11.07.2015 Views

(ร่าง) ข้อกำหนดจำเพาะของหลักสูตร - คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

(ร่าง) ข้อกำหนดจำเพาะของหลักสูตร - คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

(ร่าง) ข้อกำหนดจำเพาะของหลักสูตร - คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

SHOW MORE
SHOW LESS
  • No tags were found...

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

1ชื่อสถาบันอุดมศึกษา <strong>มหาวิทยาลัยบูรพา</strong>คณะ<strong>คณะแพทยศาสตร์</strong>หลักสูตร แพทยศาสตรบัณฑิตหลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 25551. ชื่อหลักสูตรภาษาไทย:ภาษาอังกฤษ:หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไปหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิตDoctor of Medicine Program2. ชื่อปริญญาและสาขาวิชาชื่อปริญญาภาษาไทย: แพทยศาสตรบัณฑิตชื่อปริญญาภาษาอังกฤษ: Doctor of Medicineอักษรย่อภาษาไทย: พ.บ.อักษรย่อภาษาอังกฤษ: M.D.3. วิชาเอก (ถ้ามี) -4. จ านวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตรจ านวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร 257 หน่วยกิต5. รูปแบบของหลักสูตร5.1 รูปแบบหลักสูตรระดับปริญญาตรี หลักสูตร 6 ปี5.2 ภาษาที่ใช้ภาษาไทย และ/หรือ ภาษาต่างประเทศในบางรายวิชา5.3 การรับเข้าศึกษารับผู้มีสัญชาติไทย และต่างชาติ (เฉพาะโครงการพิเศษ)5.4 ความร่วมมือกับสถาบันอื่นเป็นหลักสูตรเฉพาะของสถาบันโดยมี <strong>คณะแพทยศาสตร์</strong> จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สนับสนุนความรู้และประสบการณ์การจัดการเรียนการสอนในฐานะสถาบันพี่เลี้ยง5.5 การให้ปริญญาแก่ผู้ส าเร็จการศึกษา- ให้ปริญญาเพียงสาขาเดียว คือ ปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิต- ในกรณีที่จบการศึกษาในชั้นปีที่ 4 และไม่มีความประสงค์ หรือไม่สามารถศึกษาต่อจนจบปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิต สามารถให้ปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิตสาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ได้


26. สถานภาพของหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตรหลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555 ปรับปรุงจากหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2549 เปิดสอนในภาคต้น ปีการศึกษา 2556 เป็นต้นไปสภาวิชาการ<strong>มหาวิทยาลัยบูรพา</strong> เห็นชอบหลักสูตรในการประชุมครั้งที่ 4/2554วันที่ 23 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2554สภา<strong>มหาวิทยาลัยบูรพา</strong> เห็นชอบหลักสูตรในการประชุมครั้งที่ 5/2554วันที่ 21 เดือน กันยายน พ.ศ. 2554องค์กรวิชาชีพแพทยสภา ให้การรับรองหลักสูตรในการประชุมครั้งที่ 5/2555วันที่ 10 เดือน พฤษภาคม พ.ศ 25557. ความพร้อมในการเผยแพร่หลักสูตรที่มีคุณภาพและมาตรฐานจะขอประเมินเพื่อรับรองหลักสูตรที่มีคุณภาพและมาตรฐานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ในปีการศึกษา 2556 และคาดว่าจะได้รับการเผยแพร่เป็นหลักสูตรที่มีคุณภาพและมาตรฐานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ในปีการศึกษา 25598. อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังส าเร็จการศึกษาประกอบอาชีพเป็นแพทย์เวชปฏิบัติทั่วไป หรือสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง9. ชื่อ นามสกุล เลขประจ าตัวบัตรประชาชน ต าแหน่ง และคุณวุฒิการศึกษาของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร9.1 นายทวีลาภ ตั๊นสวัสดิ์ เลขบัตรประจ าตัวประชาชน 3-2001-0051x-xx-xคุณวุฒิ แพทยศาสตรบัณฑิต, มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. 2533วุฒิบัตรวิชาชีพ กุมารเวชศาสตร์, แพทยสภา พ.ศ. 2539อนุมัติบัตรวิชาชีพ เวชศาสตร์ครอบครัว, แพทยสภา พ.ศ. 2546วุฒิบัตรวิชาชีพ กุมารเวชศาสตร์โรคภูมิแพ้และภูมิคุ้มกัน, แพทยสภา พ.ศ. 2552ต าแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์9.2 นายกิตติ กรุงไกรเพชร เลขประจ าตัวประชาชน 3-2099-0002x-xx-xคุณวุฒิ แพทยศาสตรบัณฑิต, มหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2534วุฒิบัตรวิชาชีพ สูติศาสตร์ – นรีเวชวิทยา, แพทยสภา พ.ศ. 2539อนุมัติบัตรวิชาชีพ เวชศาสตร์ครอบครัว, แพทยสภา พ.ศ. 2546ต าแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์


39.3 นางสาวรมร แย้มประทุม เลขประจ าตัวประชาชน 3-2001-0109x-xx-xคุณวุฒิ แพทยศาสตรบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ . ศ.2537วุฒิบัตรวิชาชีพ กุมารเวชศาสตร์, แพทยสภา พ.ศ. 2543อนุมัติบัตรวิชาชีพ เวชศาสตร์ครอบครัว, แพทยสภา พ.ศ. 2546วุฒิบัตรวิชาชีพ กุมารเวชศาสตร์พัฒนาการและพฤติกรรม, แพทยสภา พ.ศ. 2553ต าแหน่งทางวิชาการ อาจารย์10. สถานที่จัดการเรียนการสอน10.1 <strong>มหาวิทยาลัยบูรพา</strong> บางแสน จังหวัดชลบุรี10.2 โรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ ศรีราชา สภากาชาดไทย จังหวัดชลบุรี10.3 โรงพยาบาลศูนย์เจ้าพระยาอภัยภูเบศร จังหวัดปราจีนบุรี11. สถานการณ์ภายนอกหรือการพัฒนาที่จ าเป็นต้องน ามาพิจารณาในการวางแผนหลักสูตร11.1 สถานการณ์หรือการพัฒนาทางเศรษฐกิจการพัฒนาประเทศในทุกๆ ด้าน ประชากรของประเทศเป็นกลไกหลักที่ส าคัญในการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศ ถ้าประชากรมีสุขภาพดี ไม่เจ็บป่วย การพัฒนาประเทศหรือการด าเนินกิจกรรมใดๆ จึงจะมีประสิทธิภาพ ถ้าหากประชากรมีสุขภาพไม่ดี เกิดการเจ็บป่วย ทุพลภาพ การด าเนินกิจกรรมต่างๆ ในการพัฒนาประเทศก็จะล้มเหลว ไม่มีประสิทธิภาพ และไม่ประสบความส าเร็จ ประกอบกับการขาดแคลนแพทย์ในภาพรวมของประเทศโดยเฉพาะในพื้นที่ชนบท จึงเห็นได้ว่าปัญหาทางด้านสุขภาพอนามัยของประชาชนหรือปัญหาทางการแพทย์และการสาธารณสุขของประเทศ เป็นปัจจัยหนึ่งที่ส าคัญ ที่อาจส่งผลกระทบต่อการพัฒนาของประเทศในภาพรวมได้ ดังนั้น ระดับคุณภาพชีวิตและสุขภาพอนามัยของประชากรควรจะต้องอยู่ในระดับที่ดีขึ้นอย่างต่อเนื่องและสม่ าเสมอ รวมทั้งประเทศไทยได้ลงนามเข้าร่วมในข้อตกลงทางการค้าเสรีในอาเซียน (ASEAN Free Trade Area: AFTA) ส่งผลให้การพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว และมีการแข่งขันสูงขึ้น11.2 สถานการณ์หรือการพัฒนาทางสังคมและวัฒนธรรมในภูมิภาคตะวันออกมีสังคมที่มีลักษณะเฉพาะตามภูมิศาสตร์ คือเป็นภูมิภาคที่ติดทะเล และมีโครงการพัฒนาพื้นที่ชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก หรืออีสเทิร์นซีบอร์ด ตามแผนพัฒนาพื้นที่ชายฝั่งทะเลตะวันออก ระยะ ที่ 1 ซึ่งเริ่มตั้งแต่ปี พ.ศ. 2525 เกิดการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ทางด้านเศรษฐกิจและสังคมในพื้นที่ภาคตะวันออกโดยเฉพาะจังหวัดชลบุรี และระยอง ที่กลายสภาพเป็นเมืองอุตสาหกรรมซึ่งเติบโตขึ้นอย่างต่อเนื่อง มีการพัฒนาระบบการท่องเที่ยว ศูนย์กลางการขนส่งทั้งทางน้ าและทางบก มีจ านวนประชากรที่ท างานในกิจการอุตสาหกรรมซึ่งเป็นกลุ่มที่ต้องการการดูแลด้านสุขภาพและอนามัยเป็นพิเศษจ านวนมากขึ้น รวมทั้งการเพิ่มขึ้นของประชากรและสภาพความเป็นอยู่ที่เปลี่ยนไป การดูแลสุขภาพและอนามัยของครอบครัวและชุมชน จึงปรับเปลี่ยนไปตามการเปลี่ยนแปลงสภาพความเป็นอยู่ทั้งในชุมชนเมือง และพื้นที่รอบนอก


12. ผลกระทบจาก ข้อ 11.1 และ 11.2 ต่อการพัฒนาหลักสูตรและความเกี่ยวข้องกับพันธกิจของสถาบัน12.1 การพัฒนาหลักสูตรการเปลี่ยนแปลงในด้านเศรษฐกิจ การค้าเสรีในภูมิภาคอาเซียน ซึ่งจะมีผลต่อสินค้าและบริการทั้งหมดรวมทั้งการบริการทางการแพทย์ ท าให้ต้องมีการปรับปรุงหลักสูตรและกลไกการพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้เป็นที่ยอมรับ และเป็นสากล เพื่อรองรับการแข่งขันอย่างเสรีที่จะมีมากขึ้น และการเปลี่ยนแปลงสภาพสังคมสู่สังคมอุตสาหกรรม รวมทั้งปัญหาสังคมเมืองที่เกิดจากการเข้ามาของวัฒนธรรมที่หลากหลายอย่างรวดเร็ว จึงท าให้ภูมิภาคนี้ควรมีการศึกษา วิจัย พัฒนาการแพทย์โดยเน้นด้านอาชีวเวชศาสตร์ และเวชศาสตร์ชุมชนและครอบครัว โดยปรับปรุงหลักสูตรให้ได้มาตรฐาน เป็นที่ยอมรับในระดับสากล มีมาตรฐานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ มาตรฐานสถาบันอุดมศึกษา และมาตรฐานแพทยสภาก ากับ รวมทั้งเป็นการปรับปรุงหลักสูตรตามเอกลักษณ์ของสถาบัน12.2 ความเกี่ยวข้องกับพันธกิจของสถาบัน<strong>มหาวิทยาลัยบูรพา</strong>มีพันธกิจหลัก (ตามแผนยุทธศาสตร์<strong>มหาวิทยาลัยบูรพา</strong> พ.ศ. 2554-2563) ดังนี้1. สร้างความรู้ปัญญาและบริหารจัดการให้เกิดคุณค่าต่อการพัฒนาสังคม2. จัดการศึกษาที่มีคุณภาพในระดับสากล สร้างบัณฑิตให้มีคุณธรรม เชี่ยวชาญในศาสตร์ เป็นผู้น าที่มีทักษะสากล3. บริการวิชาการสู่สังคม ร่วมสร้างสังคมอุดมปัญญาที่พึ่งตนเอง4. ส่งเสริม สนับสนุนและธ ารงไว้ซึ่งศิลปวัฒนธรรมและความเป็นไทย5. พัฒนามหาวิทยาลัยให้เข้มแข็ง มีระบบบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพสูงและพึ่งตนเองได้การปรับปรุงหลักสูตรเพื่อให้สอดคล้องกับพันธกิจของ<strong>มหาวิทยาลัยบูรพา</strong> โดยเฉพาะอย่างยิ่งการผลิตบัณฑิตแพทย์ที่มีความสามารถในการแข่งขัน มีคุณธรรมและจริยธรรมตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และมาตรฐานแพทยสภา รวมทั้งสามารถสร้างองค์ความรู้ที่สอดคล้องกับความต้องการของท้องถิ่นและสังคม13. ความสัมพันธ์ (ถ้ามี) กับหลักสูตรอื่นที่เปิดสอนในคณะ/ภาควิชาอื่นของสถาบัน (เช่น รายวิชาที่เปิดสอนเพื่อให้บริการคณะ/ภาควิชาอื่น หรือต้องเรียนจากคณะ/ภาควิชาอื่น)13.1 รายวิชาในหลักสูตรที่เปิดสอนโดยคณะ/ ภาควิชา/ หลักสูตรอื่นในระดับเตรียมแพทย์ และปรีคลินิก ต้องศึกษาในเนื้อหาที่ครอบคลุมหมวดวิชาการศึกษาทั่วไปหมวดวิชาเฉพาะ ในคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ คณะสหเวชศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์และคณะทางสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพซึ่งได้รับผิดชอบร่วมกันตั้งแต่หลักสูตรเดิม (เอกสารแนบหมายเลข 1)13.2 การบริหารจัดการในการจัดการเรียนการสอน ในระดับเตรียมแพทย์และปรีคลินิกจะมีการประสานงานกับคณะวิทยาศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ คณะสหเวชศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ และ คณะต่างๆ ที่รับผิดชอบในแต่ละรายวิชา ซึ่งนิสิตในหลักสูตรนี้ต้องเรียน โดยการวางแผนร่วมกัน ระหว่างผู้เกี่ยวข้องตั้งแต่ผู้บริหารและอาจารย์ผู้สอน โดยใช้ทรัพยากรบุคคลร่วมกันระหว่างคณะเจ้าของรายวิชา และอาจารย์ใน<strong>คณะแพทยศาสตร์</strong> เพื่อบูรณาการการเรียนการสอนให้เหมาะสมในการจัดการเรียนการสอน ในระดับคลินิกจะมีการประสานงานกับโรงพยาบาลร่วมผลิต ที่รับผิดชอบในรายวิชาต่างๆ ซึ่งนิสิตในหลักสูตรนี้ต้องเรียน โดยการวางแผนร่วมกัน ระหว่างผู้เกี่ยวข้องตั้งแต่ผู้บริหารและอาจารย์ผู้สอน โดยใช้ทรัพยากรบุคคลร่วมกันระหว่างโรงพยาบาลร่วมผลิต และอาจารย์ใน<strong>คณะแพทยศาสตร์</strong> เพื่อบูรณาการการเรียนการสอนให้เหมาะสม4


ทั้งนี้คณะต่างๆ และโรงพยาบาลร่วมผลิต ที่จัดการเรียนการสอนให้นิสิตในหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต เป็นภาระงานที่เคยสอนอยู่เดิมแล้วในหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิตฉบับเดิม พ.ศ. 25495


หมวดที่ 2. ข้อมูลเฉพาะของหลักสูตร1. ปรัชญา ความส าคัญ และวัตถุประสงค์ของหลักสูตร1.1 ปรัชญาหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต <strong>มหาวิทยาลัยบูรพา</strong> มุ่งเน้นการสร้างบัณฑิตแพทย์ให้เหมาะสมต่อระบบบริการทางการแพทย์และสาธารณสุขของประเทศ โดยเฉพาะภูมิภาคตะวันออกมีคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมของแพทยสภา เทียบเท่ามาตรฐานสากลมีความรู้ความสามารถ และเจตคติที่จะปฏิบัติงานทั้งในชุมชนเมืองและชุมชนชนบทได้เป็นอย่างดีและธ ารงไว้ซึ่งศิลปวัฒนธรรมไทย1.2 ความส าคัญตามสภาวะทางภูมิศาสตร์ และสังคมของชายฝั่งภาคตะวันออก ประกอบกับการขาดแคลนแพทย์ในพื้นที่ชนบท ร่วมกับประเทศไทยลงนามเข้าร่วมในข้อตกลงทางการค้าเสรีในอาเซียนAsean Free Trade Area (AFTA) ซึ่งจะมีผลต่อสินค้าและบริการทั้งหมดรวมทั้งการบริการทางการแพทย์ท าให้ต้องมีการปรับปรุงหลักสูตรและกลไกการพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้เป็นที่ยอมรับและเป็นสากล เพื่อรองรับการแข่งขันอย่างเสรีในภูมิภาคอาเซียน และมีความเป็นเอกลักษณ์ในด้านเวชศาสตร์ครอบครัว และอาชีวเวชศาสตร์1.3 เหตุผลในการปรับปรุงหลักสูตรหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิตปี พ.ศ. 2549 เริ่มใช้ตั้งแต่ปีการศึกษา 2550 ซึ่งผ่านมาแล้วเป็นระยะเวลา 5 ปี สมควรแก่การปรับปรุงให้ทันสมัยและเหมาะสมมากขึ้น ตามความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี และทางการแพทย์ และการเปลี่ยนแปลงทางสังคม ประกอบกับส านักงานคณะกรรมการอุดมศึกษาได้ก าหนดให้มีการพัฒนาหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา และทางองค์กรวิชาชีพคือแพทยสภา มีการปรับเกณฑ์มาตรฐานผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม พ.ศ. 2554 จึงต้องมีการปรับปรุงหลักสูตรให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว1.4 วัตถุประสงค์ของหลักสูตรเพื่อสร้างบัณฑิตแพทย์ที่มีคุณลักษณะดังนี้1.4.1 มีเจตคติ ความรู้และทักษะตามคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ ของสาขาแพทยศาสตร์ ที่ก าหนดไว้ในมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรีสาขาวิชาแพทยศาสตร์ พ.ศ. 25541.4.1.1 มีพฤตินิสัย เจตคติ คุณธรรม และจริยธรรมแห่งวิชาชีพ1.4.1.2 มีความรู้พื้นฐานทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ ความรู้ทางวิชาชีพและทักษะทางคลินิก การสร้างเสริมสุขภาพและระบบบริบาลสุขภาพเวชจริยศาสตร์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง (ตามเกณฑ์มาตรฐานผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม)1.4.1.3 มีทักษะทางปัญญา สามารถคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ น าข้อมูลและหลักฐานทางด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์พื้นฐานและทางคลินิกไปใช้ในการอ้างอิง และแก้ไขปัญหาได้อย่างมีวิจารณญาณ6


