู่สมรส 8<br />
2-2 สรุปสถานการณ์ความรุนแรงในครอบครัวปี 2549-2555 15<br />
2-3 ตัวชี้วัดที่ไม่บรรลุเป้าหมายตามเกณฑ์ จปฐ. ปี 2554 15<br />
2-4 สถิติคดีและการจับกุมผู้กระท าความผิดในแต่ละกลุ่มคดี ตุลาคม 2554 - กันยายน 16<br />
2555<br />
2-5 สถิติการจับกุมคดียาเสพติด ตุลาคม 2554 - กันยายน 2555 17<br />
3-1 จ านวนกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการเก็บข้อมูลจ าแนกตาม 9 อ าเภอ 24<br />
4-1 จ านวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามจ าแนกตามเพศ 27<br />
4-2 จ านวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามจ าแนกตามอายุ 28<br />
4-3 จ านวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามจ าแนกตามระดับการศึกษา 28<br />
4-4 จ านวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามจ าแนกตามสถานภาพ 28<br />
4-5 จ านวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามจ าแนกตามอาชีพ 29<br />
4-6 จ านวนและร้อยละของความสัมพันธ์ของบุคคลในครอบครัวผู้ตอบแบบสอบถาม 29<br />
4-7 จ านวนและร้อยละของบุคคลในครอบครัวที่มีอารมณ์รุนแรงหรือชอบใช้ก าลัง 30<br />
4-8 จ านวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามที่เคยถูกกระท าความรุนแรงจากคนใน 30<br />
ครอบครัวในรอบ 1 ปี<br />
4-9 จ านวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามที่ภายในครอบครัวมีการกระท าความ 30<br />
รุนแรงในรอบ 1 ปี<br />
4-10 จ านวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามที่ภายในครอบครัวมีการกระท าความ 31<br />
รุนแรงทางร่างกาย<br />
4-11 จ านวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามที่ภายในครอบครัวมีการกระท าความ 31<br />
รุนแรงทางจิตใจ<br />
4-12 จ านวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามที่ภายในครอบครัวมีการกระท าความ 32<br />
รุนแรงทางเพศ<br />
4-13 จ านวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามในการป้องกันและแก้ไขปัญหาความ<br />
รุนแรงในครอบครัว<br />
32
การส ารวจสถานการณ์ความรุนแรง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี <strong>2556</strong><br />
สำรบัญตำรำง (ต่อ)<br />
ตำรำงที่ หน้ำ<br />
4-14 จ านวนและร้อยละของสาเหตุของการเกิดความรุนแรงในครอบครัว 33<br />
4-15 จ านวนและร้อยละของลักษณะความสัมพันธ์ของผู้กระท าและผู้ถูกกระท าใน 33<br />
ครอบครัว<br />
4-16 จ านวนและร้อยละผู้ถูกกระท าความรุนแรงในครอบครัวผู้ตอบแบบสอบถาม 34<br />
4-17 จ านวนและร้อยละความคิดเห็นของผู้ตอบแบบสอบถามหากเกิดความรุนแรงใน 34<br />
ครอบครัว<br />
4-18 จ านวนและร้อยละความคิดเห็นของผู้ตอบแบบสอบถามในการขอความช่วยเหลือ 34<br />
หรือแจ้งเหตุหากเกิดความรุนแรงในครอบครัว<br />
4-19 จ านวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามที่ทราบถึง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้ถูกกระท า 35<br />
ด้วยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ.2550<br />
4-20 จ านวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามที่ภายในชุมชนมีการกระท าความ 36<br />
รุนแรงในรอบ 1 ปี<br />
4-21 จ านวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามที่ภายในชุมชนมีการกระท าความ 36<br />
รุนแรงทางร่างกาย<br />
4-22 จ านวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามที่ภายในชุมชนมีการกระท าความ 36<br />
รุนแรงทางจิตใจ<br />
4-23 จ านวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามที่ภายในชุมชนมีการกระท าความ 37<br />
รุนแรงทางเพศ<br />
4-24 จ านวนและร้อยละสถานที่ในการกระท าความรุนแรงในครอบครัวของคนในชุมชน 37<br />
4-25 จ านวนและร้อยละของสาเหตุของการเกิดความรุนแรงในครอบครัวของคนใน 38<br />
ชุมชน<br />
4-26 จ านวนและร้อยละของการไกล่เกลี่ยความรุนแรงของคนในชุมชน 38<br />
4-27 จ านวนและร้อยละของลักษณะความสัมพันธ์ของผู้กระท าและผู้ถูกกระท าใน 38<br />
ครอบครัวของคนในชุมชน<br />
4-28 จ านวนและร้อยละผู้ถูกกระท าความรุนแรงในครอบครัวในชุมชนผู้ตอบ 39<br />
แบบสอบถาม
การส ารวจสถานการณ์ความรุนแรง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี <strong>2556</strong><br />
สำรบัญตำรำง (ต่อ)<br />
ตำรำงที่ หน้ำ<br />
4-29 จ านวนและร้อยละความคิดเห็นของผู้ตอบแบบสอบถามหากเกิดความรุนแรงใน 39<br />
ครอบครัวของคนในชุมชน<br />
4-30 จ านวนและร้อยละความคิดเห็นของผู้ตอบแบบสอบถามในการขอความช่วยเหลือ 40<br />
หรือแจ้งเหตุหากเกิดความรุนแรงในครอบครัวของคนในชุมชน<br />
4-31 จ านวนและร้อยละข้อเสนอแนะเพื่อแก้ไขปัญหาความรุนแรงในครอบครัวของคน 40<br />
ในชุมชน<br />
4-32 จ านวนและร้อยละของคนในชุมชนที่ถูกกระท าความรุนแรงจากบุคคลที่รู้จักกัน 41<br />
(ญาติ แฟน/กิ๊ก เพื่อน เพื่อนบ้าน) ในรอบ 1 ปี<br />
4-33 จ านวนและร้อยละของคนในชุมชนที่ถูกกระท าความรุนแรงจากบุคคลที่ไม่รู้จักกัน 41<br />
(คนร้าย คนแปลกหน้า การปล้น การจี้ อาชญากรรม) รอบ 1 ปี<br />
4-34 จ านวนและร้อยละของคนในชุมชนที่เคยถูกกระท าความรุนแรงจากบุคคลที่ไม่รู้จัก 41<br />
กัน<br />
4-35 จ านวนและร้อยละสถานที่ที่คนในชุมชนถูกกระท าความรุนแรงจากบุคคลที่ไม่รู้จัก 42<br />
กัน<br />
4-36 จ านวนและร้อยละของคนในชุมชนที่ได้รับผลกระทบจากความรุนแรงจากบุคคลที่ 42<br />
ไม่รู้จักกัน<br />
4-37 จ านวนและร้อยละของผู้ที่ได้รับผลกระทบจากความรุนแรงจากบุคคลที่ไม่รู้จักกัน 42<br />
4-38 จ านวนและร้อยละข้อเสนอแนะเพื่อแก้ไขปัญหาความรุนแรงจากบุคคลที่ไม่รู้จัก 43<br />
4-39 จ านวนและร้อยละการท างานกับความรุนแรงในที่ท างานของผู้ตอบแบบสอบถาม 44<br />
4-40 จ านวนและร้อยละผู้ตอบแบบสอบถามถูกกระท าความรุนแรงทางร่างกายในที่ 44<br />
ท างาน(โดย หัวหน้า ลูกน้อง เพื่อนร่วมงาน เจ้าของกิจการ)<br />
4-41 จ านวนและร้อยละผู้ตอบแบบสอบถามถูกกระท าความรุนแรงทางจิตใจในที่ท างาน 44<br />
(โดย หัวหน้า ลูกน้อง เพื่อนร่วมงาน เจ้าของกิจการ)<br />
4-42 จ านวนและร้อยละผู้ตอบแบบสอบถามถูกกระท าความรุนแรงทางเพศในที่ท างาน 45<br />
(โดย หัวหน้า ลูกน้อง เพื่อนร่วมงาน เจ้าของกิจการ)
การส ารวจสถานการณ์ความรุนแรง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี <strong>2556</strong><br />
สำรบัญตำรำง (ต่อ)<br />
ตารางที่ หน้า<br />
4-43 จ านวนและร้อยละสถานที่ท างานของผู้ตอบแบบสอบถามมีการกระท าความ 45<br />
รุนแรงทางร่างกายในที่ท างาน(โดย หัวหน้า ลูกน้อง เพื่อนร่วมงาน เจ้าของ<br />
กิจการ)<br />
4-44 จ านวนและร้อยละสถานที่ท างานของผู้ตอบแบบสอบถามมีการกระท าความ 45<br />
รุนแรงทางจิตใจในที่ท างาน(โดย หัวหน้า ลูกน้อง เพื่อนร่วมงาน เจ้าของกิจการ)<br />
4-45 จ านวนและร้อยละสถานที่ท างานของผู้ตอบแบบสอบถามมีการกระท าความ 45<br />
รุนแรงทางเพศในที่ท างาน(โดย หัวหน้า ลูกน้อง เพื่อนร่วมงาน เจ้าของกิจการ)<br />
4-46 จ านวนและร้อยละของสาเหตุของการเกิดความรุนแรงในที่ท างาน 46<br />
4-47 จ านวนและร้อยละการแก้ไขปัญหาของผู้ถูกกระท าความรุนแรงในที่ท างาน 46<br />
4-48 จ านวนและร้อยละของผู้ถูกกระท าความรุนแรงในที่ท างาน 47<br />
4-49 จ านวนและร้อยละของการไกล่เกลี่ยความรุนแรงในที่ท างาน 47<br />
4-50 จ านวนและร้อยละความคิดเห็นของผู้ตอบแบบสอบถามหากเกิดความรุนแรงใน 47<br />
สถานที่ท างาน<br />
4-51 จ านวนและร้อยละข้อเสนอแนะเพื่อแก้ไขปัญหาความรุนแรงในสถานที่ท างาน 48<br />
4-52 จ านวนและร้อยละความเครียด วิตกกังวล จากความรุนแรงด้านต่าง ๆ ของผู้ตอบ 48<br />
แบบสอบถาม<br />
4-53 จ านวนและร้อยละการช่วยลดความรุนแรงในครอบครัวและความรุนแรงอื่น ๆ 49<br />
ของผู้ตอบแบบสอบถาม
การส ารวจสถานการณ์ความรุนแรง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี <strong>2556</strong><br />
สำรบัญภำพ<br />
ภาพที่ หน้า<br />
2-1 กรอบแนวคิดในการวิจัย 22<br />
5-1 รูปแบบการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงในครอบครัวและชุมชนของ 63<br />
องค์การบริหารส่วนต าบลพระเพลิง<br />
5-2 รูปแบบการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงในครอบครัวและชุมชนของ 64<br />
องค์การบริหารส่วนต าบลทับพริก<br />
5-3 รูปแบบการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงในครอบครัวและชุมชนของบ้าน 65<br />
คลองอาราง ต.บ้านแก้ง อ.เมืองสระแก้ว<br />
5-4<br />
5-5<br />
รูปแบบการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงในครอบครัวและชุมชนของ<br />
<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong><br />
วิสัยทัศน์ของส านักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong><br />
66<br />
67
การส ารวจสถานการณ์ความรุนแรง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี <strong>2556</strong>
การส ารวจสถานการณ์ความรุนแรง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี <strong>2556</strong><br />
บทที่ 1<br />
บทน ำ<br />
ควำมเป็นมำและควำมส ำคัญของปัญหำ<br />
ความรุนแรง เป็นปัญหาที่พบอยู่เสมอทั้งในครอบครัวและในสังคม มีนักวิชาการทางด้าน<br />
สังคมศาสตร์ ได้อธิบายความหมายของความรุนแรง หมายถึง พฤติกรรมและการกระท าใดที่เป็น<br />
การล่วงละเมิดสิทธิส่วนบุคคลทั้งร่างกาย วาจา จิตใจ ทางเพศ โดยการบังคับ ขู่เข็ญ ทุบตี เตะต่อย<br />
ตลอดจนคุกคามจ ากัด และกีดกันสิทธิเสรีภาพทั้งในที่สาธารณะ และในการด าเนินชีวิตส่วนตัว ซึ่งเป็น<br />
ผลหรืออาจจะเป็นผลให้เกิดความทุกข์ทรมานทั้งทางร่างกายและจิตใจแก่ผู้ถูกกระท า (อนงค์ อินทร-<br />
จิตรและนรินทร์ กรินชัย, 2552, หน้า 3)<br />
ซึ่งในปัจจุบันสถานการณ์ความรุนแรงมีแนวโน้มที่จะทวีความรุนแรงมากขึ้น โดยเฉพาะ<br />
ในบุคคลที่อ่อนแอหรือด้อยโอกาส อาทิเช่น เด็ก สตรี คนชรา ผู้มีสติปัญญาอ่อน คนยากจน<br />
เป็นต้น มักจะถูกกระท าในลักษณะต่าง ๆ ได้แก่ การทุบตีท าร้ายร่างกาย การท าร้ายทางจิตใจโดย<br />
การแสดงออกด้วยวาจา กิริยาท่าทาง หรือการกระท าที่ท าให้ได้รับความกระทบกระเทือนทาง<br />
อารมณ์และจิตใจ เช่น การพูดจาดูถูกเหยียดหยาม การด่าว่าด้วยค าหยาบคาย เป็นต้น การใช้ความ<br />
รุนแรงทางเพศ ได้แก่ การพูดคุยเรื่องลามกหยาบคาย การลวนลามทางเพศ การข่มขืนกระท า<br />
ช าเรา เป็นต้น ลักษณะอื่น ๆ ของความรุนแรงที่อาจพบได้อีก ได้แก่ การเอาเปรียบทางด้าน<br />
การเงิน แรงงาน การค้าประเวณี เป็นต้น ซึ่งความรุนแรงในสังคมนั้นสามารถพบได้ทั่วไป ทั้งใน<br />
ครอบครัว ในโรงเรียน และในสถานที่ท างานความรุนแรง มีผลกระทบต่อสุขภาพทั้งทางร่างกาย<br />
และจิตใจ การบาดเจ็บทางร่างกายเป็นผลกระทบต่อสุขภาพทางกายที่เห็นได้อย่างชัดเจน<br />
จากรายงานภาวะสังคมไทยปี 2555 ของส านักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ<br />
และสังคมแห่งชาติ พบว่า ความรุนแรงในเด็กและสตรีเกิดขึ้นทั้งในครอบครัว โรงเรียน รวมทั้งยัง<br />
เกิดในลักษณะของการค้ามนุษย์ ข่มขืนและค้าประเวณี ปัญหาดังกล่าวมีแนวโน้มรุนแรงขึ้นโดยเฉพาะ<br />
การกระท ารุนแรงทางเพศในเด็กจากรายงานภาวะสังคมไทยปี 2555 ของส านักงานคณะกรรมการ<br />
พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ พบว่า เด็กถูกกระท ารุนแรงทางเพศมากที่สุด โดยเด็กหญิงถูก<br />
ท าร้ายประมาณ 8 เท่าของเด็กชาย ส่วนใหญ่อยู่ในช่วงวัยรุ่นอายุ 10-15 ปีเป็นการกระท ารุนแรงทาง<br />
เพศมากที่สุดถึงร้อยละ 74.1 และทางกายร้อยละ 21.0 โดยผู้กระท ารุนแรงจากคนใกล้ชิด โดยเป็น<br />
แฟนร้อยละ 40.2 เพื่อนร้อยละ 25.1 คนไม่รู้จักร้อยละ 9.6 และพ่อแม่/ ผู้ดูแลอุปการะร้อยละ 8.1<br />
โดยสาเหตุที่เกิดส่วนใหญ่มาจากสภาพแวดล้อม ได้แก่ สื่อลามกต่าง ๆ ความใกล้ชิด และโอกาส<br />
เอื้ออ านวย การใช้สารกระตุ้น เช่น สุรา และยาเสพติด และสัมพันธภาพในครอบครัวการค้ามนุษย์<br />
การตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์<br />
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ มีอ านาจหน้าที่เกี่ยวกับการพัฒนา<br />
สังคม การสร้างความเป็นธรรม และความเสมอภาคในสังคม การส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพและ<br />
ความมั่นคงในชีวิต สถาบันครอบครัว และชุมชน ซึ่งภายใต้แผนยุทธศาสตร์กระทรวงพัฒนาสังคมและ<br />
1
การส ารวจสถานการณ์ความรุนแรง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี <strong>2556</strong><br />
ความมั่นคงของมนุษย์ (พ.ศ. 2555 -2559) นั้น ได้มีวิสัยทัศน์ คือ “มุ่งสู่สังคมคุณภาพ บนพื้นฐาน<br />
ความรับผิดชอบร่วมกัน”และได้มีการก าหนดประเด็นยุทธศาสตร์ที่ส าคัญไว้ 4 ประเด็น คือ<br />
1. การผลักดันให้เกิดสังคมสวัสดิการ<br />
2. การพัฒนาสังคมเข้มแข็ง พร้อมรับการเปลี่ยนแปลง<br />
3. การเสริมสร้างพลังทางสังคม<br />
4. การยกระดับขีดความสามารถการบริหารจัดการด้านการพัฒนาสังคม<br />
โดยมีภารกิจหลักในการดูแลประชาชน ครอบครัว และชุมชนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี มีความ<br />
เป็นธรรมและความเสมอภาคในสังคมดูแลประชาชนทุกกลุ่มเป้าหมาย ซึ่งสอดคล้องกับ แผนพัฒนา<br />
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 พ.ศ. 2555 - 2559 ที่ได้ให้ความส าคัญกับการพัฒนาสังคม<br />
และคุณภาพคนจากแนวคิดของสังคมคุณภาพ (Social Quality) ซึ่งสอดคล้องกับอ านาจหน้าที่ของ<br />
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ในการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพและความ<br />
มั่นคงในชีวิต การพัฒนาเด็กและเยาวชน การพัฒนาผู้สูงอายุการพัฒนาศักยภาพสตรีและสร้างความ<br />
เสมอภาคหญิงชาย และสถาบันครอบครัวและชุมชน ซึ่งสถานการณ์การพัฒนาสังคมในระยะต่อไปจะ<br />
มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ทั้งโครงสร้างประชากร ผลกระทบจากการพัฒนาเศรษฐกิจ และ<br />
โครงสร้างพื้นฐาน ตลอดจนความคาดหวังจากประชาชนกลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ ที่ต้องการกระบวนการ<br />
คุ้มครองและเสริมสร้างหลักประกันในรูปแบบต่าง ๆ<br />
จากความเป็นมาและส าคัญดังกล่าวข้างต้น ส านักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของ<br />
มนุษย์<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> หน่วยงานในสังกัด กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ มี<br />
บทบาทหน้าที่ส าคัญในการศึกษาวิเคราะห์และรายงานสถานการณ์ทางสังคมและเศรษฐกิจเพื่อ<br />
ก าหนดนโยบายในระดับจังหวัดรวมทั้งเสนอแนวทางแก้ไข จึงได้มีความสนใจที่จะศึกษาถึง<br />
สถานการณ์ความรุนแรงต่อเด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ ผู้ด้อยโอกาสใน<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong>ในปัจจุบันเป็น<br />
อย่างไร และชุมชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong>มีรูปแบบการป้องกันและแก้ไข<br />
ปัญหาความรุนแรงอย่างไร รวมถึงน าผลการศึกษาที่ได้ไปจัดท าข้อเสนอเชิงนโยบายในการป้องกัน<br />
และแก้ไขปัญหาความรุนแรง เพื่อใช้เป็นแนวทางในการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงของ<br />
<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong>ต่อไป<br />
วัตถุประสงค์กำรวิจัย<br />
1. เพื่อส ารวจสถานการณ์ความรุนแรงต่อเด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ ผู้ด้อยโอกาสใน<br />
<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong><br />
2. เพื่อศึกษารูปแบบการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงของชุมชนและองค์กร<br />
ปกครอง<br />
3. เพื่อศึกษาข้อเสนอเชิงนโยบายในการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงของจังหวัด<br />
สระแก้ว<br />
2
การส ารวจสถานการณ์ความรุนแรง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี <strong>2556</strong><br />
ขอบเขตของกำรวิจัย<br />
ขอบเขตด้ำนเนื้อหำ: การวิจัยครั้งนี้มุ่งส ารวจสถานการณ์ความรุนแรงต่อเด็ก เยาวชน<br />
สตรี ผู้สูงอายุ ผู้ด้อยโอกาสใน<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ซึ่งเป็นความรุนแรงที่เกิดขึ้นในครอบครัว ในที่ท างาน<br />
และความรุนแรงที่เกิดขึ้นในชุมชน และศึกษารูปแบบการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงของ<br />
ชุมชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ตลอดจนการศึกษาข้อเสนอเชิงนโยบายในการ<br />
ป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงของ<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong><br />
ขอบเขตด้ำนพื้นที่และประชำกร: การศึกษาครั้งนี้มุ่งส ารวจสถานการณ์ความรุนแรงต่อ<br />
เด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ ผู้ด้อยโอกาสใน<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> โดยการสอบถามความคิดเห็นของ<br />
ประชาชนในพื้นที่<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ครอบคลุมพื้นที่ 9 อ าเภอ 58 ต าบล จ านวนประชากรทั้งหมด<br />
546,782 คน (สถิติข้อมูล: ส านักงานปกครอง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> มิถุนายน พ.ศ.2555)<br />
และท าการศึกษารูปแบบการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงของชุมชนและองค์กร<br />
ปกครองส่วนท้องถิ่น<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> โดยการสัมภาษณ์ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง จ านวน 3 แห่ง ประกอบด้วย<br />
1) ชุมชนบ้านคลองอาราง ต.บ้านแก้ง อ.เมืองสระแก้ว จ.สระแก้ว<br />
2) องค์การบริหารส่วนต าบลพระเพลิง อ.เขาฉกรรจ์ จ.สระแก้ว<br />
3) องค์การบริหารส่วนต าบลทับพริก อ.อรัญประเทศ จ.สระแก้ว<br />
ขอบเขตด้ำนระยะเวลำ : ระยะเวลาในการศึกษาครั้งนี้ ช่วงเดือน มิถุนายน ถึง กรกฎาคม<br />
พ.ศ.<strong>2556</strong><br />
นิยำมค ำศัพท์เฉพำะ<br />
ควำมรุนแรง หมายถึง การกระท าใดๆที่เป็นการล่วงละเมิดสิทธิส่วนบุคคล ทั้งทางกาย<br />
วาจา จิตใจและทางเพศ โดยการบังคับ ขู่เข็ญ ท าร้ายทุบตี คุกคาม จ ากัดกีดกันเสรีภาพ ทั้งในที่<br />
สาธารณะและในการด าเนินชีวิตส่วนตัวซึ่งเป็นผลหรืออาจจะเป็นผลให้เกิดความทุกข์ทรมานทั้งทาง<br />
ร่างกายและจิตใจแก่ผู้ถูกกระท า ซึ่งในการการถูกกระท ารุนแรง ประกอบด้วย การกระท ารุนแรงทาง<br />
ร่างกาย การกระท ารุนแรงทางจิต การกระท ารุนแรงทางเพศ<br />
กำรกระท ำรุนแรงทำงร่ำงกำย หมายถึง การใช้ก าลังหรืออุปกรณ์ใดๆเป็นการท าร้าย<br />
ร่างกายเกินกว่าเหตุมีผลท าให้ร่างกายได้รับบาดเจ็บ<br />
กำรกระท ำรุนแรงทำงจิต หมายถึง การกระท าใดๆที่มีผลให้ผู้ถูกกระท าได้รับความ<br />
กระทบกระเทือนด้านจิตใจหรือสิทธิเสรีภาพ ได้แก่ การถูกทอดทิ้ง การดูถูก เหยียดหยามหรือดุด่า<br />
การกักขังหน่วงเหนี่ยว<br />
กำรกระท ำรุนแรงทำงเพศ หมายถึง การกระท าที่มีผลให้ผู้ถูกกระท าได้รับความ<br />
กระทบกระเทือนหรือเสียหายเกี่ยวกับเรื่องเพศ ได้แก่ การถูกข่มขืน การถูกลวนลาม อนาจาร และถูก<br />
บังคับค้าประเวณี<br />
ควำมรุนแรงในครอบครัว หมายถึง การกระท าใด ๆ โดยมุ่งประสงค์ให้เกิดอันตรายแก่<br />
ร่างกาย จิตใจ หรือสุขภาพ หรือกระท าโดยเจตนาในลักษณะที่น่าจะก่อให้เกิดอันตรายแก่ร่างกาย<br />
จิตใจ หรือสุขภาพของบุคคลในครอบครัว หรือบังคับ หรือใช้อ านาจครอบง าผิดครองธรรม ให้บุคคล<br />
3
การส ารวจสถานการณ์ความรุนแรง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี <strong>2556</strong><br />
ในครอบครัวต้องกระท าการ ไม่กระท าการ หรือยอมรับการกระท าอย่างหนึ่งอย่างใดโดยมิชอบ<br />
แต่ไม่รวมถึงการกระท าโดยประมาท<br />
บุคคลในครอบครัว หมายถึง คู่สมรส คู่สมรสเดิม ผู้ที่อยู่กินหรือเคยอยู่กินกินฉันสามี<br />
ภรรยาโดยมิได้จดทะเบียนสมรส บุตร บุตรบุญธรรม สมาชิกในครอบครัว รวมทั้งบุคคลใด ๆ ที่ต้อง<br />
พึ่งพาอาศัยและอยู่ในครัวเรือนเดียวกัน (พ.ร.บ.คุ้มครองผู้ถูกกระท าด้วยความรุนแรงในครอบครัว<br />
พ.ศ.2555)<br />
ควำมรุนแรงประเภทอื่น หมายถึง ความรุนแรงที่เกิดขึ้นโดยผู้ที่กระท าและผู้ถูกกระท าไม่<br />
มีความสัมพันธ์กันหรือไม่ได้เป็นบุคคลที่รู้จักกันหรือไม่ได้เป็นบุคคลในครอบครัวหรือไม่ได้เป็นบุคคล<br />
ในที่ท างานเดียวกันหรือโดยเป็นบุคคลอื่น คนร้าย คนแปลกหน้า ท าให้บาดเจ็บ หรือเสียชีวิตอาทิ การ<br />
ชกต่อย การปล้น การจี้ อาชญากรรม จากปัญหาทางการเมือง ปัญหาความไม่สงบใน 3 จังหวัด<br />
ชายแดนภาคใต้ ฯลฯ เป็น<br />
รูปแบบกำรป้องกันและแก้ไขปัญหำควำมรุนแรง หมายถึง แบบแผนหรือวิธีการในการ<br />
ป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงซึ่งวิเคราะห์จากข้อมูลความรุนแรงที่เกิดขึ้นและวิธีการป้องกัน<br />
และแก้ไขปัญหาของชุมชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใน<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong><br />
ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รับ<br />
1. ท าให้ทราบสถานการณ์ความรุนแรงต่อเด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ ผู้ด้อยโอกาสใน<br />
<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong><br />
2. ท าให้ทราบรูปแบบในการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงของชุมชนและองค์กร<br />
ปกครองส่วนท้องถิ่น<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong><br />
3. ท าให้ทราบข้อเสนอเชิงนโยบายในการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงของจังหวัด<br />
สระแก้ว<br />
4. ข้อมูลที่ได้จากผลการศึกษาให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องน าไปใช้เป็นแนวทางในการป้องกัน<br />
และแก้ไขปัญหาความรุนแรงของ<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong><br />
4
การส ารวจสถานการณ์ความรุนแรง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี <strong>2556</strong><br />
บทที่ 2<br />
แนวคิด ทฤษฎี และงำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง<br />
การวิจัยเรื่องการส ารวจสถานการณ์ความรุนแรง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี <strong>2556</strong> ครั้งนี้<br />
มีวัตถุประสงค์เพื่อส ารวจสถานการณ์ความรุนแรงต่อเด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ ผู้ด้อยโอกาสและ<br />
ศึกษารูปแบบในการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงของชุมชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น<br />
<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ตลอดจน ศึกษาข้อเสนอเชิงนโยบายในการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรง<br />
ของ<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ผู้วิจัยได้ท าการศึกษาแนวคิด ทฤษฎี และผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้องมาใช้เป็น<br />
กรอบแนวคิดดังต่อไปนี้<br />
1. แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับความรุนแรง<br />
1.1 ความหมายของความรุนแรง<br />
1.2 แนวคิดความรุนแรงในครอบครัว<br />
2. พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ถูกกระท าด้วยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ. 2550<br />
3. สถานการณ์ด้านสังคมและความรุนแรงในครอบครัว<br />
3.1 สถานการณ์ด้านสังคม<br />
3.2 สถานการณ์ความมั่นคงของมนุษย์<br />
4. สถานการณ์ด้านสังคม<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong><br />
5. เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง<br />
6. กรอบแนวคิดในการวิจัย<br />
1. แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับควำมรุนแรง<br />
คณะผู้วิจัยได้ท าการศึกษาและรวบรวมแนวคิด ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับความรุนแรงจาก<br />
ทั้งรายงานการวิจัย บทความ และผลงานวิทยานิพนธ์ ซึ่งได้มีนักวิชาการและนักวิจัยได้ก าหนด<br />
ความหมายของความหมายความรุนแรงไว้ดังนี้<br />
ควำมหมำยของควำมรุนแรง<br />
ได้มีนักวิชาการและนักวิจัยได้ก าหนดความหมายของ”ความรุนแรง” ไว้อย่างหลากหลาย<br />
ดังนี้<br />
บุญวดี เพชรรัตน์ (2543, หน้า 200) ได้ให้ความหมายของความรุนแรงไว้ว่า ความรุนแรง<br />
หมายถึง พฤติกรรมที่ปลดปล่อยความโกรธ ความกลัว และภาวะหวาดหวั่น ไปยังบุคคลอื่น<br />
เช่น คนรอบข้าง หรือวัตถุสิ่งของด้วยขาดการยับยั้งชั่งใจ เป็นเหตุให้ผู้อื่นเดือดร้อนด้วยการท า<br />
อันตราย ผู้อื่น ซึ่งอาจเป็นอันตรายสาหัสจนถึงแก่ชีวิตได้<br />
อนุช อาภาภิรม (2547, หน้า 11) ได้ให้ความหมายของความรุนแรงไว้ว่า ความรุนแรง<br />
หมายถึง การใช้ก าลังคุกคามหรือท าร้าย เพื่อควบคุมหรือครอบครองบุคคลหรือทรัพย์สิน<br />
อรอนงค์ อินทรจิตร และนรินทร์ กรินชัย (2542, หน้า 3) ได้ให้ความหมายของความ<br />
รุนแรงไว้ว่า ความรุนแรง หมายถึง พฤติกรรมและการกระท าใดที่เป็นการล่วงละเมิดสิทธิส่วนบุคคล<br />
5
การส ารวจสถานการณ์ความรุนแรง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี <strong>2556</strong><br />
ทั้งร่างกาย วาจา จิตใจ ทางเพศ โดยการบังคับ ขู่เข็ญ ทุบตี เตะต่อย ตลอดจนคุกคามจ ากัด และ<br />
กีดกันสิทธิเสรีภาพทั้งในที่สาธารณะ และในการด า เนินชีวิตส่วนตัว ซึ่งเป็นผลหรืออาจจะเป็นผลให้<br />
เกิดความทุกข์ทรมานทั้งทางร่างกายและจิตใจแก่ผู้ถูกกระท า<br />
Corsini (1999, p. 1052) ได้ให้ความหมายของความรุนแรงไว้ดังนี้<br />
1. ความรุนแรง หมายถึง การแสดงความเกลียดชัง ความเป็นปรปักษ์ และดุด่าว่ากล่าว<br />
ตลอดจนใช้ก าลังทางกายโดยตรงต่อบุคคลหรือทรัพย์สิน<br />
2. ความรุนแรง หมายถึง พฤติกรรมที่ท า อันตรายต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่งโดยปราศจากความ<br />
เกลียดชัง ความเป็นปรปักษ์ หรือดุด่าว่ากล่าวต่อสิ่งนั้นจากความหมายของความรุนแรงดังกล่าว<br />
ข้างต้นได้ว่าความรุนแรงหมายถึงการกระท า ใด ๆ ที่เป็นการล่วงละเมิดสิทธิส่วนบุคคลทั้งทางร่างกาย<br />
และจิตใจ ซึ่งเป็นผลหรืออาจจะเป็นผลให้เกิดความทุกข์ทรมานทั้งทางร่างกายและจิตใจของ<br />
ผู้ถูกกระท า ซึ่งแบ่งออกเป็น<br />
ความรุนแรงต่อร่างกาย หมายถึงการใช้ก าลัง และหรืออุปกรณ์ใด ๆ เป็นอาวุธคุกคามหรือ<br />
ท าร้าย ขว้างปาทุ่มของใส่ ผลัก กระชาก เขย่า ใช้มือฟาด ตบทุบตี เตะต่อย และใช้มีดหรือปืนเข้าท า<br />
ร้าย ส่งผลให้ผู้ถูกกระท า ได้รับบาดเจ็บต่อร่างกายหรืออาจจะถึงแก่ชีวิตความรุนแรงต่อจิตใจ<br />
หมายถึงการกระท าใด ๆ ซึ่งมีผลท า ให้ผู้ถูกกระท า ได้รับความเสียใจ หวาดกลัวหรือตกใจ เสียสิทธิ<br />
และเสรีภาพ เช่นการพูดจาดูถูก ด่าทอ ข่มขู่ ตะคอกใส่มองด้วยความเหยียดหยามไม่ให้เกียรติ<br />
ตลอดจนจ า กัดและกีดกันสิทธิเสรีภาพทั้งในที่สาธารณะและในการด าเนินชีวิตส่วนตัว เป็นต้น<br />
ในการส ารวจสถานการณ์ความรุนแรง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong>ได้ก าหนดความหมายของค าว่า<br />
“ความรุนแรง” ตามความหมายของศูนย์เฝ้าระวังและเตือนภัยทางสังคม ส านักงานมาตรฐานการ<br />
พัฒนาและความมั่นคงของมนุษย์ (2555) ซึ่งได้ก าหนดความหมายดังนี้<br />
ความรุนแรง หมายถึง การกระท าใดๆที่เป็นการล่วงละเมิดสิทธิส่วนบุคคล ทั้งทางกาย<br />
วาจา จิตใจและทางเพศ โดยการบังคับ ขู่เข็ญ ท าร้ายทุบตี คุกคาม จ ากัดกีดกันเสรีภาพ ทั้งในที่<br />
สาธารณะและในการด าเนินชีวิตส่วนตัวซึ่งเป็นผลหรืออาจจะเป็นผลให้เกิดความทุกข์ทรมานทั้งทาง<br />
ร่างกายและจิตใจแก่ผู้ถูกกระท า ซึ่งในการการถูกกระท ารุนแรง ประกอบด้วย การกระท ารุนแรงทาง<br />
ร่างกาย การกระท ารุนแรงทางจิต การกระท ารุนแรงทางเพศ<br />
การกระท ารุนแรงทางร่างกาย หมายถึง การใช้ก าลังหรืออุปกรณ์ใดๆเป็นการท าร้าย<br />
ร่างกายเกินกว่าเหตุมีผลท าให้ร่างกายได้รับบาดเจ็บ<br />
การกระท ารุนแรงทางจิต หมายถึง การกระท าใดๆที่มีผลให้ผู้ถูกกระท าได้รับความ<br />
กระทบกระเทือนด้านจิตใจหรือสิทธิเสรีภาพ ได้แก่ การถูกทอดทิ้ง การดูถูก เหยียดหยามหรือดุด่า<br />
การกักขังหน่วงเหนี่ยว<br />
การกระท ารุนแรงทางเพศ หมายถึง การกระท าที่มีผลให้ผู้ถูกกระท าได้รับความ<br />
กระทบกระเทือนหรือเสียหายเกี่ยวกับเรื่องเพศ ได้แก่ การถูกข่มขืน การถูกลวนลาม อนาจาร และถูก<br />
บังคับค้าประเวณี<br />
6
การส ารวจสถานการณ์ความรุนแรง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี <strong>2556</strong><br />
แนวคิดควำมรุนแรงในครอบครัว<br />
ควำมหมำย ขอบเขต ของควำมรุนแรงในครอบครัว<br />
ปฏิญญาสากลว่าด้วยการขจัดความรุนแรงต่อผู้หญิง (Declaration on the Elimination<br />
of Violence against Women) ซึ่งที่ประชุมสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติได้มีมติรับรองเมื่อวันที่<br />
20 ธันวาคม 2536 สรุปความหมาย “ความรุนแรงต่อผู้หญิง” ว่าหมายถึงการกระท า ใด ๆ ที่เป็น<br />
ความรุนแรงจากเพศสภาพ ซึ่งเป็นผลหรืออาจจะเป็นผลให้เกิดการท า ร้ายทางร่างกาย ทางเพศหรือ<br />
ทางจิตใจ เป็นผลให้เกิดความทุกข์ทรมานแก่ผู้หญิง รวมทั้งการขู่เข็ญ คุกคาม กีดกันเสรีภาพทั้งในที่<br />
สาธารณะและชีวิตส่วนตัว และหมายรวมถึง<br />
1. ความรุนแรงต่อร่างกาย เพศ และจิตใจที่เกิดขึ้นในครอบครัวรวมทั้งการทุบตี<br />
การทารุณกรรมทางเพศต่อเด็กผู้หญิงในบ้าน ความรุนแรงอันมีเหตุมาจากสินสอด การข่มขืนโดยคู่<br />
สมรสการขลิบอวัยวะเพศของผู้หญิง การปฏิบัติตามประเพณีต่าง ๆ อันเป็นอันตรายต่อผู้หญิง ความ<br />
รุนแรงที่กระท า ต่อผู้ที่มิใช่คู่สมรส และความรุนแรงที่เกี่ยวกับการหาประโยชน์จากผู้หญิง<br />
2. ความรุนแรงต่อร่างกาย เพศ และจิตใจที่เกิดขึ้นภายในชุมชนทั่วไป รวมถึงการข่มขืน<br />
การทารุณกรรมทางเพศ การคุกคามทางเพศ การข่มขู่ในสถานที่ท า งาน ในสถานการศึกษา และ<br />
สถานที่อื่น ๆ การค้าหญิงและการบังคับให้ค้าประเวณี<br />
3. การเพิกเฉยของรัฐต่อความรุนแรงไม่ว่าจะเป็นความรุนแรงที่เกิดต่อร่างกาย เพศ และ<br />
จิตใจไม่ว่าจะเกิดขึ้น ณ สถานที่ใด (วิระดา สมสวัสดิ์, 2546: 149)<br />
ความหมายและขอบเขตของความรุนแรงต่อผู้หญิงที่ครอบคลุมถึงความรุนแรงในครอบครัว<br />
ของปฏิญญาฉบับนี้ ได้ถูกน า มากล่าวซ ้าอีกครั้งในการประชุมระดับโลกว่าด้วยเรื่องสตรี ครั้งที่ 4 ณ<br />
กรุงปักกิ่ง ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน เมื่อเดือนกันยายน 2538 และบรรจุไว้ในปฏิญญาปักกิ่ง<br />
และแผนปฏิบัติการเพื่อความก้าวหน้าของสตรี (Beijing Declaration and Platform for Action)<br />
ซึ่งประเทศไทยได้ประกาศเจตนารมณ์อย่างชัดเจน และยืนยันถึงพันธกรณีที่จะด า เนินการตาม<br />
แผนปฏิบัติการดังกล่าว เพื่อน า ไปสู่การปฏิบัติอย่างจริงจังและเป็นพื้นฐานในการลดความไม่เสมอ<br />
ภาคระหว่างบุรุษและสตรี อีกทั้งเป็นการเร่งรัดส่งเสริมความก้าวหน้าของสตรีไทย โดย บูรณาการเข้า<br />
ในแผนพัฒนาสตรีในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2540-2544)<br />
(ส านักงานคณะกรรมการส่งเสริมและประสานงานสตรีแห่งชาติ ส านักงานปลัดส านักนายกรัฐมนตรี<br />
,2543)<br />
ตามนัยข้างต้น จึงอาจกล่าวได้ว่านานาประเทศรวมทั้งประเทศไทยได้ยอมรับความหมาย<br />
ของความรุนแรงในครอบครัวที่เป็นความรุนแรงต่อผู้หญิง โดยหมายถึงความรุนแรงต่อร่างกายเพศ<br />
และจิตใจที่เกิดขึ้นในครอบครัว รวมทั้งการทุบตีและการข่มขืนโดยคู่สมรส<br />
ลักษณะและรูปแบบของควำมรุนแรงในครอบครัว<br />
เมื่อกล่าวถึงลักษณะหรือรูปแบบของความรุนแรงต่อผู้หญิงโดยทั่วไป Zimmerman และ<br />
คณะ(1994) ได้ศึกษาโดยการสัมภาษณ์ผู้หญิงกัมพูชาที่ถูกกระท า รุนแรงโดยสามีของตนกว่า 50 คน<br />
พบว่า ความรุนแรงมีหลายรูปแบบ พอสรุปว่าแบ่งได้เป็น 4 รูปแบบ คือ ความรุนแรงทางร่างกายทาง<br />
เพศ ทางจิตใจ และในทางเศรษฐกิจ และที่พบมากที่สุดคือในรูปแบบของการท า ร้ายร่างกายอย่างไรก็<br />
ดีในกรณีการท า ร้ายคู่สมรส (spouse abuse) ซึ่งหมายรวมทั้งการที่สามีท า ร้ายภรรยาและภรรยา<br />
7
การส ารวจสถานการณ์ความรุนแรง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี <strong>2556</strong><br />
ท าร้ายสามีด้วยเช่นกัน แม้กรณีหลังจะมีจ านวนไม่มากนัก โอเลียรี่ เคแดเนียล O’Leary(1993 อ้างถึง<br />
ในจุฑารัตน์ เอื้ออ านวย, 2545ก: 5) ได้ระบุว่ามีระดับความรุนแรงของพฤติกรรมแตกต่างกัน<br />
ดังต่อไปนี้<br />
ตารางที่ 2-1 แสดงการจ าแนกระดับพฤติกรรมก้าวร้าวในสัมพันธภาพระหว่างคู่สมรส<br />
ควำมก้ำวร้ำวทำงวำจำ ควำมก้ำวร้ำวต่อร่ำงกำย ควำมก้ำวร้ำวขั้น<br />
รุนแรงฆำตกรรม<br />
ดูถูกเหยียดหยาม<br />
ตะโกนใส่<br />
ตั้งฉายา<br />
อันเนื่องมำจำกเหตุที่<br />
ต้องการควบคุม<br />
แสดงพลังความเป็นชาย<br />
อิจฉาริษยา<br />
คู่สมรสไม่ปรองดองกัน<br />
ที่มำ : จุฑารัตน์ เอื้ออ านวย, 2545<br />
ผลัก<br />
ตบตี<br />
ผลัก กระแทก<br />
ยอมรับและน าเอาการควบคุม<br />
โดยวิธีการรุนแรงมาใช้<br />
เลียนแบบการแสดงความ<br />
ก้าวร้าวรุนแรงต่อร่างกาย<br />
ถูกกระท าทารุณตั้งแต่เด็ก<br />
มี บุ ค ลิ ก ภ า พที่ นิ ย ม ค ว า ม<br />
ก้าวร้าว/ติดสุรา<br />
ทุบตี<br />
เตะ ต่อย<br />
ทุบตีด้วยวัตถุ/อาวุธ<br />
มีบุคลิกภาพแปรปรวน<br />
เก็บอารมณ์ไม่อยู่<br />
มีความยกย่องนับถือตนเองต่ า<br />
จากภาพข้างบน จะเห็นได้ว่าระดับความรุนแรงของพฤติกรรมเริ่มจากพฤติกรรมที่มีระดับ<br />
ความรุนแรงน้อยกว่าไปสู่ระดับความรุนแรงมากขึ้น จนกระทั่งมีระดับความรุนแรงสูงที่สุด คือ เริ่ม<br />
จากความก้าวร้าวทางวาจา ไปสู่ ความก้าวร้าวทางร่างกาย และพัฒนาไปสู่ ความก้าวร้าวขั้นรุนแรงซึ่ง<br />
บางกรณีระดับความก้าวร้าวที่สั่งสมต่อเนื่องเป็นเวลานานอาจน า ไปสู่การเกิด ความก้าวร้าวรุนแรง<br />
สูงสุด ในระหว่างคู่สมรสคือการฆาตกรรมคู่สมรส ได้แก่สามีฆ่าภรรยาหรือภรรยาฆ่าสามี<br />
8
การส ารวจสถานการณ์ความรุนแรง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี <strong>2556</strong><br />
แบบจ ำลองเพื่อช่วยอธิบำยควำมรุนแรงในครอบครัว<br />
จากการศึกษาพบว่ามีแบบจ าลอง (model) ที่น่าสนใจและช่วยอธิบายเรื่องความรุนแรงใน<br />
ครอบครัวกรณีสามีท าร้ายภรรยา 3 ตัวแบบ คือ<br />
1. แบบจ าลองเรื่องวัฏจักรของความรุนแรง (สายใจ คุ้มขนาบ, 2542: 182-183)<br />
2. แบบจ าลองเรื่องอ านาจและวงล้อการควบคุม (โซเรธัส อ้างถึงใน สายใจ คุ้มขนาบ,<br />
2542: 184-186)<br />
3. แบบจ าลองเรื่องระบบนิเวศน์ของความรุนแรง (Lori, 1997) โดยแต่ละตัวแบบมีจุดเน้น<br />
แตกต่างกันและช่วยเพิ่มเติมส่วนที่ไม่สมบูรณ์ให้กับตัวแบบอื่น ๆ ได้เป็นอย่างดี<br />
ดังมีสาระส าคัญของแต่ละตัวแบบสรุปได้ดังนี้<br />
1. แบบจ าลองเรื่องวัฏจักรของความรุนแรง เป็นตัวแบบจ า ลองอย่างง่ายและรู้จักกัน<br />
อย่างกว้างขวางในการอธิบายกระบวนการ ขั้นตอนของความรุนแรง ซึ่งท า ให้เข้าใจได้มากขึ้นว่าท าไม<br />
เหยื่อหรือผู้หญิงที่ถูกท าร้ายจากคู่ของตนจึงไม่สามารถออกจากวัฏจักรนี้ไปได้ง่าย ๆ โดยแบบจ าลองนี้<br />
ระบุว่าความรุนแรงในครอบครัวมีวัฏจักรหรือวงจรที่อาจจ าแนกได้เป็น 6 ระยะ กล่าวคือ (1) ระยะ<br />
ก่อตัว หมายถึงระยะที่มีความตึงเครียดเกิดขึ้นในครอบครัว และผู้ชายที่มีความรุนแรงมักจะแสดงตน<br />
ว่าขาดทักษะในการแก้ไขความขัดแย้ง (2) ระยะข่มขู่ เป็นระยะที่ผู้ชายจะใช้ความก้าวร้าวข่มขู่ผู้หญิง<br />
ซึ่งเป็นคู่ครองให้เกิดความหวาดกลัว (3) ระยะแตกหัก เป็นระยะที่ความรุนแรงระเบิดขึ้นและผู้กระท า<br />
ผิดจะรู้สึกว่าเป็นการสมควรและตัวเองก็ไม่ได้ท าผิดอะไร (4) ระยะส านึกผิด ระยะนี้ผู้ชายอาจจะรู้สึก<br />
ละอาย แต่ก็ยังให้เหตุผลความชอบธรรมกับความทารุณโหดร้ายของตัวเอง (5)ระยะงอนง้อ ผู้กระท า<br />
รุนแรงจะมีพฤติกรรมส า นึกถึงผลการกระท า ของตน และใช้กลวิธีกลับไปกลับมาระหว่างการข่มขู่<br />
และขอร้องฉุดรั้งผู้หญิงซึ่งคิดจะทิ้งหรือหนีจากไปชั่วคราวไว้โดยวิธีท าให้กลัวหรือสงสาร (6) ระยะคืน<br />
ดีหรือระยะหวานชื่น ถ้าหากความสัมพันธ์ยังไม่สลายไปหลังจากความรุนแรงความสัมพันธ์ในระยะนี้<br />
จะใกล้ชิดและมีอารมณ์เข้มข้นมาก ผู้หญิงที่อยู่กับผู้ชายที่มีความรุนแรงมักจะรักเขาและคู่สมรส<br />
อาจจะมีการพึ่งพิงซึ่งกันและกันในหลาย ๆ เรื่อง นี่คือหนึ่งในหลายเหตุผลที่ซับซ้อนว่าท าไมผู้หญิงจึง<br />
พบว่ายากล าบากที่จะทิ้งคู่ครองที่โหดร้ายไป<br />
2. แบบจ าลองเรื่องอ านาจและวงล้อการควบคุม พัฒนาขึ้นโดยเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานใน<br />
โครงการช่วยเหลือการทารุณกรรมในครอบครัว เมืองดูลูธ รัฐมินนิโซต้า เพื่อสร้างค า อธิบายที่เป็น<br />
ระบบมากขึ้นเกี่ยวกับวิธีการที่ชายผู้เป็นสามีใช้ในการควบคุมภรรยา ทั้งที่เป็นความรุนแรงทาง<br />
กายภาพและทางเพศ ซึ่งจ าแนกได้เป็น 8 ประการ คือ (1) ใช้การข่มขวัญ ได้แก่ การท า ให้กลัวโดย<br />
การปรามทางสายตา การกระท า ท่าทาง การขว้างปาข้าวของ ท าลายทรัพย์สิน ทารุณสัตว์เลี้ยง<br />
เอาอาวุธออกมาถือ (2) ใช้การทารุณทางอารมณ์ โดยการท าให้ผู้หญิงรู้สึกเลวร้าย ประณามตนเองคิด<br />
ว่าตนเองเป็นบ้า เล่นเกมทางจิตใจกับเธอ ท า ให้เธอรู้สึกอับอาย (3) ใช้วิธีให้อยู่ตามล าพัง โดยควบคุม<br />
ทุกอย่าง ไม่ให้ท าอะไรทั้งสิ้น ไม่ให้พบหรือพูดกับใคร ควบคุมการรับข้อมูลข่าวสาร<br />
เสรีภาพในการเดินทาง การติดต่อกับคนภายนอก โดยใช้การหึงหวงเป็นข้ออ้าง (4) ลดความรุนแรง<br />
ปฏิเสธและกล่าวโทษ ท าให้น้ าหนักความรุนแรงที่เกิดขึ้นเบาลง พูดเหมือนกับว่าไม่มีการทารุณเกิดขึ้น<br />
ปัดความรับผิดชอบต่อพฤติกรรมทารุณที่เกิดขึ้นไปให้ภรรยา โดยกล่าวหาว่าผู้หญิงเป็นต้นเหตุ (5)<br />
ใช้ลูกเป็นเครื่องมือ ท าให้ผู้หญิงรู้สึกผิดเกี่ยวกับเรื่องลูก ๆ ใช้ลูกเป็นสื่อกลางในการส่งข่าวใช้การมาหา<br />
9
การส ารวจสถานการณ์ความรุนแรง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี <strong>2556</strong><br />
ลูกเพื่อระรานผู้หญิง ขู่ว่าจะพรากลูกไปจากผู้หญิง (6) ใช้สิทธิของความเป็นผู้ชายกระท าต่อผู้หญิง<br />
เหมือนเป็นคนรับใช ตัดสินใจในเรื่องส าคัญๆเองทั้งหมด ควบคุมบทบาทหญิงชาย (7) ใช้การทารุณ<br />
ทางเศรษฐกิจ โดยการกีดกันไม่ให้ผู้หญิงท า งานหรือได้งาน ท าให้ผู้หญิงต้องพึ่งพิงทางเศรษฐกิจ<br />
จ ากัดการใช้เงิน ไม่ให้รับรู้เกี่ยวกับการเงินของครอบครัว (8) ใช้การบังคับและขู่เข็ญคุกคามหรือขู่ว่า<br />
จะท าร้ายโดยวิธีต่าง ๆ เช่น การทิ้งไป จะฆ่าตัวตาย ขู่ให้ละทิ้งการแจ้ง ความด าเนินคดี<br />
3. แบบจ าลองเรื่องระบบนิเวศน์ของความรุนแรง (Ecological Model of Factor<br />
Associated with partner Abuse) เป็นตัวแบบที่ได้รับอิทธิพลของทฤษฎีสตรีนิยม ซึ่งให้ค าอธิบาย<br />
ที่จะเกี่ยวกับระบบสังคมหรือเงื่อนไขส าคัญทั้งภายในและภายนอกคู่สามีภรรยากับปัญหาความรุนแรง<br />
ในครอบครัวสาเหตุของความรุนแรงเกิดจากองค์ประกอบร่วม 4 ระดับ ที่ส่งผลปฏิสัมพันธ์ไปมา<br />
ระหว่างกันจากวงกลมชั้นในสุดจะแสดงถึงลักษณะบุคคล วงกลมชั้นที่สองเป็นพื้นที่ที่เกิดความขัดแย้ง<br />
และน าไปสู่ความรุนแรง วงกลมชั้นที่สามแสดงถึงสถาบันและโครงสร้างทางสังคมทั้งที่เป็นทางการ<br />
และไม่เป็นทางการ ซึ่งเป็นตัวก าหนดความสัมพันธ์ของคู่กรณี และวงกลมชั้นที่สี่เป็นสภาพทาง<br />
เศรษฐกิจ สังคม และความเชื่อทางวัฒนธรรมที่เป็นสิ่งแวดล้อมบุคคลหนึ่งๆ ดังนั้นการแก้ไขปัญหา<br />
ความรุนแรงในครอบครัวจึงไม่สามารถเจาะจงเฉพาะบุคคลได้ แต่ต้องปรับเปลี่ยนทั้ง 2 ส่วน<br />
คือบุคคลและบริบททางสังคมไปพร้อมๆ กัน<br />
2. พระรำชบัญญัติคุ้มครองผู้ถูกกระท ำด้วยควำมรุนแรงในครอบครัว พ.ศ. 2550<br />
เนื่องจากปัญหาการแก้ไขการใช้ความรุนแรงในครอบครัวมีความละเอียดอ่อนซับซ้อน<br />
เกี่ยวพันกับบุคคลใกล้ชิด มีลักษณะพิเศษแตกต่างจากการท าร้ายร่างกายระหว่างบุคคลโดยทั่วไป<br />
การใช้มาตรการทางอาญาตามประมวลกฎหมายอาญามาบังคับกับการกระท าด้วยความรุนแรงใน<br />
ครอบครัวจึงไม่เหมาะสม เนื่องจากกฎหมายอาญามีเจตนารมณ์ที่จะลงโทษผู้กระท าความผิดมากกว่า<br />
ที่จะแก้ไขฟื้นฟูผู้กระท าผิดหรือปกป้องคุ้มครองผู้ที่ถูกกระท าด้วยความรุนแรงในครอบครัว ดังนั้น การ<br />
มีกฎหมายคุ้มครองถูกผู้กระท าด้วยความรุนแรงในครอบครัวจึงมีความเหมาะสมกว่าการใช้<br />
กระบวนการทางอาญา เพราะสามารถก าหนดรูปแบบ วิธีการ และขั้นตอนที่มีลักษณะแตกต่างจาก<br />
การด าเนินคดีทางอาญาโดยทั่วไป โดยให้ผู้กระท าความผิดมีโอกาสกลับตัวและยับยั้งการกระท าผิดซ้ า<br />
รวมทั้งสามารถรักษาความสัมพันธ์อันดีในครอบครัวไว้ได้ประกอบกับ เด็ก เยาวชนและบุคคลใน<br />
ครอบครัว มีสิทธิได้รับความคุ้มครองโดยรัฐจากการใช้ความรุนแรงและการปฏิบัติอันไม่เป็นธรรม จึง<br />
จ าเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี้<br />
มำตรำ 3 ในพระรำชบัญญัตินี้<br />
“ความรุนแรงในครอบครัว” หมายความว่า การกระท าใด ๆ โดยมุ่งประสงค์ให้เกิด<br />
อันตรายแก่ร่างกาย จิตใจ หรือสุขภาพ หรือกระท าโดยเจตนาในลักษณะที่น่าจะก่อให้เกิดอันตรายแก่<br />
ร่างกาย จิตใจ หรือสุขภาพของบุคคลในครอบครัว หรือบังคับหรือใช้อ านาจครอบง าผิดคลองธรรมให้<br />
บุคคล ในครอบครัวต้องกระท าการ ไม่กระท าการ หรือยอมรับการกระท าอย่างหนึ่งอย่างใดโดยมิชอบ<br />
แต่ไม่รวมถึงการกระท าโดยประมาท<br />
10
การส ารวจสถานการณ์ความรุนแรง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี <strong>2556</strong><br />
“บุคคลในครอบครัว” หมายความว่า คู่สมรส คู่สมรสเดิม ผู้ที่อยู่กินหรือเคยอยู่กินฉันสามี<br />
ภริยาโดยมิได้จดทะเบียนสมรส บุตร บุตรบุญธรรม สมาชิกในครอบครัว รวมทั้งบุคคลใดๆที่ต้องพึ่งพา<br />
อาศัยและอยู่ในครัวเรือนเดียวกัน<br />
มาตรา 4 ผู้ใดกระท าการอันเป็นความรุนแรงในครอบครัว ผู้นั้นกระท าความผิดฐานกระท า<br />
ความรุนแรงในครอบครัว ต้องระวางโทษจ าคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินหกพันบาทหรือทั้งจ า<br />
ทั้งปรับให้ความผิดตามวรรคหนึ่ง เป็นความผิดอันยอมความได้ แต่ไม่ลบล้างความผิดตามประมวล<br />
กฎหมายอาญาหรือกฎหมายอื่น หากการกระท าความผิดตามวรรคหนึ่งเป็นความผิดฐานท าร้าย<br />
ร่างกาย ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 295 ด้วย ให้ความผิดดังกล่าวเป็นความผิดอันยอมความ<br />
ได้<br />
มาตรา 5 ผู้ถูกกระท าด้วยความรุนแรงในครอบครัว หรือผู้ที่พบเห็นหรือทราบการกระท า<br />
ด้วยความรุนแรงในครอบครัว มีหน้าที่แจ้งต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ เพื่อด าเนินการตามพระราชบัญญัตินี้<br />
การแจ้งต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ตามวรรคหนึ่ง เมื่อได้กระท าโดยสุจริต ย่อมได้รับความคุ้มครองและไม่<br />
ต้องรับผิดทั้งทางแพ่ง ทางอาญา และทางปกครอง<br />
มาตรา 6 การแจ้งต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ตามมาตรา 5 อาจกระท าโดยวาจา เป็นหนังสือ<br />
ทางโทรศัพท์ วิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ หรือวิธีการอื่นใด<br />
3. สถำนกำรณ์ด้ำนสังคมและควำมรุนแรงในครอบครัว<br />
คณะผู้วิจัยได้ท ำกำรศึกษำและรวบรวมข้อมูลสถำนกำรณ์ด้ำนสังคม สถำนกำรณ์ควำม<br />
มั่นคงของมนุษย์ ดังนี้<br />
1. กำรเปลี่ยนแปลงโครงกำรสร้ำงประชำกร: สังคมไทยเข้ำสู่สังคมผู้สูงอำยุ<br />
มีข้อมูลของสอดคล้องตรงกันว่า สังคมไทยได้ก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุแล้ว กล่าวคือ ในปี<br />
พ.ศ.2533 ประเทศไทยมีประชากรผู้สูงอายุประมาณ 4 ล้านคนหรือราวร้อยละ 7 ของพลเมืองทั้ง<br />
ประเทศ และคาดการณ์ว่าอีก 13 ปีข้างหน้า คือปี 2563 จ านวนผู้สูงอายุจะเพิ่มเป็นเป็น 11 ล้านคน<br />
หรือเท่ากับร้อยละ 17 ของคนไทยทั้งประเทศ คิดเป็น 1 ใน 6 ของประชาชนไทยจ านวน 65 ล้านคน<br />
ในขณะที่ประชากรวัยเด็กมีสัดส่วนลดลงอย่างรวดเร็วจากร้อยละ 24.3 ในปี 2543 เป็นร้อยละ 20.2<br />
ในปี 2548 และประชากรวัยท างาน จะลดลงเป็นร้อยละ 66.0 ในปี 2558 (สถาบันวิจัยประชากรและ<br />
สังคม มหาวิทยาลัยมหิดล, 2550, น. 88)<br />
2. อัตรำกำรว่ำงต่ ำ มีกำรจ้ำงงำนเพิ่มขึ้น<br />
จากรายงานภาวะสังคมไทยปี 2555 ของส านักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและ<br />
สังคมแห่งชาติ พบว่า อัตราการว่างงานเท่ากับร้อยละ 0.48 โดยมีจ านวน 190,245 คน ลดลงจาก<br />
อัตราร้อยละ 0.63 ในช่วงเดียวกันปีที่แล้ว การจ้างงานมีผู้มีงานท า 39.6 ล้านคน ขยายตัวจากช่วง<br />
เดียวกันของปีก่อนร้อยละ 1.7 โดยการจ้างงานภาคเกษตรขยายตัวมากที่สุดร้อยละ 3 ตลอดทั้งปี<br />
2555 อัตราการว่างงานเฉลี่ยอยู่ในระดับต่ าร้อยละ 0.66 มีการจ้างงานเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.2<br />
(ส านักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, <strong>2556</strong>)<br />
11
การส ารวจสถานการณ์ความรุนแรง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี <strong>2556</strong><br />
3. สถำนกำรณ์พฤติกรรมของวัยรุ่น<br />
จากข้อมูลศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กระทรวงการพัฒนาสังคมและ<br />
ความมั่นคงของมนุษย์ พบว่า การตั้งครรภ์ของวัยรุ่นไทยในปี 2554 มีแม่อายุต่ ากว่า 20 ปี จ านวน<br />
114,001 คน หรือร้อยละ 14.32 ของแม่ทุกอายุ ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์การเฝ้าระวังการตั้งครรภ์ (≥10)<br />
และจากรายงานภาวะสังคมไทยปี 2555 ของส านักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม<br />
แห่งชาติ พบว่าการมีพฤติกรรมทางเพศไม่เหมาะสมของวัยรุ่นน าไปสู่การตั้งครรภ์โดยไม่พร้อมนับเป็น<br />
จุดเริ่มต้นของปัญหาคุณภาพชีวิตของแม่วัยรุ่นและเด็ก การท าแท้ง เด็กถูกทอดทิ้ง ผลการเฝ้าระวัง<br />
พฤติกรรมที่สัมพันธ์กับการติดเชื้อ HIV ในประชากรกลุ่มนักเรียน พบเด็กไทยมีเพศสัมพันธ์เร็วขึ้น<br />
ในปี 2554 เด็กเริ่มมีเพศสัมพันธ์ครั้งแรกตอนอายุเฉลี่ย 12 ปี และส่วนใหญ่เป็นความสมัครใจ แต่กว่า<br />
ร้อยละ 50 ไม่มีการป้องกัน<br />
4. สถำนกำรณ์ควำมรุนแรงในเด็กและสตรี<br />
ความรุนแรงในเด็กและสตรีเกิดขึ้นทั้งในครอบครัว โรงเรียน รวมทั้งยังเกิดในลักษณะของ<br />
การค้ามนุษย์ ข่มขืนและค้าประเวณี ปัญหาดังกล่าวมีแนวโน้มรุนแรงขึ้นโดยเฉพาะการกระท ารุนแรง<br />
ทางเพศในเด็กจากรายงานภาวะสังคมไทยปี 2555 ของส านักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ<br />
และสังคมแห่งชาติ พบว่า เด็กถูกกระท ารุนแรงทางเพศมากที่สุด โดยเด็กหญิงถูกท าร้ายประมาณ 8<br />
เท่าของเด็กชาย ส่วนใหญ่อยู่ในช่วงวัยรุ่นอายุ 10-15 ปีเป็นการกระท ารุนแรงทางเพศมากที่สุดถึงร้อย<br />
ละ 74.1 และทางกายร้อยละ 21.0 โดยผู้กระท ารุนแรงจากคนใกล้ชิด โดยเป็นแฟนร้อยละ 40.2<br />
เพื่อนร้อยละ 25.1 คนไม่รู้จักร้อยละ 9.6 และพ่อแม่/ผู้ดูแลอุปการะร้อยละ 8.1 โดยสาเหตุที่เกิดส่วน<br />
ใหญ่มาจากสภาพแวดล้อม ได้แก่ สื่อลามกต่างๆ ความใกล้ชิด และโอกาสเอื้ออ านวย การใช้สาร<br />
กระตุ้น เช่น สุรา และยาเสพติด และสัมพันธภาพในครอบครัวการค้ามนุษย์ การตั้งครรภ์ไม่พึง<br />
ประสงค์<br />
5. ปัญหำยำเสพติด<br />
จากรายงานภาวะสังคมไทยปี 2555 ของส านักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและ<br />
สังคมแห่งชาติ พบว่าคดีอาญารวมเพิ่มสูงทุกประเภท โดยคดียาเสพติดมีสัดส่วนมากสุดร้อยละ 83.9<br />
รับแจ้ง 100,401 คดี เพิ่มขึ้นจากไตรมาส 4/2554 และไตรมาส 3/2555 ร้อยละ 17.1 และ 12.3<br />
ทั้งปี 2555 คดียาเสพติดเพิ่มขึ้นร้อยละ 5.4 อีกทั้งยังพบว่าเด็กและเยาวชนยังคงเป็นกลุ่มเป้าหมาย<br />
หลักของการค้ายาเสพติด โดยนักค้ายาเสพติดกระจายยาเสพติดลงในพื้นที่ชุมชน จากข้อมูลในระบบ<br />
ติดตามและเฝ้าระวังปัญหายาเสพติด ในปี 2555 กลุ่มผู้เข้ารับการบ่าบัดรักษามากสุดร้อยละ 35.5<br />
อยู่ในช่วงอายุ 18-24 ปี และกลุ่มอายุ 12-17 ปีถูกส่งเข้ารับการบ่าบัดรักษาเพิ่มขึ้นร้อยละ 68.3<br />
จากในปี 2554 สาเหตุอันดับแรกมาจากการทดลองร้อยละ 46.1 จึงได้มีการขยายโครงการชุมชนอุ่น<br />
ใจได้ลูกหลานกลับคืน เพื่อพัฒนาเด็กและเยาวชนที่กระท่าผิดได้มีที่ยืนในสังคมได้<br />
6. สถำนกำรณ์ควำมมั่นคงของมนุษย์ของประเทศไทยปี 2554<br />
จากรายงานสถานการณ์ความมั่นคงของมนุษย์ของประเทศไทย ในปี 2554 ส านัก<br />
มาตรฐานการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคง<br />
ของมนุษย์ ในภาพรวมทั้ง 76 จังหวัด(ยกเว้นจังหวัดบึงกาฬ) โดยประเมินค่าความมั่นคงของมนุษย์<br />
จากองค์ประกอบความมั่นคงของมนุษย์ 12 มิติ 41 ตัวชี้วัด ผลการศึกษา พบว่า ดัชนีความมั่นคง<br />
12
การส ารวจสถานการณ์ความรุนแรง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี <strong>2556</strong><br />
ของมนุษย์ของประเทศไทย ปี 2554 มีค่าเฉลี่ยร้อยละ 69.51 โดยค่าดัชนีความมั่นคงของมนุษย์มิติที่มี<br />
ค่าดัชนีสูงสุดคือ มิติศาสนาและวัฒนธรรม ร้อยละ 70.37 รองลงมามิติที่อยู่อาศัย ร้อยละ 70.32 และ<br />
อันดับสาม มิติสิทธิและความชอบธรรม ร้อยละ 70.24 และมิติที่มีค่าดัชนีต่ าสุดคือ มิติมีงานท าและ<br />
รายได้ ร้อยละ 69.21<br />
เมื่อพิจารณาดัชนีความมั่นคงของมนุษย์ของประเทศไทย ปี 2554 รายภาค พบว่า<br />
กลุ่มจังหวัดภาคเหนือมีค่าดัชนีสูงที่สุดร้อยละ 78.37 รองลงมาคือ กลุ่มจังหวัด 3 จังหวัดชายแดน<br />
ภาคใต้ ร้อยละ 76.29 และกลุ่มจังหวัดที่มีค่าดัชนีน้อยที่สุดคือ กรุงเทพมหานครและปริมณฑล ร้อย<br />
ละ 37.37<br />
ส่วนส าหรับกลุ่มจังหวัดภาคกลางซึ่ง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong>อยู่ในกลุ่มจังหวัดดังกล่าว พบว่า<br />
ค่าดัชนีเป็นอันดับ 5 ร้อยละ 67.67 โดยมิติที่มีค่าดัชนีสูง คือ มิติการเมือง การศึกษา และมิติชุมชน<br />
และสนับสนุนทางสังคม และยังพบว่า<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong>มีค่าดัชนีสูงสุดในกลุ่มจังหวัดภาคกลางในมิติ<br />
ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ร้อยละ76.85<br />
7. สถำนกำรณ์ควำมมั่นคงของมนุษย์ของ<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong>ปี 2554<br />
จากรายงานสถานการณ์ความมั่นคงของมนุษย์ของประเทศไทย ในปี 2554 ส านัก<br />
มาตรฐานการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคง<br />
ของมนุษย์ พบว่า <strong>จังหวัดสระแก้ว</strong>มีค่าดัชนีในภาพรวม ร้อยละ 65.94 เมื่อจ าแนกเป็นรายมิติพบว่า<br />
1. มิติที่อยู่อาศัย หมายถึง การที่บุคคลมีความ สามารถพึ่งตนเองได้ในเรื่องที่อยู่อาศัย<br />
มีที่อยู่อาศัยเป็น หลักแหล่ง แน่นอน ที่อยู่อาศัยมีความมั่นคงแข็งแรง อยู่ในระดับ ร้อยละ 66.06<br />
2. มิติสุขภาพ หมายถึง การที่บุคคลมีสุขภาพ กายใจแข็งแรง ไม่มีโรคร้ายแรง หรือโรค<br />
เรื้อรังเบียดเบียน มีความรู้ พื้นฐานในการดูแลสุขภาพ และมีพฤติกรรมในการสร้างเสริมสุขภาพ<br />
ของตนเองให้แข็งแรงอยู่ ตลอดเวลา อยู่ในระดับร้อยละ 44.64<br />
3. มิติอาหาร หมายถึง การที่บุคคลมีความพอประมาณความรู้ในการบริโภค มีคุณธรรมใน<br />
การผลิตอาหารที่ปลอดภัย อยู่ในระดับร้อยละ 75.39<br />
4. มิติการศึกษา หมายถึง การที่บุคคลมีความรู้จากการศึกษา ได้รับโอกาสในการศึกษา<br />
ต่อเนื่องในระดับที่สูงขึ้น ได้รับข้อมูลข่าวสารที่เป็นปัจจุบัน อยู่ในระดับร้อยละ 65.32<br />
5. มิติการมีงานท าและมีรายได้ หมายถึง การที่บุคคลมีความรู้ ความสามารถในอาชีพการ<br />
งาน รู้จักใช้จ่ายอย่างพอประมาณ มีการเก็บออมและไม่มีปัญหา หนี้สิน รวมทั้งมีความสุขกับงานที่ท า<br />
อยู่ในระดับร้อยละ 63.26<br />
6. มิติครอบครัว หมายถึง การที่บุคคลสามารถท าบทบาทหน้าที่ได้อย่างเหมาะสม มีการ<br />
ท ากิจกรรมส่งเสริมให้ครอบครัวเข้มแข็ง อยู่ในระดับร้อยละ 71.65<br />
7. มิติชุมชนและการสนับสนุนทางสังคม หมายถึง การที่บุคคลมีคุณธรรม เสียสละ<br />
ท าความดีเพื่อส่วนรวม มีน้ าใจเอื้อเฟื้อเกื้อกูลกัน มีพลังอ านาจในการต่อรองกับภายนอก อยู่ในระดับ<br />
ร้อยละ 59.28<br />
8. มิติศาสนาและวัฒนธรรม หมายถึง การที่บุคคลมีการปฏิบัติตามค าสั่งสอนในศาสนา<br />
ที่ตนเอง ยึดถือ มีการปกป้องรักษา ประเพณีวัฒนธรรมและเอกลักษณ์ ที่ตนเองคงอยู่ อยู่ในระดับ<br />
ร้อยละ 68.53<br />
13
การส ารวจสถานการณ์ความรุนแรง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี <strong>2556</strong><br />
9. มิติความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน หมายถึง การที่บุคคลมีความ ปลอดภัยในชีวิต<br />
และทรัพย์สิน ไม่มีความเสี่ยงจากภัยธรรมชาติอยู่ในระดับร้อยละ 76.85<br />
10. มิติสิทธิและความเป็นธรรม หมายถึง การที่บุคคลมีการปฏิบัติ ต่อกันอย่างเสมอภาค<br />
มีความรู้ที่จะรักษาสิทธิขั้นพื้นฐานของตนเอง อยู่ในระดับร้อยละ 73.87<br />
11. มิติการเมือง หมายถึง การที่บุคคลมีเหตุผลในการตัดสินใจเข้าร่วมกิจกรรมทางการ<br />
เมือง และมีจิตสาธารณะในการท างานเพื่อสังคมส่วนรวม อยู่ในระดับร้อยละ 77.07<br />
12. มิติสิ่งแวดล้อมและทรัพยากร พลังงาน หมายถึง การที่บุคคลมีที่อยู่อาศัย ที่ท างาน<br />
ที่ปลอดมลภาวะ มีการใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด รู้ถึงคุณค่า และเข้าร่วมในกิจกรรม การอนุรักษ์<br />
สิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ พลังงาน อยู่ในระดับร้อยละ 65.94<br />
8. สถำนกำรณ์ปัญหำกำรกระท ำรุนแรงในครอบครัว<br />
จากรายงานข้อมูลสถานการณ์ด้านความรุนแรงของประเทศไทยและตามมารตรา 17 แห่ง<br />
พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ถูกกระท ารุนแรงในครอบครัว พ.ศ. 2550 เกี่ยวกับภาพรวมของสถิติ<br />
ความรุนแรงในครอบครัว ปี 2553 ของส านักงานกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว พ.ศ. 2553 พบว่า<br />
จ านวนเหตุการณ์ความรุนแรงต่อเด็ก สตรี และความรุนแรงในครอบครัวมีจ านวน 916 เหตุการณ์<br />
มีจ านวนผู้กระท าความรุนแรงเป็นเพศชายมากกว่าเพศหญิง หรือคิดเป็นร้อยละ 86.23 ของจ านวน<br />
ผู้กระท าทั้งหมด โดยความสัมพันธ์ระหว่างผู้กระท าและผู้ถูกกระท าความรุนแรงในครอบครัวเป็นสามี<br />
ทาร้ายภรรยา 531 รายคือร้อยละ 61.1 ที่เหลือเป็นความสัมพันธ์แบบอื่นๆสาหรับประเภทความ<br />
รุนแรงแบ่งออกเป็นความรุนแรงทาง ร่างกาย ทางจิตใจ ทางเพศ ทางสังคม จากจ านวนเหตุการณ์<br />
ความรุนแรง 1,191 เหตุการณ์ พบว่า เป็นความรุนแรงทางร่างกายมากที่สุด คือร้อยละ 61.29<br />
รองลงมาคือ ความรุนแรงทางจิตใจ คือร้อยละ 27.54 จ านวนผู้ถูกกระท าความรุนแรงทุกประเภท<br />
มีเพศหญิงถูกกระท าความรุนแรงมากกว่าเพศชาย คิดเป็นสัดส่วน 8.5 : 1 ในประเภทความรุนแรง แม้<br />
ผู้ถูกกระท าความรุนแรงทางเพศ จะมีจ านวนน้อยกว่ามากเมื่อเทียบกับความรุนแรงทางร่างกายและ<br />
จิตใจ แต่ผู้หญิงถูกกระท าความรุนแรงทางเพศมากที่สุดคือร้อยละ 94.55 เมื่อเปรียบเทียบกับ<br />
ผู้ถูกกระท าที่เป็นผู้ชาย รองลงมาเป็นความรุนแรงทางกาย จิตใจ และสังคมตามล าดับ<br />
และจากรายงานสถานการณ์ความรุนแรงในครอบครัวผ่านเว็บไซต์ www.violence.in.th<br />
ของส านักงานกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว ซึ่งเป็นหน่วยงานระดับประเทศและได้จัดท าระบบ<br />
ข้อมูลความรุนแรงต่อเด็ก สตรีและความรุนแรงในครอบครัว พบว่าสถิติความรุนแรงต่อเด็ก สตรีและ<br />
ความรุนแรงในครอบครัวตามจ านวนเหตุการณ์ความรุนแรงในตั้งแต่ปี พ.ศ. 2549 - 2555 พบว่ามี<br />
จานวนเหตุการณ์ความรุนแรงสูงเพิ่มขึ้นทุกปี ดังปรากฏในตารางที่ 2<br />
14
การส ารวจสถานการณ์ความรุนแรง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี <strong>2556</strong><br />
ตารางที่ 2-2 สรุปสถานการณ์ความรุนแรงในครอบครัวปี 2549-2555<br />
ปี<br />
ผู้ถูกกระท ำอยู่ในวิสัยที่จะ<br />
ร้องทุกข์<br />
รอให้ หมดอายุ<br />
ผู้ถูกกระท า ความ 5 ปี<br />
อยู่ในวิสัยที่<br />
จะร้องทุกข์<br />
อยู่ระหว่าง<br />
ไกล่เกลี่ย<br />
เบื้องต้น<br />
ผู้ถูกกระท ำไม่อยู่ในวิสัยที่จะร้องทุกข์<br />
หมดอายุ<br />
ความ 3<br />
เดือน<br />
ผู้ถูกกระท า<br />
ไม่ประสงค์<br />
จะร้องทุกข์<br />
ผู้ถูกกระท า<br />
ประสงค์จะ<br />
ร้องทุกข์<br />
2549 0 0 0 0 0 0 0<br />
2551 13 0 10 1 20 7 51<br />
2552 59 0 57 5 184 48 353<br />
2553 219 0 107 3 463 150 942<br />
2554 258 0 168 2 466 172 1066<br />
2555 197 0 76 0 403 167 843<br />
ที่มำ : ศูนย์ปฏิบัติการเพื่อป้องกันการกระท าความรุนแรงในครอบครัว กระทรวงการพัฒนาสังคมและ<br />
ความมั่นคงของมนุษย์<br />
4. สถำนกำรณ์ด้ำนสังคม<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong><br />
จากรายงานข้อมูลบรรยายสรุปข้อมูล<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี 2555 (http://www.sakaeo.go.th/<br />
websakaeo/roadmap.php) ในด้านสภาพสังคม พบว่า<br />
1. ด้ำนคุณภำพชีวิต<br />
จากการจัดเก็บข้อมูลความจ าเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) ปี 2554 ซึ่งจัดเก็บทุกครัวเรือนในเขตพื้นที่<br />
ชนบทใน<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> จ านวน 82,352 ครัวเรือน 712 หมู่บ้าน 57 ต าบล 9 อ าเภอในภาพรวมของ<br />
<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> พบว่า ผลการจัดเก็บข้อมูลความจ าเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) รายตัวชี้วัด จ านวน 6 หมวด<br />
42 ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่บรรลุเป้าหมายความจ าเป็นพื้นฐาน จ านวน 24 ตัวชี้วัด และตัวชี้วัดที่ยังไม่บรรลุ<br />
เป้าหมายตามเกณฑ์ จปฐ. ที่ควรให้ความส าคัญในการแก้ไขปัญหาเป็นล าดับต้นของ<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong><br />
จ านวน 18 ตัวชี้วัด<br />
ตารางที่ 2-3 ตัวชี้วัดที่ไม่บรรลุเป้าหมายตามเกณฑ์ จปฐ. ปี 2554<br />
ตัวชี้วัดที่ เกณฑ์กำรวัด จ ำนวนที่ต้องแก้ไข<br />
4 เด็กแรกเกิดได้กินนมแม่อย่างน้อย 4 เดือนติดต่อกัน 147 คน<br />
6 เด็กแรกเกิดถึง 5 ปี เจริญเติบโตตามเกณฑ์มาตรฐาน 2 คน<br />
7 เด็กอายุ 6-15 ปี เจริญเติบโตตามเกณฑ์มาตรฐาน 4 คน<br />
10 คนในครัวเรือนมีความรู้ในการใช้ยาที่ถูกต้องเหมาะสม 28 ครัวเรือน<br />
14 ครัวเรือนมีความมั่นคงในที่อยู่อาศัยและบ้านมีสภาพคงทน 59 ครัวเรือน<br />
ถาวร<br />
18 ครัวเรือนไม่ถูกรบกวนจากมลพิษ 461 ครัวเรือน<br />
19 ครัวเรือนมีการป้องกันอุบัติภัยอย่างถูกวิธี 13 คน<br />
รวม<br />
15
การส ารวจสถานการณ์ความรุนแรง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี <strong>2556</strong><br />
ตัวชี้วัดที่ เกณฑ์กำรวัด จ ำนวนที่ต้องแก้ไข<br />
20 ครัวเรือนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน 290 คน<br />
21 ครอบครัวมีความอบอุ่น 31 ครัวเรือน<br />
24 เด็กอายุ 6-15 ปี ได้รับการศึกษาภาคบังคับ 9 ปี 2 คน<br />
26 มัธยมศึกษาตอนปลาย หรือเทียบเท่า และยังไม่มีงานท าได้รับ 27 คน<br />
การฝึกอบรมอาชี<br />
27 คนอายุ 15-60 ปีเต็ม อ่าน เขียนภาษาไทย และคิดเลขอย่าง 86 คน<br />
ง่ายได้ทุกคน<br />
28 คนในครัวเรือนรับรู้ข่าวสารที่เป็นประโยชน์อย่างน้อยสัปดาห์ 15 คน<br />
ละ 5 ครั้ง<br />
32 คนในครัวเรือนไม่ติดสุรา 807 คน<br />
35 คนอายุ 6 ปีขึ้นไปทุกคนได้ปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนาอย่าง 141 ครัวเรือน<br />
น้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง<br />
36 คนสูงอายุได้รับการดูแลเอาใจใส่จากคนในครัวเรือน 2 คน<br />
37 คนพิการได้รับการดูแลเอาใจใส่จากคนในครัวเรือน 2 คน<br />
41 คนในครัวเรือน มีส่วนร่วมท ากิจกรรมสาธารณะของหมู่บ้าน/<br />
ชุมชน<br />
161 ครัวเรือน<br />
2. ด้ำนควำมปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน<br />
จากข้อมูลผลส ารวจสถานการณ์ทางสังคมของผู้แทนและเจ้าหน้าที่ขององค์กรปกครอง<br />
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทุกแห่งใน<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ของส านักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของ<br />
มนุษย์<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> พบว่า ปัญหาด้านความไม่ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ส่วนใหญ่เป็นปัญหา<br />
ที่ประชาชนได้รับผลกระทบจากสาธารณภัยในรอบปี (ทั้งที่เกิดจากภัยธรรมชาติและมนุษย์) รองลงมา<br />
เป็นปัญหาประชาชนได้รับอุบัติเหตุจากยานพาหนะ และปัญหาประชาชนถูกลักทรัพย์/ชิงทรัพย์/ ถูก<br />
ท าลายทรัพย์สิน<br />
ส าหรับข้อมูลการจับกุมผู้กระท าผิดในคดีแต่ละกลุ่มที่เกิดขึ้นในปีงบประมาณ 2555 มีดังนี้<br />
ตารางที่ 2-4 สถิติคดีและการจับกุมผู้กระท าความผิดในแต่ละกลุ่มคดี ตุลาคม 2554 - กันยายน<br />
2555<br />
กลุ่มควำมผิด<br />
จ ำนวนคดี จ ำนวนคดี<br />
(คดี) ที่จับกุมได้ (คดี)<br />
1. คดีอุกฉกรรจ์และสะเทือนขวัญ 28 22 22<br />
2. คดีประทุษร้ำยต่อชีวิต ร่ำงกำย เพศ 222 162 162<br />
3. คดีประทุษร้ำยต่อทรัพย์ 407 177 177<br />
4. คดีที่รัฐเป็นเสียหำย 3,523 3,523 4,211<br />
5. คดีอื่น ๆ ที่น่ำสนใจ 283 63 63<br />
ที่มำ : ต ารวจภูธร<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> (ข้อมูล ณ 16 ตุลาคม 2555)<br />
16<br />
จ ำนวนผู้กระท ำ<br />
ควำมผิด (รำย)
การส ารวจสถานการณ์ความรุนแรง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี <strong>2556</strong><br />
จากตารางสถิติคดี และการจับกุมผู้กระท าความผิดในแต่ละกลุ่มคดี ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2554<br />
ถึง เดือนกันยายน 2555 พบว่า คดีที่เกิดขึ้นเป็นอันดับหนึ่งได้แก่ คดีที่รัฐเป็นเสียหาย จ านวน 3,523 คดี<br />
รองลงมาได้แก่ คดีประทุษร้ายต่อทรัพย์ จ านวน 407 คดี คดีอื่น ๆ ที่น่าสนใจ จ านวน 283 คดี ตามล าดับ<br />
ตารางที่ 2-5 สถิติการจับกุมคดียาเสพติด ตุลาคม 2554 - กันยายน 2555<br />
ประเภท จ ำนวนคดียำเสพติด (คดี)<br />
จ ำนวนผู้ต้องหำคดียำเสพติด<br />
(รำย)<br />
1. ยำบ้ำ 2,587 2,772<br />
2. กัญชำ 37 38<br />
3. สำรระเหย 15 15<br />
4. กระท่อม 5 5<br />
5. ยำอี 0 0<br />
6. เคตำมีน 1 1<br />
7. ไอซ์ 137 166<br />
8. อื่นๆ 18 20<br />
รวม 2,800 3,017<br />
ที่มำ : ต ารวจภูธร<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> (ข้อมูล ณ 16 ตุลาคม 2555)<br />
จากตารางสถิติการจับกุมคดียาเสพติด ตุลาคม 2554 - กันยายน 2555 พบว่า คดียาเสพติดที่<br />
เกิดขึ้นมีจ านวน 2,800 คดี จ าแนกตามประเภทของยาเสพติด พบว่า ยาบ้า เป็นอันดับหนึ่ง จ านวน 2,587 คดี<br />
รองลงมา ไอซ์ จ านวน 137 คดี และ กัญชา จ านวน 37 คดี<br />
2. ด้ำนกำรมีงำนท ำและรำยได้<br />
จากข้อมูลส ารวจสถานการณ์แรงงาน<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี 2554 พบว่า<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong>มี<br />
จ านวนประชากรรวมทั้งสิ้น 554,887 คน เป็นผู้ที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไป 443,521 คน คิดเป็นร้อยละ<br />
79.93 ของประชากรรวม แยกเป็น ผู้ที่อยู่ในก าลังแรงงาน รวม 317,087 คน คิดเป็นร้อยละ 57.14<br />
และเป็นผู้ที่ไม่อยู่ในก าลังแรงงาน 126,434 คน คิดเป็นร้อยละ 22.79 ส่วนผู้ที่มีอายุ ต่ ากว่า 15 ปี<br />
จ านวน 111,367 คน คิดเป็นร้อยละ 20.07<br />
ภำวกำรณ์มีกำรท ำของประชำกร พบว่า ผู้มีงานท าส่วนใหญ่ คือ ประมาณร้อยละ 40.64<br />
หรือประมาณ 127,088 คน เป็นผู้ปฏิบัติงานที่มีฝีมือในด้านการเกษตรและการประมง รองลงมาคือ<br />
พนักงานบริการและพนักงานในร้านค้าและตลาด มีประมาณ 53,467 คน คิดเป็นร้อยละ 17.10 และ<br />
มีอาชีพขั้นพื้นฐานต่างๆ ในด้านการขายและการบริการมีประมาณ 47,892 คน คิดเป็นร้อยละ 15.31<br />
ผู้ปฏิบัติงานด้านความสามารถทางฝีมือ และธุรกิจอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง มีประมาณ 32,903 คน คิดเป็น<br />
ร้อยละ 10.52 นอกจากนั้นประกอบอาชีพอื่นๆ<br />
ภำวกำรณ์ว่ำงงำนของประชำกร พบว่า ประชากรของ<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ที่ว่างงาน<br />
มีประมาณ 3,277 คน เป็นชาย 1,123 คน และหญิง 2,154 คน คิดเป็นร้อยละ 34.27 และ 65.73<br />
ของผู้ว่างงาน<br />
17
การส ารวจสถานการณ์ความรุนแรง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี <strong>2556</strong><br />
เมื่อเปรียบเทียบสถานภาพแรงงาน พ.ศ.2553 และ พ.ศ.2554 เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบ<br />
สถานภาพแรงงาน ระหว่าง พ.ศ.2553 และ พ.ศ.2554 พบว่า ใน พ.ศ. 2554 มีจ านวนประชากร<br />
เพิ่มขึ้นประมาณ 5,794 คน ภาวะผู้อยู่ในก าลังแรงงาน พบว่า พ.ศ.2554 จ านวนผู้มีงานท ามีสัดส่วน<br />
เพิ่มขึ้นเล็กน้อย จากร้อยละ 56.32 ในปี 2553 เป็นร้อยละ 56.36 และผู้ว่างงานลดลงจากร้อยละ<br />
0.92 ใน พ.ศ.2553 เหลือร้อยละ 0.59 ใน พ.ศ.2554<br />
4. ด้ำนกำรศึกษำ<br />
<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> มีหน่วยงานรับผิดชอบจัดการศึกษาทั้ง 3 รูปแบบ คือ การศึกษาในระบบ<br />
การศึกษานอกระบบ และการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย ซึ่งเป็นไปตามพระราชบัญญัติการศึกษา<br />
แห่งชาติ พ.ศ.2542 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 แบ่งเขตพื้นที่การศึกษาออกเป็น 2 เขต<br />
ดังนี้<br />
เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระแก้ว เขต 1 ได้แก่ อ าเภอเมืองสระแก้ว อ าเภอคลอง<br />
หาด อ าเภอเขาฉกรรจ์ อ าเภอวังน้ าเย็น และอ าเภอวังสมบูรณ์<br />
เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระแก้ว เขต 2 ได้แก่ อ าเภอตาพระยา อ าเภออรัญ<br />
ประเทศ อ าเภอวัฒนานคร และอ าเภอโคกสูง ในปีการศึกษา 2555 <strong>จังหวัดสระแก้ว</strong><br />
โดยทั้ง 2 เขตพื้นที่การศึกษา มีสถานศึกษารวมทั้งสิ้น 331 แห่ง มีครู/อาจารย์ 4,993 คน<br />
และนักเรียน นักศึกษา 106,513 คน อัตราส่วนครู/อาจารย์ต่อนักเรียน นักศึกษา เป็น 1 : 21<br />
5. ด้ำนสำธำรณสุข<br />
ในปี 2555 <strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> มีจ านวนสถานพยาบาลแผนปัจจุบันในสังกัดกระทรวง<br />
สาธารณสุขที่มีเตียงรับผู้ป่วยค้างคืนทั้งสิ้น 7 แห่ง มีจ านวนเตียง 699 เตียง และมีจ านวนโรงพยาบาล<br />
ที่ไม่ได้สังกัดกระทรวงสาธารณสุข ซึ่งเป็นโรงพยาบาลเฉพาะทางจ านวน ๒ แห่ง ได้แก่ โรงพยาบาล<br />
จิตเวช อ าเภอวัฒนานคร และโรงพยาบาลค่ายสุรสิงหนาท อ าเภออรัญประเทศ<br />
ส่วนบุคลากรทางสาธารณสุขที่ส าคัญคือ แพทย์และพยาบาล มีจ านวนดังนี้<br />
แพทย์ 59 คน อัตราส่วน แพทย์ : ประชากร เท่ากับ 1 : 7,431<br />
พยาบาล 736 คน อัตราส่วน พยาบาล : ประชากร เท่ากับ 1 : 827<br />
6. ด้ำนทรัพยำกรธรรมชำติและสิ่งแวดล้อม<br />
ปัญหำด้ำนน้ ำเสียชุมชนและมลพิษทำงน้ ำ จากสถิติข้อมูลการร้องเรียนของส านักงาน<br />
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี 2550-2554 พบว่า มีเรื่องร้องเรียนทั้งหมด 43<br />
ครั้ง เป็นเรื่องร้องเรียนด้านมลพิษทางน้ า 24 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 56 ของเรื่องร้องเรียนทั้งหมด<br />
ปัญหำด้ำนขยะมูลฝอยชุมชน <strong>จังหวัดสระแก้ว</strong>มีปริมาณขยะเกิดขึ้นประมาณ 280.47<br />
ตัน/วัน ปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นมากที่สุด ได้แก่ เทศบาลเมืองอรัญประเทศ รองลงมา ได้แก่<br />
เทศบาลเมืองสระแก้ว และเทศบาลเมืองวังน้ าเย็น ตามล าดับ<br />
ปัญหำด้ำนมลพิษทำงอำกำศและเสียง มลพิษทางอากาศเป็นปัญหาที่เกิดขึ้นเฉพาะบาง<br />
จุดที่เป็นชุมชนหนาแน่น บริเวณริมถนนและบริเวณใกล้เคียงโรงงานอุตสาหกรรมและสถาน<br />
ประกอบการหรือโรงงานที่มีการเผาไหม้ของเชื้อเพลิง หรือกิจกรรมที่ก่อให้เกิดการระเหยของสารเคมี<br />
กลิ่นเหม็น รวมถึงการเผาขยะของชาวบ้าน<br />
18
การส ารวจสถานการณ์ความรุนแรง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี <strong>2556</strong><br />
ส าหรับมลพิษทางเสียง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong>ยังไม่มีข้อมูลการตรวจวัดระดับเสียงเฉลี่ยเพื่อให้<br />
ทราบถึงสถานการณ์มลพิษทางเสียงโดยทั่วไปในพื้นที่<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> แต่อย่างไรก็ตาม มลพิษทาง<br />
เสียงหรือเหตุเดือดร้อนร าคาญจากแหล่งที่ก่อให้เกิดมลพิษทางเสียงต่างๆในพื้นที่<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong>ยังถือ<br />
ว่าไม่มีความรุนแรงแต่อย่างใด<br />
5. เอกสำรงำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง<br />
ปัญชลี โชติคุต (2541) ได้ศึกษาเรื่อง การใช้ความรุนแรงต่อคู่สมรส จากกลุ่มตัวอย่าง<br />
บุคลากรซึ่งสมรสแล้วของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ทั้งหมดจ านวน 321 ปรากฏว่ามีผู้ที่ใช้ความรุนแรง<br />
ต่อคู่สมรส จ านวน 255 คนแบ่งเป็นชาย 108 คน หญิง 147 คน รูปแบบการใช้ความรุนแรง แบ่งเป็น<br />
1. การท า ร้ายทางจิตใจ ใช้รูปแบบ นิ่งเฉยเอาหูทวนลม ออกจากห้อง/บ้าน ร้องไห้ ใช้<br />
เสียงข่มขู่ เถียงเสียงดัง พูดประชด พูดดูถูกเหยียดหยาม ด่าว่า และร้องไห้<br />
2. การมุ่งท าร้ายทางร่างกาย พูดขู่อาฆาต ขู่จะตี จะขว้างสิ่งของใส่ ทับ และ การท าลาย<br />
สิ่งของ<br />
3. การท าร้ายทางร่างกาย ขว้างสิ่งของใส่ ผลัก ฉุดกระชาก ตบตี เตะ ชกต่อย บีบคอ<br />
พยายามจะตีด้วยวัตถุ ขู่จะท า ร้ายด้วยอาวุธ<br />
ผลของการศึกษาพบว่า เมื่อเปรียบเทียบการใช้ความรุนแรงระหว่างเพศชายกับเพศหญิง<br />
แล้ว ส่วนใหญ่รูปแบบที่เพศหญิงใช้จะเป็นการท าร้ายทางจิตใจ พบว่าเพศหญิงเข้าท าร้ายคู่สมรสโดย<br />
ไม่มีการใช้อาวุธเลย แต่ว่าพบว่าเพศชายซึ่งมีความแข็งแกร่งกว่า กลับใช้ทั้งร่างกายและวัตถุต่างๆ<br />
เป็นอาวุธในการท าร้ายคู่สมรส<br />
บุศรินทร์ คล่องพยาบาล (2542) ได้ศึกษาเรื่อง ความรุนแรงในครอบครัว: ปัจจัยที่มี<br />
ความสัมพันธ์กับการถูกกระท าร้ายของภรรยาในเขตอ าเภอเมือง <strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> เก็บข้อมูลแบบ<br />
สัมภาษณ์ จากภรรยาที่อยู่อ าเภอเมือง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> จ านวน 337 คน ผลการศึกษาพบว่า<br />
ปัจจัยพื้นฐานของภรรยา อันเป็นเหตุให้เกิดความรุนแรงถูกท าร้ายจากสามี ได้แก่ อายุ การศึกษา<br />
การใช้เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ การเล่นการพนัน และพบว่าภรรยาถูกท าร้ายทางจิตใจมากกว่าทาง<br />
ร่างกาย ปัจจัยพื้นฐานที่สามีท าร้ายภรรยามาจาก อายุ ระดับการศึกษา การประกอบอาชีพแรงงาน<br />
รายได้ปานกลาง ใช้เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ เล่นการพนัน การเผชิญกับปัญหา วิธีจัดการกับอารมณ์<br />
ท าร้ายด้วยส่วนต่าง ๆ ของร่างกายมากกว่าอาวุธ<br />
กฤตยา อาชวนิจกุลและคณะ (2543) ได้ศึกษาเรื่อง ความรุนแรงต่อผู้หญิงในชีวิตคู่ ขนาด<br />
ของปัญหาผลกระทบต่อสุขภาพและทางออก โดยเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ เชิงปริมาณและสนทนากลุ่ม<br />
บุคคล จ านวน 2,078 คน ในพื้นที่กรุงเทพมหานครและจังหวัดนครสวรรค์ ในการวิจัยครั้งนี้มีข้อเสนอ<br />
เชิงนโยบายต่อรัฐและต่อสาธารณชน คือ นอกจากความรุนแรงต่อผู้หญิงในชีวิตคู่จะเป็นการละเมิด<br />
สิทธิทางร่างกายและจิตใจแล้ว ยังเป็นปัญหาทางด้านสาธารณสุขที่ส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพของ<br />
สังคม โดยรวมอีกด้วย ในสังคมควรตระหนักถึงความส าคัญของการป้องกันและแก้ไขโดยมีข้อเสนอ<br />
การแก้ไขดังนี้ มาตรการระยะสั้น ได้แก่ รณรงค์เพื่อให้กลไกด้านต่าง ๆ เครือข่ายภาครัฐและเอกชน<br />
ร่วมสร้างรักและสันติในชุมชนที่ตนเองอาศัยอยู่ จัดอบรมต ารวจและเจ้าหน้าที่ในกระบวนการยุติธรรม<br />
อื่น ๆ ให้มีทักษะในการจัดการคดีความรุนแรงที่มีต่อเด็กและผู้หญิง สร้างระบบการให้ค าปรึกษา<br />
19
การส ารวจสถานการณ์ความรุนแรง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี <strong>2556</strong><br />
ทักษะชีวิตก่อนมีชีวิตคู่ให้เป็นจริงหรือค าปรึกษาด้านอื่น ๆ มาตรการระยะยาวได้แก่ รัฐต้องประกาศ<br />
นโยบาย การยุติความรุนแรงต่อผู้หญิง เป็นวาระส าคัญของชาติ เพื่อแก้ปัญหารากเหง้าของความ<br />
รุนแรง และเริ่มเสริมสร้างรัฐไทยให้เป็นสังคมที่ปลอดความรุนแรงทุกประเภทให้จัดตั้งหน่วยงานของ<br />
รัฐขึ้นใหม่ที่ให้บริการแก่ผู้หญิง และเด็กที่ประสบปัญหาความรุนแรงต่างๆ<br />
สุวรรณา จารุทัศนีย์ (2544) ศึกษาเรื่อง มาตรการทางกฎหมายเพื่อคุ้มครองและป้องกัน<br />
หญิงที่ถูกสามีท า ร้าย : ศึกษาเปรียบเทียบกับกฎหมายต่างประเทศ โดยการวิจัยเอกสาร พบว่า<br />
สาเหตุที่สามีท า ร้ายภริยาเป็นผลจากวัฒนธรรมชายเป็นใหญ่ที่สะท้อนอยู่ในระบบกฎหมายโรมัน<br />
อังกฤษสหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย และกฎหมายตราสามดวงของไทย ซึ่งให้สิทธิสามีมีอ านาจเด็ดขาด<br />
เหนือชีวิตและร่างกายของภริยา โดยภริยาถือเป็นส่วนหนึ่งแห่งกองทรัพย์สิน ไม่มีสิทธิในร่างกายของ<br />
ตนเองการศึกษาเปรียบเทียบกฎหมายที่คุ้มครองปกป้องสิทธิของภริยาที่ถูกท า ร้ายในสามประเทศ<br />
คืออังกฤษ สหรัฐอเมริกา และ ออสเตรเลีย พบว่า ยังมีข้อโต้เถียงกันว่าการจัดการกับความรุนแรงใน<br />
ครอบครัวควรใช้มาตรการที่มีความยืดหยุ่นกว่ามาตรการทางอาญา เพื่อให้ผู้กระท าผิดมีโอกาสได้รับ<br />
การแก้ไขปรับปรุงพฤติกรรม หรือควรจะต้องใช้มาตรการทางอาญาที่เคร่งครัด เพื่อให้ผู้กระท าผิด<br />
ส านึกถึงความร้ายแรง ยอมรับการกระท า ของตน ทั้งนี้ประเทศทั้งสามมีการใช้มาตรการทั้งทางแพ่ง<br />
เช่น การแยกกันอยู่ต่างหากเป็นการชั่วคราว การออกค า สั่งคุ้มครอง ใช้มาตรการทางอาญา เช่น<br />
การปรับ การคุมประพฤติ การจ า คุก ส า หรับประเทศไทยนั้น มีประมวลกฎหมายอาญาเป็นพื้นฐาน<br />
เช่น การชะลอฟ้องในขั้นอัยการ ซึ่งเป็นมาตรการที่ใช้แทนการด า เนินคดีอาญา (Diversion)<br />
ข้อสังเกตคือ มาตรการนี้อาจไม่เหมาะในกรณีที่มีการท า ร้ายกันรุนแรง หรือหลังขั้นตอนการพิจารณา<br />
คดีในศาลมีมาตรการการคุมประพฤติหรือมาตรการเพื่อความปลอดภัย แต่กลับพบว่ามาตรการเหล่านี้<br />
มีการน ามาใช้น้อยมาก<br />
ภูรวัจน์ อินทร์ตุ้ม (2548) ศึกษาวิจัยเรื่อง ศักยภาพของชุมชนชนบทในการจัดการปัญหา<br />
ด้านสุขภาพอนามัย ผลการวิจัยพบว่า โครงสร้างทางสังคมของชุมชนที่มีความล้มพันธ์ทันในระดับ<br />
ครอบครัวเครือญาติ เพื่อนบ้าน องค์กรชุมชนและเครือข่ายการเรียนรู้ทั้งในและนอกชุมชน มีผลต่อ<br />
สภาพการจัดการด้านสุขภาพอนามัยของชุมชน ไนด้านการขวยเหลือ เกื้อกูล การดูแลยามเจ็บป่วย<br />
ให้ค าปรึกษา การตัดสินใจการให้ก าลังใจ การรวมกลุ่มเพื่อแก้ปัญหาและการประสานความ ช่วยเหลือ<br />