1.4.1.4 สามารถปรับตัวเชิงวิชาชีพ มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ส่งเสริมการมีส่วนร่วมและตอบสนองต่อความต้องการของชุมชนอย่างเหมาะสม1.4.1.5 มีทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร สามารถค้นคว้าหาข้อมูลจากแหล่งต่างๆ รวมทั้งมีวิจารณญาณในการประเมินข้อมูล และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ1.4.1.6 มีทักษะพิสัยในการวินิจฉัย และการดูแลรักษา เพื่อใช้ในการดูแลรักษาได้อย่างครอบคลุมและเหมาะสม และท าหัตถการที่จ าเป็น (ตามเกณฑ์มาตรฐานผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม)1.4.2 มีความรู้ความสามารถและเจตคติในการให้บริการตามระบบบริการทางการแพทย์และสาธารณสุขของประเทศ โดยเฉพาะภูมิภาคตะวันออก และเน้นด้านเวชศาสตร์ครอบครัว และอาชีวเวชศาสตร์2. แผนพัฒนาปรับปรุงคาดว่าจะด าเนินการแล้วเสร็จครบถ้วนภายในรอบการศึกษา (6 ปี)แผนการพัฒนา/ เปลี่ยนแปลง กลยุทธ์ หลักฐาน/ ดัชนีชี้วัด1. มีการปรับปรุงหลักสูตรให้มีมาตรฐานตามที่1.1 รวบรวมติดตามผลการประเมิน 1.1 ความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตการประกันคุณภาพการศึกษาทุกปี 1.2 หลักสูตรผ่านการรับรองจากกระทรวงศึกษาธิการก าหนดและสอดคล้องกับความต้องการของภาครัฐและเอกชนเพื่อน าไปปรับปรุงหลักสูตร1.2 การวิพากษ์หลักสูตรโดยผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกแพ ท ยสภา และ ส านั กงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา2. ยกระดับบุคลากรสายการสอนและสายสนับสนุน เพื่อสนับสนุนการเรียนรู้ของนิสิต3. พัฒนาศักยภาพขององค์กรและแหล่งฝึกประสบการณ์วิชาชีพ2.1 สนับสนุนงบประมาณ และโอกาสให้อาจารย์และเจ้าหน้าที่ไปรับการพัฒนาทางวิชาการและ/หรือวิชาชีพอย่างสม่ าเสมอ2.2 จัดงานปฐมนิเทศและการให้ค าแนะน าด้านการจัดการเรียนการสอนแก่อาจารย์ใหม่ทุกคน2.3 สนับสนุนการท าผลงานทางวิชาการ2.4 มีโครงการจัดอบรมด้านการจัดการเรียนการสอนแก่อาจารย์และเจ้าหน้าที่สายสนับสนุนในส่วนต่างๆ3.1 สนับสนุนงบประมาณในการพัฒนาโรงพยาบาลที่เป็นแหล่งฝึกประสบการณ์วิชาชีพ3.2 พัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษา72.1 อาจารย์ประจ าและบุคลากรสายสนับสนุนได้รับการพัฒนาทางวิชาการ และ/หรือ วิชาชีพ2.2 อาจารย์ใหม่ (ถ้ามี) ทุกคนได้รับการปฐมนิเทศหรือค าแนะน าด้านการจัดการเรียนการสอน2.3 จ านวนผลงานทางวิชาการ2.4 จ านวนโครงการอบรมด้านการจัดการเรียนการสอน3.1 แหล่งฝึกประสบการณ์วิชาชีพผ่านการรับรองจากแพทยสภา3.2 ผ่านเกณฑ์ประเมินของระบบประกันคุณภาพการศึกษา


หมวดที่ 3. ระบบการจัดการศึกษา การด าเนินการ และโครงสร้างของหลักสูตร1. ระบบการจัดการศึกษา1.1 ระบบจัดการศึกษาให้เป็นไปตามข้อบังคับ<strong>มหาวิทยาลัยบูรพา</strong> ว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญาตรีพ.ศ. 2552 (เอกสารแนบหมายเลข 7) โดย1.1.1 การจัดการศึกษาของ หลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต แบ่งออกเป็น 3 ระยะ- ระยะที่ 1 การศึกษาทั่วไปเป็นการศึกษาในชั้นปีที่ 1 โดยใช้ระบบทวิภาค- ระยะที่ 2 การศึกษาระดับปรีคลินิกเป็นการศึกษาในชั้นปีที่ 2 และ 3 โดยใช้ระบบทวิภาค- ระยะที่ 3 การศึกษาระดับคลินิกเป็นการศึกษาในชั้นปีที่ 4 ถึงชั้นปีที่ 6 โดยใช้ระบบทวิภาค1.1.2 หลักเกณฑ์การศึกษาในหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต ในระยะที่ 3- เกณฑ์การศึกษาในระยะที่ 3ต้องผ่านทุกรายวิชาในชั้นปีที่ 1 – 3 และต้องได้ค่าระดับขั้นเฉลี่ยสะสมรวมทั้ง3 ปี ไม่ต่ ากว่า 2.001.2 การจัดการศึกษาภาคฤดูร้อนตามความเหมาะสม1.3 การเทียบเคียงหน่วยกิตในระบบทวิภาคใช้ระบบการศึกษาแบบทวิภาค2. การด าเนินการหลักสูตร2.1 วัน – เวลาในการด าเนินการเรียนการสอน2.1.1 ระยะเวลาการศึกษาระยะเวลาการศึกษาตามหลักสูตร 6 ปีการศึกษา และไม่เกิน 6 ปีการศึกษาในการศึกษาระยะที่ 1 และ 2 และไม่เกิน 6 ปีการศึกษาในการศึกษาระยะที่ 3 และ เป็นไปตามข้อบังคับ<strong>มหาวิทยาลัยบูรพา</strong> ว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2552 (เอกสารแนบหมายเลข 7)21 .2.การลงทะเบียนเรียนเป็นไปตามข้อบังคับ<strong>มหาวิทยาลัยบูรพา</strong> ว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญาตรีพ.ศ. 2552 (เอกสารแนบหมายเลข 7)2.1.3 การวัดผลและประเมินผลเป็นไปตามข้อบังคับ<strong>มหาวิทยาลัยบูรพา</strong> ว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญาตรีพ.ศ. 2552 (เอกสารแนบหมายเลข 7)2.1.4 การส าเร็จการศึกษาเป็นไปตามข้อบังคับ<strong>มหาวิทยาลัยบูรพา</strong>ว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2552(เอกสารแนบหมายเลข 7)8


2.2 คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา2.2.1 ส าเร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า มีความประพฤติดีไม่เป็นโรคที่จะเป็นอุปสรรคต่อการศึกษาหรือการประกอบวิชาชีพเวชกรรม และเป็นไปตามข้อบังคับ<strong>มหาวิทยาลัยบูรพา</strong> ว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2552 (เอกสารแนบหมายเลข 7)2.2.2 มีคุณสมบัติตามเกณฑ์ผู้สมัครคัดเลือกเข้าศึกษาใน<strong>คณะแพทยศาสตร์</strong><strong>มหาวิทยาลัยบูรพา</strong> ปีการศึกษานั้นๆ2.2.3 ผ่านการคัดเลือกผู้เข้าศึกษาโดยระบบคัดเลือกของกลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทย (กสพท.) ระบบคัดเลือกของส านักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) หรือ ระบบคัดเลือกของ<strong>คณะแพทยศาสตร์</strong> <strong>มหาวิทยาลัยบูรพา</strong> โดยทั้งนี้ผลการคัดเลือกเข้าศึกษาให้ถือเอาผลการตัดสินของ <strong>มหาวิทยาลัยบูรพา</strong> เป็นที่สิ้นสุด2.3 ปัญหาของนักศึกษาแรกเข้า1. นิสิตแรกเข้าจะต้องเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และภาษาอังกฤษ ซึ่งอาจมีปัญหาบ้างส าหรับนิสิตที่มีพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และภาษาอังกฤษ จากชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายไม่เท่ากัน2. ปัญหาการปรับตัวกับการเรียนในระดับอุดมศึกษา รวมทั้งสังคมใหม่ และส่วนใหญ่ไม่ได้พักกับครอบครัว3. ปัญหาการแข่งขันด้านการเรียน และความคาดหวังสูงต่อความส าเร็จในวิชาชีพ2.4 กลยุทธ์ในการด าเนินการเพื่อแก้ไขปัญหา / ข้อจ ากัดของนักศึกษาในข้อ 2.31. คณะจัดให้มีการสอนเสริมส าหรับนิสิตที่มีปัญหาเกี่ยวกับพื้นฐานความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และภาษาอังกฤษ2. คณะมีการแต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึกษาประจ าตัวนิสิต เพื่อให้นิสิตสามารถปรึกษาปัญหาหรือขอค าแนะน าจากอาจารย์ทั้งด้านวิชาการ ด้านจิตใจ และสังคม3. มีกิจกรรมรับน้องของคณะ ซึ่งเป็นกิจกรรมในทางสร้างสรรค์ ช่วยเสริมความสัมพันธ์ระหว่างชั้นปี และรุ่นพี่รุ่นน้อง รวมทั้งคณาจารย์ เพื่อช่วยในการปรับตัวของนิสิตใหม่ให้เหมาะสม4. มีการปฐมนิเทศนิสิตใหม่แนะน าการให้บริการของมหาวิทยาลัย เทคนิคการเรียนในมหาวิทยาลัย และการแบ่งเวลา2.5 แผนการรับนิสิตและผู้ส าเร็จการศึกษาในระยะ 5 ปีจ านวนผู้ที่คาดว่าจะรับเข้าศึกษาในหลักสูตรและจ านวนที่คาดว่าจะมีผู้ส าเร็จการศึกษาในแต่ละปีการศึกษาในระยะเวลา 5 ปีปีการศึกษาจ านวน 2556 2557 2558 2559 2560รับเข้าปีที่ 1 48 48 48 48 48ปีที่ 2 - 48 48 48 48ปีที่ 3 - - 48 48 48ปีที่ 4 - - - 48 489


ปีการศึกษาจ านวนรับเข้า2556 2557 2558 2559 2560ปีที่ 5 - - - - 48ปีที่ 6 - - - - -รวม 48 96 144 192 240จ านวนที่คาดว่าจะส าเร็จการศึกษาคาดว่าจะมีผู้จบการศึกษาตลอดหลักสูตรปีละ 48 คน เริ่มจบในปีการศึกษา 2561หมายเหตุ : จ านวนนิสิตในแต่ละปีอาจมีการปรับเปลี่ยนได้ตามความเหมาะสม2.6 งบประมาณตามแผนแสดงงบประมาณ โดยจ าแนกรายละเอียดตามหัวข้อการเสนอตั้งงบประมาณ รวมทั้งประมาณการค่าใช้จ่ายต่อหัวในการผลิตบัณฑิตตามหลักสูตรนั้นหน่วย : บาทหมวดรายรับ 2556 2557 2558 2559 25601. เงินอุดหนุน2. ค่าบ ารุงคณะ3. ค่าหน่วยกิต4,800,000192,000-19,200,000576,000100,80033,600,000960,000259,20048,000,0001,344,000772,80062,400,0001,728,0001,473,600รวม 4,992,000 19,876,800 34,819,200 50,116,800 65,601,600หน่วย : บาทหมวดรายจ่าย 2556 2557 2558 2559 25601. งบบุคลากร2. งบด าเนินการ3. งบลงทุน4. งบเงินอุดหนุน830,0001,162,0002,000,0001,000,000871,5005,005,30010,000,0004,000,000915,1008,904,10015,000,00010,000,000960,90014,155,900200,000,00015,000,0001,009,00019,592,60025,000,00020,000,000รวม 4,992,000 19,876,800 34,819,200 50,116,800 65,601,600ค่าใช้จ่ายต่อหัว ประมาณการค่าใช้จ่ายต่อหัวในการผลิตบัณฑิต 300,000 บาท/คน/ปีหมายเหตุ : งบบุคลากรและงบด าเนินการใช้จ่ายจากงบเงินอุดหนุน2.7 ระบบการศึกษาชั้นปีที่ 1- 3 ใช้ระบบการเรียนการสอนแบบชั้นเรียนเป็นหลักชั้นปีที่ 4 – 6 ใช้ระบบการเรียนการสอนแบบชั้นเรียนและฝึกปฏิบัติกับผู้ป่วย2.8 การเทียบโอนหน่วยกิต รายวิชาและการลงทะเบียนเรียนข้ามมหาวิทยาลัยเป็นไปตามข้อบังคับ<strong>มหาวิทยาลัยบูรพา</strong> ว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2552(เอกสารแนบหมายเลข 7)10


3. หลักสูตรและอาจารย์ผู้สอน3.1 หลักสูตร3.1.1 จ านวนหน่วยกิต 257 หน่วยกิต3.1.2 โครงสร้างหลักสูตร1) หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30 หน่วยกิต- กลุ่มวิชาภาษา 12 หน่วยกิต- กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ 3 หน่วยกิต- กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ 3 หน่วยกิต- กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์กับคณิตศาสตร์ 4 หน่วยกิต- กลุ่มวิชาคอมพิวเตอร์ 3 หน่วยกิต- กลุ่มวิชาเลือก 5 หน่วยกิต2) หมวดวิชาเฉพาะ 221 หน่วยกิต2.1 กลุ่มวิชาพื้นฐานวิชาชีพ 81 หน่วยกิต2.2 กลุ่มวิชาชีพ 136 หน่วยกิต2.3 กลุ่มวิชาเลือก 4 หน่วยกิต3) หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต113.1.3 รายวิชา1. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 30 หน่วยกิตกลุ่มวิชาภาษา 12 หน่วยกิตภาษาอังกฤษพื้นฐาน 6 หน่วยกิต(วิชาภาษาอังกฤษ เรียน 2 รายวิชาจากภาษาอังกฤษ 1-3 ตามความสามารถ)999041 ภาษาอังกฤษ 1English I999042 ภาษาอังกฤษ 2English II999043 ภาษาอังกฤษ 3English IIIภาษาอังกฤษวิชาชีพ 3 หน่วยกิต550201 ภาษาอังกฤษทางการแพทย์English for Medicineภาษาอื่นๆ 3 หน่วยกิต228101 ทักษะการใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารThai Language Skills for Communicationกลุ่มวิชาคอมพิวเตอร์ 3 หน่วยกิต885101 เทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจ าวันInformation Technology in Daily Life3(3-0-6)3(3-0-6)3(3-0-6)3(3-0-6)3(3-0-6)3(2-2-5)


12กลุ่มวิชาทางด้านมนุษยศาสตร์ 3 หน่วยกิต265109 มนุษยศาสตร์เชิงบูรณาการ3(3-0-6)Integrated Humanitiesกลุ่มวิชาทางด้านสังคมศาสตร์ 3 หน่วยกิต671101 สังคมศาสตร์เชิงบูรณาการ3(3-0-6)Integrated Social Sciencesกลุ่มวิชาคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ 4 หน่วยกิต306106 ความหลากหลายทางชีวภาพและการอนุรักษ์2(2-0-4)Biodiversity and Conservation309103 วิทยาศาสตร์ทางทะเล2(2-0-4)Marine Scienceกลุ่มวิชาเลือก 5 หน่วยกิตวิชาเลือก 5 หน่วยกิต ให้เรียน 2 รายวิชา จ านวน 3 หน่วยกิต ดังต่อไปนี้กลุ่มวิชาเลือก ด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ 3 หน่วยกิต107101 การสร้างเสริมสุขภาพแบบองค์รวม2(2-0-4)Holistic Health Promotion850120 ลีลาศเพื่อสุขภาพ1(0-2-1)Social Dance for healthกลุ่มวิชาเลือก ด้านการพัฒนาทักษะและคุณภาพชีวิต 2 หน่วยกิตวิชาเลือก 5 หน่วยกิต ให้เรียน 1 รายวิชา จ านวน 2 หน่วยกิต ดังต่อไปนี้107104 การพัฒนาจิตให้เกิดปัญญา2(1-3-2)Mindfulness Cultivation of Wisdom2. หมวดวิชาชีพ/วิชาเฉพาะ ก าหนดให้เรียนไม่น้อยกว่า 221 หน่วยกิต2.1 กลุ่มวิชาพื้นฐานวิชาชีพ ก าหนดให้เรียน 81 หน่วยกิต จากรายวิชาดังต่อไปนี้302114 แคลคูลัสส าหรับวิทยาศาสตร์สุขภาพ3(3-0-6)Calculus for Health Science303105 เคมีทั่วไปส าหรับแพทย์3(3-0-6)Medical General Chemistry303106 ปฏิบัติการเคมีทั่วไปส าหรับแพทย์1(0-3-1)Medical General Chemistry Laboratory303227 เคมีอินทรีย์ส าหรับแพทย์3(3-0-6)Medical Organic Chemistry303221 ปฏิบัติการเคมีอินทรีย์1(0-3-1)Organic Chemistry Laboratory306103 ชีววิทยาส าหรับแพทยศาสตร์3(3-0-6)Medical Biology306104 ปฏิบัติการชีววิทยาส าหรับแพทยศาสตร์Medical Biology Laboratory1(0-3-1)


13308108 ฟิสิกส์ทางการแพทย์Medical Physics308109 ปฏิบัติการฟิสิกส์ทางการแพทย์Medical Physics Laboratory316203 ชีวเคมีทางการแพทย์พื้นฐานBasic Medical Biochemistry584301 พยาธิวิทยาคลินิกClinical Pathology680201 มหกายวิภาคศาสตร์ของมนุษย์เชิงระบบ 1Systemic Human Gross Anatomy I680202 มหกายวิภาคศาสตร์ของมนุษย์เชิงระบบ 2Systemic Human Gross Anatomy II680203 พัฒนาการกายวิภาคศาสตร์Developmental Anatomy680204 ประสาทชีววิทยาNeurobiology680205 จุลกายวิภาคศาสตร์ของมนุษย์Human Microanatomy680215 สรีรวิทยาทางการแพทย์ 1Medical Physiology I680216 สรีรวิทยาทางการแพทย์ 2Medical Physiology II680295 เซลล์และชีววิทยาเชิงโมเลกุลของเซลล์Cell and Molecular Biology680321 พันธุศาสตร์มนุษย์และพันธุวิศวกรรมHuman Genetics and Genetic Engineering680323 วิทยาภูมิคุ้มกันทางการแพทย์Medical Immunology680326 จุลชีววิทยาทางคลินิกClinical Microbiology680331 ปรสิตวิทยาParasitology680341 พยาธิวิทยาทั่วไปGeneral Pathology680342 พยาธิวิทยาระบบSystematic Pathology792334 เภสัชวิทยาทางการแพทย์ 1Medical Pharmacology I3(3-0-6)1(0-3-1)4(3-3-6)4(3-3-6)4(3-3-6)4(3-3-6)3(3-0-6)4(3-3-6)4(3-3-6)4(3-3-6)4(3-3-6)3(3-0-6)2(2-0-4)3(2-3-4)3(2-3-4)3(2-3-4)4(3-3-6)4(3-3-6)3(2-3-4)