จากภายนอกชุมชน เพื่อจัดการปัญหาด้านสุขภาพอนามัยชองชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ คนใน<br />
ชุมชนมีรูปแบบ ความคิด ความเชื่อในการจัดการด้านสุขภาพอนามัยทั้งในภาวะ ปกติและขณะ<br />
เจ็บป่วย ในภาวะปกติโดยปฏิบัติในรูปแบบของการส่งเสริมสุขภาพและการป้องกัน โรค ขณะเจ็บป่วย<br />
มีการปฏิบัติตนในรูปแบบต่าง ๆ ได้แก่ การปล่อยให้หายเองโดยไม่ใช้ยา การรักษาด้วยยาทั้งแผน<br />
ปัจจุบันและแผนโบราณ การใช้สมุนไพร การไปพบเจ้าหน้าที่สาธารณสุข<br />
การรักษาด้วยพิธีกรรม ไสยศาสตร์และความเชื่อต่าง ๆ การตัดสินใจเลือกปฏิบัติขึ้นอยู่กับ<br />
ประสบการณ์ความเชื่อ ความศรัทธา ทั้งนี้เพื่อให้ตนเองและบุคคลรอบข้างมีสุขภาพที่ดี<br />
ชุมชนมีกลไกทางสังคม ได้แก่ ผู้น า สถาบันหลักในชุมชน องค์กรชุมชนและ ภูมิปัญญา<br />
พื้นบ้านด้านต่าง ๆ ท าให้ชุมชนมีการช่วยเหลือพึ่งพาและร่วมมือกันแก้ไขปัญหาของครอบครัว ชุมชน<br />
โดยมีเงื่อนไขที่สนับสนุนการจัดการด้านสุขภาพอนามัย ได้แก่ เครือข่ายทางลังคม เครือข่ายการเรียนรู้<br />
ความเอื้ออาทร ประเพณีวัฒนธรรม ภาวะผู้น า การมีส่วนร่วมของชุมชน และประชาสังคม ที่ช่วยให้<br />
20
การส ารวจสถานการณ์ความรุนแรง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี <strong>2556</strong><br />
มีการให้ค าปรึกษา การแนะน า การถ่ายทอด การแลกเปลี่ยน ประสบการณ์และการรวมตัวกันเพื่อ<br />
แก้ไขปัญหาด้านสุขภาพอนามัยของชุมชนชุมชนมีศักยภาพในการจัดการปัญหาด้านสุขภาพอนามัย<br />
เพราะชุมชนมีทรัพยากร บุคคลซึ่งเป็นกลไกทางสังคม เช่น ผู้น า กลุ่ม/องค์กร ภูมิปัญญาชุมชนที่จะ<br />
แสดงบทบาทของตนเพื่อแก้ไขปัญหา<br />
บุญเลิศ ธงสะอาดและสมศักดิ์ บุญชุบ (2551) ศึกษาเรื่อง “รูปแบบความเป็นสถาบัน<br />
ครอบครัวที่เข้มแข็งและยั่งยืน : กรณีศึกษา 3 ชุมชนในจังหวัดอุบลราชธานี” พบว่า รูปแบบความเป็น<br />
สถาบันครอบครัวที่เข้มแข็งและยั่งยืนในชุมชน 3 แห่งมีลักษณะที่เหมือนกัน คือ (1) มีโครงสร้างทาง<br />
ครอบครัวขนาดใหญ่ มีหลายวัยมีอิสระในการเลือกคู่ครอง การเลือกที่อยู่อาศัย มีการสืบทอดมรดก<br />
และสืบทอดวงศ์สกุล (2) มีความมั่นคงทางอาชีพรายได้ในการด ารงชีวิต (3) ครอบครัวมีความสัมพันธ์<br />
ที่ดีต่อกัน (4) มีการใช้อ านาจในการแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ในครอบครัวร่วมกัน (5) มีการอบรมเลี้ยงดู<br />
และขัดเกลาสมาชิกในครอบครัวให้คนดี (6) มีการเอาใจใส่ดูแลสุขภาวะของสมาชิกในครอบครัว (7)<br />
การสืบทอดสถาบันครอบครัวในอนาคต<br />
ปัจจัยที่ท าให้สถาบันครอบครัวที่เข้มแข็งและยั่งยืนของชุมชน เกิดจากการมีที่อยู่อาศัยที่<br />
เป็นของตนเองและมั่นคง มีเศรษฐกิจที่ดีครอบครัวทุกคนมีโอกาสทางการศึกษาที่ดีและเท่าเทียมกัน<br />
ครอบครัวยึดหลักศาสนาและเชื่อมั่นในการส่งเสริมจริยธรรมและคุณธรรมในการด าเนินชีวิต มีการ<br />
สาธารณสุขที่สมาชิกในครอบครัวรู้จักดูแลตนเอง ครอบครัวมีภาษาถิ่นและการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี<br />
สื่อสารท้องถิ่นที่สามารถน าไปใช้ในครอบครัวสมัยใหม่อย่างรู้เท่าทันครอบครัวมีกิจกรรมนันทนาการ<br />
ร่วมกัน มีระบบการเมืองท้องถิ่นและกฎหมายที่มีความยุติธรรมในชุมชน และปัจจัยอื่น ๆ เช่น มีผู้น า<br />
ชุมชนที่เสียสละและสมาชิกในครอบครัวมีความซื่อสัตย์<br />
ปัญหาและอุปสรรคที่ท าให้ครอบครัวขาดความเข้มแข็ง คือ ปัญหาที่มีผลกระทบมาจาก<br />
การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมและทางเศรษฐกิจ เช่น รายได้น้อย ความยากจน ยาเสพติด<br />
การไม่ไว้วางใจกันและกันในครอบครัว การพนัน หนี้สินปัญหาทางการเกษตร เช่น การใช้ปุ๋ยเคมี<br />
มีผลกระทบต่อดิน น้ า สัตว์ต่าง ๆ ปัญหาเด็กและเยาวชนที่ก้าวร้าวและสอนยาก โรคภัยที่น่ากลัวและ<br />
รักษายากขึ้นล้วนเป็นตัวบั่นทอนให้สถาบันครอบครัวอ่อนแอลง<br />
แนวทางที่จะสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีแก่สถาบันครอบครัว คือ ครอบครัวมีส่วนร่วมในการเรียนรู้<br />
และมีกิจกรรมร่วมกันและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ปัญหากันปละกันในชุมชน จนกระทั่งเกิดเป็นโครงการ<br />
สร้างภูมิคุ้มกันให้แก่สถาบันครอบครัวในชุมชนขึ้น ผลการด าเนินการตามโครงการท าให้ครอบครัว<br />
มีกิจกรรมร่วมกันในชุมชนเป็นบทเรียนที่จะสร้างทักษะให้เกิดการเรียนรู้แก่สถาบันครอบครัวให้<br />
สามารถป้องกันและแก้ไขปัญหาทางครอบครัวด้วยตนเองและน าไปสู่การสืบทอดและการด ารงอยู่ใน<br />
รูปแบบสถาบันครอบครัวที่เข้มแข็งและยั่งยืนสืบไป<br />
21
การส ารวจสถานการณ์ความรุนแรง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี <strong>2556</strong><br />
6. กรอบแนวคิดในกำรวิจัย<br />
การส ารวจสถานการณ์ความรุนแรง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี <strong>2556</strong> ครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ<br />
ส ารวจสถานการณ์ความรุนแรงต่อเด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ ผู้ด้อยโอกาสและศึกษารูปแบบใน<br />
การป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงของชุมชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong><br />
ตลอดจน ศึกษาข้อเสนอเชิงนโยบายในการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงของ<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong><br />
ในครั้งนี้ ผู้วิจัยได้น าแนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับความรุนแรง สถานการณ์ความรุนแรง และนโยบาย<br />
ด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรง รวมทั้งผลการศึกษางานวิจัยที่เกี่ยวข้อง มาเป็นแนวทาง<br />
ในการศึกษา โดยได้ก าหนดกรอบแนวคิดในการศึกษาดังนี้<br />
สถำนกำรณ์ควำมรุนแรง<br />
ความรุนแรงในครอบครัว<br />
ความรุนแรงในครอบครัวของ<br />
คนในชุมชนและความรุนแรง<br />
ในชุมชน<br />
ความรุนแรงในที่ท างาน<br />
ข้อเสนอเชิงนโยบายในการป้องกันและ<br />
แก้ไขปัญหาความรุนแรงของจังหวัด<br />
สระแก้ว<br />
รูปแบบการป้องกันและแก้ไขปัญหา<br />
ความรุนแรงของชุมชนและองค์กร<br />
ปกครองส่วนท้องถิ่น<br />
ภำพที่ 2-1 กรอบแนวคิดในการวิจัย<br />
22
การส ารวจสถานการณ์ความรุนแรง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี <strong>2556</strong><br />
บทที่ 3<br />
วิธีกำรด ำเนินกำรวิจัย<br />
การวิจัยเรื่องการส ารวจสถานการณ์ความรุนแรง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี <strong>2556</strong> ครั้งนี้ มี<br />
วัตถุประสงค์เพื่อส ารวจสถานการณ์ความรุนแรงต่อเด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ ผู้ด้อยโอกาสและ<br />
ศึกษารูปแบบในการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงของชุมชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น<br />
<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ตลอดจน ศึกษาข้อเสนอเชิงนโยบายในการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงของ<br />
<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong>คณะผู้วิจัยได้ก าหนดวิธีการด าเนินการวิจัยทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ โดยมี<br />
รายละเอียดดังนี้<br />
ประชำกรและกลุ่มตัวอย่ำง<br />
การวิจัยครั้งนี้ผู้วิจัยได้ท าการก าหนดประชากรและกลุ่มตัวอย่าง เป็น 2 กลุ่มได้แก่การวิจัย<br />
เชิงปริมาณ ประชากรและกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยคือ ประชาชนในพื้นที่<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong><br />
ครอบคลุมพื้นที่ 9 อ าเภอ 58 ต าบล จ านวนประชากรทั้งหมด 546,782 คน (สถิติข้อมูล: ส านักงาน<br />
ปกครอง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> มิถุนายน พ.ศ.2555) เพื่อส ารวจสถานการณ์ความรุนแรงต่อเด็ก เยาวชน<br />
สตรี ผู้สูงอายุ ผู้ด้อยโอกาสใน<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> โดยท าการก าหนดกลุ่มตัวอย่างด้วยการค านวณตาม<br />
สูตรของทาโร่ยามาเน่ (Taro Yamane) ที่ระดับความเชื่อมั่นในการเลือกตัวอย่าง 95% เมื่อก าหนด<br />
ระดับความคลาดเคลื่อน + 2% ดังนี้<br />
N<br />
1<br />
Ne<br />
n =<br />
2<br />
N = ขนาดของประชากรทั้งหมด<br />
n = ขนาดของกลุ่มตัวอย่าง<br />
e = ความคลาดเคลื่อนของการสุ่มตัวอย่างที่ระดับ 0.05<br />
น าจ านวนประชากรมาแทนค่าในสูตร ดังนี้<br />
= 546,782<br />
1+546,782 (0.02 2 )<br />
= 2,488.62 2,489 ตัวอย่าง<br />
23
การส ารวจสถานการณ์ความรุนแรง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี <strong>2556</strong><br />
จากการก าหนดกลุ่มตัวอย่างข้างต้น ได้กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการเก็บข้อมูล 2,489 ตัวอย่าง<br />
ซึ่งเป็นกลุ่มตัวอย่างขั้นต่ า เพื่อให้การเก็บข้อมูลครอบคลุมพื้นที่ทั้ง 58 ต าบลของ<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong>และ<br />
สะดวกในการจัดเก็บและวิเคราะห์ข้อมูล คณะผู้วิจัยจึงก าหนดกลุ่มตัวอย่างที่ 2,900 ตัวอย่าง โดยได้<br />
ท าเลือกกลุ่มตัวอย่างจากประชากรทั้งหมดโดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive<br />
Sampling) กลุ่มเด็กและเยาวชน กลุ่มผู้ที่มีงานท า และกลุ่มผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส โดยใช้<br />
วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบโควตา (Quota Sampling) ดังนี้<br />
- กลุ่มเด็กและเยาวชน 10 ตัวอย่าง<br />
- กลุ่มผู้ที่มีงานท า 30 ตัวอย่าง<br />
- กลุ่มผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส 10 ตัวอย่าง<br />
ซึ่งในการเก็บข้อมูลครั้งนี้ท าการเก็บข้อมูลทั้งหมด 58 ต าบล ของ<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> รวมกลุ่ม<br />
ตัวอย่างทั้งสิ้น 2,900 ตัวอย่าง ดังตารางที่ 1<br />
ตำรำงที่ 3-1 จ านวนกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการเก็บข้อมูลจ าแนกตาม 9 อ าเภอ<br />
อ ำเภอ จ ำนวนต ำบล กลุ่มตัวอย่ำง รวม<br />
1.เมืองสระแก้ว 8 50 400<br />
2.เขำฉกรรจ์ 4 50 200<br />
3.วังน้ ำเย็น 4 50 200<br />
4.วังสมบูรณ์ 3 50 150<br />
5.คลองหำด 7 50 350<br />
6.วัฒนำนคร 11 50 550<br />
7.อรัญประเทศ 12 50 600<br />
8.โคกสูง 4 50 200<br />
9.ตำพระยำ 5 50 250<br />
รวมทั้งหมด 58 450 2,900<br />
1. การวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มผู้ให้ข้อมูลส าคัญ (Key Informant)ที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่<br />
ผู้มีที่ส่วนเกี่ยวข้องและมีประสบการณ์ในการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงของชุมชนและ<br />
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> โดยใช้วิธีการสุ่มแบบเจาะจง(Purposive Sampling) ผู้มี<br />
ส่วนเกี่ยวข้องจากชุมชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจ านวน 3 แห่ง ประกอบด้วย<br />
1) ชุมชนบ้านคลองอาราง ต.บ้านแก้ง อ.เมืองสระแก้ว จ.สระแก้ว<br />
2) องค์การบริหารส่วนต าบลพระเพลิง อ.เขาฉกรรจ์ จ.สระแก้ว<br />
3) องค์การบริหารส่วนต าบลทับพริก อ.อรัญประเทศ จ.สระแก้ว<br />
24
การส ารวจสถานการณ์ความรุนแรง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี <strong>2556</strong><br />
เครื่องมือที่ใช้ในกำรรวบรวมข้อมูล<br />
เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย<br />
1. เครื่องที่ใช้ในการวิจัยเชิงปริมาณ คือ แบบส ารวจข้อมูลสถานการณ์ความรุนแรง ปี <strong>2556</strong><br />
ของศูนย์เฝ้าระวังและเตือนภัยทางสังคม ส านักงานมาตรฐานการพัฒนาและความมั่นคงของมนุษย์<br />
ส านักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ โดยแบบส ารวจแบ่งออกเป็น 2<br />
ส่วนดังนี้<br />
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม เป็นแบบสอบถามแบบเลือกตอบ ได้แก่<br />
เพศ อายุ ระดับการศึกษา สถานภาพสมรส การท างาน/อาชีพ จ านวน 5 ข้อ<br />
ส่วนที่ 2 ข้อมูลเกี่ยวกับความรุนแรง เป็นแบบสอบถามแบบเลือกตอบ จ านวน 49 ข้อ<br />
2. เครื่องที่ใช้ในการวิจัยเชิงคุณภาพ ได้แก่<br />
2.1 การสัมภาษณ์(Interview) ผู้ให้ข้อมูลส าคัญกับผู้มีที่ส่วนเกี่ยวข้องและมี<br />
ประสบการณ์ในการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงของชุมชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น<br />
<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ประกอบด้วย นายกองค์การบริหารส่วนต าบล ปลัดองค์การบริหารส่วนต าบล และผู้<br />
บ้านใหญ่บ้าน<br />
2.2 การจัดสนทนากลุ่ม (Focus Group) ในส่วนของคณะกรรมการศูนย์ประสานงาน<br />
เครือข่ายองค์กรชุมชน และคณะกรรมชุมชนผู้มีที่ส่วนเกี่ยวข้องและมีประสบการณ์ในการป้องกันและ<br />
แก้ไขปัญหาความรุนแรงของชุมชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong><br />
กำรเก็บรวบรวมข้อมูล<br />
การวิจัยครั้งนี้คณะผู้วิจัยได้ท าการเก็บรวบรวมข้อมูลจากแบบส ารวจข้อมูลสถานการณ์<br />
ความรุนแรง ปี <strong>2556</strong> ระหว่างเดือนมิถุนายน ถึง กรกฎาคม <strong>2556</strong> โดยทีมงานคณะผู้วิจัยลงเก็บข้อมูล<br />
ในพื้นที่ทั้ง 58 ต าบลของ<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ซึ่งสามารถจัดเก็บข้อมูลได้ 2,720 ชุดคิดเป็นร้อยละ 93.79<br />
ของแบบสอบถามทั้งหมด และตรวจสอบความถูกต้องของแบบส ารวจก่อนน าไปใช้ในการวิเคราะห์<br />
ข้อมูลต่อไป<br />
ส่วนการสัมภาษณ์และสนทนากลุ่ม คณะผู้วิจัยได้ท าการสัมภาษณ์ข้อมูลจากผู้มีส่วน<br />
เกี่ยวข้องจากชุมชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจ านวน 3 แห่งในเดือนกรกฎาคม <strong>2556</strong><br />
กำรวิเครำะห์ข้อมูล<br />
ในการด าเนินการวิจัยในครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ก าหนดวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลดังนี้<br />
1. การวิจัยเชิงปริมาณ ข้อมูลจากแบบส ารวจสถานการณ์รุนแรงปี <strong>2556</strong> คณะผู้วิจัยได้<br />
ท าการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ การแจกแจงค่าความถี่ ค่าร้อยละ ส่วนของ<br />
ปลายเปิดจะใช้วิธีการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าความถี่และการจัดกลุ่มของปัญหาและข้อเสนอแนะ<br />
2. การวิจัยเชิงคุณภาพ ข้อมูลจากการสัมภาษณ์และสนทนากลุ่ม คณะผู้วิจัยได้ท าการ<br />
วิเคราะห์ข้อมูลใช้วิธีการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) ในหลายลักษณะ ประกอบด้วย<br />
25
การส ารวจสถานการณ์ความรุนแรง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี <strong>2556</strong><br />
- การวิเคราะห์ข้อมูลแบบอุปนัย (Analytic Induction) หลังจากผู้วิจัยได้เก็บรวบรวม<br />
ข้อมูลแล้ว จะสร้างข้อมูลที่เป็นข้อสรุปชั่วคราว จากนั้นจะท าการเชื่อมโยงข้อสรุปย่อยต่าง ๆ เพื่อ<br />
แสดงความสัมพันธ์และน าไปสู่ข้อสรุปที่ใหญ่ขึ้น<br />
- การวิเคราะห์ข้อมูลโดยการตีความข้อมูล (Interpretative Analysis) เป็นการ<br />
วิเคราะห์ข้อมูลโดยตีความจากข้อมูลที่มี<br />
- การวิเคราะห์ด้วยวิธีวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) แบบหน่วยบริบท<br />
(contextual unit) โดยการแบ่งรูปแบบของหัวข้อเรื่อง (Categories) ที่ท าการวิเคราะห์<br />
26
การส ารวจสถานการณ์ความรุนแรง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี <strong>2556</strong><br />
บทที่ 4<br />
ผลกำรวิจัย<br />
การวิจัยเรื่องการส ารวจสถานการณ์ความรุนแรง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี <strong>2556</strong> ครั้งนี้ มี<br />
วัตถุประสงค์เพื่อส ารวจสถานการณ์ความรุนแรงต่อเด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ ผู้ด้อยโอกาสและ<br />
ศึกษารูปแบบการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงของชุมชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น<br />
<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ตลอดจน ศึกษาข้อเสนอเชิงนโยบายในการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงของ<br />
<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> โดยได้ท าการส ารวจข้อมูลจากประชาชนใน<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong>ทั้ง 9 อ าเภอ 58 ต าบล<br />
จ านวน 2,720 คน และศึกษารูปแบบการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงของชุมชนและองค์กร<br />
ปกครองส่วนท้องถิ่น<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> จ านวน 3 แห่ง ซึ่งคณะผู้วิจัยได้น าเสนอผลการวิจัยออกเป็น 3<br />
ส่วน ดังนี้<br />
1. ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม<br />
2. ข้อมูลสถานการณ์ความรุนแรง<br />
2.1 ความรุนแรงในครอบครัว<br />
2.2 ความรุนแรงในครอบครัวของคนในชุมชนและความรุนแรงในชุมชน<br />
2.3 ความรุนแรงในที่ท างาน<br />
3. ข้อมูลการสัมภาษณ์ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงของ<br />
ชุมชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น<br />
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถำม<br />
ตำรำงที่ 4-1 จ านวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามจ าแนกตามเพศ<br />
เพศ จ ำนวน ร้อยละ<br />
ชาย 1,205 44.30<br />
หญิง 1,515 55.70<br />
รวม 2,720 100.00<br />
จากตารางที่ 4-1 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็น เพศหญิง มีจ านวนคิดเป็นร้อย<br />
ละ 55.70 รองลงมาเป็น เพศชาย มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 44.30<br />
27
การส ารวจสถานการณ์ความรุนแรง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี <strong>2556</strong><br />
ตำรำงที่ 4-2 จ านวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามจ าแนกตามอายุ<br />
อำยุ จ ำนวน ร้อยละ<br />
ต่ ากว่า 18 ปีบริบูรณ์(เด็ก) 426 15.70<br />
18 – 25 ปีบริบูรณ์(เยาวชน) 417 15.30<br />
26 – 59 ปีบริบูรณ์(วัยท างาน) 1,369 50.30<br />
60 ปีขึ้นไป 508 18.70<br />
รวม 2,720 100.00<br />
จากตารางที่ 4-2 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 26 – 59 ปีบริบูรณ์<br />
(วัยท างาน) มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 50.30 รองลงมา อายุ 60 ปีขึ้นไป มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ18.70<br />
และอายุต่ ากว่า 18 ปีบริบูรณ์(เด็ก) มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 15.70 ตามล าดับ<br />
ตำรำงที่ 4-3 จ านวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามจ าแนกตามระดับการศึกษา<br />
ระดับกำรศึกษำ จ ำนวน ร้อยละ<br />
ไม่ได้ศึกษา 225 8.30<br />
ประถมศึกษาหรือต่ ากว่า 855 31.40<br />
มัธยมต้น 487 17.90<br />
มัธยมปลาย/ ปวช. 549 20.20<br />
ปวส./อนุปริญญา 234 8.60<br />
ปริญญาตรีหรือสูงกว่า 370 13.60<br />
รวม 2,720 100.00<br />
จากตารางที่ 4-3 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ มีการศึกษาในระดับประถมศึกษาหรือ<br />
ต่ ากว่า มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 31.40 รองลงมา มีการศึกษาระดับมัธยมปลาย/ ปวช. มีจ านวน<br />
คิดเป็นร้อยละ 20.20 และการศึกษาระดับมัธยมต้น มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 17.90 ตามล าดับ<br />
ตำรำงที่ 4-4 จ านวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามจ าแนกตามสถานภาพ<br />
สถำนภำพ จ ำนวน ร้อยละ<br />
โสด 779 28.70<br />
สมรส 1,632 60.00<br />
สมรสแยกกันอยู่ 20 0.70<br />
หย่าร้าง 62 2.30<br />
หม้าย (คู่สมรสเสียชีวิต) 227 8.30<br />
รวม 2,720 100.00<br />
28
การส ารวจสถานการณ์ความรุนแรง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี <strong>2556</strong><br />
จากตารางที่ 4-4 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีสถานภาพสมรส คิดเป็นร้อยละ<br />
60.00 รองลงมา มีสถานภาพโสด คิดเป็นร้อยละ 28.70 และมีสถานภาพ หม้าย(คู่สมรสเสียชีวิต)<br />
คิดเป็นร้อยละ 8.30 ตามล าดับ<br />
ตำรำงที่ 4-5 จ านวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามจ าแนกตามอาชีพ<br />
อำชีพ จ ำนวน ร้อยละ<br />
ไม่ได้ท างาน/ไม่มีอาชีพ 514 18.90<br />
นักเรียน/นักศึกษา 590 21.70<br />
ข้าราชการ/พนักงานราชการ/รัฐวิสาหกิจ/องค์กร<br />
366 13.50<br />
มหาชน เช่น ครู อาจารย์ ทหาร งานธนาคาร การ<br />
ไฟฟ้า ฯลฯ<br />
พนักงาน/ลูกจ้างเอกชน/บริษัท เช่น งานโรงงาน<br />
424 15.60<br />
ศูนย์รถยนต์/อู่ซ่อมรถ โรงแรม สถานบริการ ห้าง/<br />
ร้านค้า ฯลฯ<br />
สมาชิกองค์การบริหารส่วนท้องถิ่น(เทศบาล<br />
230 8.40<br />
อบต.)/อาสาสมัคร(อพม.) อาสาสมัครอื่นๆ<br />
อื่นๆ เช่น (ลูกจ้างทั่วไป ท านา ท าไร่) 596 21.90<br />
รวม 2,720 100.00<br />
จากตารางที่ 4-5 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ อื่นๆ(เช่น ลูกจ้าง<br />
ทั่วไป ท านา ท าไร่) มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 21.90 รองลงมาประกอบอาชีพ นักเรียน/ นักศึกษา มี<br />
จ านวนคิดเป็นร้อยละ 21.70 และไม่ได้ท างาน/ ไม่มีอาชีพ มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 18.90 ตามล าดับ<br />
ส่วนที่ 2 ข้อมูลสถำนกำรณ์ควำมรุนแรง<br />
2.1 ควำมรุนแรงในครอบครัว<br />
ตำรำงที่ 4-6 จ านวนและร้อยละของความสัมพันธ์ของบุคคลในครอบครัวผู้ตอบแบบสอบถาม<br />
ควำมสัมพันธ์ของบุคคลในครอบครัว จ ำนวน ร้อยละ<br />
ไม่อบอุ่น 276 10.10<br />
อบอุ่น 2,444 89.90<br />
รวม 2,720 100.00<br />
จากตารางที่ 4-6 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ มีความสัมพันธ์ของบุคคลในครอบครัว<br />
อบอุ่น มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 89.90 และความสัมพันธ์ในครอบครัวไม่อบอุ่น มีจ านวนคิดเป็น<br />
ร้อยละ 10.10<br />
29
การส ารวจสถานการณ์ความรุนแรง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี <strong>2556</strong><br />
ตำรำงที่ 4-7 จ านวนและร้อยละของบุคคลในครอบครัวที่มีอารมณ์รุนแรงหรือชอบใช้ก าลัง<br />
บุคคลในครอบครัวที่มีอำรมณ์รุนแรงหรือชอบใช้ก ำลัง จ ำนวน ร้อยละ<br />
ไม่มี 2,600 95.60<br />
มี 120 4.40<br />
รวม 2,720 100.00<br />
จากตารางที่ 4-7 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ไม่มีบุคคลในครอบครัวที่มีอารมณ์รุนแรง<br />
หรือชอบใช้ก าลัง มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 95.60 และมีบุคคลในครอบครัวที่มีอารมณ์รุนแรงหรือชอบ<br />
ใช้ก าลัง มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 4.40<br />
ตำรำงที่ 4-8 จ านวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามที่เคยถูกกระท าความรุนแรงจากคนใน<br />
ครอบครัวในรอบ 1 ปี<br />
เคยถูกกระท ำควำมรุนแรงจำกคนในครอบครัวรอบ 1 ปี จ ำนวน ร้อยละ<br />
ไม่เคย 2,666 98.00<br />
เคย 54 2.00<br />
รวม 2,720 100.00<br />
จากตารางที่ 4-8 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ไม่เคยถูกกระท าความรุนแรงจากคนใน<br />
ครอบครัว มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 98.00 และเคยถูกกระท าความรุนแรงจากคนในครอบครัว มี<br />
จ านวนคิดเป็นร้อยละ 2.00<br />
ตำรำงที่ 4-9 จ านวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามที่ภายในครอบครัวมีการกระท าความ<br />
รุนแรงในรอบ 1 ปี<br />
ภำยในครอบครัวมีกำรกระท ำควำมรุนแรงในรอบ 1 ปี จ ำนวน ร้อยละ<br />
ไม่มี 2,657 97.60<br />
มี 63 2.40<br />
รวม 2,720 100.00<br />
จากตารางที่ 4-9 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ภายในครอบครัว ไม่มีการกระท าความ<br />
รุนแรง มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 97.60 และภายในครอบครัว มีการกระท าความรุนแรง มีจ านวนคิด<br />
เป็นร้อยละ 2.40<br />
30
การส ารวจสถานการณ์ความรุนแรง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี <strong>2556</strong><br />
ตำรำงที่ 4-10 จ านวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามที่ภายในครอบครัวมีการกระท าความ<br />
รุนแรงทางร่างกาย<br />
ภำยในครอบครัวมีกำรกระท ำควำมรุนแรงทำงร่ำงกำย จ ำนวน ร้อยละ<br />
ไม่มี 9 14.30<br />
มี 1 - 2 ครั้ง 35 55.60<br />
มี 3 – 5 ครั้ง 13 20.60<br />
มี 6 – 10 ครั้ง 2 3.20<br />
มีมากกว่า 10 ครั้ง 4 6.30<br />
รวม 63 100.00<br />
จากตารางที่ 4-10 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามที่ภายในครอบครัวมีการกระท าความรุนแรง<br />
ด้านร่างกาย โดยส่วนใหญ่ มีการกระท าความรุนแรงทางร่างกาย 1 - 2 ครั้ง มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ<br />