14792335 เภสัชวิทยาทางการแพทย์ 2Medical Pharmacology II2.2 กลุ่มวิชาชีพ ก าหนดให้เรียน 136 หน่วยกิต จากรายวิชาดังต่อไปนี้สาขาวิชาเวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน 20 หน่วยกิต560101 เวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน 1Community and Family Medicine I560202 เวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน 2Community and Family Medicine II560203 เวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน 3Community and Family Medicine III560404 เวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน 4Community and Family Medicine IV560505 เวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน 5Community and Family Medicine V560506 เวชศาสตร์ป้องกันและการสร้างเสริมสุขภาพPreventive Medicine and Health Promotion560507 เวชศาสตร์ผู้ป่วยนอกและ การดูแลแบบประคับประคองAmbulatory Medicine and Palliative Care560608 เวชปฏิบัติผู้ป่วยนอกและเวชศาสตร์ผู้สูงอายุClerkship in Ambulatory Medicine and Geriatric Medicine560609 การบริหารงานสาธารณสุขและงานบริการสุขภาพManagement in Public Health and Health Services560610 เวชปฏิบัติเวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชนClerkship in Family and Community Medicineสาขาวิชาจิตเวชศาสตร์ 4 หน่วยกิต562501 จิตเวชศาสตร์Psychiatryสาขาวิชาอาชีวเวชศาสตร์ 2 หน่วยกิต564501 อาชีวเวชศาสตร์Occupational Medicineสาขาวิชาพื้นฐานทางคลินิกและเวชจริยศาสตร์ 5 หน่วยกิต570301 พื้นฐานทางคลินิกและเวชจริยศาสตร์Foundations of Clinical Practice and Medical Ethics570305 พฤติกรรมศาสตร์เบื้องต้นIntroduction to Behavioral Science570602 เวชจริยศาสตร์และทักษะการสื่อสารในเวชปฏิบัติMedical Ethics and Communication Skills in ClinicalPractice2(1-3-2)2(1-3-2)1(0-3-1)2(1-3-2)2(1-3-2)3(1-6-2)2(1-3-2)2(1-3-2)2(1-3-2)2(1-3-2)2(0-6-2)4(2-6-4)2(1-3-2)2(1-3-2)1(1-0-2)2(1-3-2)


15สาขาวิชาสหสาขาทางคลินิก 25 หน่วยกิต566501 เวชศาสตร์ฟื้นฟูRehabilitation Medicine568501 นิติเวชศาสตร์Forensic Medicine570403 บทน าทางคลินิกIntroduction to Clinic572301 เวชศาสตร์เชิงประจักษ์ 1Evidence-based Medicine I572302 เวชศาสตร์เชิงประจักษ์ 2Evidence-based Medicine II572503 เวชศาสตร์เชิงประจักษ์ 3Evidence-based Medicine III572504 วิทยาการระบาดและการวิจัยทางคลินิกClinical Epidemiology and Research574501 เวชศาสตร์ฉุกเฉินEmergency Medicine574602 เวชปฏิบัติเวชศาสตร์ฉุกเฉินClerkship Emergency Medicine576501 วิสัญญีวิทยาพื้นฐานBasic Anesthesiology578401 รังสีวิทยาวินิจฉัยDiagnostic Radiology588601 เวชศาสตร์ทางทะเลและการเดินทางท่องเที่ยวMarine and Travel Medicineสาขาวิชาที่ไม่มีการผ่าตัด 37 หน่วยกิต580401 อายุรศาสตร์ 1Medicine I580402 อายุรศาสตร์ 2Medicine II580403 อายุรศาสตร์ 3Medicine III580504 อายุรศาสตร์ 4Medicine IV580505 อายุรศาสตร์ 5Medicine V580606 เวชปฏิบัติอายุรศาสตร์ 1Clerkship in Medicine I2(1-3-2)3(2-3-4)4(2-6-4)2(1-3-2)1(0-3-1)1(0-3-1)2(1-3-2)2(1-3-2)2(0-6-2)2(1-3-2)2(1-3-2)2(1-3-2)4(3-3-6)3(1-6-2)3(1-6-2)3(2-3-4)3(2-3-4)3(0-9-3)


16580607 เวชปฏิบัติอายุรศาสตร์ 2Clerkship in Medicine II582401 กุมารเวชศาสตร์ 1Pediatrics I582402 กุมารเวชศาสตร์ 2Pediatrics II582403 กุมารเวชศาสตร์ 3Pediatrics III582604 เวชปฏิบัติกุมารเวชศาสตร์ 1Clerkship in Pediatrics I582605 เวชปฏิบัติกุมารเวชศาสตร์ 2Clerkship in Pediatrics IIสาขาวิชาที่มีการผ่าตัด 43 หน่วยกิต590400 ศัลยศาสตร์ 1Surgery I590401 ศัลยศาสตร์ 2Surgery II590410 ศัลยศาสตร์หัตถการ 1Procedures in Surgery I590502 ศัลยศาสตร์ 3Surgery III590511 ศัลยศาสตร์หัตถการ 2Procedures in Surgery II590603 เวชปฏิบัติศัลยศาสตร์ 1Clerkship in Surgery I590604 เวชปฏิบัติศัลยศาสตร์ 2Clerkship in Surgery II592501 จักษุวิทยาOphthalmology592502 โสต ศอ นาสิกวิทยาOtolaryngology594501 ออร์โธปิดิกส์Orthopedics594602 เวชปฏิบัติออร์โธปิดิกส์Clerkship in Orthopedics596400 สูติศาสตร์ – นรีเวชวิทยา 1Obstetrics and Gynecology I596401 สูติศาสตร์ – นรีเวชวิทยา 2Obstetrics and Gynecology II3(0-9-3)3(2-3-4)3(2-3-4)3(1-6-2)3(0-9-3)3(0-9-3)4(3-3-6)3(1-6-2)3(0-9-3)2(1-3-2)2(0-6-2)3(0-9-3)3(0-9-3)2(1-3-2)2(1-3-2)2(1-3-2)2(0-6-2)4(3-3-6)3(1-6-2)


17596410 สูติศาสตร์ – นรีเวชวิทยาหัตถการSkills in Obstetrics and Gynecology596602 เวชปฏิบัติสูติศาสตร์ – นรีเวชวิทยา 1Clerkship in Obstetrics and Gynecology I596611 เวชปฏิบัติสูติศาสตร์ – นรีเวชวิทยา 2Clerkship in Obstetrics and Gynecology II2.3 กลุ่มวิชาเลือก 4 หน่วยกิตระดับปรีคลินิกระดับคลินิก3. หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิตระดับปรีคลินิกระดับคลินิก2(0-6-2)3(0-9-3)3(0-9-3)2 หน่วยกิต2 หน่วยกิต4 หน่วยกิต2 หน่วยกิตหมายเหตุ : รายวิชาที่เป็นวิชาปฏิบัติการและไม่มีการบรรยาย คณะกรรมการบริหารวิชาการ<strong>มหาวิทยาลัยบูรพา</strong> มีข้อตกลงให้เพิ่มชั่วโมงศึกษาด้วยตนเองเท่ากับจ านวนหน่วยกิตความหมายของเลขรหัสรายวิชารหัสรายวิชาประกอบด้วยตัวเลข 6 ตัว แบ่งเป็น 2 ส่วน ดังนี้ก. ตัวเลข 3 ตัวแรก หมายถึง สาขาวิชาของรายวิชานั้นๆ ประกอบด้วยเลขรหัส 107 หมายถึง สังกัดคณะพยาบาลศาสตร์เลขรหัส 215 หมายถึง สังกัดภาควิชาสังคมศาสตร์คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์เลขรหัส 222 หมายถึง สาขาวิชาภาษาอังกฤษสังกัดภาควิชาภาษาตะวันตกคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์เลขรหัส 228 หมายถึง สาขาวิชาภาษาไทยสังกัดภาควิชาภาษาตะวันตกคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์เลขรหัส 265 หมายถึง สังกัดภาควิชารัฐศาสตร์คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์เลขรหัส 302 หมายถึง สาขาวิชาคณิตศาสตร์สังกัดภาควิชาคณิตศาสตร์คณะวิทยาศาสตร์เลขรหัส 303 หมายถึง สาขาวิชาเคมีสังกัดภาควิชาเคมีคณะวิทยาศาสตร์เลขรหัส 306 หมายถึง สาขาวิชาชีววิทยาสังกัดภาควิชาชีววิทยาคณะวิทยาศาสตร์


เลขรหัส 308 หมายถึง สาขาวิชาฟิสิกส์สังกัดภาควิชาฟิสิกส์คณะวิทยาศาสตร์เลขรหัส 309 หมายถึง สาขาวิชาวาริชศาสตร์คณะวิทยาศาสตร์เลขรหัส 316 หมายถึง สาขาวิชาชีวเคมีสังกัดภาควิชาชีวเคมีคณะวิทยาศาสตร์เลขรหัส 550 หมายถึง กลุ่มวิชาศึกษาทั่วไป<strong>คณะแพทยศาสตร์</strong>เลขรหัส 560 หมายถึง กลุ่มวิชาเวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน<strong>คณะแพทยศาสตร์</strong>เลขรหัส 562 หมายถึง กลุ่มวิชาจิตเวชศาสตร์<strong>คณะแพทยศาสตร์</strong>เลขรหัส 564 หมายถึง กลุ่มวิชาอาชีวเวชศาสตร์<strong>คณะแพทยศาสตร์</strong>เลขรหัส 566 หมายถึง กลุ่มวิชาเวชศาสตร์ฟื้นฟู<strong>คณะแพทยศาสตร์</strong>เลขรหัส 568 หมายถึง กลุ่มวิชานิติเวชศาสตร์<strong>คณะแพทยศาสตร์</strong>เลขรหัส 570 หมายถึง กลุ่มวิชาพื้นฐานทางคลินิกและเวชจริยศาสตร์<strong>คณะแพทยศาสตร์</strong>เลขรหัส 572 หมายถึง กลุ่มวิชาเวชศาสตร์เชิงประจักษ์<strong>คณะแพทยศาสตร์</strong>เลขรหัส 574 หมายถึง กลุ่มวิชาเวชศาสตร์ฉุกเฉิน<strong>คณะแพทยศาสตร์</strong>เลขรหัส 576 หมายถึง กลุ่มวิชาวิสัญญีวิทยา<strong>คณะแพทยศาสตร์</strong>เลขรหัส 578 หมายถึง กลุ่มวิชารังสีวิทยา<strong>คณะแพทยศาสตร์</strong>เลขรหัส 580 หมายถึง กลุ่มวิชาอายุรศาสตร์<strong>คณะแพทยศาสตร์</strong>เลขรหัส 582 หมายถึง กลุ่มวิชากุมารเวชศาสตร์<strong>คณะแพทยศาสตร์</strong>เลขรหัส 584 หมายถึง กลุ่มวิชาพยาธิวิทยา<strong>คณะแพทยศาสตร์</strong>เลขรหัส 588 หมายถึง กลุ่มวิชาเวชศาสตร์ทางทะเล<strong>คณะแพทยศาสตร์</strong>18


เลขรหัส 590 หมายถึง กลุ่มวิชาศัลยศาสตร์<strong>คณะแพทยศาสตร์</strong>เลขรหัส 592 หมายถึง กลุ่มวิชาจักษุวิทยาและโสต ศอ นาสิกวิทยา<strong>คณะแพทยศาสตร์</strong>เลขรหัส 594 หมายถึง กลุ่มวิชาออร์โธปิดิกส์<strong>คณะแพทยศาสตร์</strong>เลขรหัส 596 หมายถึง กลุ่มวิชาสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา<strong>คณะแพทยศาสตร์</strong>เลขรหัส 598 หมายถึง กลุ่มวิชาประสบการณ์ทางคลินิก<strong>คณะแพทยศาสตร์</strong>เลขรหัส 651 หมายถึง คณะการแพทย์แผนไทยและอภัยภูเบศรเลขรหัส 671 หมายถึง คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์เลขรหัส 680 หมายถึง คณะสหเวชศาสตร์เลขรหัส 792 หมายถึง คณะเภสัชศาสตร์เลขรหัส 850 หมายถึง คณะวิทยาศาสตร์การกีฬาเลขรหัส 885 หมายถึง สาขาวิชาคอมพิวเตอร์คณะวิทยาการสารสนเทศเลขรหัส 999 หมายถึง วิชาภาษาอังกฤษสถาบันภาษาข. ตัวเลขตัวที่ 4 หมายถึง ระดับชั้นปีที่ก าหนดให้ศึกษารายวิชานั้นๆค. ตัวเลขตัวที่ 5 – 6 หมายถึง อนุกรมรายวิชาที่ภาควิชาหนึ่งหรือโครงการหนึ่งรับผิดชอบ3.1.4 แสดงแผนการศึกษาแผนการศึกษาของนิสิตหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิตในแต่ละภาคการศึกษาของปีการศึกษา เป็นดังนี้ปี 1 ภาคการศึกษาต้นรายวิชาหน่วยกิต107101 การสร้างเสริมสุขภาพแบบองค์รวม 2(2-0-4)99904x ภาษาอังกฤษ 1 หรือ 2 3(3-0-6)265109 มนุษยศาสตร์เชิงบูรณาการ 3(3-0-6)302114 แคลคูลัสส าหรับวิทยาศาสตร์สุขภาพ 3(3-0-6)303105 เคมีทั่วไปส าหรับแพทย์ 3(3-0-6)303106 ปฏิบัติการเคมีทั่วไปส าหรับแพทย์ 1(0-3-1)306103 ชีววิทยาส าหรับแพทยศาสตร์ 3(3-0-6)306104 ปฏิบัติการชีววิทยาส าหรับแพทยศาสตร์ 1(0-3-1)850120 ลีลาศเพื่อสุขภาพ 1(0-2-1)19รวมจ านวนหน่วยกิต20 หน่วยกิต


20ปี 1 ภาคการศึกษาปลายรายวิชาหน่วยกิต671101 สังคมศาสตร์เชิงบูรณาการ 3(3-0-6)99904x ภาษาอังกฤษ 2 หรือ 3 3(3-0-6)303227 เคมีอินทรีย์ส าหรับแพทย์ 3(3-0-6)303221 ปฏิบัติการเคมีอินทรีย์ 1(0-3-1)308108 ฟิสิกส์ทางการแพทย์ 3(3-0-6)308109 ปฏิบัติการฟิสิกส์ทางการแพทย์ 1(0-3-1)107104 การพัฒนาจิตให้เกิดปัญญา 2(1-3-2)306106 ความหลากหลายทางชีวภาพและการอนุรักษ์ 2(2-0-4)xxxxxx วิชาเลือกเสรี 2 หน่วยกิตรวมจ านวนหน่วยกิต20 หน่วยกิต


21ปี 2 ภาคการศึกษาฤดูร้อนรายวิชาหน่วยกิต680295 เซลล์และชีววิทยาเชิงโมเลกุลของเซลล์ 3(3-0-6)560101 เวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน 1 2(1-3-2)xxxxxx วิชาเลือก 2 หน่วยกิตรวมจ านวนหน่วยกิต 7 หน่วยกิตปี 2 ภาคการศึกษาต้นรายวิชาหน่วยกิต550201 ภาษาอังกฤษทางการแพทย์ 3(3-0-6)316203 ชีวเคมีการแพทย์พื้นฐาน 4(3-3-6)680205 จุลกายวิภาคศาสตร์ของมนุษย์ 4(3-3-6)680201 มหกายวิภาคศาสตร์ของมนุษย์เชิงระบบ 1 4(3-3-6)680215 สรีรวิทยาทางการแพทย์ 1 4(3-3-6)560202 เวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน 2 1(0-3-1)รวมจ านวนหน่วยกิต20 หน่วยกิตปี 2 ภาคการศึกษาปลายรายวิชาหน่วยกิต228101 ทักษะการใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร 3(3-0-6)680203 พัฒนาการกายวิภาคศาสตร์ 3(3-0-6)680202 มหกายวิภาคศาสตร์ของมนุษย์เชิงระบบ 2 4(3-3-6)680216 สรีรวิทยาทางการแพทย์ 2 4(3-3-6)680204 ประสาทชีววิทยา 4(3-3-6)xxxxxx วิชาเลือกเสรี 2 หน่วยกิตรวมจ านวนหน่วยกิต 20 หน่วยกิต


22ปี 3 ภาคการศึกษาฤดูร้อนรายวิชาหน่วยกิต560203 เวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน 3 2(1-3-2)572301 เวชศาสตร์เชิงประจักษ์ 1 2(1-3-2)รวมจ านวนหน่วยกิต 4 หน่วยกิตปี 3 ภาคการศึกษาต้นรายวิชาหน่วยกิต792334 เภสัชวิทยาทางการแพทย์ 1 3(2-3-4)680341 พยาธิวิทยาทั่วไป 4(3-3-6)680331 ปรสิตวิทยา 3(2-3-4)680326 จุลชีววิทยาทางคลินิก 3(2-3-4)309103 วิทยาศาสตร์ทางทะเล 2(2-0-4)885101 เทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจ าวัน 3(2-2-5)570301 พื้นฐานทางคลินิกและเวชจริยศาสตร์ 2(1-3-2)รวมจ านวนหน่วยกิต 20 หน่วยกิตปี 3 ภาคการศึกษาปลายรายวิชาหน่วยกิต680321 พันธุศาสตร์มนุษย์และพันธุวิศวกรรม 2(2-0-4)680342 พยาธิวิทยาระบบ 4(3-3-6)680323 วิทยาภูมิคุ้มกันทางการแพทย์ 3(2-3-4)572302 เวชศาสตร์เชิงประจักษ์ 2 1(0-3-1)584301 พยาธิวิทยาคลินิก 4(3-3-6)570305 พฤติกรรมศาสตร์เบื้องต้น 1(1-0-2)792335 เภสัชวิทยาทางการแพทย์ 2 2(1-3-2)รวมจ านวนหน่วยกิต 17 หน่วยกิต