55.60 รองลงมา มีการกระท าความรุนแรงทางร่างกาย 3 - 5 ครั้ง มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 20.60 และ<br />
ไม่มีการกระท าความรุนแรงทางร่างกาย มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 14.30<br />
ตำรำงที่ 4-11 จ านวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามที่ภายในครอบครัวมีการกระท าความ<br />
รุนแรงทางจิตใจ<br />
ภำยในครอบครัวมีกำรกระท ำควำมรุนแรงทำงจิตใจ จ ำนวน ร้อยละ<br />
ไม่มี 9 14.30<br />
มี 1 - 2 ครั้ง 34 54.00<br />
มี 3 – 5 ครั้ง 11 17.50<br />
มี 6 – 10 ครั้ง 4 6.30<br />
มีมากกว่า 10 ครั้ง 5 7.90<br />
รวม 63 100.00<br />
จากตารางที่ 4-11 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามที่ภายในครอบครัวมีการกระท าความรุนแรง<br />
ทางจิตใจ โดยส่วนใหญ่ มีการกระท าความรุนแรงทางจิตใจ 1-2 ครั้ง มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ54.00<br />
รองลงมา มีการกระท าความรุนแรงทางจิตใจ 3-5 ครั้ง มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 17.50 และไม่มีการ<br />
กระท าความรุนแรงทางจิตใจ มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 14.30<br />
31
การส ารวจสถานการณ์ความรุนแรง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี <strong>2556</strong><br />
ตำรำงที่ 4-12 จ านวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามที่ภายในครอบครัวมีการกระท าความ<br />
รุนแรงทางเพศ<br />
ภำยในครอบครัวมีกำรกระท ำควำมรุนแรงทำงเพศ จ ำนวน ร้อยละ<br />
ไม่มี 52 82.60<br />
มี 1 - 2 ครั้ง 5 7.90<br />
มี 3 – 5 ครั้ง 3 4.70<br />
มี 6 – 10 ครั้ง 1 1.60<br />
มีมากกว่า 10 ครั้ง 2 3.20<br />
รวม 63 100.00<br />
จากตารางที่ 4-12 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามที่ภายในครอบครัวมีการกระท าความรุนแรง<br />
ทางเพศ โดยส่วนใหญ่ ไม่มีการกระท าความรุนแรงทางเพศ มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 82.60 รองลงมา<br />
มีการกระท าความรุนแรงทางเพศ 1 - 2 ครั้ง มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 7.90 และ มีการกระท าความ<br />
รุนแรงทางเพศ 3 - 5 ครั้ง มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 4.70<br />
ตำรำงที่ 4-13 จ านวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามในการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรง<br />
ในครอบครัว<br />
กำรป้องกันและแก้ไขปัญหำควำมรุนแรงในครอบครัว จ ำนวน ร้อยละ<br />
ไม่คิดท าอะไร 21 18.80<br />
หนีออกจากบ้าน 20 17.90<br />
ท ากิจกรรมนอกบ้าน 28 25.00<br />
กินยาคลายเครียด 16 14.30<br />
คิดหรือเคยคิดหรือเคยท าเพื่อฆ่าตัวตาย 9 8.00<br />
แจ้งต ารวจ/ขอความช่วยเหลือ 12 10.60<br />
อื่นๆ 6 5.40<br />
รวม 112 100.00<br />
จากตารางที่ 4-13 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เคยคิดหรือกระท าในการป้องกันและ<br />
แก้ไขปัญหาความรุนแรงในครอบครัว โดยส่วนใหญ่ ท ากิจกรรมนอกบ้าน มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ<br />
25.00 รองลงมา ไม่คิดท าอะไร มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 18.80 และ หนีออกจากบ้าน มีจ านวนคิด<br />
เป็นร้อยละ 17.90<br />
32
การส ารวจสถานการณ์ความรุนแรง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี <strong>2556</strong><br />
ตำรำงที่ 4-14 จ านวนและร้อยละของสาเหตุของการเกิดความรุนแรงในครอบครัว<br />
สำเหตุของกำรเกิดควำมรุนแรงในครอบครัว จ ำนวน ร้อยละ<br />
เมาสุรา 50 31.80<br />
เสพยาเสพติด 17 10.80<br />
เจ็บป่วย/สุขภาพกาย 9 5.70<br />
เครียด/สุขภาพจิต 16 10.20<br />
หึงหวง/นอกใจ 21 13.40<br />
ตกงาน/เศรษฐกิจ 26 16.60<br />
ความสัมพันธ์ในครอบครัวห่างเหิน 14 9.00<br />
อื่นๆระบุ 4 2.50<br />
รวม 157 100.00<br />
จากตารางที่ 4-14 พบว่า สาเหตุของการเกิดความรุนแรงในครอบครัวของผู้ตอบ<br />
แบบสอบถามส่วนใหญ่ เมาสุรา มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 31.80 รองลงมา ตกงาน/เศรษฐกิจ มีจ านวน<br />
คิดเป็นร้อยละ 16.60 และ หึงหวง/นอกใจ มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 13.40<br />
ตำรำงที่ 4-15 จ านวนและร้อยละของลักษณะความสัมพันธ์ของผู้กระท าและผู้ถูกกระท าในครอบครัว<br />
ลักษณะควำมสัมพันธ์ของผู้กระท ำและผู้ถูกกระท ำ จ ำนวน ร้อยละ<br />
คู่สมรส (สามีภรรยา) 20 23.50<br />
ผู้ที่อยู่กินกันฉันสามีภรรยา(ไม่ได้จดทะเบียน) 28 33.00<br />
สามีสมรสที่เป็นคู่สมรสเดิม 3 3.50<br />
ผู้ที่เคยอยู่กินกันฉันสามีภรรยา(ไม่ได้จดทะเบียน) 2 2.40<br />
บุตร บุตรบุญธรรม(เด็ก เยาวชนฯลฯ)โดยคนในครอบครัว 24 28.20<br />
ผู้สูงอายุหรือผู้พิการ ถูกกระท าโดยคนในครอบครัว 4 4.70<br />
อื่นๆ เช่น คนงาน ฯลฯ (ระบุ) 4 4.70<br />
รวม 85 100.00<br />
จากตารางที่ 4-15 พบว่า ลักษณะความสัมพันธ์ของผู้กระท าและผู้ถูกกระท าของผู้ตอบ<br />
แบบสอบถามส่วนใหญ่เป็น ผู้ที่อยู่กินกันฉันสามีภรรยา(ไม่ได้จดทะเบียน) มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ<br />
33.00 รองลงมา บุตร บุตรบุญธรรม(เด็ก เยาวชนฯลฯ)โดยคนในครอบครัว มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ<br />
28.20 และ คู่สมรส (สามีภรรยา) มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 23.50<br />
33
การส ารวจสถานการณ์ความรุนแรง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี <strong>2556</strong><br />
ตำรำงที่ 4-16 จ านวนและร้อยละผู้ถูกกระท าความรุนแรงในครอบครัวผู้ตอบแบบสอบถาม<br />
ผู้ถูกกระท ำควำมรุนแรงในครอบครัว จ ำนวน ร้อยละ<br />
เด็กหรือเยาวชน 46 43.00<br />
สตรี 48 44.90<br />
ผู้สูงอายุหรือผู้พิการ 11 10.20<br />
อื่นๆ (ระบุ) 2 1.90<br />
รวม 107 100.00<br />
จากตารางที่ 4-16 พบว่า ผู้ถูกกระท าความรุนแรงในครอบครัวของผู้ตอบแบบสอบถาม<br />
ส่วนใหญ่ คือ สตรี มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 44.90 รองลงมา เด็กหรือเยาวชน มีจ านวนคิดเป็น<br />
ร้อยละ 43.00 และ ผู้สูงอายุหรือผู้พิการ มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 10.20<br />
ตำรำงที่ 4-17 จ านวนและร้อยละความคิดเห็นของผู้ตอบแบบสอบถามหากเกิดความรุนแรงใน<br />
ครอบครัว<br />
หำกเกิดควำมรุนแรงในครอบครัว จ ำนวน ร้อยละ<br />
ไม่คิดท าอะไร 87 3.20<br />
ช่วยห้ามปราม/ไกล่เกลี่ย 1,537 56.50<br />
ขอความช่วยเหลือ/แจ้งเหตุ 385 14.20<br />
ช่วยห้ามปรามไกล่เกลี่ยและขอความช่วยเหลือ/แจ้งเหตุ 706 26.00<br />
อื่นๆ ระบุ 5 0.10<br />
รวม 2,720 100.00<br />
จากตารางที่ 4-17 พบว่า ความคิดเห็นของผู้ตอบแบบสอบถามหากเกิดความรุนแรงใน<br />
ครอบครัว โดยส่วนใหญ่ช่วยห้ามปราม/ไกล่เกลี่ยมีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 56.50 รองลงมาช่วยห้าม<br />
ปรามไกล่เกลี่ยและขอความช่วยเหลือ/แจ้งเหตุ มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 26.00 และขอความ<br />
ช่วยเหลือ/แจ้งเหตุ มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 14.20<br />
ตำรำงที่ 4-18 จ านวนและร้อยละความคิดเห็นของผู้ตอบแบบสอบถามในการขอความช่วยเหลือหรือ<br />
แจ้งเหตุหากเกิดความรุนแรงในครอบครัว<br />
กำรขอควำมช่วยเหลือหรือแจ้งเหตุหำกเกิดควำมรุนแรงใน จ ำนวน ร้อยละ<br />
ครอบครัว<br />
เพื่อนบ้าน/คนในชุมชน/อบต./เทศบาล 2,045 51.30<br />
โรงพยาบาล 245 6.10<br />
สถานีต ารวจ 1,337 33.50<br />
ส านักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด/ศูนย์<br />
347 8.70<br />
ประชาบดี 1300<br />
อื่นๆ ระบุ 14 0.40<br />
รวม 3,988 100.00<br />
34
การส ารวจสถานการณ์ความรุนแรง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี <strong>2556</strong><br />
จากตารางที่ 4-18 พบว่า การขอความช่วยเหลือหรือแจ้งเหตุหากเกิดความรุนแรงใน<br />
ครอบครัว โดยส่วนใหญ่ เพื่อนบ้าน/คนในชุมชน/อบต./เทศบาล มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 51.30<br />
รองลงมาคือ สถานีต ารวจ มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 33.50 และ ส านักงานพัฒนาสังคมและความ<br />
มั่นคงของมนุษย์จังหวัด/ศูนย์ประชาบดี 1300 มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 8.70<br />
ตำรำงที่ 4-19 จ านวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามที่ทราบถึง พ.ร.บ.คุ้มครองผู้ถูกกระท าด้วย<br />
ความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ.2550<br />
พ.ร.บ.คุ้มครองผู้ถูกกระท ำด้วยควำมรุนแรงในครอบครัว พ.ศ.2550 จ ำนวน ร้อยละ<br />
ทราบดี 158 5.80<br />
พอทราบบ้าง 640 23.50<br />
ไม่ทราบแต่สนใจ 847 31.20<br />
ไม่เคยได้ยิน ไม่สนใจ 1,075 39.50<br />
รวม 2,720 100.00<br />
จากตารางที่ 4-19 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถาม ส่วนใหญ่ ไม่เคยได้ยิน ไม่สนใจ มีจ านวน<br />
คิดเป็นร้อยละ 39.50 รองลงมา ไม่ทราบแต่สนใจ มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 31.20 และ พอทราบบ้าง<br />
มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 23.50<br />
35
การส ารวจสถานการณ์ความรุนแรง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี <strong>2556</strong><br />
2.2 ควำมรุนแรงในครอบครัวของคนในชุมชนและควำมรุนแรงในชุมชน<br />
ตำรำงที่ 4-20 จ านวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามที่ภายในชุมชนมีการกระท าความรุนแรง<br />
ในรอบ 1 ปี<br />
ภำยในชุมชนมีกำรกระท ำควำมรุนแรงในรอบ 1 ปี จ ำนวน ร้อยละ<br />
ไม่มี 2,594 95.40<br />
มี 126 4.60<br />
รวม 2,720 100.00<br />
จากตารางที่ 4-20 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ภายในชุมชนไม่มีการกระท าความ<br />
รุนแรง มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 95.40 และ ภายในชุมชนมีการกระท าความรุนแรง มีจ านวนคิดเป็น<br />
ร้อยละ 4.60<br />
ตำรำงที่ 4-21 จ านวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามที่ภายในชุมชนมีการกระท าความรุนแรง<br />
ทางร่างกาย<br />
ภำยในชุมชนมีกำรกระท ำควำมรุนแรงทำงร่ำงกำย จ ำนวน ร้อยละ<br />
ไม่เคย 9 7.10<br />
เคย 1 - 2 ครั้ง 63 50.00<br />
เคย 3 – 5 ครั้ง 37 29.40<br />
เคย 6 – 10 ครั้ง 3 2.40<br />
เคยมากกว่า 10 ครั้ง 14 11.10<br />
รวม 126 100.00<br />
จากตารางที่ 4-21 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามที่ภายในชุมชนมีการกระท าความรุนแรงทาง<br />
ร่างกาย โดยส่วนใหญ่ มีการกระท าความรุนแรงทางร่างกาย 1 - 2 ครั้ง มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ<br />
50.00 รองลงมา มีการกระท าความรุนแรงทางร่างกาย 3 - 5 ครั้ง มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 29.40<br />
และ มีการกระท าความรุนแรงทางร่างกาย มากกว่า 10 ครั้ง มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 11.10<br />
ตำรำงที่ 4-22 จ านวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามที่ภายในชุมชนมีการกระท าความรุนแรง<br />
ทางจิตใจ<br />
ภำยในชุมชนมีกำรกระท ำควำมรุนแรงทำงจิตใจ จ ำนวน ร้อยละ<br />
ไม่เคย 21 16.70<br />
เคย 1 - 2 ครั้ง 48 38.10<br />
เคย 3 – 5 ครั้ง 38 30.10<br />
เคย 6 – 10 ครั้ง 5 4.00<br />
เคยมากกว่า 10 ครั้ง 14 11.10<br />
รวม 126 100.00<br />
36
การส ารวจสถานการณ์ความรุนแรง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี <strong>2556</strong><br />
จากตารางที่ 4-22 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามที่ภายในชุมชนมีการกระท าความรุนแรงทาง<br />
จิตใจ โดยส่วนใหญ่ มีการกระท าความรุนแรงทางจิตใจ 1 - 2 ครั้ง มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 38.10<br />
รองลงมา มีการกระท าความรุนแรงทางจิตใจ 3 - 5 ครั้ง มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 30.10 และ ไม่มีการ<br />
กระท าความรุนแรงทางจิตใจ มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 16.70<br />
ตำรำงที่ 4-23 จ านวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามที่ภายในชุมชนมีการกระท าความรุนแรง<br />
ทางเพศ<br />
ภำยในชุมชนมีกำรกระท ำควำมรุนแรงทำงเพศ จ ำนวน ร้อยละ<br />
ไม่เคย 112 88.90<br />
เคย 1 - 2 ครั้ง 14 11.10<br />
รวม 126 100.00<br />
จากตารางที่ 4-23 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามที่ภายในชุมชนมีการกระท าความรุนแรงทาง<br />
เพศ โดยส่วนใหญ่ ไม่เคยมีการกระท าความรุนแรงทางเพศ มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 88.90 และ เคยมี<br />
การกระท าความรุนแรงทางเพศ 1 - 2 ครั้ง มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 11.10<br />
ตำรำงที่ 4-24 จ านวนและร้อยละสถานที่ในการกระท าความรุนแรงในครอบครัวของคนในชุมชน<br />
สถำนที่ในกำรกระท ำควำมรุนแรงในครอบครัวของคนในชุมชน จ ำนวน ร้อยละ<br />
ที่บ้าน 103 58.50<br />
ที่พัก/หอพัก ฯลฯ 7 4.00<br />
ทางเท้า ถนน สวนสาธารณะ 29 16.50<br />
ห้างสรรพสินค้า/ร้านค้า 7 4.00<br />
ตลาด 23 13.10<br />
สถานบริการ โรงหนัง โรงแรม ฯลฯ 3 1.70<br />
อื่นๆ ระบุ 4 2.20<br />
รวม 176 100.00<br />
จากตารางที่ 4-24 พบว่า สถานที่ในการกระท าความรุนแรงในครอบครัวของคนในชุมชน<br />
ผู้ตอบแบบสอบถาม โดยส่วนใหญ่ มีการกระท าความรุนแรง ที่บ้าน มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 58.50<br />
รองลงมา ทางเท้า ถนน สวนสาธารณะ มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 16.50 และ ตลาด มีจ านวนคิดเป็น<br />
ร้อยละ 13.10<br />
37
การส ารวจสถานการณ์ความรุนแรง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี <strong>2556</strong><br />
ตำรำงที่ 4-25 จ านวนและร้อยละของสาเหตุของการเกิดความรุนแรงในครอบครัวของคนในชุมชน<br />
สำเหตุของกำรเกิดควำมรุนแรงในครอบครัวของคนในชุมชน จ ำนวน ร้อยละ<br />
เมาสุรา 97 39.10<br />
เสพยาเสพติด 8 3.20<br />
เจ็บป่วย/สุขภาพกาย 10 4.00<br />
เครียด/สุขภาพจิต 35 14.10<br />
หึงหวง/นอกใจ 49 19.80<br />
ตกงาน/เศรษฐกิจ 29 11.70<br />
ความสัมพันธ์ในครอบครัวห่างเหิน 13 5.20<br />
อื่นๆ ระบุ 7 2.90<br />
รวม 248 100.00<br />
จากตารางที่ 4-25 พบว่า สาเหตุของการเกิดความรุนแรงในครอบครัวของคนในชุมชนของ<br />
ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ เกิดจาก เมาสุรา มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 39.10 รองลงมา หึงหวง/<br />
นอกใจ มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 19.80 และ เครียด/สุขภาพจิต มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 14.10<br />
ตำรำงที่ 4-26 จ านวนและร้อยละของการไกล่เกลี่ยความรุนแรงของคนในชุมชน<br />
กำรไกล่เกลี่ยควำมรุนแรงของคนในชุมชน จ ำนวน ร้อยละ<br />
ไม่เคย 49 38.90<br />
เคย 41 32.50<br />
ไม่ทราบ 36 28.60<br />
รวม 126 100.00<br />
จากตารางที่ 4-26 พบว่า การไกล่เกลี่ยความรุนแรงของคนในชุมชนของผู้ตอบแบบสอบถาม<br />
ส่วนใหญ่ ไม่เคยไกล่เกลี่ยความรุนแรง มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 38.90 รองลงมา เคยไกล่เกลี่ยความ<br />
รุนแรง มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 32.50 และไม่ทราบ มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 28.60<br />
ตำรำงที่ 4-27 จ านวนและร้อยละของลักษณะความสัมพันธ์ของผู้กระท าและผู้ถูกกระท าในครอบครัว<br />
ของคนในชุมชน<br />
ลักษณะควำมสัมพันธ์ของผู้กระท ำและผู้ถูกกระท ำ จ ำนวน ร้อยละ<br />
คู่สมรส (สามีภรรยา) 55 24.30<br />
ผู้ที่อยู่กินกันฉันสามีภรรยา(ไม่ได้จดทะเบียน) 63 27.90<br />
สามีภรรยาที่เป็นคู่สมรสเดิม 11 4.90<br />
ผู้ที่เคยอยู่กินกันฉันสามีภรรยา(ไม่ได้จดทะเบียน) 29 12.80<br />
บุตร บุตรบุญธรรม(เด็ก เยาวชนฯลฯ)โดยคนในครอบครัว 45 19.90<br />
ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ถูกกระท าโดยคนในครอบครัว 14 6.20<br />
อื่นๆ ระบุ 9 4.00<br />
รวม 226 100.00<br />
38
การส ารวจสถานการณ์ความรุนแรง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี <strong>2556</strong><br />
จากตารางที่ 4-27 พบว่า ลักษณะความสัมพันธ์ของผู้กระท าและผู้ถูกกระท าของคนในชุมชน<br />
ของผู้ตอบแบบสอบถาม ส่วนใหญ่เป็น ผู้ที่อยู่กินกันฉันสามีภรรยา(ไม่ได้จดทะเบียน) มีจ านวนคิดเป็น<br />
ร้อยละ 27.90 รองลงมา คู่สมรส (สามีภรรยา) มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 24.30 และบุตร บุตรบุญธรรม<br />
(เด็ก เยาวชนฯลฯ)โดยคนในครอบครัว มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 19.90<br />
ตำรำงที่ 4-28 จ านวนและร้อยละผู้ถูกกระท าความรุนแรงในครอบครัวในชุมชนผู้ตอบแบบสอบถาม<br />
ผู้ถูกกระท ำควำมรุนแรงในครอบครัวในชุมชน จ ำนวน ร้อยละ<br />
เด็กหรือเยาวชน 90 40.50<br />
สตรี 73 32.90<br />
ผู้สูงอายุหรือผู้พิการ 51 23.00<br />
อื่นๆ ระบุ 8 3.60<br />
รวม 222 100.00<br />
จากตารางที่ 4-28 พบว่า ผู้ถูกกระท าความรุนแรงในครอบครัวในชุมชนของผู้ตอบแบบ<br />
สอบถามส่วนใหญ่ คือ เด็กหรือเยาวชน มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 40.50 รองลงมา สตรี มีจ านวนคิด<br />
เป็นร้อยละ 32.90 และผู้สูงอายุหรือผู้พิการ มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 23.00<br />
ตำรำงที่ 4-29 จ านวนและร้อยละความคิดเห็นของผู้ตอบแบบสอบถามหากเกิดความรุนแรงใน<br />
ครอบครัวของคนในชุมชน<br />
หำกเกิดควำมรุนแรงในครอบครัวของคนในชุมชน จ ำนวน ร้อยละ<br />
ไม่คิดท าอะไร 298 11.00<br />
ช่วยห้ามปราม/ไกล่เกลี่ย 825 30.20<br />
ขอความช่วยเหลือ/แจ้งเหตุ 856 31.50<br />
ช่วยห้ามปรามไกล่เกลี่ยและขอความช่วยเหลือ/แจ้งเหตุ 734 27.00<br />
อื่นๆ ระบุ 7 0.30<br />
รวม 2,720 100.00<br />
จากตารางที่ 4-29 พบว่า ความคิดเห็นของผู้ตอบแบบสอบถามหากเกิดความรุนแรงใน<br />
ครอบครัวของคนในชุมชน โดยส่วนใหญ่ ขอความช่วยเหลือ/แจ้งเหตุ มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 31.50<br />
รองลงมา ช่วยห้ามปราม/ไกล่เกลี่ย มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 30.20 และช่วยห้ามปรามไกล่เกลี่ยและ<br />
ขอความช่วยเหลือ/แจ้งเหตุ มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 27.00<br />
39
การส ารวจสถานการณ์ความรุนแรง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี <strong>2556</strong><br />
ตำรำงที่ 4-30 จ านวนและร้อยละความคิดเห็นของผู้ตอบแบบสอบถามในการขอความช่วยเหลือหรือ<br />
แจ้งเหตุหากเกิดความรุนแรงในครอบครัวของคนในชุมชน<br />
กำรขอควำมช่วยเหลือหรือแจ้งเหตุหำกเกิดควำมรุนแรงใน จ ำนวน ร้อยละ<br />
ครอบครัวของคนในชุมชน<br />
เพื่อนบ้าน/คนในชุมชน/อบต./เทศบาล 1,752 45.60<br />
โรงพยาบาล 153 4.00<br />
สถานีต ารวจ 1644 42.80<br />
ส านักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด/ศูนย์ 271 7.10<br />
ประชาบดี 1300<br />
อื่นๆ ระบุ 18 0.50<br />
รวม 3,838 100.00<br />
จากตารางที่ 4-30 พบว่า การขอความช่วยเหลือหรือแจ้งเหตุหากเกิดความรุนแรงใน<br />
ครอบครัวของคนในชุมชน โดยส่วนใหญ่ ขอความช่วยเหลือหรือแจ้งเหตุจาก เพื่อนบ้าน/คนในชุมชน/<br />
อบต./เทศบาล มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 45.60 รองลงมาคือ สถานีต ารวจ มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ<br />
42.80 และส านักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด/ศูนย์ประชาบดี 1300มีจ านวน<br />
คิดเป็นร้อยละ 7.10<br />
ตำรำงที่ 4-31 จ านวนและร้อยละข้อเสนอแนะเพื่อแก้ไขปัญหาความรุนแรงในครอบครัวของคนใน<br />
ชุมชน<br />
ข้อเสนอแนะเพื่อแก้ไขปัญหำควำมรุนแรงในครอบครัว จ ำนวน ร้อยละ<br />
ให้ร่วมกันท ากิจกรรม/สร้างความอบอุ่นในครอบครัวของตนเองและ 1,718 37.30<br />
ครอบครัวของคนในชุมชน<br />
ปลูกจิตส านึกให้คนในชุมชนตระหนักถึงปัญหาความรุนแรงในชุมชน 1,797 39.00<br />
และร่วมกันเฝ้าระวังปัญหา<br />
ให้มีส่วนร่วมกับหน่วยงาน/องค์กรในการป้องกันและแก้ไขปัญหาความ 1,080 23.40<br />
รุนแรง<br />
อื่นๆ ระบุ 17 0.30<br />
รวม 4,612 100.00<br />
จากตารางที่ 4-31 พบว่า ข้อเสนอแนะเพื่อแก้ไขปัญหาความรุนแรงในครอบครัวของคนใน<br />
ชุมชน โดยส่วนใหญ่ ปลูกจิตส านึกให้คนในชุมชนตระหนักถึงปัญหาความรุนแรงในชุมชนและร่วมกัน<br />
เฝ้าระวังปัญหา มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 39.00 รองลงมาคือ ให้ร่วมกันท ากิจกรรม/สร้างความอบอุ่น<br />
ในครอบครัวของตนเองและครอบครัวของคนในชุมชน มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 37.30 และให้มีส่วน<br />
ร่วมกับหน่วยงาน/องค์กรในการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรง มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 23.40<br />
40
การส ารวจสถานการณ์ความรุนแรง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี <strong>2556</strong><br />
ตำรำงที่ 4-32 จ านวนและร้อยละของคนในชุมชนที่ถูกกระท าความรุนแรงจากบุคคลที่รู้จักกัน(ญาติ<br />
แฟน/กิ๊ก เพื่อน เพื่อนบ้าน) ในรอบ 1 ปี<br />
คนในชุมชนที่ถูกกระท ำควำมรุนแรงจำกบุคคลที่รู้จักกัน จ ำนวน ร้อยละ<br />
ไม่เคย 2,516 92.50<br />
เคย 204 7.50<br />
รวม 2,720 100.00<br />
จากตารางที่ 4-32 พบว่า คนในชุมชนไม่เคยถูกกระท าความรุนแรงจากคนที่รู้จัก มีจ านวนคิด<br />
เป็นร้อยละ 92.50 และ เคยถูกกระท าความรุนแรงจากคนที่รู้จัก มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 7.50<br />
ตำรำงที่ 4-33 จ านวนและร้อยละของคนในชุมชนที่ถูกกระท าความรุนแรงจากบุคคลที่ไม่รู้จักกัน<br />
(คนร้าย คนแปลกหน้า การปล้น การจี้ อาชญากรรม) รอบ 1 ปี<br />
คนในชุมชนที่ถูกกระท ำควำมรุนแรงจำกบุคคลที่ไม่รู้จักกัน จ ำนวน ร้อยละ<br />
ไม่เคย 2,695 99.10<br />
เคย 25 0.90<br />
รวม 2,720 100.00<br />
จากตารางที่ 4-33 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ไม่เคยถูกกระท าความรุนแรงจากคนที่<br />
ไม่รู้จักกัน มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 99.10 และเคยถูกกระท าความรุนแรงจากคนที่ไม่รู้จักกันมีจ านวน<br />
คิดเป็นร้อยละ 0.90<br />
ตำรำงที่ 4-34 จ านวนและร้อยละของคนในชุมชนที่เคยถูกกระท าความรุนแรงจากบุคคลที่ไม่รู้จักกัน<br />
เคยถูกกระท ำควำมรุนแรงจำกบุคคลที่ไม่รู้จักกัน จ ำนวน ร้อยละ<br />
เคย 1 - 2 ครั้ง 20 80.00<br />
เคย 3 – 5 ครั้ง 5 20.00<br />
รวม 25 100.00<br />
จากตารางที่ 4-34 พบว่า คนในชุมชนที่เคยถูกกระท าความรุนแรงจากบุคคลที่ไม่รู้จักกัน ของ<br />
ผู้ตอบแบบสอบถาม โดยส่วนใหญ่ เคยถูกกระท าความรุนแรง 1 - 2 ครั้ง มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ<br />
80.00 และ เคยถูกกระท าความรุนแรง 3 – 5 ครั้ง มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 20.00<br />
41
การส ารวจสถานการณ์ความรุนแรง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี <strong>2556</strong><br />
ตำรำงที่ 4-35 จ านวนและร้อยละสถานที่ที่คนในชุมชนถูกกระท าความรุนแรงจากบุคคลที่ไม่รู้จักกัน<br />
สถำนที่ที่คนในชุมชนถูกกระท ำควำมรุนแรงจำกบุคคลที่ไม่รู้จักกัน จ ำนวน ร้อยละ<br />
ที่บ้าน 30 41.10<br />
ที่พัก/หอพัก ฯลฯ 7 9.60<br />
ทางเท้า ถนน สวนสาธารณะ 14 19.20<br />
ห้างสรรพสินค้า/ร้านค้า 7 9.60<br />
ตลาด 13 17.80<br />
สถานบริการ โรงหนัง โรงแรม ฯลฯ 2 2.70<br />
รวม 73 100.00<br />
จากตารางที่ 4-35 พบว่า สถานที่ที่คนในชุมชนถูกกระท าความรุนแรงจากบุคคลที่ไม่รู้จักกัน<br />
ผู้ตอบแบบสอบถาม โดยส่วนใหญ่ คนในชุมชนถูกกระท าความรุนแรง ที่บ้าน มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ<br />
41.10 รองลงมาคือ ทางเท้า ถนน สวนสาธารณะ มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 19.20 และตลาด มีจ านวน<br />
คิดเป็นร้อยละ 17.80<br />
ตำรำงที่ 4-36 จ านวนและร้อยละของคนในชุมชนที่ได้รับผลกระทบจากความรุนแรงจากบุคคลที่ไม่<br />
รู้จักกัน<br />
คนในชุมชนที่ได้รับผลกระทบจำกควำมรุนแรงจำกบุคคล จ ำนวน ร้อยละ<br />
ที่ไม่รู้จักกัน<br />
เด็กหรือเยาวชน 32 43.20<br />
สตรี 31 41.90<br />
ผู้สูงอายุหรือผู้พิการ 11 14.90<br />
รวม 74 100.00<br />
จากตารางที่ 4-36 พบว่า คนในชุมชนที่ได้รับผลกระทบจากความรุนแรงของ ผู้ตอบ<br />
แบบสอบถามส่วนใหญ่ คือ เด็กหรือเยาวชน มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 43.20 รองลงมาคือ สตรี<br />
มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 41.90 และผู้สูงอายุหรือผู้พิการ มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 14.90<br />