23ปี 4 ภาคการศึกษาฤดูร้อนรายวิชาหน่วยกิต570403 บทน าทางคลินิก 4(2-6-4)578401 รังสีวิทยาวินิจฉัย 2(1-3-2)รวมจ านวนหน่วยกิต 6 หน่วยกิตปี 4 ภาคการศึกษาต้นรายวิชาหน่วยกิต580401 อายุรศาสตร์ 1 4(3-3-6)580402 อายุรศาสตร์ 2 3(1-6-2)580403 อายุรศาสตร์ 3 3(1-6-2)590400 ศัลยศาสตร์ 1 4(3-3-6)590401 ศัลยศาสตร์ 2 3(1-6-2)590410 ศัลยศาสตร์หัตถการ 1 3(0-9-3)รวมจ านวนหน่วยกิต 20 หน่วยกิตปี 4 ภาคการศึกษาปลาย596400 สูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา 1 4(3-3-6)596401 สูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา 2 3(1-6-2)596410 สูติศาสตร์-นรีเวชวิทยาหัตถการ 2(0-6-2)582401 กุมารเวชศาสตร์ 1 3(2-3-4)582402 กุมารเวชศาสตร์ 2 3(2-3-4)582403 กุมารเวชศาสตร์ 3 3(1-6-2)560404 เวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน 4 2(1-3-2)รวมจ านวนหน่วยกิต 20 หน่วยกิต


24ปี 5 ภาคการศึกษาฤดูร้อนรายวิชาหน่วยกิต592501 จักษุวิทยา 2(1-3-2)592502 โสต ศอ นาสิกวิทยา 2(1-3-2)594501 ออร์โธปิดิกส์ 2(1-3-2)566501 เวชศาสตร์ฟื้นฟู 2(1-3-2)รวมจ านวนหน่วยกิต 8 หน่วยกิตปี 5 ภาคการศึกษาต้นรายวิชาหน่วยกิต560505 เวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน 5 3(1-6-2)560506 เวชศาสตร์ป้องกันและการสร้างเสริมสุขภาพ 2(1-3-2)560507 เวชศาสตร์ผู้ป่วยนอกและการดูแลแบบประคับประคอง 2(1-3-2)574501 เวชศาสตร์ฉุกเฉิน 2(1-3-2)568501 นิติเวชศาสตร์ 3(2-3-4)564501 อาชีวเวชศาสตร์ 2(1-3-2)562501 จิตเวชศาสตร์ 4(2-6-4)รวมจ านวนหน่วยกิต 18 หน่วยกิตปี 5 ภาคการศึกษาปลายรายวิชาหน่วยกิต580504 อายุรศาสตร์ 4 3(2-3-4)580505 อายุรศาสตร์ 5 3(2-3-4)590502 ศัลยศาสตร์ 3 2(1-3-2)590511 ศัลศาสตร์หัตถการ 2 2(0-6-2)576501 วิสัญญีวิทยาพื้นฐาน 2(1-3-2)572503 เวชศาสตร์เชิงประจักษ์ 3 1(0-3-1)572504 วิทยาการระบาดและการวิจัยทางคลินิก 2(1-3-2)รวมจ านวนหน่วยกิต 15 หน่วยกิต


25ปี 6 ภาคการศึกษาฤดูร้อนรายวิชาหน่วยกิต560609 การบริหารงานสาธารณสุขและงานบริการสุขภาพ 2(1-3-2)588601 เวชศาสตร์ทางทะเลและการเดินทางท่องเที่ยว 2(1-3-2)570602 เวชจริยศาสตร์และทักษะการสื่อสารในเวชปฏิบัติ 2(1-3-2)รวมจ านวนหน่วยกิต 6 หน่วยกิตปี 6 ภาคการศึกษาต้นรายวิชาหน่วยกิต580606 เวชปฏิบัติอายุรศาสตร์ 1 3(0-9-3)580607 เวชปฏิบัติอายุรศาสตร์ 2 3(0-9-3)590603 เวชปฏิบัติศัลยศาสตร์ 1 3(0-9-3)590604 เวชปฏิบัติศัลยศาสตร์ 2 3(0-9-3)594602 เวชปฏิบัติออร์โธปิดิกส์ 2(0-6-2)574602 เวชปฏิบัติเวชศาสตร์ฉุกเฉิน 2(0-6-2)560608 เวชปฏิบัติผู้ป่วยนอกและเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ 2(1-3-2)รวมจ านวนหน่วยกิต 18 หน่วยกิตปี 6 ภาคการศึกษาปลายรายวิชาหน่วยกิต596602 เวชปฏิบัติสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา 1 3(0-9-3)596611 เวชปฏิบัติสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา 2 3(0-9-3)582604 เวชปฏิบัติกุมารเวชศาสตร์ 1 3(0-9-3)582605 เวชปฏิบัติกุมารเวชศาสตร์ 2 3(0-9-3)560610 เวชปฏิบัติเวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน 2(0-6-2)xxxxxx วิชาเลือก 2(x-x-x)xxxxxx วิชาเลือกเสรี 2(x-x-x)รวมจ านวนหน่วยกิต 18 หน่วยกิต


263.1.5 ค าอธิบายรายวิชา (เอกสารแนบหมายเลข 2)3.1.6 เปรียบเทียบหลักสูตรที่มีการปรับปรุงและหลักสูตรเดิม(เอกสารแนบหมายเลข 6)3.2 ชื่อ สกุล เลขประจ าตัวบัตรประชาชน ต าแหน่งและคุณวุฒิของอาจารย์3.2.1 อาจารย์ประจ าหลักสูตร3.2.1.1 นายทวีลาภ ตั๊นสวัสดิ์ เลขบัตรประจ าตัวประชาชน 3-2001-0051x-xx-xคุณวุฒิ แพทยศาสตรบัณฑิต(เกียรตินิยม), มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. 2533วุฒิบัตรวิชาชีพ กุมารเวชศาสตร์, แพทยสภา พ.ศ. 2539อนุมัติบัตรวิชาชีพ เวชศาสตร์ครอบครัว, แพทยสภา พ.ศ. 2546วุฒิบัตรวิชาชีพ กุมารเวชศาสตร์โรคภูมิแพ้และภูมิคุ้มกัน, แพทยสภา พ.ศ. 2552ต าแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ผลงานทางวิชาการ (เอกสารแนบหมายเลข 3)ภาระการสอนที่มีอยู่แล้ว317372 วิทยาภูมิคุ้มกันทางการแพทย์ 3(2-3-4)584301 พยาธิวิทยาคลินิก 2(1-3-2)582401 กุมารเวชศาสตร์ 1 4(4-0-8)582402 กุมารเวชศาสตร์ 2 2(0-6-3)582403 กุมารเวชศาสตร์ 3 2(0-6-3)570201 พื้นฐานทางคลินิกและเวชจริยศาสตร์ 1 2(1-3-2)ภาระการสอนในหลักสูตรปรับปรุง680323 วิทยาภูมิคุ้มกันทางการแพทย์ 3(2-3-4)584301 พยาธิวิทยาคลินิก 4(3-3-6)582401 กุมารเวชศาสตร์ 1 3(2-3-4)582402 กุมารเวชศาสตร์ 2 3(2-3-4)582403 กุมารเวชศาสตร์ 3 3(1-6-2)570301 พื้นฐานทางคลินิกและเวชจริยศาสตร์ 2(1-3-2)3.2.1.2 นายกิตติ กรุงไกรเพชร เลขประจ าตัวประชาชน 3-2099-0002x-xx-xคุณวุฒิ แพทยศาสตรบัณฑิต, มหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2534วุฒิบัตรวิชาชีพ สูติศาสตร์ – นรีเวชวิทยา, แพทยสภา พ.ศ. 2539อนุมัติบัตรวิชาชีพ เวชศาสตร์ครอบครัว, แพทยสภา พ.ศ. 2546ต าแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ผลงานทางวิชาการ (เอกสารแนบหมายเลข 3)ภาระการสอนที่มีอยู่แล้ว572301 เวชศาสตร์เชิงประจักษ์ 1 2(1-3-2)572302 เวชศาสตร์เชิงประจักษ์ 2 2(1-3-2)


27317223 พัฒนาการกายวิภาคศาสตร์ 3(2-3-4)792334 เภสัชวิทยา 5(4-3-8)317234 สรีรวิทยาทางการแพทย์ 1 4(3-3-6)ภาระการสอนในหลักสูตรปรับปรุง572301 เวชศาสตร์เชิงประจักษ์ 1 2(1-3-2)572302 เวชศาสตร์เชิงประจักษ์ 2 1(0-3-1)680203 พัฒนาการกายวิภาคศาสตร์ 3(3-0-6)792334 เภสัชวิทยา 1 3(2-3-4)792335 เภสัชวิทยา 2 2(1-3-2)680215 สรีรวิทยาทางการแพทย์ 1 4(3-3-6)3.2.1.3 นางสาวรมร แย้มประทุม เลขประจ าตัวประชาชน 3-2001-0109x-xx-xคุณวุฒิ แพทยศาสตรบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ . ศ.2537วุฒิบัตรวิชาชีพ กุมารเวชศาสตร์, แพทยสภา พ.ศ. 2543อนุมัติบัตรวิชาชีพ เวชศาสตร์ครอบครัว, แพทยสภา พ.ศ. 2546วุฒิบัตรวิชาชีพ กุมารเวชศาสตร์พัฒนาการและพฤติกรรม, แพทยสภา พ.ศ.2553ต าแหน่งทางวิชาการ อาจารย์ผลงานทางวิชาการ (เอกสารแนบหมายเลข 3)ภาระการสอนที่มีอยู่แล้ว582401 กุมารเวชศาสตร์ 1 4(4-0-8)582402 กุมารเวชศาสตร์ 2 2(0-6-3)582403 กุมารเวชศาสตร์ 3 2(0-6-3)317329 พันธุกรรมศาสตร์มนุษย์และพันธุวิศวกรรม 2(2-0-4)560101 เวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน 1 2(1-3-2)570201 พื้นฐานทางคลินิกและเวชจริยศาสตร์ 1 2(1-3-2)ภาระการสอนในหลักสูตรปรับปรุง582401 กุมารเวชศาสตร์ 1 3(2-3-4)582402 กุมารเวชศาสตร์ 2 3(2-3-4)582403 กุมารเวชศาสตร์ 3 3(1-6-2)680321 พันธุศาสตร์มนุษย์และพันธุวิศวกรรม 2(2-0-4)560101 เวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน 1 2(1-3-2)570301 พื้นฐานทางคลินิกและเวชจริยศาสตร์ 2(1-3-2)


3.2.1.4 นายสุจินต์ อึ้งถาวร เลขประจ าตัวบัตรประชาชน 3-1005-0248X-XX-Xคุณวุฒิ แพทยศาสตรบัณฑิต, มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ พ.ศ. 2502M.Sc. (Microscopic Anatomy), Queen’s Universityประเทศแคนาดา พ.ศ. 2510Medical Education, University of Illinoisประเทศสหรัฐอเมริกา พ.ศ. 2514ต าแหน่งทางวิชาการ ศาสตราจารย์พิเศษผลงานทางวิชาการ (เอกสารแนบหมายเลข 3)ภาระการสอนที่มีอยู่แล้ว317329 พันธุกรรมศาสตร์มนุษย์และพันธุวิศวกรรม 2(2-0-4)ภาระการสอนในหลักสูตรปรับปรุง680321 พันธุศาสตร์มนุษย์และพันธุวิศวกรรม 2(2-0-4)3.2.1.5 นายพิสิษฐ์ พิริยาพรรณ เลขประจ าตัวบัตรประชาชน 3-2001-0066X-XX-Xคุณวุฒิ แพทยศาสตรบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ. 2525วุฒิบัตรวิชาชีพ เวชปฏิบัติทั่วไป, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ. 2529อนุมัติบัตรวิชาชีพ เวชศาสตร์ครอบครัว, แพทยสภา พ.ศ. 2545ต าแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ผลงานทางวิชาการ (เอกสารแนบหมายเลข 3)ภาระการสอนที่มีอยู่แล้ว560101 เวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน 1 2(1-3-2)560202 เวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน 2 1(0-3-0)560203 เวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน 3 2(1-3-2)ภาระการสอนในหลักสูตรปรับปรุง560101 เวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน 1 2(1-3-2)560202 เวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน 2 1(0-3-1)560203 เวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน 3 2(1-3-2)3.2.2 อาจารย์ประจ าอาจารย์สังกัด<strong>คณะแพทยศาสตร์</strong>ทั้งหมด พร้อมภาระการสอน(เอกสารแนบหมายเลข 9)3.2.3 อาจารย์พิเศษ- แพทย์สังกัดโรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ ศรีราชา สภากาชาดไทย จังหวัดชลบุรี(เอกสารแนบหมายเลข 10)- แพทย์สังกัดโรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร จังหวัดปราจีนบุรี(เอกสารแนบหมายเลข 10)28


294. องค์ประกอบเกี่ยวกับประสบการณ์ภาคสนาม (การฝึกงาน หรือสหกิจศึกษา) (ถ้ามี)จัดฝึกภาคปฏิบัติในรายวิชาเวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน โดยก าหนดให้นิสิตได้ลงพื้นที่ในชุมชนเพื่อฝึกปฏิบัติ พร้อมทั้งจัดให้มีการท ากิจกรรมร่วมกับชุมชนในพื้นที่ที่นิสิตรับผิดชอบนอกจากนี้ยังได้ด าเนินการฝึกพัฒนาภาคสนามร่วมกันของคณะในกลุ่มด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพโดยออกส ารวจชุมชนและแก้ไขปัญหาสุขภาพของชุมชน โดยเป็นการฝึกภาคสนามร่วมกับคณะในกลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ 3 คณะ ได้แก่ <strong>คณะแพทยศาสตร์</strong> คณะสาธารณสุขศาสตร์ และคณะการแพทย์แผนไทยอภัยภูเบศร4.1. มาตรฐานผลการเรียนรู้ของประสบการณ์ภาคสนาม1. ด้านคุณธรรมจริยธรรม- แสดงออกถึงคุณธรรมจริยธรรมที่เหมาะสมต่อวิชาชีพ- แสดงออกถึงบุคลิกภาพอันเป็นที่น่าเชื่อถือ- เข้าใจความต้องการและข้อจ ากัด โดยไม่แบ่งแยกในบริบทของเชื้อชาติ ศาสนาวัฒนธรรม เพศ อายุ และเศรษฐานะ- มีความเข้าใจและสามารถให้การบริบาลสุขภาพโดยมุ่งเน้นคนเป็นศูนย์กลาง2. ด้านความรู้- มีความรู้ความเข้าใจวิทยาศาสตร์การแพทย์ระดับพื้นฐาน(ตามเกณฑ์มาตรฐานผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม แพทยสภา)- การสร้างเสริมสุขภาพ และระบบบริบาลสุขภาพ(ตามเกณฑ์มาตรฐานผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม แพทยสภา)3. ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ- สามารถท างานเป็นทีมในบทบาทผู้น าและสมาชิกในทีมดูแลรักษา ทีมสุขภาพและทีมในชุมชนของระบบบริการสาธารณสุข ในบริบทหรือสถานการณ์ที่แตกต่างกัน4.2 ช่วงเวลา1. ฝึกภาคปฏิบัติวิชาเวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชนภาคฤดูร้อนและภาคต้นของการเรียนชั้นปีที่ 2 และภาคฤดูร้อนของการเรียนชั้นปีที่ 32. ฝึกภาคสนามร่วมกับคณะในกลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์สุขภาพ ก าหนดจัดในช่วงภาคฤดูร้อน4.3 การจัดเวลาและตารางสอนจัดฝึกประสบการณ์ภาคสนาม 2 สัปดาห์ โดยสัปดาห์แรกเป็นการบรรยาย และส ารวจชุมชนในสัปดาห์ที่ 2 ออกฝึกภาคสนามในชุมชน5. ข้อก าหนดเกี่ยวกับการท าโครงงานหรืองานวิจัย (ถ้ามี)-ไม่มี-


หมวดที่ 4. ผลการเรียนรู้ กลยุทธ์การสอนและการประเมินผล1. การพัฒนาคุณลักษณะพิเศษของนิสิตคุณลักษณะพิเศษมีความรู้ในศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง สามารถประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสมในการประกอบวิชาชีพ และศึกษาต่อในระดับสูง โดยเฉพาะเวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน และอาชีวเวชศาสตร์มีวุฒิภาวะที่เหมาะสม มีภาวะผู้น า มีความรับผิดชอบ และสามารถท างานร่วมกับสาขาวิชาชีพอื่นได้30กลยุทธ์หรือกิจกรรมของนิสิตวิชาบังคับของหลักสูตรต้องมีพื้นฐานของศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง มีการปฏิบัติ กิจกรรมโครงงาน และกรณีศึกษาจนสามารถเชื่อมโยง ประยุกต์ใช้ได้กับปัญหาจริง1.ก าหนดให้นิสิตท างานเป็นกลุ่ม เพื่อส่งเสริมให้นิสิตท างานเป็นหมู่คณะ ผลัดกันเป็นผู้น า และผู้ตามที่ดี2.มีกติกาเพื่อเสริมสร้างวินัยในตนเอง เช่น การเข้าเรียนตรงเวลา การส่งงานที่ได้รับมอบหมายตรงเวลา3.มีวุฒิภาวะที่เหมาะสม2. การพัฒนาผลการเรียนรู้ในแต่ละด้าน2.1 คุณธรรม จริยธรรม2.1.1 ผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม2.1.1.1 สามารถแสดงออกถึงคุณธรรมจริยธรรมที่เหมาะสมต่อวิชาชีพ2.1.1.2 สามารถแสดงออกถึงความซื่อสัตย์สุจริตต่อตนเองและวิชาชีพ เป็นที่ไว้วางใจของผู้ป่วยและสังคม2.1.1.3 แสดงออกถึงบุคลิกอันเป็นที่น่าเชื่อถือ2.1.1.4 มีความตรงต่อเวลา และรับผิดชอบต่อการนัดหมาย2.1.1.5 มีความรับผิดชอบต่อผู้ป่วย และงานที่ได้รับมอบหมาย2.1.1.6 เข้าใจความต้องการและข้อจ ากัด โดยไม่แบ่งแยกในบริบทของเชื้อชาติ ศาสนาวัฒนธรรม เพศ อายุ และเศรษฐานะ2.1.1.7 เคารพในสิทธิของผู้ป่วย โดยการให้ความจริง รักษาความลับ และค านึงถึงประโยชน์ และความปลอดภัยของผู้ป่วยเป็นส าคัญ2.1.1.8 มีความเข้าใจและสามารถให้การบริบาลสุขภาพโดยมุ่งเน้นคนเป็นศูนย์กลาง2.1.2 กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม2.1.2.1 ก าหนดเป็นรายวิชาที่ต้องเรียน คือในรายวิชาพื้นฐานทางคลินิกและเวชจริยศาสตร์2.1.2.2 เป็นประเด็นที่เน้นในการเรียนการสอนทุกรายวิชา ซึ่งสามารถสอดแทรกทั้งในการเรียนในชั้นเรียน การเรียนรู้จากรายงานผู้ป่วย หรือสถานการณ์จ าลอง และการเรียนรู้ข้างเตียงหรือในชุมชน การเรียนรู้ทางการแพทย์ส่วนใหญ่ต้องเกี่ยวข้องกับตัวบุคคล ครอบครัวและชุมชนซึ่งมีประเด็นปัญหาด้านคุณธรรม จริยธรรมวิชาชีพ ผ่านกระบวนการไตร่ตรองอย่างเป็นระบบ โดยมีอาจารย์แนะน า ท าให้เกิดการเรียนรู้และปลูกฝังในจิตส านึกของการเป็นแพทย์ที่ดี