ตำรำงที่ 4-37 จ านวนและร้อยละของผู้ที่ได้รับผลกระทบจากความรุนแรงจากบุคคลที่ไม่รู้จักกัน<br />
ผู้ที่ได้รับผลกระทบจำกควำมรุนแรงจำกบุคคลที่ไม่รู้จักกัน จ ำนวน ร้อยละ<br />
คนในครอบครัวของตนเอง 12 19.70<br />
คนในชุมชน เพื่อนบ้าน 32 52.50<br />
ประชาชนที่เข้ามาในชุมชนชั่วคราว 13 21.30<br />
ผู้ท างาน/ปฏิบัติงานในชุมชน เช่น ข้าราชการ ทหาร ต ารวจ ครู 4 6.50<br />
ฯลฯ<br />
รวม 61 100.00<br />
42
การส ารวจสถานการณ์ความรุนแรง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี <strong>2556</strong><br />
จากตารางที่ 4-37 พบว่า ผู้ที่ได้รับผลกระทบจากความรุนแรงของ ผู้ตอบแบบสอบถามส่วน<br />
ใหญ่ คือ คนในชุมชน เพื่อนบ้าน มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 52.50 รองลงมาคือ ประชาชนที่เข้ามาใน<br />
ชุมชนชั่วคราว มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 21.30 และคนในครอบครัวของตนเอง มีจ านวนคิดเป็น<br />
ร้อยละ 19.70<br />
ตำรำงที่ 4-38 จ านวนและร้อยละข้อเสนอแนะเพื่อแก้ไขปัญหาความรุนแรงจากบุคคลที่ไม่รู้จัก<br />
ข้อเสนอแนะเพื่อแก้ไขปัญหำควำมรุนแรงจำกบุคคลที่ไม่รู้จัก จ ำนวน ร้อยละ<br />
ปลูกจิตส านึกให้คนในชุมชนตระหนักถึงปัญหาความรุนแรงในชุมชน 1,360 30.80<br />
ให้ร่วมกันเฝ้าระวังปัญหาความรุนแรง 1,990 45.10<br />
ให้มีส่วนร่วมกับหน่วยงาน/องค์กรในการป้องกันและแก้ไขปัญหาความ 1,054 23.90<br />
รุนแรง<br />
อื่นๆ ระบุ 9 0.20<br />
รวม 4,413 100.00<br />
จากตารางที่ 4-38 พบว่า ข้อเสนอแนะเพื่อแก้ไขปัญหาความรุนแรงในครอบครัวของคนใน<br />
ชุมชนโดยส่วนใหญ่ ให้ร่วมกันเฝ้าระวังปัญหาความรุนแรง มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 45.10 รองลงมา<br />
คือ ปลูกจิตส านึกให้คนในชุมชนตระหนักถึงปัญหาความรุนแรงในชุมชน มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ<br />
30.80 และให้มีส่วนร่วมกับหน่วยงาน/องค์กรในการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรง มีจ านวนคิด<br />
เป็นร้อยละ 23.90<br />
43
การส ารวจสถานการณ์ความรุนแรง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี <strong>2556</strong><br />
2.3 ควำมรุนแรงในที่ท ำงำน<br />
ตำรำงที่ 4-39 จ านวนและร้อยละการท างานกับความรุนแรงในที่ท างานของผู้ตอบแบบสอบถาม<br />
กำรท ำงำนกับควำมรุนแรงในที่ท ำงำน จ ำนวน ร้อยละ<br />
ไม่ได้ท างาน 1,104 40.60<br />
ท างาน แต่ไม่มีการกระท าด้วยความรุนแรง 1,572 57.70<br />
ท างานและเคยถูกกระท าความรุนแรง 10 0.40<br />
ท างานและเคยพบเห็นการกระท าด้วยความรุนแรง 34 1.30<br />
รวม 2,720 100.00<br />
จากตารางที่ 4-39 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถาม โดยส่วนใหญ่ ท างาน แต่ไม่มีการกระท าด้วย<br />
ความรุนแรง มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 57.70 รองลงมาคือ ไม่ได้ท างาน มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ<br />
40.60 และท างานและเคยพบเห็นการกระท าด้วยความรุนแรง มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 1.30<br />
ตำรำงที่ 4-40 จ านวนและร้อยละผู้ตอบแบบสอบถามถูกกระท าความรุนแรงทางร่างกายในที่ท างาน<br />
(โดย หัวหน้า ลูกน้อง เพื่อนร่วมงาน เจ้าของกิจการ)<br />
กำรถูกกระท ำควำมรุนแรงทำงร่ำงกำยในที่ท ำงำน จ ำนวน ร้อยละ<br />
ไม่เคย 1,614 99.90<br />
เคย 2 0.10<br />
รวม 1,616 100.00<br />
จากตารางที่ 4-40 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามไม่เคยถูกกระท าความรุนแรงทางร่างกายในที่<br />
ท างาน มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 99.90 และ เคยถูกกระท าความรุนแรงทางร่างกายในที่ท างาน มี<br />
จ านวนคิดเป็นร้อยละ 0.10<br />
ตำรำงที่ 4-41 จ านวนและร้อยละผู้ตอบแบบสอบถามถูกกระท าความรุนแรงทางจิตใจในที่ท างาน<br />
(โดย หัวหน้า ลูกน้อง เพื่อนร่วมงาน เจ้าของกิจการ)<br />
กำรถูกกระท ำควำมรุนแรงทำงจิตใจในที่ท ำงำน จ ำนวน ร้อยละ<br />
ไม่เคย 1,606 99.30<br />
เคย 10 0.70<br />
รวม 1,616 100.00<br />
จากตารางที่ 4-41 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามไม่เคยถูกกระท าความรุนแรงทางจิตใจในที่<br />
ท างาน มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 99.30 และ เคยถูกกระท าความรุนแรงทางจิตใจในที่ท างาน มีจ านวน<br />
คิดเป็นร้อยละ 0.70<br />
44
การส ารวจสถานการณ์ความรุนแรง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี <strong>2556</strong><br />
ตำรำงที่ 4-42 จ านวนและร้อยละผู้ตอบแบบสอบถามถูกกระท าความรุนแรงทางเพศในที่ท างาน(โดย<br />
หัวหน้า ลูกน้อง เพื่อนร่วมงาน เจ้าของกิจการ)<br />
กำรถูกกระท ำควำมรุนแรงทำงเพศในที่ท ำงำน จ ำนวน ร้อยละ<br />
ไม่เคย 1,610 99.60<br />
เคย 6 0.40<br />
รวม 1,616 100.00<br />
จากตารางที่ 4-42 พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามไม่เคยถูกกระท าความรุนแรงทางเพศในที่<br />
ท างาน มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 99.60 และ เคยถูกกระท าความรุนแรงทางเพศในที่ท างาน มีจ านวน<br />
คิดเป็นร้อยละ 0.40<br />
ตำรำงที่ 4-43 จ านวนและร้อยละสถานที่ท างานของผู้ตอบแบบสอบถามมีการกระท าความรุนแรง<br />
ทางร่างกายในที่ท างาน(โดย หัวหน้า ลูกน้อง เพื่อนร่วมงาน เจ้าของกิจการ)<br />
สถำนที่ท ำงำนมีกำรกระท ำควำมรุนแรงทำงร่ำงกำย จ ำนวน ร้อยละ<br />
ไม่เคย 1,600 99.00<br />
เคย 16 1.00<br />
รวม 1,616 100.00<br />
จากตารางที่ 4-43 พบว่า สถานที่ท างานของผู้ตอบแบบสอบถามไม่เคยมีการกระท าความ<br />
รุนแรงทางร่างกาย มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 99.00 และ เคยมีการกระท าความรุนแรงทางร่างกาย มี<br />
จ านวนคิดเป็นร้อยละ 1.00<br />
ตำรำงที่ 4-44 จ านวนและร้อยละสถานที่ท างานของผู้ตอบแบบสอบถามมีการกระท าความรุนแรง<br />
ทางจิตใจในที่ท างาน(โดย หัวหน้า ลูกน้อง เพื่อนร่วมงาน เจ้าของกิจการ)<br />
สถำนที่ท ำงำนมีกำรกระท ำควำมรุนแรงทำงจิตใจ จ ำนวน ร้อยละ<br />
ไม่เคย 1,601 99.00<br />
เคย 15 1.00<br />
รวม 1,616 100.00<br />
จากตารางที่ 4-44 พบว่า สถานที่ท างานของผู้ตอบแบบสอบถามไม่เคยมีการกระท าความ<br />
รุนแรงทางจิตใจ มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 99.00 และ เคยมีการกระท าความรุนแรงทางจิตใจ มี<br />
จ านวนคิดเป็นร้อยละ 1.00<br />
ตำรำงที่ 4-45 จ านวนและร้อยละสถานที่ท างานของผู้ตอบแบบสอบถามมีการกระท าความรุนแรง<br />
ทางเพศในที่ท างาน(โดย หัวหน้า ลูกน้อง เพื่อนร่วมงาน เจ้าของกิจการ)<br />
สถำนที่ท ำงำนมีกำรกระท ำควำมรุนแรงทำงเพศ จ ำนวน ร้อยละ<br />
ไม่เคย 1,613 99.80<br />
เคย 3 0.20<br />
รวม 1,616 100.00<br />
45
การส ารวจสถานการณ์ความรุนแรง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี <strong>2556</strong><br />
จากตารางที่ 4-45 พบว่า สถานที่ท างานของผู้ตอบแบบสอบถามไม่เคยมีการกระท าความ<br />
รุนแรงทางเพศ มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 99.80 และ เคยมีการกระท าความรุนแรงทางเพศ มีจ านวน<br />
คิดเป็นร้อยละ 0.20<br />
ตำรำงที่ 4-46 จ านวนและร้อยละของสาเหตุของการเกิดความรุนแรงในที่ท างาน<br />
สำเหตุของกำรเกิดควำมรุนแรงในที่ท ำงำน จ ำนวน ร้อยละ<br />
เมาสุรา 40 26.00<br />
เสพยาเสพติด 1 0.60<br />
เจ็บป่วย/สุขภาพกาย 11 7.20<br />
เครียด/สุขภาพจิต 31 20.10<br />
หึงหวง/นอกใจ 24 15.60<br />
ตกงาน/เศรษฐกิจ 16 10.40<br />
ความสัมพันธ์ในครอบครัวห่างเหิน 26 16.90<br />
อื่นๆ ระบุ 5 3.20<br />
รวม 154 100.00<br />
จากตารางที่ 4-46 พบว่า สาเหตุของการเกิดความรุนแรงในที่ท างานของผู้ตอบแบบสอบถาม<br />
ส่วนใหญ่ เกิดจาก เมาสุรา มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 26.00 รองลงมาคือ เครียด/สุขภาพจิต มีจ านวน<br />
คิดเป็นร้อยละ 20.10 และความสัมพันธ์ในครอบครัวห่างเหิน มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 16.90<br />
ตำรำงที่ 4-47 จ านวนและร้อยละการแก้ไขปัญหาของผู้ถูกกระท าความรุนแรงในที่ท างาน<br />
กำรแก้ไขปัญหำของผู้ถูกกระท ำควำมรุนแรงในที่ท ำงำน จ ำนวน ร้อยละ<br />
ไม่แก้ไข เฉยๆ 5 11.30<br />
หลบเลี่ยง 24 54.50<br />
ปกป้องตนเอง (ตอบโต้ ร้องเรียน แจ้งต ารวจ แจ้งหน่วยงานที่ 12 27.30<br />
เกี่ยวข้อง ฯลฯ)<br />
อื่นๆ ระบุ 3 6.90<br />
รวม 44 100.00<br />
จากตารางที่ 4-47 พบว่า การแก้ไขปัญหาของผู้ถูกกระท าความรุนแรงในที่ท างานของ ผู้ตอบ<br />
แบบสอบถามส่วนใหญ่ คือ หลบเลี่ยง มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 54.50 รองลงมาคือ ปกป้องตนเอง<br />
(ตอบโต้ ร้องเรียน แจ้งต ารวจ แจ้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ฯลฯ) มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 27.30 และไม่<br />
แก้ไข เฉยๆ มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 11.30<br />
46
การส ารวจสถานการณ์ความรุนแรง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี <strong>2556</strong><br />
ตำรำงที่ 4-48 จ านวนและร้อยละของผู้ถูกกระท าความรุนแรงในที่ท างาน<br />
ผู้ถูกกระท ำควำมรุนแรงในที่ท ำงำน จ ำนวน ร้อยละ<br />
เด็กหรือเยาวชน 18 27.70<br />
สตรี 42 64.60<br />
อื่นๆ (ระบุ ) 5 7.70<br />
รวม 65 100.00<br />
จากตารางที่ 4-48 พบว่า ผู้ถูกกระท าความรุนแรงในที่ท างานของ ผู้ตอบแบบสอบถามส่วน<br />
ใหญ่ คือ สตรี มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 64.60 รองลงมาคือ เด็กหรือเยาวชน มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ<br />
27.70 และอื่นๆ มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 7.70<br />
ตำรำงที่ 4-49 จ านวนและร้อยละของการไกล่เกลี่ยความรุนแรงในที่ท างาน<br />
กำรไกล่เกลี่ยควำมรุนแรงในที่ท ำงำน จ ำนวน ร้อยละ<br />
ไม่เคย 24 54.50<br />
เคย 20 45.50<br />
รวม 44 100.00<br />
จากตารางที่ 4-49 พบว่า การไกล่เกลี่ยความรุนแรงในที่ท างานของ ผู้ตอบแบบสอบถาม<br />
ส่วนใหญ่ คือ ไม่เคยไกล่เกลี่ยความรุนแรง มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 54.50 และ เคยไกล่เกลี่ยความ<br />
รุนแรง มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 45.50<br />
ตำรำงที่ 4-50 จ านวนและร้อยละความคิดเห็นของผู้ตอบแบบสอบถามหากเกิดความรุนแรงใน<br />
สถานที่ท างาน<br />
หำกเกิดควำมรุนแรงในสถำนที่ท ำงำน จ ำนวน ร้อยละ<br />
ไม่คิดจะท าอะไร 86 5.30<br />
ช่วยห้ามปราม/ไกล่เกลี่ย 1,099 68.10<br />
ขอความช่วยเหลือ/แจ้งเหตุ 168 10.40<br />
ช่วยห้ามปรามไกล่เกลี่ยและขอความช่วยเหลือ/แจ้งเหตุ 263 16.20<br />
รวม 1,616 100.00<br />
จากตารางที่ 4-50 พบว่า ความคิดเห็นของผู้ตอบแบบสอบถามหากเกิดความรุนแรงใน<br />
สถานที่ท างาน โดยส่วนใหญ่ ช่วยห้ามปราม/ไกล่เกลี่ย มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 68.10 รองลงมาคือ<br />
ช่วยห้ามปรามไกล่เกลี่ยและขอความช่วยเหลือ/แจ้งเหตุ มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 16.20 และขอความ<br />
ช่วยเหลือ/แจ้งเหตุ มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 10.40<br />
47
การส ารวจสถานการณ์ความรุนแรง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี <strong>2556</strong><br />
ตำรำงที่ 4-51 จ านวนและร้อยละข้อเสนอแนะเพื่อแก้ไขปัญหาความรุนแรงในสถานที่ท างาน<br />
ข้อเสนอแนะเพื่อแก้ไขปัญหำควำมรุนแรงในสถำนที่ท ำงำน จ ำนวน ร้อยละ<br />
ปลูกจิตส านึกให้คนในที่ท างานตระหนักถึงปัญหาความรุนแรง 762 39.50<br />
ให้ร่วมกันเฝ้าระวังปัญหาความรุนแรง 749 38.80<br />
ให้มีส่วนร่วมกับหน่วยงาน/องค์กรในการป้องกันและแก้ไขปัญหาความ 404 21.00<br />
รุนแรง<br />
อื่นๆ ระบุ 13 0.70<br />
รวม 1,928 100.00<br />
จากตารางที่ 4-51 พบว่า ข้อเสนอแนะเพื่อแก้ไขปัญหาความรุนแรงในสถานที่ท างาน โดย<br />
ส่วนใหญ่ ปลูกจิตส านึกให้คนในที่ท างานตระหนักถึงปัญหาความรุนแรง มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ<br />
39.50 รองลงมาคือ ให้ร่วมกันเฝ้าระวังปัญหาความรุนแรง มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 38.80 และให้มี<br />
ส่วนร่วมกับหน่วยงาน/องค์กรในการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรง มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ<br />
21.00<br />
ตำรำงที่ 4-52 จ านวนและร้อยละความเครียด วิตกกังวล จากความรุนแรงด้านต่าง ๆ ของผู้ตอบ<br />
แบบสอบถาม<br />
ด้ำนควำมรุนแรง จ ำนวน ร้อยละ<br />
ความรุนแรงในครอบครัวของตนเอง 276 6.80<br />
ความรุนแรงในที่ท างานของตนเอง 342 8.50<br />
ความรุนแรงของครอบครัวของคนในชุมชน โดยบุคคลในครอบครัว 512 12.70<br />
ด้วยกันเอง<br />
ความรุนแรงของครอบครัวของคนในชุมชน โดยบุคคลอื่นที่รู้จักกัน 658 16.30<br />
(ญาติ แฟน กิ๊ก เพื่อน เพื่อนบ้าน คนในชุมชน ฯลฯ)<br />
ความรุนแรงของครอบครัวของคนในชุมชน โดยบุคคลอื่นที่ไม่รู้จักกัน 1,341 33.30<br />
(คนร้าย คนแปลกหน้า ฯลฯ จากปัญหาความขัดแย้ง การเมือง<br />
ปัญหาชายแดนใต้ การระเบิด ปล้น จี้ อาชญากรรมฯลฯ )<br />
อื่นๆ ระบุ 904 22.40<br />
รวม 4,033 100.00<br />
จากตารางที่ 4-52 พบว่า ความเครียด วิตกกังวล จากความรุนแรงด้านต่าง ๆ ของผู้ตอบ<br />
แบบสอบถาม โดยส่วนใหญ่ เครียดและวิตกกังวลจากความรุนแรงของครอบครัวของคนในชุมชน<br />
โดยบุคคลอื่นที่ไม่รู้จักกัน(คนร้าย คนแปลกหน้า ฯลฯ จากปัญหาความขัดแย้ง การเมือง ปัญหา<br />
ชายแดนใต้ การระเบิด ปล้น จี้ อาชญากรรมฯลฯ ) มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 33.30 รองลงมาคือ<br />
อื่นๆ (ระบุ ) ไม่เครียด มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 22.40 และความรุนแรงของครอบครัวของคนใน<br />
ชุมชน โดยบุคคลอื่นที่รู้จักกัน(ญาติ แฟน กิ๊ก เพื่อน เพื่อนบ้าน คนในชุมชน ฯลฯ) มีจ านวนคิดเป็น<br />
ร้อยละ 16.30<br />
48
การส ารวจสถานการณ์ความรุนแรง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี <strong>2556</strong><br />
ตำรำงที่ 4-53 จ านวนและร้อยละการช่วยลดความรุนแรงในครอบครัวและความรุนแรงอื่นๆของ<br />
ผู้ตอบแบบสอบถาม<br />
กำรช่วยลดควำมรุนแรงในครอบครัวและควำมรุนแรงอื่นๆ จ ำนวน ร้อยละ<br />
เฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่(คนในครอบครัว คนในชุมชน เพื่อนบ้าน 1,525 20.70<br />
ฯลฯ)<br />
แจ้งผู้เกี่ยวข้องเมื่อพบเหตุการณ์ต่างๆ 1,489 20.20<br />
ร่วมกิจกรรมรณรงค์ยุติความรุนแรงต่อ เด็ก สตรี และความรุนแรงใน 939 12.70<br />
ครอบครัว ความรุนแรงอื่นๆ ฯลฯ<br />
เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ สร้างความตระหนักการไม่กระท าความรุนแรง 892 12.10<br />
ช่วยไกล่เกลี่ยประนีประนอม 1,153 15.60<br />
ท ากิจกรรมร่วมกันกับบุคคลในครอบครัว ชุมชน 782 10.60<br />
ให้มีส่วนร่วมกับหน่วยงาน/องค์กรในการป้องกันและแก้ไขปัญหาความ 582 7.90<br />
รุนแรง<br />
อื่นๆ ระบุ 17 0.20<br />
รวม 7,379 100.00<br />
จากตารางที่ 4-53 พบว่า การช่วยลดความรุนแรงในครอบครัวและความรุนแรงอื่นๆ ของ<br />
ผู้ตอบแบบสอบถาม โดยส่วนใหญ่ เฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่(คนในครอบครัว คนในชุมชน เพื่อนบ้าน<br />
ฯลฯ) มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 20.70 รองลงมาคือ แจ้งผู้เกี่ยวข้องเมื่อพบเหตุการณ์ต่างๆมีจ านวน<br />
คิดเป็นร้อยละ 20.20 และช่วยไกล่เกลี่ยประนีประนอม มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 15.60<br />
49
การส ารวจสถานการณ์ความรุนแรง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี <strong>2556</strong><br />
ส่วนที่ 3 ข้อมูลกำรสัมภำษณ์ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับกำรป้องกัน<br />
และแก้ไขปัญหำควำมรุนแรงของชุมชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น<br />
จากการสัมภาษณ์ข้อมูลผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงของ<br />
ชุมชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจ านวน 3 แห่ง ประกอบด้วย 1) ชุมชนบ้านคลองอาราง ต.บ้าน<br />
แก้ง อ.เมืองสระแก้ว จ.สระแก้ว 2)องค์การบริหารส่วนต าบลพระเพลิง อ.เขาฉกรรจ์ จ.สระแก้ว 3)<br />
องค์การบริหารส่วนต าบลทับพริก อ.อรัญประเทศ จ.สระแก้ว ในประเด็นต่างๆที่เกี่ยวข้องกับการ<br />
ป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรง ผลการสัมภาษณ์ พบว่า<br />
1. สถำนกำรณ์ควำมรุนแรงในครอบครัวและชุมชน<br />
จากการสัมภาษณ์ผู้บริหารและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงของชุมชน<br />
และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั้ง 3 แห่ง พบว่า สถานการณ์ความรุนแรงในครอบครัวและชุมชน<br />
ของทั้ง 3 พื้นที่ในปัจจุบันนั้น มีบ้างแต่เป็นส่วนน้อย ส าหรับปัญหาที่พบพื้นที่คือ ปัญหายาเสพติด<br />
ปัญหาเยาวชนตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร ปัญหาสามีมีภรรยาน้อย ปัญหาความขัดแย้งระหว่างญาติ<br />
พี่น้อง และบางพื้นที่มีปัญหาความรุนแรงทางเพศที่เกิดขึ้นในชุมชน ซึ่งผู้ถูกกระท าได้รับความ<br />
ช่วยเหลือและเข้าไปแก้ไขปัญหาจากหน่วยงานในพื้นที่และหน่วยงานของรัฐที่รับผิดชอบเป็นที่<br />
เรียบร้อย<br />
ส าหรับปัญหาความรุนแรงในชุมชนที่พบในพื้นที่ชายแดน ไทย – กัมพูชา ยังพบปัญหาใน<br />
เรื่องของ การลักทรัพย์จักรยานยนต์) เป็นต้น<br />
“สถานการณ์ความรุนแรงในพื้นที่อบต.พระเพลิงก็มีบ้างแต่ไม่มาก ท่านนายกองค์การ<br />
บริหารส่วนต าบลได้ให้ความส าคัญในการแก้ไขปัญหานี้เป็นอย่างมาก”<br />
(ปลัดองค์การบริหารส่วนต าบลพระเพลิง ,8 กรกฎาคม <strong>2556</strong>)<br />
“ในอดีตเมื่อประมาณ 3 ปีก่อนเยาชนในพื้นที่มีปัญหาเรื่องของการท้องก่อนวัยอันควร<br />
เรียนจบเพียงชั้นมัธยมศึกษา 3 ก็มีลูกแล้ว”<br />
(บุคลากรองค์การบริหารส่วนต าบลทับพริก ,8 กรกฎาคม <strong>2556</strong>)<br />
“ในชุมชนของเรามีปัญหาอะไรก็มีคณะกรรมชุมชนเข้ามาช่วยในการแก้ไขปัญหา เช่น<br />
ปัญหาที่สามีไปมีภรรยาน้อย ญาติพี่น้องทะเลาะกันเรื่องที่ดิน และยังมีความขัดแย้งระหว่างเพื่อน<br />
บ้าน ซึ่งทางคณะกรรมการหมู่บ้านเข้าไปแก้ไขปัญหาทั้งหมด”<br />
(ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านคลองอาราง ,29 กรกฎาคม <strong>2556</strong>)<br />
2. บทบำทของชุมชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในกำรแก้ไขปัญหำควำมรุนแรง<br />
จากการสัมภาษณ์ผู้บริหารและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรง<br />
ของชุมชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั้ง 3 แห่ง พบว่าผู้น าชุมชน(ก านัน ผู้ใหญ่บ้าน<br />
คณะกรรมการหมู่บ้าน) ในทั้ง 3 พื้นที่มีบทบาทส าคัญในการเข้าไปแก้ไขปัญหาความรุนแรงที่เกิดขึ้น<br />
ในครอบครัวและชุมชน ทั้งการเจรจา ประนีประนอมและไกล่เกลี่ยปัญหาที่เกิดขึ้น ซึ่งช่วยสามารถ<br />
คลี่คลายปัญหาและลดข้อพิพาท รวมถึงคดีความที่เกิดขึ้นในชุมชนได้<br />
และในบางพื้นที่มีประชาชนที่มีจิตอาสา โดยอาสาสมัครเข้ามาเพื่อเข้ามาดูแลและแก้ไข<br />
ปัญหาที่เกิดขึ้นในพื้นที่โดยไม่ได้รับค่าตอบแทน<br />
50
การส ารวจสถานการณ์ความรุนแรง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี <strong>2556</strong><br />
นอกจากนั้นเมื่อเกิดปัญหาในพื้นที่เจ้าหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รวมถึง<br />
อาสาสมัครในแต่ละด้านจะเข้าไปมีส่วนร่วมในการดูแลเก็บข้อมูลปัญหาและน าไปสู่การแก้ไขปัญหา<br />
ต่อไป<br />
“ พื้นที่องค์การบริหารส่วนต าบลพระเพลิง ไม่กลไกในการดูแลเฝ้าระวังความรุนแรง แต่ด้วย<br />
วัฒนธรรมชุมชน ความสามารถของ ก านัน ผู้ใหญ่บ้าน ซึ่งเมื่อเกิดปัญหาจะสามารถ เข้ามาร่วมแก้ไข<br />
ปัญหาต่างๆได้โดยมีการรวมตัวเป็นเครือข่ายภายในชุมชน เป็นครั้งคราวเพื่อแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นนั้นๆ”<br />
(นายกองค์การบริหารส่วนต าบลพระเพลิง ,8 กรกฎาคม <strong>2556</strong>)<br />
“ในการท างานบริหารและพัฒนาชุมชนผมไม่สามารถท างานคนเดียวได้ ท้องถิ่นของเรามี<br />
ประชาชนที่มีจิตอาสา อาสาสมัครเข้ามาท างานด้านการเฝ้าระวังความรุนแรงและสถานการณ์ทาง<br />
สังคม โดยไม่ได้รับค่าตอบแทนใดใด”<br />
(นายกองค์การบริหารส่วนต าบลทับพริก ,8 กรกฎาคม <strong>2556</strong>)<br />
“ในชุมชนของเรามีคณะกรรมการหมู่บ้านที่เข้าไปแก้ไขปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้น รวมทั้งมี<br />
ธรรมนูญหมู่บ้านที่ทุกคนในชุมชนต้องปฏิบัติร่วมกัน”<br />
(ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านคลองอาราง ,29 กรกฎาคม <strong>2556</strong>)<br />
3. วิธีกำรหรือแนวทำงในกำรป้องกันและแก้ไขปัญหำควำมรุนแรง<br />
จากการสัมภาษณ์ผู้บริหารและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรง<br />
ของชุมชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั้ง 3 แห่ง พบว่า ทั้ง 3 พื้นที่มีวิธีการและรูปแบบการ<br />
ป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงทั้งที่คล้ายกันและแตกต่างกัน ตามบริบทของพื้นที่<br />
1) องค์กำรบริหำรส่วนต ำบลพระเพลิง<br />
เน้นวิธีการและแนวทางในการท า<br />
นโยบายเชิงรุก โดยการป้องกันไม่ให้เกิดความ<br />
รุนแรงในพื้นที่ โดยอาศัยกิจกรรมที่เสริมสร้าง<br />
ความรักความสามัคคี และสอดคล้องกับ<br />
ขนบธรรมเนียม ประเพณีวัฒนธรรม เช่น โครงการ<br />
ลดละเลิกสุราในช่วงเข้าพรรษา โครงการบวชเณร<br />
ใน 1 ชั้นเรียนของโรงเรียนในพื้นที่ โครงการ<br />
ต้นกล้าพระเพลิง เป็นต้น<br />
ส่วนแนวทางในการแก้ไขปัญหาความรุนแรงนั้น พื้นที่องค์กรบริหารส่วนต าบลพระเพลิง<br />
ไม่มีกลไกการบริหารงานหรือคณะกรรมการที่ดูแลโดยตรง แต่โดยรูปแบบของวัฒนธรรมท้องถิ่นใน<br />
พื้นที่มีความเข็มแข็งและสมัครสมานสามัคคีในชุมชน จึงอาศัยความสามารถของ นายกองค์การ<br />
บริหารส่วนต าบล ก านัน ผู้ใหญ่บ้าน เข้าไปแก้ไขและจัดการปัญหาความรุนแรงที่เกิดขึ้น<br />
51
การส ารวจสถานการณ์ความรุนแรง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี <strong>2556</strong><br />
2) องค์กำรบริหำรส่วนต ำบลทับพริก<br />
มียุทธศาสตร์ รูปแบบและกลไกที่<br />
ชัดเจนในการป้องกันและแก้ไขปัญหาความ<br />
รุนแรงในพื้นที่ โดยองค์การบริหารส่วนต าบล<br />
ทับพริกมีการขับเคลื่อนบน ยุทธศาสตร์ 3<br />
สายใย<br />
1. สายใยรักจากอสม.สู่ชุมชน – ตรวจคัดกรองโรค มีการเยี่ยมผู้ป่วยและติดตาม<br />
อาการของผู้ป่วยตามบ้าน<br />
2. สายใยรักจากอบต.สู่ชุมชน - ดูแลเรื่องสิ่งแวดล้อม ผู้ป่วยเรื้อรัง รถฉุกเฉินเพื่อ<br />
รับส่งผู้ป่วยไปโรงพยาบาล โดยไม่คิดค่าใช้จ่าย<br />
3. สายใยรักจากผู้น าสู่ชุมชน – ก านัน ผู้ใหญ่บ้าน อพปร. ร่วมมือกันในการแก้ไข<br />
ปัญหายาเสพย์ติด (การจัดท าฐานข้อมูลยาเสพย์ติดในชุมชน เพื่อที่จัดการกับกลุ่มเสี่ยงก่อนที่จะเกิด<br />
ความรุนแรง) จัดระเบียบสังคม ในพื้นที่อ าเภอทับพริก (ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน ศูนย์เฝ้าระวัง<br />
หญิง (หญิงไทยใสสวยด้วยชุมชน)<br />
โดยมีศูนย์ประสานงานเครือข่ายองค์กรชุมชน ต.ทับพริก(ศอชต.) เป็นกลไกส าคัญ<br />
ประกอบด้วย<br />
1. ศูนย์เฝ้าระวังหญิง(หญิงไทยใสสวยด้วยชุมชน)<br />
2. ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน<br />
3. ศูนย์เฝ้าระวังป้องกันและแก้ไขปัญหาเด็กและเยาวชน<br />
4. สภาเด็กและเยาวชนต าบลทับพริก<br />
5. ศูนย์ต ารวจชุมชน<br />
6. ศูนย์ต่อสู้เอาชนะยาเสพติด<br />
7. ศูนย์รับส่งผู้ป่วยฉุกเฉินและเรื้อรัง<br />
โดยการน าและขับเคลื่อนยุทธศาสตร์โดยองค์การบริหารส่วนต าบลร่วมกับหน่วยงานพื้นที่<br />
เช่นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบล เป็นต้น และภาคีเครือข่าย เช่น ส านักงานพัฒนาสังคมและ<br />
ความมั่นคงของมนุษย์<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> และที่ส าคัญที่สุดคือ ประชาชนที่มีจิตอาสาเข้ามามีส่วนร่วมใน<br />
ศูนย์ประสานงานเครือข่ายองค์กรชุมชน ต.ทับพริก(ศอชต.) แต่ละศูนย์<br />
52
การส ารวจสถานการณ์ความรุนแรง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี <strong>2556</strong><br />
3) ชุมชนหมู่บ้ำนคลองอำรำง<br />
ต.บ้ำนแก้ง อ.เมืองสระแก้ว<br />
มีรูปแบบและกลไกที่ชัดเจนในการ<br />
ป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงในพื้นที่ โดย<br />
อาศัยกลไกของคณะกรรมการหมู่บ้านในการเข้าไป<br />
ป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงที่เกิดขึ้น และ<br />