2.1.2.3 เรียนรู้จากกิจกรรมเสริมหลักสูตร เช่นกิจกรรมหรือโครงการอาสา กิจกรรมสร้างจิตส านึกที่ดี การฝึกประสบการณ์วิชาชีพโดยมีต้นแบบที่ดี2.1.2.4 อาจารย์เป็นแบบอย่างที่ดี2.1.3 กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม2.1.3.1 การประเมินผลในรายวิชาที่สอนเวชจริยศาสตร์2.1.3.2 ประเมินจากพฤติกรรมในชั้นเรียน2.1.3.3 การมีส่วนร่วมในกิจกรรมเพื่อส่วนรวม2.1.3.4 การประเมิน และสังเกตในสถานการณ์จริงที่ปฏิบัติต่อผู้ป่วยและญาติ2.1.3.5 การตรงต่อเวลาในการเข้าเรียน การท ากิจกรรม การรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย2.1.3.6 ประเมินจากความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต ภายหลังส าเร็จการศึกษา2.2 ความรู้2.2.1 ผลการเรียนรู้ด้านความรู้2.2.1.1 วิทยาศาสตร์การแพทย์ระดับพื้นฐาน(ตามเกณฑ์มาตรฐานผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม แพทยสภา ภาคผนวก ก)2.2.1.2 วิชาชีพและทักษะทางคลินิก(ตามเกณฑ์มาตรฐานผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม แพทยสภา ภาคผนวก ข)2.2.1.3 การสร้างเสริมสุขภาพ และระบบบริบาลสุขภาพ(ตามเกณฑ์มาตรฐานผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม แพทยสภา ภาคผนวก ค)2.2.1.4 เวชจริยศาสตร์(ตามเกณฑ์มาตรฐานผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม แพทยสภา ภาคผนวก ง)2.2.1.5 กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการประกอบวิชาชีพเวชกรรม(ตามเกณฑ์มาตรฐานผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม แพทยสภา ภาคผนวก จ)2.2.1.6 การใช้ยา ผลิตภัณฑ์ และเทคโนโลยีด้านสุขภาพอย่างเหมาะสม โดยค านึงถึงความคุ้มค่าในเศรษฐศาสตร์คลินิก2.2.1.7 หลักการด้านวิทยาการระบาดเชิงคลินิก ชีวสถิติ เวชสารสนเทศ และเวชศาสตร์เชิงประจักษ์2.2.1.8 หลักการด้านสังคมศาสตร์ มานุษยวิทยา และพฤติกรรมศาสตร์ ที่จ าเป็นส าหรับสร้างเสริมเจตคติ และสร้างความเข้าใจต่อเพื่อนมนุษย์และสังคม2.2.1.9 หลักการด้านบริหารงานขั้นพื้นฐานทางสาธารณสุข2.2.1.10 หลักการพื้นฐานด้านระบบคุณภาพ และความความปลอดภัยของผู้ป่วย2.2.2 กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านความรู้2.2.2.1 การบรรยายในชั้นเรียน2.2.2.2 การเรียนรู้ผ่านกระบวนการเรียนการสอนที่มุ่งเน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ โดยมีการใช้กลยุทธ์การสอนที่หลากหลาย อาทิ Problem-oriented learning, Project-based learningการอภิปรายกลุ่ม การน าเสนอผลงาน โดยมีอาจารย์ให้ข้อมูลป้อนกลับ และตั้งค าถามเพื่อให้กระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้เพิ่มเติม31


2.2.2.3 การเรียนรู้จากประสบการณ์จริงในการดูแลผู้ป่วย โดยได้รับค าแนะน าจากอาจารย์แพทย์รุ่นพี่ รวมทั้งผู้ร่วมงานสหสาขาวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง และน าตัวอย่างผู้ป่วยจริงมาทบทวนความรู้ที่เกี่ยวข้องเพิ่มเติมด้วยตัวเอง และน าเสนอในกลุ่ม2.2.2.4 การเรียนรู้จากการไปดูงานในสถานที่จริง นอกสถาบันที่ศึกษา เพื่อเพิ่มพูนความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง2.2.2.5 การเรียนรู้ในชุมชน เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจระบบสุขภาพและการบริบาลชุมชน2.2.3 กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านความรู้2.2.3.1 การประเมินผลรายวิชา โดยการสอบภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ2.2.3.2 การประเมินโดยผลงานรายบุคคล หรือผลงานกลุ่ม จากผลการท างานต่างๆ เช่นการท ารายงานหัวข้อต่างๆ รายงานการวิเคราะห์กรณีศึกษา การน าเสนอผลงาน2.2.3.3 การประเมินผลการปฏิบัติงานจากการสังเกตในสถานการณ์จริง กระบวนการคิดการวางแผน การให้เหตุผลทางคลินิก2.3 ทักษะทางปัญญา2.3.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา2.3.1.1 ตระหนักรู้ในศักยภาพและข้อควรพัฒนาของตน เพื่อก าหนดความต้องการในการเรียนรู้และพัฒนาของตนเอง ได้อย่างครอบคลุมทุกด้านที่จ าเป็น2.3.1.2 สามารถวางแผนและแสวงหาวิธีการสร้างและพัฒนาความรู้ ทักษะ เจตคติ และพฤติกรรมที่เหมาะสม2.3.1.3 คิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ โดยใช้องค์ความรู้ทางวิชาชีพและด้านอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง2.3.1.4 สามารถน าข้อมูล และหลักฐานทั้งด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์พื้นฐาน และทางคลินิกไปใช้ในการอ้างอิงและแก้ไขปัญหาได้อย่างมีวิจารณญาณ2.3.1.5 สามารถแสวงหาและแลกเปลี่ยนความรู้ ฝึกทักษะ รวมทั้งพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องและสม่ าเสมอ2.3.1.6 เลือกใช้วิธีการแก้ไขปัญหาอย่างมีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับสถานการณ์และบริบททางสุขภาพที่เปลี่ยนไป2.3.1.7 เลือกใช้วิธีการตรวจโดยเครื่องมือพื้นฐาน เครื่องมือพิเศษ และการตรวจทางห้องปฏิบัติการ โดยค านึงถึงความคุ้มค่าและเหมาะสม2.3.1.8 เข้าใจถึงบทบาท คุณประโยชน์ และแนวทางการบูรณาการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกเข้ากับระบบสุขภาพของประเทศ เพื่อเลือกใช้แนวทาง หรือส่งต่อผู้ป่วยได้อย่างเหมาะสม2.3.1.9 เข้าใจความส าคัญของการพัฒนาคุณภาพงาน รวมทั้งสามารถปฏิบัติได้อย่างสม่ าเสมอและต่อเนื่อง สามารถสร้างองค์ความรู้จากการปฏิบัติงานประจ าวัน และเข้าใจในระบบบริหารจัดการความรู้2.3.1.10 สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ด้านสุนทรียศาสตร์ ชีวิตและความตาย วัฒนธรรมสังคม กฎหมาย เศรษฐศาสตร์และสิ่งแวดล้อมของชุมชน เพื่อเชื่อมโยงกับการบริบาลสุขภาพอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล32


2.3.2 กลยุทธ์การสอนที่ใช้ในการพัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา2.3.2.1 การเรียนรู้ผ่านกระบวนการเรียนการสอนที่มุ่งเน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ โดยมีการใช้ กลยุทธ์การสอนที่หลากหลาย อาทิ Problem-oriented learning, Project-based learningการอภิปรายกลุ่ม การน าเสนอผลงาน โดยมีอาจารย์ให้ข้อมูลป้อนกลับ และตั้งค าถามเพื่อให้กระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้เพิ่มเติม การคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ2.3.2.2 การเรียนรู้จากประสบการณ์จริงในการดูแลผู้ป่วย โดยได้รับค าแนะน าจากอาจารย์ แพทย์รุ่นพี่ รวมทั้งผู้ร่วมงานสหสาขาวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง และน าตัวอย่างผู้ป่วยจริงมาทบทวนหาข้อมูลเชิงประจักษ์เพื่อสนับสนุนในการตรวจรักษา และวินิจฉัยอย่างถูกต้อง เหมาะสม2.3.2.3 การเรียนรู้จากการไปดูงานในสถานที่จริง นอกสถาบันที่ศึกษา เพื่อเพิ่มพูนความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง น ามาวิเคราะห์ เพื่อพัฒนาคุณภาพของงานต่อได้2.3.2.4 การเรียนรู้ในชุมชน เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจระบบสุขภาพและการบริบาลชุมชนและน ามาวิเคราะห์ อภิปรายกลุ่ม2.3.3 กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา2.3.3.1 การประเมินผลรายวิชา โดยการสอบภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ2.3.3.2 การประเมินโดยผลงานรายบุคคล หรือผลงานกลุ่ม จากผลการท างานต่างๆเช่น การท ารายงานหัวข้อต่างๆ รายงานการวิเคราะห์กรณีศึกษา การน าเสนอผลงาน2.3.3.3 การประเมินผลการปฏิบัติงานจากการสังเกตในสถานการณ์จริง กระบวนการคิดการวางแผน การให้เหตุผลทางคลินิก2.4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ2.4.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างตัวบุคคลและความสามารถในการรับผิดชอบ2.4.1.1 สามารถปรับตัวเชิงวิชาชีพ และมีปฏิสัมพันธ์อย่างสร้างสรรค์กับผู้อื่น2.4.1.2 สามารถท างานเป็นทีมในบทบาทผู้น าและสมาชิกในทีมดูแลรักษา ทีมสุขภาพและทีมในชุมชนของระบบบริการสาธารณสุข ในบริบทหรือสถานการณ์ที่แตกต่างกัน2.4.1.3 มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ต่อสังคม และรับผิดชอบในการพัฒนาวิชาชีพ องค์กรและสังคม2.4.1.4 สามารถส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนและชุมชนให้มีบทบาทในการดูแลสร้างเสริมสุขภาพ และตอบสนองต่อความต้องการของชุมชนอย่างเหมาะสม2.4.2 กลยุทธ์การสอนที่ใช้ในการพัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ2.4.2.1 การท างานกลุ่ม โดยมอบหมายหน้าที่หมุนเวียนกันเป็นผู้น ากลุ่มและสมาชิกในกลุ่มฝึกการแสดงความคิดเห็นในกลุ่ม และการยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่นอย่างมีเหตุผล2.4.2.2 การฝึกปฏิบัติข้างเตียง โดยปฏิบัติงานร่วมกับกลุ่มเพื่อนนิสิต ในความดูแลของอาจารย์ แพทย์รุ่นพี่ รวมทั้งผู้ร่วมงานสหสาขาวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง2.4.2.3 การฝึกปฏิบัติต่อผู้ป่วยและญาติ ในความดูแลของอาจารย์ แพทย์รุ่นพี่2.4.2.4 การเรียนรู้ในชุมชน การท างานร่วมกับบุคคลต่างสาขาอาชีพ2.4.2.5 เรียนรู้จากกิจกรรมเสริมหลักสูตร เช่นกิจกรรมหรือโครงการกลุ่มต่างๆ รวมทั้งกิจกรรมเครือข่ายร่วมกับสถาบันอื่นๆ33


2.4.3 กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ2.4.3.1 ประเมินจากพฤติกรรมการมีส่วนร่วม บทบาทการท างานในทีม2.4.3.2 ประเมินจากความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย2.4.3.3 สังเกตพฤติกรรมจากสถานการณ์จริง2.5 ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ2.5.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ2.5.1.1 สามารถประยุกต์ใช้หลักตรรกะ คณิตศาสตร์ และสถิติทางการแพทย์ได้อย่างเหมาะสม2.5.1.2 สามารถสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพทั้งการพูด การฟัง การอ่าน การเขียนการน าเสนอ และอวัจนภาษาหรือภาษาท่าทาง (non-verbal communication) รวมทั้งสามารถอ่านต าราและวารสารภาษาอังกฤษได้อย่างเข้าใจ2.5.1.3 สามารถขอความยินยอมในการรักษาพยาบาลจากผู้ป่วย รวมทั้งสร้างความมั่นใจเรื่องการคงความลับของผู้ป่วย2.5.1.4 มีทักษะการสื่อสารในสถานการณ์เฉพาะ ได้แก่ การแจ้งข่าวร้าย การจัดการเมื่อเกิดข้อผิดพลาด โน้มน้าว ไกล่เกลี่ย และเจรจาต่อรอง2.5.1.5 มีทักษะในการรับฟังปัญหา เข้าใจถึงความรู้สึกและความวิตกกังวลของผู้ป่วยและญาติอีกทั้งสามารถตอบค าถาม อธิบาย ให้ค าปรึกษาและค าแนะน า โดยเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วมอย่างเหมาะสม2.5.1.6 สามารถค้นคว้าหาข้อมูลจากแหล่งต่างๆ โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ รวมทั้งมีวิจารณญาณในการประเมินข้อมูล ด้วยหลักการของวิทยาการระบาดคลินิก และเวชศาสตร์เชิงประจักษ์2.5.1.7 มีทักษะในการรับข้อมูลอย่างมีวิจารณญาณ และแปลงข้อมูลให้เป็นสารสนเทศที่มีคุณภาพ รวมทั้งสามารถอ่าน วิเคราะห์ และถ่ายทอดข้อมูลข่าวสารแก่ผู้อื่นได้อย่างเข้าใจ2.5.1.8 สามารถเลือกและใช้รูปแบบการน าเสนอสารสนเทศ ตลอดจนใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ได้อย่างมีประสิทธิภาพและเหมาะสมกับสถานการณ์2.5.1.9 สามารถบันทึกเอกสารทางการแพทย์อย่างเป็นระบบ ถูกต้อง และต่อเนื่อง โดยอาศัยแนวทางมาตรฐานสากล2.5.1.10 มีทักษะในการถ่ายทอดความรู้ ทักษะ และประสบการณ์แก่ผู้เกี่ยวข้อง2.5.2 กลยุทธ์การสอนที่ใช้ในการพัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ2.5.2.1 การจัดการเรียนการสอนในรายวิชาเวชศาสตร์เชิงประจักษ์ โดยมีการมอบหมายและให้ค าแนะน าในการสืบค้นข้อมูล และน ามาวิเคราะห์ในการท าโครงการวิจัยกลุ่ม การท างานกลุ่ม2.5.2.2 สอดแทรกในรายวิชาต่างๆ จากการมอบหมายงาน เช่นการวิเคราะห์กรณีศึกษาการวิพากษ์ผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์ โดยต้องสืบค้นข้อมูล และน ามาวิเคราะห์ รวมทั้งการน าเสนอข้อมูลหรือผลงาน โดยอาศัยเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม2.5.2.3 เรียนรู้จากการสื่อสารกับผู้ป่วยจ าลองในสถานการณ์ต่างๆ2.5.2.4 การเรียนรู้จากประสบการณ์จริงในการดูแลผู้ป่วย การสื่อสารที่ถูกต้อง เหมาะสมในสถานการณ์ทั่วไป และสถานการณ์เฉพาะโดยได้รับค าแนะน า และการสังเกตตัวอย่างจากอาจารย์แพทย์รุ่นพี่2.5.2.5 การฝึกการบันทึกเอกสารทางการแพทย์อย่างเป็นระบบ ถูกต้อง34


2.5.3 กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ2.5.3.1 การประเมินผลรายวิชา โดยการสอบภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติรายวิชาเวชศาสตร์เชิงประจักษ์2.5.3.2 การน าเสนอผลงานรายบุคคล หรือผลงานกลุ่ม2.5.3.3 สังเกตพฤติกรรมจากสถานการณ์จ าลอง2.5.3.4 สังเกตพฤติกรรมจากสถานการณ์จริง2.6 ทักษะพิสัย2.6.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย2.6.1.1 มีความสามารถในการสังเกตอากัปกิริยา ท่าทีของผู้ป่วยและญาติ2.6.1.2 มีความสามารถในการซักประวัติและตรวจ<strong>ร่าง</strong>กายผู้ป่วยได้อย่างครอบคลุมและเหมาะสม2.6.1.3 มีความสามารถในการตรวจและแปลผลโดยเครื่องมือพื้นฐาน และการตรวจทางห้องปฏิบัติการที่จ าเป็นได้ โดยค านึงถึงความคุ้มค่าและเหมาะสม2.6.1 4.มีทักษะในการให้การดูแลรักษา และท าหัตถการที่จ าเป็น(ตามเกณฑ์มาตรฐานผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมแพทยสภา )2.6.2 กลยุทธ์การสอนที่ใช้ในการพัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย2.6.2.1 การฝึกปฏิบัติในสถานการณ์จ าลอง และสถานการณ์จริง2.6.2.2 การฝึกปฏิบัติในสถานการณ์จริง โดยมีอาจารย์ควบคุมดูแลอย่างใกล้ชิด2.6.2.3 การฝึกปฏิบัติในชุมชน หรือร่วมกับโครงการบริการวิชาการแก่สังคมในโอกาสต่างๆ2.6.2.4 การบรรยาย2.6.3 กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย2.6.2.1 การประเมินและการสังเกตในสถานการณ์จ าลอง2.6.2.2 การประเมินจากสมุดบันทึกหัตถการ2.6.2.3 การสอบภาคปฏิบัติ2.6.2.4 ประเมินจากคุณภาพในการตรวจรักษา และท าหัตการ โดยการสังเกตในสถานการณ์จริง2.7 เอกลักษณ์ของสถาบันและคุณลักษณะของบัณฑิต2.7.1 ผลการเรียนรู้ด้านเอกลักษณ์ของสถาบันและคุณลักษณะของบัณฑิต2.7.1.1 ด้านเวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน2.7.1.1.1 มีความรู้ด้านเวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน และศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง2.7.1.1.2 สามารถวางแผนและแสวงหาวิธีการสร้างและพัฒนาความรู้ ทักษะ เจตคติ และพฤติกรรมที่เหมาะสม2.7.1.1.3 สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ เลือกใช้วิธีการแก้ไขปัญหาอย่างมีประสิทธิภาพสอดคล้องกับสถานการณ์และบริบททางสุขภาพของครอบครัวและชุมชน2.7.1.1.4 เข้าใจถึงระบบสุขภาพของประเทศ เพื่อเลือกใช้แนวทางการดูแลครอบครัวและชุมชนได้อย่างเหมาะสม2.7.1.1.5 มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ และต่อสังคม35


2.7.1.2 ด้านอาชีวเวชศาสตร์2.7.1.2.1 มีความรู้ด้านอาชีวเวชศาสตร์ และศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง2.7.1.2.2 สามารถวางแผนและแสวงหาวิธีการสร้างและพัฒนาความรู้ ทักษะ เจตคติ และพฤติกรรมที่เหมาะสม2.7.1.1.3 สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ เลือกใช้วิธีการแก้ไขปัญหาด้านอาชีวเวชศาสตร์อย่างมีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับสถานการณ์และบริบทขององค์กร2.7.1.1.4 เข้าใจถึงระบบสุขภาพ กฎหมายเกี่ยวกับอาชีวเวชศาสตร์ เพื่อเลือกใช้แนวทางการดูแลเกี่ยวกับด้านอาชีวเวชศาสตร์ได้อย่างเหมาะสม2.7.1.1.5 มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ และต่อสังคม2.7.2 กลยุทธ์การสอนที่ใช้ในการพัฒนาการเรียนรู้ด้านเอกลักษณ์ของสถาบันและคุณลักษณะของบัณฑิต2.7.2.1 บูรณาการการเรียนการสอนวิชาที่เกี่ยวข้องกับเวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชนให้มีความสอดคล้องต่อเนื่องกัน2.7.2.2 จัดให้มีการเรียนและฝึกประสบการณ์ในแหล่งฝึกที่มีความช านาญด้านอาชีวเวชศาสตร์ โดยได้รับค าแนะน าจากอาจารย์2.7.2.3 การบรรยายในชั้นเรียน2.7.2.4 การเรียนรู้ผ่านกระบวนการเรียนการสอนที่มุ่งเน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ โดยมีการใช้กลยุทธ์การสอนที่หลากหลาย อาทิ Problem-oriented learning, Project-based learning การอภิปรายกลุ่ม การน าเสนอผลงาน โดยมีอาจารย์ให้ข้อมูลป้อนกลับ และตั้งค าถามเพื่อให้กระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้เพิ่มเติม2.7.2.5 การเรียนรู้ในชุมชน เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจระบบสุขภาพและการบริบาลชุมชนและน ามาวิเคราะห์อภิปรายกลุ่ม2.7.3 กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านเอกลักษณ์ของสถาบันและคุณลักษณะของบัณฑิต2.7.3.1 ประเมินผลรายวิชา โดยการสอบภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ2.7.3.2 ประเมินผลด้านเจตคติจากความรับผิดชอบต่องานกลุ่มที่ได้รับมอบหมายงาน เช่นการท ารายงานในหัวข้อต่าง ๆ รายงานการวิเคราะห์กรณีศึกษา การน าเสนอผลงาน3. แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา(Curriculum Mapping) (เอกสารแนบหมายเลข 4)36


หมวดที่ 5. หลักเกณฑ์ในการประเมินผลนักศึกษา1. กฎระเบียบหรือหลักเกณฑ์ในการให้ระดับคะแนน (เกรด)เป็นไปตามข้อบังคับ<strong>มหาวิทยาลัยบูรพา</strong> ว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2552(เอกสารแนบหมายเลข 7)2. กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาก าหนดให้มีระบบการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ของนิสิตเป็นส่วนหนึ่งของระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายใน เพื่อน าไปปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน การวัดผล และปรับปรุงหลักสูตรระดับรายวิชา: อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา ส่งผลการประเมินผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ ประกอบด้วยผลการสอบ รายงานการประเมินผลการฝึกงาน (ถ้ามี) รายงานความประพฤติ ผ่านที่ประชุมคณะกรรมการภาควิชา หรือกรรมการที่คณะฯ แต่งตั้ง ก่อนประกาศผลสอบระดับหลักสูตร: อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรควรประเมินการวัดผลในแต่ละรายวิชา ให้สอดคล้องกับความรับผิดชอบต่อผลการเรียนรู้หรือไม่ และมุ่งเน้นให้บัณฑิตสามารถสอบผ่านได้รับใบประกอบวิชาชีพเวชกรรม โดยน าคะแนนจากการทดสอบเพื่อประเมินความรู้ความสามารถในการประกอบวิชาชีพเวชกรรมมาเป็นตัวชี้วัดผลสัมฤทธิ์ และปรับปรุงหลักสูตรด้วยรวมทั้งประเมินจากแบบส ารวจคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ตามความต้องการของผู้ใช้บัณฑิต เพื่อน าไปปรับปรุงหลักสูตรทุกรอบระยะเวลาตามแผนก าหนดการศึกษาของหลักสูตร3. เกณฑ์การส าเร็จการศึกษาตามหลักสูตร3.1 เรียนครบตามจ านวนหน่วยกิตที่ก าหนดไว้ในหลักสูตร3.2 ระดับแต้มคะแนนเฉลี่ยสะสมขั้นต่ า 2.00 (จากระบบ 4 ระดับคะแนน)3.3 เกณฑ์การส าเร็จการศึกษา เป็นไปตามข้อบังคับ<strong>มหาวิทยาลัยบูรพา</strong> ว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2552 (เอกสารแนบหมายเลข 7) โดยมีหลักเกณฑ์การให้ปริญญาดังนี้3.3.1 ปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิต นิสิตผู้มีสิทธิได้รับปริญญาบัณฑิตต้องสอบได้จ านวนหน่วยกิตครบตามหลักสูตร และได้ค่าระดับขั้นเฉลี่ยสะสมไม่น้อยกว่า 2.003.3.2 ปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิตเกียรตินิยมอันดับสอง นิสิตผู้มีสิทธิได้รับปริญญาบัณฑิตเกียรตินิยมอันดับสองต้องสอบได้จ านวนหน่วยกิตครบตามหลักสูตร 4 ปีหรือ 5 ปี หรือ6 ปี ได้ค่าระดับขั้นเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ 3.25 ขึ้นไป และไม่เคยสอบได้D+ D F หรือ U ในรายวิชาใด3.3.3 ปริญญาแพทยศาสตรบัณฑิตเกียรตินิยมอันดับหนึ่ง นิสิตผู้มีสิทธิได้รับปริญญาบัณฑิตเกียรตินิยมอันดับหนึ่ง ต้องสอบได้จ านวนหน่วยกิตครบตามหลักสูตร 4 ปีหรือ 5 ปี หรือ 6 ปี ได้ ค่าระดับขั้นเฉลี่ยสะสมตั้งแต่ 3.60 ขึ้นไป และไม่เคยสอบได้ D+ D F หรือ U ในรายวิชาใด3.3.4 ปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตร์การแพทย์ เมื่อนิสิต<strong>คณะแพทยศาสตร์</strong>ศึกษาจบชั้นปีที่ 4 แล้ว ไม่ประสงค์หรือไม่สามารถศึกษาต่อจนครบตามหลักสูตร และได้ค่าระดับขั้นเฉลี่ยสะสมไม่น้อยกว่า 2.0037


หมวดที่ 6. การพัฒนาคณาจารย์1. การเตรียมการส าหรับอาจารย์ใหม่1.1 มีการปฐมนิเทศอาจารย์ใหม่ ให้มีความรู้ความเข้าใจนโยบายของมหาวิทยาลัย และคณะรวมทั้งเข้าใจวัตถุประสงค์และเป้าหมายของหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา1.2 ให้ความรู้แก่อาจารย์ใหม่ในด้านการบริหารวิชาการของคณะ และการประกันคุณภาพการศึกษา1.3 มอบหมายให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา แนะน าอาจารย์พิเศษ (ถ้ามี) ให้เข้าใจวัตถุประสงค์ของหลักสูตร และรายวิชาที่จะสอน รวมทั้งความรับผิดชอบของการเรียนรู้ในรายวิชานั้นๆ2. การพัฒนาความรู้และทักษะให้แก่คณาจารย์2.1 การพัฒนาทักษะการจัดการเรียนการสอน การวัดและการประเมินผล2.1.1 มหาวิทยาลัยหรือคณะ มีหลักสูตรอบรมส าหรับอาจารย์ เกี่ยวกับการเรียนการสอนการวัดและประเมินผล2.1.2 คณะจัดอบรมหลักสูตรแพทยศาสตร์ศึกษาให้กับอาจารย์ใหม่ โดยอาจารย์ใหม่ต้องผ่านการอบรมอย่างน้อย 1 ครั้ง ในระยะเวลา 3 ปี2.1.3 สนับสนุนให้มีการท าวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน2.2 การพัฒนาวิชาการและวิชาชีพด้านอื่นๆ2.2.1 สนับสนุนให้อาจารย์เข้าร่วมอบรมหรือประชุมสัมมนาวิชาการ อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง2.2.2 สนับสนุนให้อาจารย์มีการจัดการอบรม หรือประชุมสัมมนาวิชาการ อย่างสม่ าเสมอ2.2.3 สนับสนุนให้อาจารย์มีการท าวิจัยในสาขาวิชาชีพ2.2.4 สนับสนุนให้อาจารย์ท าผลงานทางวิชาการ เพื่อให้มีต าแหน่งทางวิชาการสูงขึ้น38


หมวดที่ 7. การประกันคุณภาพหลักสูตร1. การบริหารหลักสูตรมีอาจารย์ประจ าหลักสูตร รับผิดชอบด าเนินการบริหารหลักสูตรโดยผ่านกระบวนการดังนี้1.1 มีระบบกลไกในการเปิดหลักสูตร ประเมินหลักสูตร และน าผลมาพัฒนา และปรับปรุงหลักสูตรให้เหมาะสมอย่างต่อเนื่อง อย่างน้อยทุก 5 ปี1.2 มีคณะกรรมการบริหารหลักสูตร ซึ่งได้รับการแต่งตั้งจากคณะ ท าหน้าที่ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตร ให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา และกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี รวมทั้งมาตรฐานวิชาชีพของแพทยสภา1.3 คณะกรรมการบริหารโครงการร่วมผลิตแพทย์เพิ่มเพื่อชาวชนบท ของกระทรวงสาธารณสุขระหว่าง <strong>คณะแพทยศาสตร์</strong> <strong>มหาวิทยาลัยบูรพา</strong> กับ โรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ ศรีราชาสภากาชาดไทย และคณะกรรมการบริหารโครงการร่วมผลิตแพทย์เพิ่มเพื่อชาวชนบท ระหว่าง<strong>คณะแพทยศาสตร์</strong> <strong>มหาวิทยาลัยบูรพา</strong> กับโรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร ซึ่งได้รับการแต่งตั้งจากมหาวิทยาลัย ท าหน้าที่ควบคุมการด าเนินการจัดการเรียนการสอนให้เป็นไปตามหลักสูตร โดยคณะกรรมการทั้ง 2 ชุด มีอ านาจหน้าที่ ดังนี้1.3.1 ด าเนินการตามนโยบายของคณะกรรมการประจ า<strong>คณะแพทยศาสตร์</strong> และหลักเกณฑ์ของส่วนงานที่เกี่ยวข้องกับโครงการฯ1.3.2 ด าเนินการหลักสูตร1.3.3 ประเมินและพัฒนาหลักสูตร1.3.4 ด าเนินการเกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษา1.3.5 แต่งตั้งคณะอนุกรรมการหรือคณะท างาน เพื่อด าเนินการเกี่ยวกับกิจการของโครงการฯ ตามความเหมาะสม1.4 มีคณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา ซึ่งได้รับการแต่งตั้งจากคณะฯ ท าหน้าที่ควบคุมมาตรฐานของหลักสูตรให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา และกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี ติดตามและประเมินผลของหลักสูตรตามดัชนีบ่งชี้ เพื่อให้คณะกรรมการปรับปรุงหลักสูตรน าผลการประเมินมาให้ในการพัฒนาหลักสูตรต่อไป2. การบริหารทรัพยากรการเรียนการสอน2.1 การบริหารงบประมาณ1. ที่มาของแหล่งงบประมาณ เงินอุดหนุนจากรัฐบาลตามจ านวนนิสิตที่เรียนอยู่ในมหาวิทยาลัยและโรงพยาบาลร่วมผลิต เงินรายได้จากการลงทะเบียนของนิสิต และเงินรายได้อื่นๆ ของคณะ2. การบริหารจัดการงบประมาณ เป็นค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับบุคลากร การจัดการเรียนการสอน และการด าเนินงานอื่นๆ ตามความเหมาะสม2.2 ทรัพยากรการเรียนการสอนที่มีอยู่เดิม<strong>คณะแพทยศาสตร์</strong> มีอุปกรณ์การเรียนการสอน เช่น โต๊ะ เก้าอี้ เครื่องคอมพิวเตอร์โปรเจคเตอร์ ฯลฯ (เอกสารแนบหมายเลข 12)2.3 การจัดหาทรัพยากรการเรียนการสอนเพิ่มเติม2.3.1 <strong>คณะแพทยศาสตร์</strong> มีการจัดวางแผนจัดหา และติดตามการใช้ทรัพยากรการเรียนการสอนของคณะ39


2.3.2 มีการให้อาจารย์ผู้สอน และผู้เรียนเสนอรายชื่อต ารา และสื่อในสาขาวิชาที่รับผิดชอบต่อคณะฯ2.3.3 <strong>คณะแพทยศาสตร์</strong> จัดสรรงบประมาณประจ าปี และจัดซื้อต าราและสื่อต่างๆ2.3.4 มีการติดตามความต้องการและการใช้ทรัพยากรการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนา2.3.5 มีการก าหนดการให้บริการห้องสมุดไม่น้อยกว่า 5 วันต่อสัปดาห์2.3.6 มีการบริการหนังสือ หรือสื่อ ให้ยืมใช้ได้เพียงพอเมื่อนิสิตต้องไปฝึกปฏิบัติ ณ แหล่งฝึก2.4 การประเมินความเพียงพอของทรัพยากร2.4.1 <strong>คณะแพทยศาสตร์</strong>มีการวางแผนการประเมินอย่างมีส่วนร่วมกับผู้สอน นิสิต และบุคลากรที่รับผิดชอบทุกฝ่าย อย่างเป็นระบบในความเพียงพอของทรัพยากร2.4.2 ประเมินความเพียงพอจากความต้องการใช้ของอาจารย์ และผู้เรียน และให้ได้ตามความเหมาะสมในทุกปีการศึกษา2.4.3 จัดท าระบบติดตามการใช้ทรัพยากรทั้งต าราหลัก สิ่งพิมพิ์ และสื่อต่างๆ ที่เหมาะสม และน าผลมาใช้ในการบริหารทรัพยากร3. การบริหารคณาจารย์3.1 การรับอาจารย์ใหม่3.1.1 มีการคัดเลือกอาจารย์ใหม่ โดยอาจารย์ประจ าต้องมีวุฒิการศึกษาแพทยศาสตรบัณฑิต หรือระดับปริญญาโทขึ้นไปในสาขาที่เกี่ยวข้อง3.1.2 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวัตถุประสงค์และเป้าหมายของหลักสูตร3.1.3 ผ่านการคัดเลือกและสัมภาษณ์โดยคณะกรรมการของคณะ3.2 การมีส่วนร่วมของคณาจารย์ในการวางแผน การติดตามและทบทวนหลักสูตรอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร และอาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา รวมทั้งอาจารย์ผู้สอน มีการประชุมร่วมกันในการวางแผนการเรียนการสอน และการประเมินผล การพิจารณาปัญหาที่เกิดขึ้นในกระบวนการจัดการเรียนการสอน เสนอแนวทางการแก้ไขปัญหา ตลอดจนแนวทางพัฒนา เพื่อให้บรรลุเป้าหมายตามหลักสูตร และได้บัณฑิตเป็นไปตามคุณลักษณะที่พึงประสงค์3.3 การแต่งตั้งคณาจารย์พิเศษตามข้อบังคับ<strong>มหาวิทยาลัยบูรพา</strong> ว่าด้วยการพิจารณาต าแหน่งทางวิชาการส าหรับผู้ซึ่งไม่ได้ปฏิบัติงานในมหาวิทยาลัย (เอกสารแนบหมายเลข 10)4. การบริหารบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน4.1 การก าหนดคุณสมบัติเฉพาะส าหรับต าแหน่งบุคลากรสายสนับสนุนควรมีวุฒิขั้นต่ า ปริญญาตรี ในสาขาที่เกี่ยวข้องกับภาระงานที่รับผิดชอบ4.2 การเพิ่มทักษะความรู้เพื่อการปฏิบัติงาน4.2.1 สนับสนุนบุคลากรให้ได้รับการฝึกอบรมเพื่อเพิ่มพูนความรู้4.2.2 สนับสนุนให้บุคลากรในต าแหน่งที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์สุขภาพ นักวิจัยนักวิชาการศึกษา ให้ท างานวิจัย หรือท างานวิจัยร่วมกับอาจารย์เพื่อให้มีความรู้ความสามารถในการปฏิบัติหน้าที่ได้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น รวมทั้งเกิดองค์ความรู้ใหม่ที่มีประโยชน์ต่อองค์กรและสังคม40