ที่ส าคัญมีธรรมนูญสุขภาพบ้านคลองอารางหมู่บ้าน<br />
น่าอยู่ด้วยกระบวนการจัดการตนเองอย่างยั่งยืน<br />
(ฉบับที่1) พ.ศ.2555 เป็นเสมือนข้อตกลงร่วมกัน<br />
ของชาวบ้านคลองอาราง หน่วยงาน องค์กรกลุ่มชุมชน ภาคีเครือข่ายในพื้นที่ เพื่อสร้างสุขภาวะทาง<br />
กาย จิต สติปัญญา ของประชาชนในหมู่บ้าน<br />
และสิ่งที่น่าสนใจของชุมชนบ้านคลองอาราง คือ การถ่ายทอดความรู้ ความเข้าใจทางด้าน<br />
ประเพณีวัฒนธรรม และการอยู่อย่างมีความสุข ด้วยการคิดเชิงบวก ซึ่งเป็นการสร้างภูมิคุ้มกันในกับ<br />
เด็ก เยาวชน ประชาชนในหมู่บ้าน ห่างไกลจากสถานการณ์ความรุนแรงที่เกิดขึ้นในครอบครัวและ<br />
ชุมชน จากรุ่นสู่รุ่น จากอดีตจนถึงปัจจุบัน<br />
4. กิจกรรมโครงกำรในกำรป้องกันและแก้ไขปัญหำควำมรุนแรง<br />
จากการสัมภาษณ์ผู้บริหารและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรง<br />
ของชุมชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั้ง 3 แห่ง พบว่า มีกิจกรรมโครงการในการป้องกันและ<br />
แก้ไขปัญหาความรุนแรงดังนี้<br />
องค์กำรบริหำรส่วนต ำบลพระเพลิง<br />
1. โครงการสภาเด็กและเยาวชน<br />
2. โครงการต้นกล้าพระเพลิง<br />
3. โครงการเพื่อเสริมสร้างความรักความสามัคคีในครอบครัว<br />
4. โครงการลดละเลิกสุราช่วงเข้าพรรษา<br />
5. โครงการบวชเณร ใน 1 ชั้นเรียนของโรงเรียนในพื้นที่<br />
6. โครงการเยี่ยมบ้านเยี่ยมใจ<br />
7. โครงการห่วงใยผู้สูงอายุผู้พิการ เด็กและเยาวชน<br />
8. โครงการจูงมือลูกหลานเข้าวัด<br />
53
การส ารวจสถานการณ์ความรุนแรง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี <strong>2556</strong><br />
องค์กำรบริหำรส่วนต ำบลทับพริก<br />
1. โครงการสภาเด็กและเยาวชน<br />
2. โครงการสวยใสไม่ท้อง<br />
3. โครงการ 25 ตาสัปปะรด<br />
4. โครงการลดละเลิกสุราช่วงเข้าพรรษา<br />
5. โครงการกีฬาต้านยาเสพติด<br />
6. โครงการบรรพชาสามเณรภาคฤดูร้อน<br />
7. โครงการหมู่บ้านคู่ขนานชายแดนกับประเทศกัมพูชา<br />
8. โครงการต่างๆภายใต้ศูนย์ประสานงานเครือข่ายองค์กรชุมชน ต.ทับพริก(ศอชต.)<br />
ชุมชนบ้ำนอำรำง ต.บ้ำนแก้ง อ.เมืองสระแก้ว<br />
1. โครงการครอบครัวประชาธิปไตย<br />
2. โครงการกีฬาต้านยาเสพติด<br />
3. โครงการบรรพชาสามเณรภาคฤดูร้อน<br />
4. โครงการครอบครัวอบอุ่น(ร่วมกิจกรรมเข้าค่ายทั้งครอบครัว พ่อ แม่ ลูก)<br />
ช่วงวันสงกรานต์<br />
5. โครงการค่ายธรรมะ<br />
6. โครงการก่อนเกษียณอายุ<br />
7. โครงการเข้าค่ายเยาวชน<br />
8. โครงการต ารวจจิ๋ว<br />
54
การส ารวจสถานการณ์ความรุนแรง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี <strong>2556</strong><br />
5. ภำคีเครือข่ำยที่เข้ำมำมีส่วนร่วมในกำรป้องกันและแก้ไขปัญหำควำมรุนแรง<br />
จากการสัมภาษณ์ผู้บริหารและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรง<br />
ของชุมชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั้ง 3 แห่ง พบว่า ทั้ง 3 พื้นที่มีหน่วยงานภาคีเครือข่ายที่<br />
เข้ามามีส่วนร่วมและส่งเสริมกิจกรรมการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงโดยเฉพาะหน่วยงาน<br />
ภาครัฐ โดยเข้ามาสนับงบประมาณ กิจกรรม โครงการ และวิทยากร ได้แก่ ส านักพัฒนาสังคมและ<br />
ความมั่นคงของมนุษย์<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> (ส่งเสริมอาชีพ ผู้สูงอายุ เยาวชนและเครือข่ายเฝ้าระวัง)<br />
ส านักงานพัฒนาชุมชน(เศรษฐกิจพอเพียง) สาธารณสุขจังหวัด(ด้านสุขภาพ) หน่วยงานด้านความ<br />
มั่นคง เช่น กองอ านวยการรักษาความมั่นคงภายใน (กอ.รมน.)<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> กองก าลังบูรพา<br />
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สถานีต ารวจภูธรในพื้นที่ และส านักงานยุติธรรมจังหวัด เป็นต้น<br />
และในบ้างพื้นที่มีภาคีเครือข่ายกับประเทศเพื่อนบ้านในการประสานงานระหว่างเครือข่าย<br />
กับประเทศเพื่อนบ้าน (กัมพูชา) จัด “โครงการหมู่บ้านคู่ขนานชายแดนกับประเทศกัมพูชา”<br />
เป็นโครงการของกองก าลังบูรพา มีการท างานร่วมกันระหว่าง 2 ประเทศ มีการแลกเปลี่ยนเบอร์<br />
โทรศัพท์ และใช้วิทยุสื่อสารเป็นช่องทางในการประสานงาน ที่ผ่านมาได้ท างานร่วมกันในเรื่องของการ<br />
โจรกรรมรถยนต์ รถจักรยานยนต์<br />
6. ปัจจัยที่ส่งผลควำมส ำเร็จในกำรป้องกันและแก้ไขปัญหำควำมรุนแรง<br />
จากการสัมภาษณ์ผู้บริหารและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรง<br />
ของชุมชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั้ง 3 แห่ง พบว่า ปัจจัยที่ส่งผลต่อความส าเร็จ คือ ความ<br />
สามัคคีประชาชนในชุมชนและความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้น ากับประชาชนในพื้นที่ ทั้งสองปัจจัยมี<br />
ความส าคัญต่อความส าเร็จในการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรง<br />
“ ปัจจัยที่ท าให้การแก้ไขปัญหาของอบต.ประสบความส าเร็จได้ คือ ความสัมพันธ์ที่ดีระหว่าง<br />
ผู้น าชุมชนภายในพื้นที่อบต.พระเพลิง ที่ไม่มีความขัดแย้ง มีความสามัคคี ท าให้การแก้ไขปัญหาได้ง่าย<br />
”<br />
(นายกองค์การบริหารส่วนต าบลพระเพลิง ,8 กรกฎาคม <strong>2556</strong>)<br />
“ ความสามัคคีของชุมชน ประชาชนในชุมชนมีจิตอาสา ให้ความร่วมมือกับหน่วยงานที่<br />
เกี่ยวข้องในแก้ไขปัญหาอย่างจริงจัง ”<br />
(นายกองค์การบริหารส่วนต าบลทับพริก ,8 กรกฎาคม <strong>2556</strong>)<br />
“ ความสามัคคีของชุมชน และความร่วมมือจากประชาชนที่เกี่ยวข้องในแก้ไขปัญหาอย่าง<br />
จริงจังรวมถึงวัฒนธรรมชุมชนของที่นี้ด้วย ”<br />
(ผู้ใหญ่บ้านคลองอาราง ,29 กรกฎาคม <strong>2556</strong>)<br />
55
การส ารวจสถานการณ์ความรุนแรง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี <strong>2556</strong><br />
7. ปัญหำอุปสรรคและข้อเสนอแนะในกำรป้องกันและแก้ไขปัญหำควำมรุนแรง<br />
จากการสัมภาษณ์ผู้บริหารและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรง<br />
ของชุมชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั้ง 3 แห่ง พบว่า มีปัญหาในเรื่องของงบประมาณที่ใช้ใน<br />
การจัดกิจกรรม และจัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรง และบางพื้นที่<br />
ประสบปัญหาความรุนแรงของยาเสพติดที่แพร่ระบาดเข้ามาในชุมชน ซึ่งต้องการให้หน่วยงานที่<br />
เกี่ยวข้องให้ความส าคัญเป็นพิเศษ<br />
“ปัญหาความรุนแรงที่เกิดขึ้นจากยาเสพย์ติดในชุมชนนั้น เป็นปัญหาส าคัญในทุกชนชน ซึ่ง<br />
จ าเป็นจะต้องได้รับการแก้ไขปัญหาในประเทศจากนโยบายของรัฐ ต้องใช้เจ้าหน้าที่ต ารวจในการ<br />
แก้ปัญหา เพราะในระดับชุมชนยังไม่สามารถแก้ปัญหานี้ได้”<br />
(นายกองค์การบริหารส่วนต าบลพระเพลิง ,8 กรกฎาคม <strong>2556</strong>)<br />
“งบประมาณในการสนับสนุนในส่วนของวิทยุสื่อสาร และค่าน้ ามันรถในการออกตรวจความ<br />
เรียบร้อยภายในต าบล”<br />
56
การส ารวจสถานการณ์ความรุนแรง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี <strong>2556</strong><br />
บทที่ 5<br />
สรุปผลกำรวิจัยและข้อเสนอแนะ<br />
การวิจัยเรื่องการส ารวจสถานการณ์ความรุนแรง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี <strong>2556</strong> ครั้งนี้<br />
มีวัตถุประสงค์ เพื่อส ารวจสถานการณ์ความรุนแรงต่อเด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ ผู้ด้อยโอกาสและ<br />
ศึกษารูปแบบในการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงของชุมชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น<br />
<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ตลอดจน ศึกษาข้อเสนอเชิงนโยบายในการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงของ<br />
<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong>คณะผู้วิจัยได้ก าหนดวิธีการด าเนินการวิจัยทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ การวิจัยครั้ง<br />
นี้มุ่งส ารวจสถานการณ์ความรุนแรงต่อเด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ ผู้ด้อยโอกาสใน<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ซึ่ง<br />
เป็นความรุนแรงที่เกิดขึ้นในครอบครัว ในที่ท างานและความรุนแรงที่เกิดขึ้นในชุมชน และศึกษา<br />
รูปแบบการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงของชุมชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัด<br />
สระแก้ว ตลอดจนการศึกษาข้อเสนอเชิงนโยบายในการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงของ<br />
<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ซึ่งในการวิจัยครั้งนี้ ได้ท าการเก็บข้อมูลจาก กลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่ม คือ<br />
1. ประชาชนในพื้นที่ 9 อ าเภอทั้ง 58 ต าบลของ<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> จ านวน 2,720 คน<br />
วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive Sampling) กลุ่มเด็กและเยาวชน กลุ่มผู้ที่มีงานท า และ<br />
กลุ่มผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาส โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบโควตา (Quota Sampling) เพื่อใช้<br />
ในการเก็บข้อมูลแบบสอบถาม โดยใช้แบบส ารวจข้อมูลสถานการณ์ความรุนแรง ปี <strong>2556</strong> ของศูนย์<br />
เฝ้าระวังและเตือนภัยทางสังคม ส านักงานมาตรฐานการพัฒนาและความมั่นคงของมนุษย์ ส านักงาน<br />
ปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ และท าการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิง<br />
พรรณนา โดยแบบสอบถามปลายปิดจะใช้วิธีการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการแจกแจงค่าความถี่ ค่าร้อย<br />
ละ ส่วนของปลายเปิดจะใช้วิธีการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าความถี่และการจัดกลุ่มของปัญหาและ<br />
ข้อเสนอแนะ<br />
2. ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงของชุมชนและองค์กร<br />
ปกครองส่วนท้องถิ่น<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> จ านวน 3 แห่ง ประกอบด้วย 1) ชุมชนบ้านคลองอาราง ต.บ้าน<br />
แก้ง อ.เมืองสระแก้ว จ.สระแก้ว 2) องค์การบริหารส่วนต าบลพระเพลิง อ.เขาฉกรรจ์ จ.สระแก้ว และ<br />
3) องค์การบริหารส่วนต าบลทับพริก อ.อรัญประเทศ จ.สระแก้ว โดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง<br />
(Purposive Sampling) ผู้บริหารและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เพื่อท าการสัมภาษณ์ข้อมูลและท าการ<br />
วิเคราะห์ข้อมูลใช้วิธีการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) ตามวัตถุประสงค์ของการวิจัย<br />
โดยคณะผู้วิจัยสามารถสรุปผลการศึกษาและข้อเสนอแนะได้ดังนี้<br />
57
การส ารวจสถานการณ์ความรุนแรง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี <strong>2556</strong><br />
สรุปผลกำรวิจัย<br />
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถำม<br />
จากผลการศึกษาผู้ตอบแบบสอบถามจ านวน 2,720 คน ส่วนใหญ่เป็น เพศหญิง<br />
มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 55.70 รองลงมาเป็น เพศชาย มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 44.30 ส่วนใหญ่มีอายุ<br />
ระหว่าง 26 – 59 ปีบริบูรณ์ (วัยท างาน) มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 50.30 มีการศึกษาในระดับ<br />
ประถมศึกษาหรือต่ ากว่า มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 31.40 มีสถานภาพสมรส คิดเป็นร้อยละ 60.00 ส่วน<br />
ใหญ่ประกอบอาชีพ อื่น ๆ (เช่น ลูกจ้างทั่วไป ท านา ท าไร่) มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 21.90 รองลงมา<br />
ประกอบอาชีพ นักเรียน/ นักศึกษา มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 21.70 และไม่ได้ท างาน/ ไม่มีอาชีพ<br />
มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 18.90<br />
ส่วนที่ 2 ข้อมูลสถำนกำรณ์ควำมรุนแรง<br />
2.1 ควำมรุนแรงในครอบครัว<br />
จากผลการส ารวจข้อมูลสถานการณ์ความรุนแรงในครอบครัว พบว่า ผู้ตอบ<br />
แบบสอบถามส่วนใหญ่ มีความสัมพันธ์ของบุคคลในครอบครัวอบอุ่น มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 89.90<br />
และความสัมพันธ์ในครอบครัวไม่อบอุ่น มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 10.10 มีบุคคลใน ครอบครัวที่มี<br />
อารมณ์รุนแรงหรือชอบใช้ก าลัง มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 4.40 เคยถูกกระท าความรุนแรงจากคนใน<br />
ครอบครัว มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 2.00 ภายในครอบครัว มีการกระท าความรุนแรง มีจ านวนคิดเป็น<br />
ร้อยละ 2.40<br />
จากจ านวนผู้ตอบแบบสอบถามที่ภายในครอบครัวมีการกระท าความรุนแรง จ านวน<br />
63 คน (ร้อยละ 2.40) เมื่อจ าแนกตามความรุนแรง พบว่า ภายในครอบครัวมีการกระท าความรุนแรง<br />
โดยส่วนใหญ่ มีการกระท าความรุนแรงทางร่างกาย 1 - 2 ครั้ง มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 55.60 มีการ<br />
กระท าความรุนแรงทางจิตใจ 1 - 2 ครั้ง มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 54.00 มีการกระท าความรุนแรงทาง<br />
เพศ 1 - 2 ครั้ง มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 7.90<br />
ซึ่งเมื่อเกิดความรุนแรงในครอบครัวผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เคยคิดหรือเคยท าใน<br />
การป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงในครอบครัว โดยส่วนใหญ่ ท ากิจกรรมนอกบ้าน มีจ านวนคิด<br />
เป็นร้อยละ 25.00 รองลงมา ไม่คิดท าอะไร มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 18.80 และ หนีออกจากบ้าน มี<br />
จ านวนคิดเป็นร้อยละ 17.90<br />
สาเหตุของการเกิดความรุนแรงในครอบครัวของผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ เมา<br />
สุรา มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 31.80 รองลงมา ตกงาน/เศรษฐกิจ มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 16.60 และ<br />
หึงหวง/นอกใจ มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 13.40<br />
ลักษณะความสัมพันธ์ของผู้กระท าและผู้ถูกกระท าของผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่<br />
เป็น ผู้ที่อยู่กินกันฉันสามีภรรยา(ไม่ได้จดทะเบียน) มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 33.00 รองลงมา บุตร<br />
บุตรบุญธรรม(เด็ก เยาวชนฯลฯ)โดยคนในครอบครัว มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 28.20 และคู่สมรส<br />
(สามีภรรยา) มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 23.50<br />
58
การส ารวจสถานการณ์ความรุนแรง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี <strong>2556</strong><br />
ผู้ถูกกระท าความรุนแรงหรือได้รับผลกระทบจากความรุนแรงของผู้ตอบ<br />
แบบสอบถามส่วนใหญ่ คือ สตรี มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 44.90 รองลงมา เด็กหรือเยาวชน มีจ านวน<br />
คิดเป็นร้อยละ 43.00 และ ผู้สูงอายุหรือผู้พิการ มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 10.20<br />
หากเกิดความรุนแรงในครอบครัว โดยส่วนใหญ่ ช่วยห้ามปราม/ไกล่เกลี่ย มีจ านวน<br />
คิดเป็นร้อยละ 56.50 รองลงมาช่วยห้ามปรามไกล่เกลี่ยและขอความช่วยเหลือ/แจ้งเหตุ มีจ านวนคิด<br />
เป็นร้อยละ 26.00 และขอความช่วยเหลือ/แจ้งเหตุ มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 14.20 การขอความ<br />
ช่วยเหลือหรือแจ้งเหตุหากเกิดความรุนแรงในครอบครัว โดยส่วนใหญ่ เพื่อนบ้าน/คนในชุมชน/<br />
อบต./เทศบาล มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 51.30 รองลงมาคือ สถานีต ารวจ มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ<br />
33.50 และ ส านักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด/ศูนย์ประชาบดี 1300 มีจ านวน<br />
คิดเป็นร้อยละ 8.70<br />
การรับทราบถึงพ.ร.บ.คุ้มครองผู้ถูกกระท าด้วยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ.2550<br />
พบว่า ส่วนใหญ่ ไม่เคยได้ยิน ไม่สนใจ มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 39.50 รองลงมา ไม่ทราบแต่สนใจ<br />
มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 31.20 และ พอทราบบ้าง มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 23.50<br />
2.2 ควำมรุนแรงในครอบครัวของคนในชุมชนและควำมรุนแรงในชุมชน<br />
จากผลการส ารวจข้อมูลสถานการณ์ความรุนแรงในครอบครัวของคนในชุมชนและ<br />
ความรุนแรงในชุมชน พบว่า ส่วนใหญ่ภายในชุมชนไม่มีการกระท าความรุนแรง มีจ านวนคิดเป็น<br />
ร้อยละ 95.40 และ ภายในชุมชนมีการกระท าความรุนแรง มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 4.60<br />
จากจ านวนผู้ตอบแบบสอบถามที่ภายในชุมชนมีการกระท าความรุนแรง 126 คน<br />
(ร้อยละ 4.60) พบว่า ภายในชุมชนมีการกระท าความรุนแรง โดยส่วนใหญ่ เคยมีการกระท าความ<br />
รุนแรงทางร่างกาย 1 - 2 ครั้ง มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 50.00 ภายในชุมชนเคยมีการกระท าความ<br />
รุนแรงทางจิตใจ 1 - 2 ครั้ง มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 38.10 และเคยมีการกระท าความรุนแรงทางเพศ<br />
1 - 2 ครั้ง มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 11.10<br />
ส่วนสถานที่ในการกระท าความรุนแรงในครอบครัวของคนในชุมชนผู้ตอบ<br />
แบบสอบถามโดยส่วนใหญ่ มีการกระท าความรุนแรง ที่บ้าน มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 58.50 รองลงมา<br />
ทางเท้า ถนน สวนสาธารณะ มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 16.50 และ ตลาด มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ<br />
13.10<br />
สาเหตุของการเกิดความรุนแรงในครอบครัวของคนในชุมชนของผู้ตอบแบบสอบถาม<br />
ส่วนใหญ่ เกิดจาก เมาสุรา มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 39.10 รองลงมา หึงหวง/นอกใจ มีจ านวนคิดเป็น<br />
ร้อยละ 19.80 และ เครียด/สุขภาพจิต มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 14.10<br />
การไกล่เกลี่ยความรุนแรงของคนในชุมชนของผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ ไม่เคย<br />
ไกล่เกลี่ยความรุนแรง มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 38.90 รองลงมา เคยไกล่เกลี่ยความรุนแรง มีจ านวน<br />
คิดเป็นร้อยละ 32.50<br />
ลักษณะความสัมพันธ์ของผู้กระท าและผู้ถูกกระท าของคนในชุมชนของผู้ตอบ<br />
แบบสอบถาม ส่วนใหญ่เป็น ผู้ที่อยู่กินกันฉันสามีภรรยา(ไม่ได้จดทะเบียน) มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ<br />
59
การส ารวจสถานการณ์ความรุนแรง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี <strong>2556</strong><br />
27.90 รองลงมา คู่สมรส (สามีภรรยา) มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 24.30 และบุตร บุตรบุญธรรม(เด็ก<br />
เยาวชนฯลฯ)โดยคนในครอบครัว มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 19.90<br />
ผู้ถูกกระท าหรือผู้ได้รับผลกระทบจากความรุนแรงในครอบครัวในชุมชนของผู้ตอบ<br />
แบบสอบถามส่วนใหญ่ คือ เด็กหรือเยาวชน มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 40.50 รองลงมา สตรี มีจ านวน<br />
คิดเป็นร้อยละ 32.90 และผู้สูงอายุหรือผู้พิการ มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 23.00<br />
หากเกิดความรุนแรงในครอบครัวของคนในชุมชน โดยส่วนใหญ่ ขอความช่วย<br />
เหลือ/แจ้งเหตุ มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 31.50 รองลงมา ช่วยห้ามปราม/ไกล่เกลี่ย มีจ านวนคิดเป็น<br />
ร้อยละ 30.20 และช่วยห้ามปรามไกล่เกลี่ยและขอความช่วยเหลือ/แจ้งเหตุ มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ<br />
27.00<br />
การขอความช่วยเหลือหรือแจ้งเหตุหากเกิดความรุนแรงในครอบครัวของคนใน<br />
ชุมชน โดยส่วนใหญ่ ขอความช่วยเหลือหรือแจ้งเหตุจาก เพื่อนบ้าน/คนในชุมชน/อบต./เทศบาล<br />
มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 45.60 รองลงมาคือ สถานีต ารวจ มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 42.80 และ<br />
ส านักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด/ศูนย์ประชาบดี 1300 มีจ านวนคิดเป็น<br />
ร้อยละ 7.10<br />
ข้อเสนอแนะเพื่อแก้ไขปัญหาความรุนแรงในครอบครัวของคนในชุมชน โดยส่วน<br />
ใหญ่ ปลูกจิตส านึกให้คนในชุมชนตระหนักถึงปัญหาความรุนแรงในชุมชนและร่วมกันเฝ้าระวังปัญหา<br />
มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 39.00 รองลงมาคือ ให้ร่วมกันท ากิจกรรม/สร้างความอบอุ่นในครอบครัวของ<br />
ตนเองและครอบครัวของคนในชุมชน มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 37.30 และให้มีส่วนร่วมกับหน่วยงาน/<br />
องค์กรในการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรง มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 23.40<br />
ในรอบ 1 ปี ที่ผ่านมา คนในชุมชนไม่เคยถูกกระท าความรุนแรงจากคนที่รู้จัก<br />
มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 92.50 และ เคยถูกกระท าความรุนแรงจากคนที่รู้จัก มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ<br />
7.50<br />
ในรอบ 1 ปี ผ่านมา คนในชุมชนส่วนใหญ่ไม่เคยถูกกระท าความรุนแรงจากคนที่ไม่<br />
รู้จักกัน มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 99.10 และเคยถูกกระท าความรุนแรงจากคนที่ไม่รู้จักกัน<br />
มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 0.90<br />
จากจ านวนผู้ตอบแบบสอบถาม คนในชุมชนเคยถูกกระท าความรุนแรงจากบุคคลที่<br />
ไม่รู้จักกัน จ านวน 25 คน (ร้อยละ 0.90) พบว่า คนในชุมชนเคยถูกกระท าความรุนแรง โดยส่วน<br />
ใหญ่ เคยถูกกระท าความรุนแรง 1 - 2 ครั้ง มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 80.00 และ เคยถูกกระท าความ<br />
รุนแรง 3 – 5 ครั้ง มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 20.00<br />
สถานที่ที่คนในชุมชนถูกกระท าความรุนแรงจากบุคคลที่ไม่รู้จักกันของผู้ตอบ<br />
แบบสอบถาม โดยส่วนใหญ่ คนในชุมชนถูกกระท าความรุนแรง ที่บ้าน มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ<br />
41.10 รองลงมาคือ ทางเท้า ถนน สวนสาธารณะ มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ19.20 และตลาดมีจ านวน<br />
คิดเป็นร้อยละ 17.80<br />
60
การส ารวจสถานการณ์ความรุนแรง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี <strong>2556</strong><br />
คนในชุมชนที่ได้รับผลกระทบจากความรุนแรง (โดยบุคคลอื่นที่ไม่รู้จัก) ของผู้ตอบ<br />
แบบสอบถามส่วนใหญ่ คือเด็กหรือเยาวชน มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 43.20 รองลงมาคือสตรีมีจ านวน<br />
คิดเป็นร้อยละ 41.90 และผู้สูงอายุหรือผู้พิการ มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 14.90<br />
ผู้ที่ได้รับผลกระทบจากความรุนแรง (โดยบุคคลอื่นที่ไม่รู้จัก) ของผู้ตอบ<br />
แบบสอบถามส่วนใหญ่ คือ คนในชุมชน เพื่อนบ้าน มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 52.50 รองลงมาคือ<br />
ประชาชนที่เข้ามาในชุมชนชั่วคราว มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 21.30 และคนในครอบครัวของตนเอง<br />
มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 19.70<br />
ข้อเสนอแนะเพื่อแก้ปัญหาความรุนแรงจากบุคคลที่ไม่รู้จักกันในชุมชน โดยส่วนใหญ่<br />
ให้ร่วมกันเฝ้าระวังปัญหาความรุนแรง มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 45.10 รองลงมาคือ ปลูกจิตส านึกให้<br />
คนในชุมชนตระหนักถึงปัญหาความรุนแรงจากบุคคลที่ไม่รู้จักกัน มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 30.80 และ<br />
ให้มีส่วนร่วมกับหน่วยงาน/องค์กรในการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงมีจ านวนคิดเป็นร้อยละ<br />
23.90<br />
2.3 ควำมรุนแรงในที่ท ำงำน<br />
จากผลการส ารวจข้อมูลสถานการณ์ความรุนแรงในที่ท างาน พบว่า ผู้ตอบ<br />
แบบสอบถามโดยส่วนใหญ่ ท างาน แต่ไม่มีการกระท าด้วยความรุนแรง มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ<br />
57.70 รองลงมาคือ ไม่ได้ท างาน มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 40.60 และท างานและเคยพบเห็นการ<br />
กระท าด้วยความรุนแรง มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 1.30<br />
โดยพบว่าผู้ตอบแบบสอบถามที่ท างานมีจ านวน 1,616 คน (คิดเป็นร้อยละ59.40)<br />
เคยถูกกระท าความรุนแรงทางร่างกายในที่ท างาน (โดย หัวหน้า ลูกน้อง เพื่อนร่วมงาน เจ้าของ<br />