7. ตัวบ่งชี้ผลการด าเนินงาน (Key Performance Indicators)ตัวบ่งชี้และเป้าหมาย ปีการศึกษา2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562(1) อาจารย์ประจ าหลักสูตรอย่างน้อยร้อยละ 80 มีส่วนร่วมในการประชุมเพื่อวางแผน ติดตาม และทบทวนการ ด าเนินงานหลักสูตร(2) มีรายละเอียดของหลักสูตร ตามแบบ มคอ.2 ที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา แห่งชาติ หรือ มาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา(3) มีรายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนามตามแบบ มคอ.3 และ มคอ.4 อย่างน้อยก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษาให้ครบทุกรายวิชา(4) จัดท ารายงานผลการด าเนินการของรายวิชา และรายงานผลการด าเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม ตามแบบมคอ.5 และ มคอ.6 ภายใน 30 วัน หลัง สิ้นสุดภาคการศึกษาที่เปิดสอนให้ครบทุกรายวิชา(5) จัดท ารายงานผลการด าเนินการของหลักสูตร ตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60วัน หลังสิ้นสุดปีการศึกษา 42(6) มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ที่ก าหนดใน มคอ.3 และ มคอ.4 อย่างน้อยร้อยละ 25 ของรายวิชาที่เปิดสอนในแต่ละปีการศึกษา(7) มีการพัฒนา/ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน หรือการประเมินผลการเรียนรู้ จากผลการประเมินการด าเนินงานที่รายงานในมคอ.7 ปีที่แล้ว


ตัวบ่งชี้และเป้าหมาย ปีการศึกษา2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562(8) อาจารย์ใหม่* (ถ้ามี) ทุกคน ได้รับการปฐมนิเทศหรือค าแนะน าด้านการ จัดการเรียนการสอนภายใน 1 ปี(9) อาจารย์ใหม่* ทุกคนได้รับการอบรมทางด้านแพทยศาสตรศึกษาอย่าง น้อย 1 ครั้ง ภายใน 3 ปี(10) อาจารย์ประจ าทุกคนมีคุณสมบัติครบตามมาตรฐานคุณวุฒิระดับ ปริญญาตรีสาขาแพทยศาสตร์(11) สัดส่วนของอาจารย์ประจ าเป็นไปตามที่ก าหนดในมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับปริญญาตรีสาขาแพทยศาสตร์(12) อาจารย์ประจ าทุกคนได้รับการพัฒนาทางวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ อย่างน้อย 15 ชั่วโมงต่อปีการศึกษา(13) จ านวนบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน ได้รับการพัฒนาวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ ไม่น้อยกว่า 10 ชั่วโมง ต่อปีการศึกษา(14) ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปีสุดท้าย/บัณฑิตใหม่ที่มีต่อคุณภาพหลักสูตร เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จาก คะแนนเต็ม 5.0(15) ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อบัณฑิตใหม่ เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม 5.043


หมวดที่ 8. การประเมินและปรับปรุงการด าเนินการของหลักสูตร1.การประเมินประสิทธิผลของการสอน1.1 การประเมินกลยุทธ์การสอน- มีการประชุมร่วมกันของอาจารย์ในคณะ เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และให้ข้อเสนอแนะ เกี่ยวกับการประเมิน และกลยุทธ์การสอน- ประเมินจากความคิดเห็นของนิสิตต่อการเรียนการสอน โดยการใช้แบบสอบถาม หรือการสนทนากับกลุ่มนิสิต- ประเมินจากผลสัมฤทธิ์ (Competency) การเรียนรู้ของนิสิต จากพฤติกรรมการแสดงออก การอภิปราย การท ากิจกรรม และผลการสอบ (จากคะแนนดิบ)1.2 การประเมินทักษะของอาจารย์ในการใช้แผนกลยุทธ์การสอน- ประเมินการสอนของอาจารย์ โดยนิสิตทุกปลายภาคการศึกษา โดยส านักทะเบียนและวัดผล- ประเมินจากผลการสอบการเรียนรู้ของนิสิตเทียบเคียงกับสถาบันอื่น โดยใช้ข้อสอบกลางของเครือข่ายสถาบัน หรือของศูนย์ประเมินและรับรองความรู้ความสามารถในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม- ประเมินรายวิชาโดยนิสิตทุกรายวิชา โดยแบบประเมินของ<strong>คณะแพทยศาสตร์</strong>2. การประเมินหลักสูตรในภาพรวม2.1 ประเมินโดยนิสิตและบัณฑิต- ประเมินหลักสูตรในภาพรวมในระดับเตรียมแพทย์และระดับปรีคลินิกโดยนิสิตชั้นปีที่ 4 ในภาคต้นของปีการศึกษา โดยใช้แบบสอบถาม- ประเมินหลักสูตรในภาพรวมในระดับคลินิกโดยนิสิตชั้นปีที่ 6 ในภาคปลายก่อนจบการศึกษาโดยใช้แบบสอบถาม- ประเมินหลักสูตรในภาพรวม โดยบัณฑิตที่จบไปแล้ว 1 ปี โดยใช้แบบสอบถาม2.2 ประเมินโดยผู้ทรงคุณวุฒิ และ/หรือผู้ประเมินภายนอก- ประเมินจากรายงานของการประเมินผลการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน และภายนอก- ประเมินโดยผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก2.3 ประเมินโดยผู้ใช้บัณฑิตและ/หรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอื่นๆ- ประเมินจากแบบสอบถามความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตต่อคุณลักษณะของบัณฑิตที่จบไป3. การประเมินผลการด าเนินงานตามรายละเอียดหลักสูตรประเมินตามตัวบ่งชี้ผลการด าเนินงานที่ระบุในหมวดที่ 7 ข้อ 7 โดยอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรและคณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในที่ได้รับการแต่งตั้ง4. การทบทวนผลการประเมินและวางแผนปรับปรุง- อาจารย์ประจ ารายวิชาทบทวนผลการประเมินประสิทธิผลของการสอนในรายวิชาที่รับผิดชอบทุกภาคการศึกษาและรายงานต่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร- อาจารย์ประจ าหลักสูตร และคณะกรรมการที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งคณาจารย์ทุกคนมีส่วนร่วมในการน าข้อมูลการประเมินต่างๆที่ได้รับ มาวางแผนปรับปรุงหลักสูตรทั้งฉบับทุก 5 ปี ทั้งนี้เพื่อให้หลักสูตรมีความทันสมัย และสอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้บัณฑิต45


46ภาคผนวกรายการเอกสารแนบเอกสารแนบหมายเลข 1 รายวิชาที่สอนโดยคณะอื่นเอกสารแนบหมายเลข 2 ค าอธิบายรายวิชา (ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ)เอกสารแนบหมายเลข 3 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจ าหลักสูตรเอกสารแนบหมายเลข 4 แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)เอกสารแนบหมายเลข 5 ค าสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณาหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาเอกสารแนบหมายเลข 6 ตารางเปรียบเทียบ หลักสูตรใหม่และหลักสูตรเดิม (พ.ศ. 2549)เอกสารแนบหมายเลข 7 ข้อบังคับ<strong>มหาวิทยาลัยบูรพา</strong> ว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2552เอกสารแนบหมายเลข 8 ค าสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ<strong>ร่าง</strong>และปรับปรุงหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา ประจ า<strong>คณะแพทยศาสตร์</strong>เอกสารแนบหมายเลข 9 รายชื่ออาจารย์แพทย์ ประจ า<strong>คณะแพทยศาสตร์</strong>และภาระงานสอนเอกสารแนบหมายเลข 10 รายชื่ออาจารย์พิเศษเอกสารแนบหมายเลข 11 ข้อบังคับ<strong>มหาวิทยาลัยบูรพา</strong> ว่าด้วยการพิจารณาต าแหน่งทางวิชาการส าหรับผู้ซึ่งไม่ได้เป็นผู้ปฏิบัติงานในมหาวิทยาลัยเอกสารแนบหมายเลข 12 ทรัพยากรการเรียนการสอนเอกสารแนบหมายเลข 13 มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาแพทยศาสตร์เอกสารแนบหมายเลข 14 เกณฑ์มาตรฐานผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมของแพทยสภา


47เอกสารหมายเลข 1รายวิชาที่สอนโดยคณะอื่น


48รายวิชาที่สอนโดยคณะอื่นรหัสวิชา ชื่อวิชา หน่วยกิต หน่วยงานที่รับผิดชอบรายวิชา107101 การสร้างเสริมสุขภาพแบบองค์รวม2(2-0-4) คณะพยาบาลศาสตร์Holistic Health Promotion107104 การพัฒนาจิตให้เกิดปัญญา2(1-3-2) คณะพยาบาลศาสตร์Mindfulness Cultivation of Wisdom228101 ทักษะการใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารThai Language Skills for Communication3(3-0-6) คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์265109 มนุษยศาสตร์เชิงบูรณาการIntegrated Humanities3(3-0-6) คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์302114 แคลคูลัสส าหรับวิทยาศาสตร์สุขภาพ 3(3-0-6) คณะวิทยาศาสตร์Calculus for Health Science303105 เคมีทั่วไปส าหรับแพทย์3(3-0-6) คณะวิทยาศาสตร์Medical General Chemistry303106 ปฏิบัติการเคมีทั่วไปส าหรับแพทย์1(0-3-1) คณะวิทยาศาสตร์Medical General Chemistry Laboratory303221 ปฏิบัติการเคมีอินทรีย์1(0-3-1) คณะวิทยาศาสตร์Organic Chemistry Laboratory303227 เคมีอินทรีย์ส าหรับแพทย์3(3-0-6) คณะวิทยาศาสตร์Medical Organic Chemistry306103 ชีววิทยาส าหรับแพทยศาสตร์3(3-0-6) คณะวิทยาศาสตร์Medical Biology306104 ปฏิบัติการชีววิทยาส าหรับแพทยศาสตร์ 1(0-3-1) คณะวิทยาศาสตร์Medical Biology Laboratory306106 ความหลากหลายทางชีวภาพและการอนุรักษ์ 2(2-0-4) คณะวิทยาศาสตร์Biodiversity and Conservation308108 ฟิสิกส์ทางการแพทย์3(3-0-6) คณะวิทยาศาสตร์Medical Physics308109 ปฏิบัติการฟิสิกส์ทางการแพทย์1(0-3-1) คณะวิทยาศาสตร์Medical Physics Laboratory309103 วิทยาศาสตร์ทางทะเล2(2-0-4) คณะวิทยาศาสตร์Marine Science316203 ชีวเคมีทางการแพทย์พื้นฐานBasic Medical Biochemistry4(3-3-6) คณะวิทยาศาสตร์


49รหัสวิชา ชื่อวิชา หน่วยกิต หน่วยงานที่รับผิดชอบรายวิชา671101 สังคมศาสตร์เชิงบูรณาการ3(3-0-6) คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์Integrated Social Sciences680201 มหกายวิภาคศาสตร์ของมนุษย์เชิงระบบ 1 4(3-3-6) คณะสหเวชศาสตร์Systemic Human Gross Anatomy I680202 มหกายวิภาคศาสตร์ของมนุษย์เชิงระบบ 2 4(3-3-6) คณะสหเวชศาสตร์Systemic Human Gross Anatomy II680203 พัฒนาการกายวิภาคศาสตร์3(3-0-6) คณะสหเวชศาสตร์Developmental Anatomy680204 ประสาทชีววิทยา4(3-3-6) คณะสหเวชศาสตร์Neurobiology680205 จุลกายวิภาคศาสตร์ของมนุษย์4(3-3-6) คณะสหเวชศาสตร์Human Microanatomy680215 สรีรวิทยาทางการแพทย์ 14(3-3-6) คณะสหเวชศาสตร์Medical Physiology I680216 สรีรวิทยาทางการแพทย์ 24(3-3-6) คณะสหเวชศาสตร์Medical Physiology II680295 เซลล์และชีววิทยาเชิงโมเลกุลของเซลล์ 3(3-0-6) คณะสหเวชศาสตร์Cell and Molecular Biology680321 พันธุศาสตร์มนุษย์และพันธุวิศวกรรม 2(2-0-4) คณะสหเวชศาสตร์Human Genetics and Genetic Engineering680323 วิทยาภูมิคุ้มกันทางการแพทย์3(2-3-4) คณะสหเวชศาสตร์Medical Immunology680326 จุลชีววิทยาทางคลินิก3(2-3-4) คณะสหเวชศาสตร์Clinical Microbiology680331 ปรสิตวิทยา3(2-3-4) คณะสหเวชศาสตร์Parasitology680341 พยาธิวิทยาทั่วไป4(3-3-6) คณะสหเวชศาสตร์General Pathology680342 พยาธิวิทยาระบบ4(3-3-6) คณะสหเวชศาสตร์Systematic Pathology792334 เภสัชวิทยาทางการแพทย์ 1Medical Pharmacology I3(2-3-4) คณะเภสัชศาสตร์


รหัสวิชา ชื่อวิชา หน่วยกิต หน่วยงานที่รับผิดชอบรายวิชา792335 เภสัชวิทยาทางการแพทย์ 22(1-3-2) คณะเภสัชศาสตร์Medical Pharmacology II850120 ลีลาศเพื่อสุขภาพ1(0-2-1) คณะวิทยาศาสตร์การกีฬาSocial Dance for health885101 เทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจ าวัน 3(2-2-5) คณะวิทยาการสารสนเทศInformation Technology in Daily Life999041 ภาษาอังกฤษ 13(3-0-6) สถาบันภาษาEnglish I999042 ภาษาอังกฤษ 23(3-0-6) สถาบันภาษาEnglish II999043 ภาษาอังกฤษ 3English III3(3-0-6) สถาบันภาษา50


51เอกสารหมายเลข 2ค าอธิบายรายวิชา


ค ำอธิบำยรำยวิชำ (Course Description)ก. หมวดวิชำศึกษำทั่วไป1.1 กลุ่มวิชำภำษำ999041 ภำษำอังกฤษ 1 3(3-0-6)English Iทักษะ ฟัง พูด อ่าน และเขียนภาษาอังกฤษ โดยเน้นศัพท์และโครงสร้างพื้นฐาน เพื่อใช้สื่อสารในชีวิตประจ าวันอย่างมีประสิทธิภาพFundamental skills in listening, speaking, reading, and writing English withemphasis on vocabulary and basic structure to achieve a practical command of the Englishlanguage for efficient communication in daily life999042 ภำษำอังกฤษ 2 3(3-0-6)English IIทักษะ ฟัง พูด อ่าน และเขียนภาษาอังกฤษ โดยเน้นศัพท์และโครงสร้างพื้นฐานที่สูงขึ้นกว่ารายวิชา 222101 เพื่อใช้สื่อสารในชีวิตประจ าวันอย่างมีประสิทธิภาพIntermediate skills in listening, speaking, reading, and writing English withemphasis on the sustained expansion of vocabulary and development of a higher knowledgeand understanding of structure designed to achieve a more practical and greater commandof the English language for efficient communication in daily life999043 ภำษำอังกฤษ 3 3(3-0-6)English IIIทักษะ ฟัง พูด อ่าน และเขียนภาษาอังกฤษ เน้นเรื่ององค์ประกอบทางสังคมและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษาที่มีอิทธิพลต่อโครงสร้างและการใช้ภาษาในสถานการณ์ต่างๆ โดยใช้ค าศัพท์และโครงสร้างระดับสูงAdvanced skills in listening, speaking, reading, and writing English withemphasis on the sustained expansion of vocabulary and development of the highestknowledge and understanding including social and cultural aspects of the language, toexamine their influence on structure, and language usage in a variety of circumstancesdesigned to best enhance command of the English language228101 ทักษะกำรใช้ภำษำไทยเพื่อกำรสื่อสำร 3(3-0-6)Thai Language Skills for Communicationภาษากับความคิดและเหตุผล บูรณาการทักษะการใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพเหมาะสมแก่บริบทและสถานการณ์ทั้งในชีวิตประจ าวันและในเชิงวิชาการLanguage, thinking, and reason; integration of language skills for efficientcommunication suitable with context and situations both in daily life and for academic purposes52


ประวัติศาสตร์ สังคมวิทยา นโยบายสาธารณะ ธรรมมาภิบาล สิทธิมนุษยชน วัฒนธรรม ปัญหาสังคมเศรษฐศาสตร์ การประกอบธุรกิจ เทคโนโลยี การบริหารจัดการ ทรัพย์สินทางปัญญา ตลอดจนถึงเอกลักษณ์ความเป็นไทยในกระแสโลกาภิวัตน์Social skill development; systems thinking; and practices on social moralityand ethics, integration of knowledge with real social life in different dimensions, such aspolitics and government, laws, geography, history, social science, public policies, goodgovernance, human rights, culture, social problems, economics, business operation,technologies, management, intellectual property, as well as Thai identity in the global society1.5 กลุ่มวิชำคณิตศำสตร์และวิทยำศำสตร์306106 ควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพและกำรอนุรักษ์ 2(2-0-4)Biodiversity and Conservationความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตและสารพันธุกรรม สิ่งมีชีวิตดัดแปรพันธุกรรม ความสัมพันธ์ของชีวิตกับสิ่งแวดล้อม การใช้ประโยชน์จากธรรมชาติ ภูมิปัญญาไทยและการอนุรักษ์Biodiversity, genetic materials, genetically modified organisms (GMO), relationbetween life and environment, utilization of nature, Thai wisdom and conservation309103 วิทยำศำสตร์ทำงทะเล 2(2-0-4)Marine Scienceลักษณะทั่วไปของทะเลและมหาสมุทร คุณสมบัติทางกายภาพและเคมีของทะเลและมหาสมุทร สิ่งมีชีวิตและทรัพยากรต่าง ๆ ในทะเล การใช้ประโยชน์จากทรัพยากรในทะเล วิทยาศาสตร์ทางทะเลกับชีวิตประจ าวัน และผลกระทบจากกิจกรรมของมนุษย์General attributes of seas and oceans, physical and chemical properties,diversity of marine life and resources, utilization of marine resources, marine science andeveryday life, and impact of human activity on marine ecologies1.6 กลุ่มวิชำเลือก ด้ำนวิทยำศำสตร์สุขภำพ107101 กำรเสริมสร้ำงสุขภำพแบบองค์รวม 2 (2-0-4)Holistic Health Promotionแนวคิดสุขภาพองค์รวม หลักการสร้างเสริมสุขภาพที่ครอบคลุม ด้าน<strong>ร่าง</strong>กาย อารมณ์ สังคมและจิตวิญญาณ การป้องกันและลดพฤติกรรมเสี่ยง การดูแลตนเอง เพื่อสุขภาพและคุณภาพชีวิตที่ดีConcepts of holistic health; principles of health promotion covering physical,emotional, social, and spiritual aspects; prevention and reduction of risky behaviors; self-helpconcepts that promote good health and improve the quality of life850120 ลีลำศเพื่อสุขภำพ 1(0-2-1)Social Dance for Healthความส าคัญของสุขภาพและสมรรถภาพ<strong>ร่าง</strong>กาย ศาสตร์เบื้องต้นของการออกก าลังกายการควบคุมน้ าหนักตัว ทักษะและทัศนคติที่ดีในการออกก าลังกายเพื่อสุขภาพ สมรรถภาพ และนันทนาการ โดยกิจกรรมลีลาศ54