กิจการ) มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 0.10 เคยถูกกระท าความรุนแรงทางจิตใจในที่ท างาน มีจ านวนคิด<br />
เป็นร้อยละ 0.70 เคยถูกกระท าความรุนแรงทางเพศในที่ท างาน มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 0.40<br />
และพบว่าสถานที่ท างานของผู้ตอบแบบสอบถาม เคยมีการกระท าความรุนแรง<br />
ทางร่างกาย มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 1.00 เคยมีการกระท าความรุนแรงทางจิตใจ มีจ านวนคิดเป็น<br />
ร้อยละ 1.00 และเคยมีการกระท าความรุนแรงทางเพศ มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 0.20<br />
ส่วนสาเหตุของการเกิดความรุนแรงในที่ท างานของผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่<br />
เกิดจาก เมาสุรา มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 26.00 รองลงมาคือ เครียด/สุขภาพจิต มีจ านวนคิดเป็น<br />
ร้อยละ 20.10 และความสัมพันธ์ในครอบครัวห่างเหิน มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 16.90<br />
ส่วนการแก้ไขปัญหาของผู้ถูกกระท าความรุนแรงในที่ท างานของผู้ตอบ<br />
แบบสอบถามส่วนใหญ่ คือ หลบเลี่ยง มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 54.50 รองลงมาคือ ปกป้องตนเอง<br />
(ตอบโต้ ร้องเรียน แจ้งต ารวจ แจ้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ฯลฯ) มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 27.30 และ<br />
ไม่แก้ไข เฉยๆ มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 11.30<br />
61
การส ารวจสถานการณ์ความรุนแรง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี <strong>2556</strong><br />
ผู้ถูกกระท าความรุนแรงในที่ท างานของผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ คือ สตรี<br />
มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 64.60 รองลงมาคือ เด็กหรือเยาวชน มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 27.70 และ<br />
อื่นๆ มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 7.70 และเมื่อมีการเกิดความรุนแรงในที่ท างานพบว่า ไม่เคยไกล่เกลี่ย<br />
ความรุนแรง มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 54.50 และ เคยไกล่เกลี่ยความรุนแรง มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ<br />
45.50<br />
และหากเกิดความรุนแรงในสถานที่ท างาน พบว่า โดยส่วนใหญ่ ช่วยห้ามปราม/ไกล่<br />
เกลี่ย มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 68.10 รองลงมาคือ ช่วยห้ามปรามไกล่เกลี่ยและขอความช่วยเหลือ/<br />
แจ้งเหตุ มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 16.20 และขอความช่วยเหลือ/แจ้งเหตุ มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ<br />
10.40<br />
ข้อเสนอแนะเพื่อแก้ไขปัญหาความรุนแรงในสถานที่ท างาน โดยส่วนใหญ่ ปลูก<br />
จิตส านึกให้คนในที่ท างานตระหนักถึงปัญหาความรุนแรง มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 39.50 รองลงมา<br />
คือ ให้ร่วมกันเฝ้าระวังปัญหาความรุนแรง มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 38.80 และให้มีส่วนร่วมกับ<br />
หน่วยงาน/องค์กรในการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรง มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 21.00<br />
และจากการส ารวจความเครียด วิตกกังวล จากความรุนแรงด้านต่าง ๆ ของผู้ตอบ<br />
แบบสอบถาม โดยส่วนใหญ่ เครียดและวิตกกังวลจากความรุนแรงของครอบครัวของคนในชุมชน<br />
โดยบุคคลอื่นที่ไม่รู้จักกัน(คนร้าย คนแปลกหน้า ฯลฯ จากปัญหาความขัดแย้ง การเมือง ปัญหา<br />
ชายแดนใต้ การระเบิด ปล้น จี้ อาชญากรรมฯลฯ) มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 33.30 รองลงมาคือ อื่นๆ<br />
(ระบุ ) ไม่เครียด มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 22.40 และความรุนแรงของครอบครัวของคนในชุมชน โดย<br />
บุคคลอื่นที่รู้จักกัน(ญาติ แฟน กิ๊ก เพื่อน เพื่อนบ้าน คนในชุมชน ฯลฯ) มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ<br />
16.30<br />
ส าหรับการช่วยลดความรุนแรงในครอบครัวและความรุนแรงอื่นๆ ของผู้ตอบ<br />
แบบสอบถาม โดยส่วนใหญ่ เฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่(คนในครอบครัว คนในชุมชน เพื่อนบ้าน ฯลฯ)<br />
มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 20.70 รองลงมาคือ แจ้งผู้เกี่ยวข้องเมื่อพบเหตุการณ์ต่างๆ มีจ านวนคิดเป็น<br />
ร้อยละ 20.20 และช่วยไกล่เกลี่ยประนีประนอม มีจ านวนคิดเป็นร้อยละ 15.60<br />
ส่วนที่ 3 รูปแบบกำรป้องกันและแก้ไขปัญหำควำมรุนแรงของชุมชนและองค์กรปกครอง<br />
ส่วนท้องถิ่น<br />
จากการวิเคราะห์ข้อมูลความรุนแรงที่เกิดขึ้นและวิธีการป้องกันและแก้ไขปัญหาของชุมชน<br />
และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใน<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong>สามารถก าหนดรูปแบบการป้องกันและแก้ไขปัญหา<br />
ความรุนแรงของชุมชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้ดังนี้<br />
1) องค์กำรบริหำรส่วนต ำบลพระเพลิง เน้นวิธีการและแนวทางในการท านโยบายเชิงรุก โดย<br />
การป้องกันไม่ให้เกิดความรุนแรงในพื้นที่ โดยอาศัยกิจกรรมที่เสริมสร้างความรักความสามัคคี และ<br />
สอดคล้องกับขนบธรรมเนียม ประเพณีวัฒนธรรม เช่น โครงการลดละเลิกสุราในช่วงเข้าพรรษา<br />
โครงการบวชเณร ใน 1 ชั้นเรียนของโรงเรียนในพื้นที่ โครงการต้นกล้าพระเพลิง เป็นต้น<br />
62
การส ารวจสถานการณ์ความรุนแรง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี <strong>2556</strong><br />
ส่วนแนวทางในการแก้ไขปัญหาความรุนแรงนั้น พื้นที่องค์กรบริหารส่วนต าบลพระเพลิง<br />
ไม่มีกลไกการบริหารงานหรือคณะกรรมการที่ดูแลโดยตรง แต่โดยรูปแบบของวัฒนธรรมท้องถิ่นใน<br />
พื้นที่มีความเข็มแข็งและสมัครสมานสามัคคีในชุมชน จึงอาศัยความสามารถของ นายกองค์การ<br />
บริหารส่วนต าบล ก านัน ผู้ใหญ่บ้าน เข้าไปแก้ไขและจัดการปัญหาความรุนแรงที่เกิดขึ้น<br />
อบต.พระเพลิง<br />
การป้องกันและ<br />
แก้ไขปัญหา<br />
ความรุนแรง<br />
ภำคีเครือข่ำย<br />
ภำพที่ 5-1 รูปแบบการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงในครอบครัวและชุมชนของ<br />
องค์การบริหารส่วนต าบลพระเพลิง<br />
2) องค์กำรบริหำรส่วนต ำบลทับพริก มียุทธศาสตร์ รูปแบบและกลไกที่ชัดเจนในการป้องกัน<br />
และแก้ไขปัญหาความรุนแรงในพื้นที่ โดยองค์การบริหารส่วนต าบลทับพริกมีการขับเคลื่อนบน<br />
ยุทธศาสตร์ 3 สายใย<br />
1. สายใยรักจากอสม.สู่ชุมชน – ตรวจคัดกรองโรค มีการเยี่ยมผู้ป่วยและติดตาม<br />
อาการของผู้ป่วยตามบ้าน<br />
2. สายใยรักจากอบต.สู่ชุมชน - ดูแลเรื่องสิ่งแวดล้อม ผู้ป่วยเรื้อรัง รถฉุกเฉินเพื่อ<br />
รับส่งผู้ป่วยไปโรงพยาบาล โดยไม่คิดค่าใช้จ่าย<br />
3. สายใยรักจากผู้น าสู่ชุมชน – ก านัน ผู้ใหญ่บ้าน อปพร. ร่วมมือกันในการแก้ไข<br />
ปัญหายาเสพติด (การจัดท าฐานข้อมูลยาเสพติดในชุมชน เพื่อที่จัดการกับกลุ่มเสี่ยงก่อนที่จะเกิด<br />
ความรุนแรง) จัดระเบียบสังคม ในพื้นที่อ าเภอทับพริก (ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน ศูนย์เฝ้าระวัง<br />
หญิง (หญิงไทยใสสวยด้วยชุมชน)<br />
63
การส ารวจสถานการณ์ความรุนแรง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี <strong>2556</strong><br />
โดยมีศูนย์ประสานงานเครือข่ายองค์กรชุมชน ต.ทับพริก(ศอชต.) เป็นกลไกส าคัญ<br />
ประกอบด้วย<br />
1. ศูนย์เฝ้าระวังหญิง(หญิงไทยใสสวยด้วยชุมชน)<br />
2. ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน<br />
3. ศูนย์เฝ้าระวังป้องกันและแก้ไขปัญหาเด็กและเยาวชน<br />
4. สภาเด็กและเยาวชนต าบลทับพริก<br />
5. ศูนย์ต ารวจชุมชน<br />
6. ศูนย์ต่อสู้เอาชนะยาเสพติด<br />
7. ศูนย์รับส่งผู้ป่วยฉุกเฉินและเรื้อรัง<br />
โดยการน าและขับเคลื่อนยุทธศาสตร์โดยองค์การบริหารส่วนต าบลร่วมกับหน่วยงานพื้นที่<br />
เช่น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต าบล เป็นต้น และภาคีเครือข่าย เช่น ส านักงานพัฒนาสังคมและ<br />
ความมั่นคงของมนุษย์<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> และที่ส าคัญที่สุดคือ ประชาชนที่มีจิตอาสาเข้ามามีส่วนร่วมใน<br />
ศูนย์ประสานงานเครือข่ายองค์กรชุมชน ต.ทับพริก(ศอชต.) แต่ละศูนย์<br />
ภาคีเครือข่าย<br />
1.เครือข่ายภาครัฐ<br />
2.เครือข่ายภาคเอกชน<br />
3.เครือข่ายประเทศเพื่อน<br />
บ้าน<br />
ประชาชนที่<br />
มีจิตอาสา<br />
ผู้น าชุมชน<br />
เครือข่าย<br />
พื้นที่<br />
องค์การบริหารส่วนต าบลทับพริก<br />
ยุทธศาสตร์ 3 สายใย<br />
1.สายใยรักจาก อสม.สู่ชุมชน<br />
2.สายใยรักจากอบต.สู่ชุมชน<br />
3.สายใยรักจากผู้น าสู่ชุมชน<br />
ศูนย์ประสานงานเครือข่ายองค์กร<br />
ชุมชน<br />
1. ศูนย์เฝ้าระวังหญิง(หญิงไทยใสสวย<br />
ด้วยชุมชน)<br />
2. ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชน<br />
3. ศูนย์เฝ้าระวังป้องกันและแก้ไข<br />
ปัญหาเด็กและเยาวชน<br />
4. สภาเด็กและเยาวชนต าบลทับพริก<br />
5. ศูนย์ต ารวจชุมชน<br />
6. ศูนย์ต่อสู้เอาชนะยาเสพติด<br />
การป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงในครอบครัว<br />
7. ศูนย์รับส่งผู้ป่วยฉุกเฉินและเรื้อรัง<br />
และชุมชน<br />
ภาพที่ 5-2 รูปแบบการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงในครอบครัวและชุมชนของ<br />
องค์การบริหารส่วนต าบลทับพริก<br />
64
การส ารวจสถานการณ์ความรุนแรง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี <strong>2556</strong><br />
3) ชุมชนหมู่บ้ำนคลองอำรำง ต.บ้ำนแก้ง อ.เมืองสระแก้ว มีรูปแบบและกลไกที่<br />
ชัดเจนในการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงในพื้นที่ โดยอาศัยกลไกของคณะกรรมการหมู่บ้าน<br />
ในการเข้าไปป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงที่เกิดขึ้น และที่ส าคัญมีธรรมนูญสุขภาพบ้านคลอง<br />
อารางหมู่บ้านน่าอยู่ด้วยกระบวนการจัดการตนเองอย่างยั่งยืน(ฉบับที่ 1) พ.ศ.2555 เป็นเสมือน<br />
ข้อตกลงร่วมกันของชาวบ้านคลองอาราง หน่วยงาน องค์กร กลุ่มชุมชน ภาคีเครือข่ายในพื้นที่ เพื่อ<br />
สร้างสุขภาวะทางกาย จิต สติปัญญา ของประชาชนในหมู่บ้าน<br />
และสิ่งที่น่าสนใจของชุมชนบ้านคลองอาราง คือ การถ่ายทอดความรู้ ความเข้าใจทางด้าน<br />
ประเพณีวัฒนธรรม และการอยู่อย่างมีความสุข ด้วยการคิดเชิงบวก ซึ่งเป็นการสร้างภูมิคุ้มกันให้กับ<br />
เด็ก เยาวชน ประชาชนในหมู่บ้าน ห่างไกลจากสถานการณ์ความรุนแรงที่เกิดขึ้นในครอบครัวและ<br />
ชุมชน จากรุ่นสู่รุ่น จากอดีตจนถึงปัจจุบัน<br />
กฎหมำยและระเบียบ<br />
ของส่วนรำชกำรที่เกี่ยวข้อง<br />
ภาพที่ 5-3 รูปแบบการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงในครอบครัวและชุมชนของ<br />
บ้านคลองอาราง ต.บ้านแก้ง อ.เมืองสระแก้ว<br />
65
การส ารวจสถานการณ์ความรุนแรง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี <strong>2556</strong><br />
จากการวิเคราะห์รูปแบบการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงในครอบครัวและชุมชน<br />
ของทั้ง 3 พื้นที่ คณะผู้วิจัยจึงเสนอรูปแบบการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงในครอบครัวและ<br />
ชุมชนของ<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong>ดังนี้<br />
ภาพที่ 5-4 รูปแบบการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงในครอบครัวและชุมชนของ<br />
<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong><br />
จากภาพที่ 5-4 อธิบายถึงการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงในครอบครัวและชุมชน<br />
ต้องมีองค์ประกอบที่ส าคัญ 4 องค์ประกอบ คือ ครอบครัว ชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและ<br />
ภาคีเครือข่าย โดยมีกลไกที่ส าคัญในการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรง ได้แก่ กระบวนการมี<br />
ส่วนร่วม การสร้างความสามัคคีในชุมชน การสร้างองค์ความรู้และการประสานงาน และบูรณาการ<br />
งาน<br />
66
การส ารวจสถานการณ์ความรุนแรง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี <strong>2556</strong><br />
ภาพที่ 5-5 วิสัยทัศน์ของส านักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong><br />
ข้อเสนอเชิงนโยบำย<br />
การวิจัยเรื่องการส ารวจสถานการณ์ความรุนแรง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี <strong>2556</strong> ครั้งนี้<br />
มีวัตถุประสงค์เพื่อส ารวจสถานการณ์ความรุนแรงต่อเด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ ผู้ด้อยโอกาสและ<br />
ศึกษารูปแบบในการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงของชุมชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น<br />
<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ตลอดจน ศึกษาข้อเสนอเชิงนโยบายในการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงของ<br />
<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong>ซึ่งจากผลการศึกษาจะพบว่า สถานการณ์ความรุนแรงที่เกิดขึ้นในครอบครัว ในที่<br />
ท างานและความรุนแรงที่เกิดขึ้นในชุมชน<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> แม้มีความรุนแรงไม่มากนัก แต่ยังมีประเด็น<br />
จากการศึกษาที่น่าสนใจ ทั้งสาเหตุของการเกิดความรุนแรงซึ่งเกิดจากการเมาสุราเป็นอันดับหนึ่ง<br />
โดยผลความรุนแรงมักเกิดขึ้นกับคู่สามีภรรยาที่ไม่ได้จดทะเบียนสมรส และเมื่อเกิดความรุนแรงขึ้น<br />
มักจะเป็นการไกล่เกลี่ยในครอบครัว โดยมีเพียงจ านวนไม่มากนักที่เลือกแจ้งศูนย์ประชาบดี<br />
ของกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ และผลการส ารวจยังพบว่าประชาชน ส่วนใหญ่<br />
ไม่ทราบถึงพ.ร.บ.คุ้มครองผู้ถูกกระท าด้วยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ.2550 เป็นต้น<br />
คณะผู้วิจัยได้ศึกษาวิสัยทัศน์ของส านักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์<br />
<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> พร้อมทั้งประเด็นยุทธศาสตร์และเป้าประสงค์ของแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี<br />
พ.ศ. 2555 – 2558 และเมื่อพิจารณาสถานการณ์ความรุนแรงของ<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong>ที่มีระดับความ<br />
รุนแรงเพียงเล็กน้อย จึงได้ก าหนดแนวทางการด าเนินการด้านเฝ้าระวังและเตือนภัยทางสังคม เรื่อง<br />
สถานการณ์ความรุนแรง เป็นระดับกลยุทธ์ของวิสัยทัศน์ดังกล่าว เนื่องจากมีความเหมาะสมกับ<br />
สถานการณ์และระดับความส าคัญ (ภาพที่ 5-5 วิสัยทัศน์ของส านักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคง<br />
ของมนุษย์<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong>) โดยเป็นการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงระดับกลยุทธ์ แบ่ง<br />
ออกเป็น 3 ระยะ ดังนี้<br />
1. นโยบำยและมำตรกำรระยะสั้น<br />
1.1 ควรมีนโยบายและมาตรการในการเร่ง รณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ความ<br />
เข้าใจในเรื่องความรุนแรงในครอบครัว ชุมชนและที่ท างาน เช่น พ.ร.บ.คุ้มครองผู้ถูกกระท าด้วยความ<br />
รุนแรงในครอบครัว พ.ศ.2550 กับประชาชนทุกภาคส่วน โดยการใช้สื่อประชาสัมพันธ์อย่าง<br />
67
การส ารวจสถานการณ์ความรุนแรง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี <strong>2556</strong><br />
หลากหลาย ทั้งวิทยุ โทรทัศน์ สื่อสิ่งพิมพ์และสื่อออนไลน์ รวมถึงการจัดอบรมให้ความรู้กับเด็กและ<br />
เยาวชนทั้งในและนอกระบบการศึกษาและกับกลุ่มเป้าหมาย เด็ก สตรีและเยาวชน ผู้สูงอายุซึ่งเป็น<br />
ผู้ถูกกระท าความรุนแรง ให้ครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมายและทุกพื้นที่<br />
1.2 ควรมีนโยบายและมาตรการในการให้ความช่วยเหลือทางสังคมแก่ประชาชนเพื่อ<br />
บรรเทาภาวะวิกฤตต่าง ๆ อาทิ ปัญหาการว่างงาน ปัญหาความยากจน และการส่งเสริมผู้ด้อยโอกาส<br />
ทางสังคม เป็นต้น เพื่อไม่น าไปสู่การกระท าความรุนแรงในครอบครัวและสังคมอย่างเป็นรูปธรรม<br />
1.3 ควรมีนโยบายและมาตรการส่งเสริมการจัดกิจกรรมที่ก่อให้เกิดความสัมพันธ์ที่ดี<br />
ในครอบครัวและชุมชน<br />
1.4 ควรมีนโยบายและมาตรการส่งเสริมและสนับสนุนการรวมกลุ่มของครอบครัวใน<br />
ชุมชนเพื่อเฝ้าระวังป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงในครอบครัวและสังคม<br />
2. นโยบำยและมำตรกำรระยะกลำง<br />
2.1 ควรมีนโยบายและมาตรการเพิ่มภาคีเครือข่ายทั้งในหน่วยงานภาครัฐและ<br />
ภาคเอกชนอย่างต่อเนื่องเพื่อให้กลไกด้านต่างๆ ของเครือข่ายภาครัฐและเอกชน ร่วมกันป้องกันและ<br />
แก้ไขปัญหาความรุนแรงในครอบครัวและสังคม<br />
2.2 ควรมีนโยบายและมาตรการให้หน่วยงานยุติธรรมเร่งรัดในการจัดการคดีความ<br />
รุนแรงในครอบครัวทั้งต่อเด็ก สตรี ผู้สูงอายุอย่างจริงจัง<br />
2.3 ควรมีนโยบายและมาตรการส่งเสริมองค์กรทางศาสนาเข้ามามีบทบาทร่วมในการ<br />
ป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงในครอบครัวและสังคม<br />
2.4 ควรมีนโยบายและมาตรการขับเคลื่อนบทบาทของศูนย์ประชาบดีของกระทรวง<br />
การพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ หรือศูนย์อื่นๆ เป็นที่รู้จักและยอมรับของประชาชน<br />
โดยทั่วไป<br />
2.5 ควรมีนโยบายและมาตรการรณรงค์ยุติความรุนแรงในที่ท างาน<br />
3. นโยบำยและมำตรกำรระยะยำว<br />
3.1 ควรเสนอให้รัฐบาลประกาศนโยบาย การยุติความรุนแรงในครอบครัว ความ<br />
รุนแรงต่อเด็ก สตรี ผู้สูงอายุและผู้ด้อยโอกาส ให้เป็นนโยบายที่ส าคัญของชาติ เพื่อแก้ปัญหา<br />
รากเหง้าของความรุนแรงในสังคมไทย<br />
3.2 ควรมีนโยบายและมาตรการรณรงค์สร้างทัศนคติในการปกป้องผู้หญิงและเด็ก<br />
ผู้สูงอายุและผู้ด้อยโอกาสไม่ให้ตกเป็นเหยื่อความรุนแรง<br />
3.3 ควรมีนโยบายหน่วยงานให้ค าปรึกษาแนะแนวด้านครอบครัว ให้ครอบคลุมทุก<br />
พื้นที่<br />
3.4 ควรมีนโยบายในการป้องกันและจัดการสิ่งเสพติด ซึ่งเป็นสาเหตุที่ก่อให้เกิดความ<br />
รุนแรงในครอบครัวและสังคมอย่างจริงจัง<br />
3.5 ควรมีนโยบายสร้างความมั่นคงในชีวิต เช่น ส่งเสริมการมีงานท าเพื่อสร้างความ<br />
มั่นคงในชีวิตให้กับผู้ถูกกระท าความรุนแรงให้สามารถกลับมาด ารงชีวิตในสังคมได้<br />
68
การส ารวจสถานการณ์ความรุนแรง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี <strong>2556</strong><br />
ภำคผนวก<br />
69
การส ารวจสถานการณ์ความรุนแรง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี <strong>2556</strong><br />
นายพงษ์พิชญ์ ทองหิตานุวัฒน์<br />
พัฒนำสังคมและควำมมั่นคงของมนุษย์<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> เป็นประธำนเปิดกำรประชุม<br />
ผู้เข้ำร่วมประชุม<br />
70
การส ารวจสถานการณ์ความรุนแรง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี <strong>2556</strong><br />
นายชิตพล ชัยมะดัน<br />
อำจำรย์จำกมหำวิทยำลัยบูรพำ วิทยำเขตสระแก้ว<br />
ที่ปรึกษำฝ่ำยวิชำกำรและร่วมด ำเนินกำรโครงกำร<br />
71
การส ารวจสถานการณ์ความรุนแรง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี <strong>2556</strong><br />
ภำพบรรยำกำศในกำรประชุม<br />
72
การส ารวจสถานการณ์ความรุนแรง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี <strong>2556</strong><br />
สัมภาษณ์ผู้บริหาร<br />
องค์กำรบริหำรส่วนต ำบลพระเพลิง อ ำเภอเขำฉกรรจ์ <strong>จังหวัดสระแก้ว</strong><br />
สัมภาษณ์คณะกรรมการ<br />
หมู่บ้ำนคลองอำรำง ต ำบลบ้ำนแก้ง อ ำเภอเมืองสระแก้ว <strong>จังหวัดสระแก้ว</strong><br />
73
การส ารวจสถานการณ์ความรุนแรง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี <strong>2556</strong><br />
สัมภาษณ์ผู้บริหารและเจ้าหน้าที่<br />
องค์กำรบริหำรส่วนต ำบลทับพริก อ ำเภออรัญประเทศ <strong>จังหวัดสระแก้ว</strong><br />
74
9<br />
การส ารวจสถานการณ์ความรุนแรง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี <strong>2556</strong><br />
บรรณำนุกรม<br />
กฤตยา อาชวนิจกุล และคณะ. (2543). เอกสารเผยแพร่ สรุปผลการวิจัยเบื้องต้น เรื่อง ความรุนแรง<br />
ต่อผู้หญิงและชีวิตคู่. สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดลร่วมกับมูลนิธิ<br />
ผู้หญิง. (อัดส าเนา)<br />
คณะกรรมการส่งเสริมและประสานงานสตรีแห่งชาติ. (2537). ร่างนโยบายและแผนงานในการ<br />
พัฒนาสถาบันครอบครัว. ใน เอกสารประกอบการประชุมสมัชชาแห่งชาติด้าน<br />
ครอบครัว. กรุงเทพฯ: คณะกรรมการส่งเสริมและประสานงานสตรีแห่งชาติ.<br />
จุฑารัตน์ เอื้ออ านวย. (2545). “กระบวนกำรยุติธรรมเชิงสมำนฉันท์กับกำรเยียวยำรอยร้ำวแห่ง<br />
สัมพันธภำพอันเกิดจำกควำมรุนแรงในครอบครัว”. เอกสารประกอบการประชุมทาง<br />
วิชาการ เรื่อง กระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์กับคดีความรุนแรงในครอบครัว:<br />
ความเป็นไปได้ในการน า โครงการโรงซ่อมสามีมาใช้ในสังคมไทย. กรุงเทพมหานคร:<br />
ส านักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.<br />
บุญเลิศ ธงสะอาดและสมศักดิ์ บุญชุบ. (2551) รูปแบบควำมเป็นสถำบันครอบครัวที่เข้มแข็งและ<br />
ยั่งยืน : กรณีศึกษำ 3 ชุมชนในจังหวัดอุบลรำชธำนี. งานวิจัยได้รับการสนับสนุนทุน<br />
จากกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์.<br />
บุญวดี เพชรรัตน์. (2543). การพยาบาลผู้ป่วยมีพฤติกรรมรุนแรง. การพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช<br />
,6(2), 200-202.<br />
บุศรินทร์ คล่องพยาบาล. (2542). ความรุนแรงในครอบครัว: ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการถูกท าร้าย<br />
ของภรรยาในเขตอ าเภอเมือง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong>. กรุงเทพมหานคร: วิทยานิพนธ์ปริญญาโท,<br />
มหาวิทยาลัยมหิดล.<br />
ปัญชลี โชติคุต. (2541). การใช้ความรุนแรงต่อคู่สมรส. กรุงเทพมหานคร: วิทยานิพนธ์ปริญญาโท,<br />
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.<br />
ภูรวัจน์ อินทร์ตุ้ม. ศึกษาวิจัยเรื่อง ศักยภาพของชุมชนชนบทในการจัดการปัญหาด้านสุขภาพอนามัย 2<br />
ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต 30การศึกษานอกระบบ 31มหาวิทยาลัยเชียงใหม่,2548.<br />
วิระดา สมสวัสดิ์. (2546). กฎหมายครอบครัว (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: โครงการจัดพิมพ์คบไฟ.<br />
สายใจ คุ้มขนาบ. (2542). “ความรุนแรงภายในบ้าน: กรณีการข่มเหงรังแก”. ข่มเหงรังแก<br />
จากบ้าน-โรงเรียน สู่ องค์การ-ธุรกิจ. กรุงเทพมหานคร: ส า นักพิมพ์คบไฟ.<br />
สุวรรณา จารุทัศนีย์. (2544). มาตรการทางกฎหมายเพื่อคุ้มครองและป้องกันหญิงที่ถูกสามีท า ร้าย:<br />
ศึกษาเปรียบเทียบกับกฎหมายต่างประเทศ. กรุงเทพมหานคร: วิทยานิพนธ์ปริญญาโท,<br />
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.<br />
75
การส ารวจสถานการณ์ความรุนแรง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ปี <strong>2556</strong><br />
ส านักงานกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว. (2553). รายงานข้อมูลสถานการณ์ด้านความ รุนแรงของ<br />
ประเทศไทยและตามมาตรา 17 แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ถูกกระทา ด้วยความ<br />
รุนแรง<br />
ใน ครอบครัว พ.ศ. 2550 ประจาปี 2551-2552, น.3,21,32-33<br />
ส านักงานกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว. (<strong>2556</strong>) รายงานสถานการณ์ความรุนแรงใน ครอบครัว<br />
ผ่านเว็บไซต์. เข้าถึงเมื่อ 27 กรกฎาคม <strong>2556</strong>, จาก<br />
http://www.violence.in.th/publicweb<br />
อนุช อาภาภิรม. (2543). ฉากความรุนแรงในยุคโลกาภิวัตน์. กรุงเทพฯ: อมรินทรพริ้นติ้ง แอนด์<br />
พับลิชชิ่ง.<br />
อรอนงค์ อินทรจิตร และ นรินทร์ กรินชัย. (2542). ผู้หญิงและเด็ก: เหยื่อความรุนแรงใน ครอบครัว.<br />
กรุงเทพฯ: สถาบันจิตวิทยาฮอทไลน์.<br />
Corsini, R. L. (1999). The Dictionary of Psychology. New York: Brunner Mazel.<br />
Zimmerman Cathy. 1994. Plates in a Basket will Rattle : Domestic Violence in<br />
Cambodia.<br />
Phnom Penh: The Asia Foundation.<br />
76
รายงานการเฝ้าระวังและเตือนภัยทางสังคม<br />
เรื่อง สถานการณ์ความรุนแรงทางสังคม <strong>จังหวัดสระแก้ว</strong><br />
ส านักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong><br />
ศาลากลาง<strong>จังหวัดสระแก้ว</strong> ชั้น 2 อ.เมืองสระแก้ว จ.สระแก้ว 27000<br />
http://www.sakaeo.m-society.go.th E-mail: sakaeo@m-society.go.th