56303106 ปฏิบัติกำรเคมีทั่วไปส ำหรับแพทย์ 1(0-3-1)Medical General Chemistry Laboratoryบุรพวิชำ : 303105ปฏิบัติการเคมีที่สอดคล้องกับเนื้อหาวิชา 303105Prerequisite : 303105Chemistry experiments related to 303105303221 ปฏิบัติกำรเคมีอินทรีย์ 1(0-3-1)Organic Chemistry Laboratoryบุรพวิชำ :303227เทคนิคเบื้องต้นของปฏิบัติการเคมีอินทรีย์ ได้แก่ การตกผลึก การหาจุดเดือด การกลั่นการสกัด และโครมาโทกราฟี การตรวจสอบคุณสมบัติและปฏิกิริยาเคมีของหมู่ฟังก์ชันนัลของสารอินทรีย์Prerequisite : 303227Basic organic chemistry techniques including crystallization, determinationof boiling point, distillation, extraction and chromatography. Determination and chemicalreaction of functional groups of organic compounds303227 เคมีอินทรีย์ส ำหรับแพทย์ 3(3-0-6)Medical Organic Chemistryบุรพวิชำ : 303105การเกิดพันธะเคมีของสารประกอบคาร์บอนและสเตอริโอเคมีที่ส าคัญ ชนิดของปฏิกิริยาต่าง ๆ ของสารอินทรีย์ การเรียกชื่อ สมบัติทางกายภาพ และปฏิกิริยาเคมีที่ส าคัญของสารอินทรีย์ต่าง ๆเช่น ไฮโดรคาร์บอนและสารอินทรีย์ที่มีหมู่ฟังก์ชันนัล และชีวโมเลกุลเบื้องต้นPrerequisite : 303105Chemical bonding, structures, stereochemistry, classification, nomenclature,physical properties and chemical reactions of organic compounds i.e. alkane, cycloalkane,alkene, cycloalkene, alkyne, aromatic hydrocarbon, haloalkane, alcohol, phenol, ether,aldehyde, ketone, carboxylic acid and their derivatives, amine and biomolecules306103 ชีววิทยำส ำหรับแพทยศำสตร์ 3(3-0-6)Medical Biologyองค์ประกอบพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์ เนื้อเยื่อสัตว์ ระบบต่าง ๆของ<strong>ร่าง</strong>กาย การสืบพันธุ์และการเจริญของสัตว์ พันธุกรรม วิวัฒนาการ ความหลากหลายและหมวดหมู่ของสิ่งมีชีวิต และ นิเวศวิทยาBasic components of organism, cell structure and function, animal tissues, allorgan systems, animal reproduction and development, genetics, evolution, biodiversity andbiosystematics, and ecology


306104 ปฏิบัติกำรชีววิทยำส ำหรับแพทยศำสตร์ 1(0-3-1)Medical Biology Laboratoryปฏิบัติการและศึกษาทางชีววิทยาเกี่ยวกับ กล้องจุลทรรศน์ โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์การแบ่งเซลล์ หลักการถ่ายทอดพันธุกรรมและงานวิเคราะห์ทางพันธุกรรม อาณาจักรโมเนอรา โปรตีสตา ฟังไจ อาณาจักรพืช อาณาจักรสัตว์ เนื้อเยื่อสัตว์ ระบบต่าง ๆ ของ<strong>ร่าง</strong>กาย ได้แก่ ระบบย่อยอาหาร ระบบไหลเวียน ระบบขับถ่าย ระบบภูมิคุ้มกัน และ การสืบพันธุ์และการเจริญของสัตว์Biology laboratories and studies on microscope, cell structure and function,cell divisions, heredity and genetic analysis, Monera, Protista and fungi, plant kingdom,animal kingdom, animal tissues, digestive, circulatory, and excretion systems, immunesystem, animal reproduction and development308108 ฟิสิกส์ทำงกำรแพทย์ 3(3-0-6)Medical Physicsฟิสิกส์ทั่วไปที่ประยุกต์ได้กับทางการแพทย์ กลศาสตร์กับการเคลื่อนไหวของ<strong>ร่าง</strong>กายกลศาสตร์ของไหลกับการหมุนเวียนโลหิต อุณหพลศาสตร์กับความร้อนใน<strong>ร่าง</strong>กาย เสียงกับการได้ยิน แสงกับการมองเห็น ไฟฟ้าและแม่เหล็กกับปรากฎการณ์ในสื่งมีชีวิต คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าและฟิสิกส์นิวเคลียร์กับการรักษาโรคและวินิจฉัย รวมทั้งหลักการทางฟิสิกส์ในทางการแพทย์กับอุปกรณ์ต่างๆApplications in general physics for medical, mechanics and human bodymovement, fluid mechanics in human body, thermobodynamics and human thermalsystem, sound wave and hearing, light and vision, electricity and managetism, E.M.Wave. Nuclear physics for diagnostics and medical treatments and application ofphysics on the medical instruments308109 ปฏิบัติกำรฟิสิกส์ทำงกำรแพทย์ 1(0-3-1)Medical Physics Laboratoryทดลองในเรื่องเกี่ยวกับเนื้อหาวิชา 308108Study in the experiments relate to the topics in 308108316203 ชีวเคมีทำงกำรแพทย์พื้นฐำน 4(3-3-6)Basic Medical Biochemistryบุรพวิชำ : 303227ชีวเคมีเบื้องต้น ลักษณะ โครงสร้าง และหน้าที่ของสารชีวโมเลกุล เอนไซม์ เมแทบอลิซึมของชีวโมเลกุลเมแทบอลิซึมผสมผสานและการควบคุม กระบวนการสังเคราะห์กรดนิวคลิอิกและโปรตีนPrerequisite : 303227Basic Biochemistry; characteristic, structure and function of biomolecules. Enzymesand metabolisms of biomolecules. Integration metabolism and its regulation, nucleic acid andprotein synthesis57


584301 พยำธิวิทยำคลินิก 4(3-3-6)Clinical Pathologyบุรพวิชำ : 680341พยาธิวิทยาของผู้ป่วยเกี่ยวกับส่วนประกอบของเลือด กลไกการแข็งตัวของเลือด ปัสสาวะอุจจาระ สิ่งขับถ่ายหรือสารน้ าอื่น ๆ การตรวจทางห้องปฏิบัติการ วิธีการเลือกใช้ การแปลผลจากการตรวจนั้น ๆ เพื่อน าไปใช้ประกอบการวินิจฉัยโรค การรักษา ติดตาม การท านายโรค วิธีการให้เลือด พยาธิวิทยาของโรคที่ไม่ใช่โรคติดเชื้อ เนื้องอกที่เกิดกับอวัยวะในระบบต่าง ๆ ของ<strong>ร่าง</strong>กาย ทักษะทางพยาธิวิทยาคลินิกต่าง ๆ ที่จ าเป็นในการศึกษาระดับคลินิกPrerequisite : 680341Pathology in patients about blood components, blood clotting mechanism,urine, feces, body excretions or fluids, laboratory investigations, indication, laboratoryinterpretation for diagnosis, treatment, follow up, prognosis; blood delivery method;pathology of non-infectious diseases; tumors that occur in various organs of the body; clinicalpathology skills needed in clinical studies680201 มหกำยวิภำคศำสตร์ของมนุษย์เชิงระบบ 1 4(3-3-6)Systemic Human Gross Anatomy Iรูป<strong>ร่าง</strong> ลักษณะ โครงสร้าง ต าแหน่ง หน้าที่และความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างของอวัยวะต่างๆ แยกตามระบบ คือ ระบบปกคลุม<strong>ร่าง</strong>กาย ระบบกระดูกและข้อต่อ ระบบกล้ามเนื้อ ระบบประสาท และระบบทางเดินหายใจ รวมถึงความสัมพันธ์ทางการแพทย์เบื้องต้นMorphology, structures, location, anatomical functions, position and relationsof systematic organs of integumentary system, skeleton and joints, muscular system, nervoussystem and respiratory system including basic clinical correlation680202 มหกำยวิภำคศำสตร์ของมนุษย์เชิงระบบ 2 4(3-3-6)Systemic Human Gross Anatomy IIรูป<strong>ร่าง</strong> ลักษณะ โครงสร้าง ต าแหน่ง หน้าที่และความสัมพันธ์เชิงโครงสร้างของอวัยวะต่างๆ แยกตามระบบ คือ ระบบไหลเวียนเลือด ระบบน้ าเหลือง ระบบทางเดินอาหาร ระบบสืบพันธุ์ และระบบทางเดินปัสสาวะ รวมถึงความสัมพันธ์ทางการแพทย์เบื้องต้นMorphology, structures, location, anatomical functions, position and relationsof systematic organs of cardiovascular system, lymphatic system, alimentary system,reproductive system, and urinary system including basic clinical correlation680203 พัฒนำกำรกำยวิภำคศำสตร์ 3(3-0-6)Developmental Anatomyขั้นตอนหรือกระบวนการเจริญเติบโตของมนุษย์ พัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงของโครงสร้างหรืออวัยวะในระบบต่าง ๆ เริ่มจากปฏิสนธิจนถึงคลอด รวมถึงความผิดปกติต่างๆที่เกิดขึ้นระหว่างช่วงการพัฒนาของตัวอ่อนมนุษย์58


Human growth, development and differential steps or processes ofstructures or organs in each system starting from fertilization till childbirth together withanomalies in each embryonic period of human development680204 ประสำทชีววิทยำ 4(3-3-6)Neurobiologyรูป<strong>ร่าง</strong> ลักษณะ โครงสร้าง ความสัมพันธ์ หน้าที่ และกลไกการท างานระดับต่าง ๆของระบบประสาทส่วนกลาง ระบบประสาทส่วนปลาย และระบบประสาทอัตโนมัติ ระบบรับความรู้สึกและระบบสั่งการ รวมถึงการท าหน้าที่ขั้นสูงของสมอง โรคและความผิดปกติที่เกี่ยวข้องกับทางการแพทย์Morphology, structures, relations, functions and mechanism of nervoussystem action from gross to chemical levels of central, peripheral and autonomic nervoussystem, sensory and mortor system including higher brain functions and clinical correlation680205 จุลกำยวิภำคศำสตร์ของมนุษย์ 4(3-3-6)Human Microanatomyบุรพวิชำ : 306100 และ 306101โครงสร้างอย่างละเอียดของเซลล์และเนื้อเยื่อที่ประกอบเป็นอวัยวะของมนุษย์ โดยใช้กล้องจุลทรรศน์ธรรมดาและกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนPrerequisite : 306100 and 306101Fine structures of cells and tissues of human organs observed under lightand electron microscopes680215 สรีรวิทยำทำงกำรแพทย์ 1 4(3-3-6)Medical Physiology Iส่วนประกอบและกลไกการท างานของระบบต่าง ๆ ใน<strong>ร่าง</strong>กายมนุษย์ ได้แก่ สรีรวิทยาของเซลล์ สรีรวิทยาระบบระบบกล้ามเนื้อ สรีรวิทยาระบบประสาท สรีรวิทยาระบบต่อมไร้ท่อ สรีรวิทยาระบบหายใจ โดยเน้นกลไกและกระบวนการระดับเซลล์และระดับโมเลกุล เพื่อด ารงสภาพสมดุลของ<strong>ร่าง</strong>กายรวมถึงการศึกษาความสัมพันธ์ในการท างานร่วมกันของระบบต่าง ๆ ในสภาวะสมดุลปกติ และผิดปกติFunctions and mechanisms of various organ systems in human body,including function of cells, muscular system, nervous system, endocrine system, andrespiratory system; emphasized cellular and molecular level of functional processes andmechanisms to maintain homeostasis, integrative functions of various systems in normal andabnormal states680216 สรีรวิทยำทำงกำรแพทย์ 2 4(3-3-6)Medical Physiology IIส่วนประกอบและกลไกการท างานของระบบต่าง ๆ ใน<strong>ร่าง</strong>กายมนุษย์ ได้แก่ สรีรวิทยาระบบไหลเวียนเลือด สรีรวิทยาระบบทางเดินอาหาร สรีรวิทยาระบบขับถ่ายปัสสาวะ สมดุลของ น้ า-เกลือแร่กรด-ด่าง เมแทบอลิซึม และการควบคุมอุณหภูมิ สรีรวิทยาระบบสืบพันธุ์ การปรับตัวทางสรีรวิทยาในที่สูง59


และใต้น้ า โดยเน้นกลไกและกระบวนการระดับเซลล์และระดับโมเลกุล เพื่อด ารงสภาพสมดุลของ<strong>ร่าง</strong>กายรวมถึงการศึกษาความสัมพันธ์ในการท างานร่วมกันของระบบต่าง ๆ ในสภาวะสมดุลปกติ และผิดปกติFunctions and mechanisms of various organ systems in human body,including cardiovascular system, gastrointestinal system, renal system, fluid and electrolytebalance, acid-base balance, metabolism and body temperature regulation, reproductivesystem, high altitude and diving adaptation; emphasized cellular and molecular level offunctional processes and mechanisms to maintain homeostasis, integrative functions ofvarious systems in normal and abnormal states680295 เซลล์และชีววิทยำเชิงโมเลกุลของเซลล์ 3(3-0-6)Cell and Molecular Biologyโครงสร้างหน้าที่ และวิวัฒนาการของเซลล์ การขนส่งผ่านผนังเซลล์ สารพันธุกรรมเมแทบอลิสม การแบ่งตัว การสื่อสารระหว่างเซลล์ การเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการของเซลล์Structures, functions and evolutions of cell, membrane transport, geneticmaterials, metabolism, division, signaling, differentiation and development of cells680321 พันธุศำสตร์มนุษย์และพันธุวิศวกรรม 2(2-0-4)Human Genetics and Genetics Engineeringความรู้พื้นฐานของจีโนม การจัดเรียงโครงสร้างระดับโมเลกุลของโครโมโซม การแสดงออกของยีนของมนุษย์ หลักการและกลไกการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบต่าง ๆ โรคพันธุกรรมเนื่องจากความผิดปกติของยีนและโครโมโซม พันธุศาสตร์ของประชากรมนุษย์ และ จริยธรรมในการให้ค าปรึกษาเกี่ยวกับโรคผิดปกติทางพันธุกรรมรวมทั้งการประยุกต์เทคนิคทางชีววิทยาระดับโมเลกุลและเทคนิคทางพันธุวิศวกรรมในการวินิจฉัยโรคทางพันธุกรรม การผลิตวัคซีนและยีนบ าบัดในมนุษย์The basic concepts of genome, molecular structure and gene arrangementon the human chromosomal DNA, human gene expression, principles and mechanism ofgenetic heredity, genetic disorders resulted from abnormal genes and chromosome,population genetics and ethics in genetic counseling as well as the application of moleculartechniques in diagnosis of human genetic diseases, vaccine production and gene therapy680323 วิทยำภูมิคุ้มกันทำงกำรแพทย์ 3(2-3-4)Medical Immunologyหน้าที่ทั่วไปของภูมิคุ้มกันของมนุษย์ กลไกการตอบสนองของ<strong>ร่าง</strong>กายต่อสิ่งแปลกปลอมทั้งแบบมีมาแต่ก าเนิดและแบบจ าเพาะ ปฏิกิริยาระหว่างแอนติเจนและแอนติบอดี บทบาทของภูมิคุ้มกันต่อเชื้อโรค โรคมะเร็ง ผลเสียจากภาวะภูมิคุ้มกันผิดปกติ การปลูกถ่ายอวัยวะตลอดจนหลักการเสริมสร้างภูมิคุ้มกันในการป้องกันโรค ปฏิบัติการตรวจวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการโดยอาศัยหลักการทางซีโรโลยีGeneral functions of human immunity, mechanisms of both innate andspecific immune responses to respond against foreign agents, an interaction between antigenand antibody, the role of immunity to pathogens, tumor immunology, dysfunction of theimmune system, organ transplantation, as well as the principle of fortifying immunes toprevent infectious diseases and practice on serological principles60


61680326 จุลชีววิทยำทำงคลินิก 3(2-3-4)Clinical Microbiologyหลักการเบื้องต้นทางธรรมชาติ ลักษณะ รูป<strong>ร่าง</strong> คุณสมบัติทางชีววิทยา สรีรวิทยา ชีวเคมีพันธุกรรมของจุลชีพที่ก่อให้เกิดโรคในคน อาการทางคลินิก กลไกการก่อโรค การติดต่อ ระบาดวิทยา การป้องกัน และการประยุกต์ความรู้ทางชีววิทยาระดับโมเลกุลเพื่อการวินิจฉัยโรครวมทั้งการวิเคราะห์ผลการทดสอบทางห้องปฏิบัติการชันสูตรมาสนับสนุนการวินิจฉัยโรคจากอาการทางคลินิก ฝึกภาคปฏิบัตการในการแยกและพิสูจน์เชื้อแบคทีเรียที่เพาะเลี้ยงไว้Basic concepts of microbiology on nature, morphology, biological properties,physiology, biochemistry, genetics of microbial pathogens, clinical symptoms, pathogenesis,transmission, epidemiology, prevention and applications of molecular techniques in diagnosisof infectious diseases as well as clinical correlation based on analysis of laboratory results tosupport clinical diagnosis. Laboratory practices on the isolation and identification of cultured bacteria680331 ปรสิตวิทยำ 3(2-3-4)Parasitologyชนิดปรสิตที่พบมากในประเทศไทย โดยเน้นปรสิตที่มีความส าคัญทางการแพทย์ ศึกษาธรรมชาติ ชีววิทยา การเจริญพันธุ์ วงจรชีวิต การก่อโรค ชนิดของสัตว์พาหะ แหล่งระบาดและการแพร่กระจาย กลไกที่<strong>ร่าง</strong>กายตอบสนองต่อปรสิตที่เข้าสู่<strong>ร่าง</strong>กาย ความสัมพันธ์ของปรสิตและโฮสต์ อันเป็นเหตุและผลของพยาธิสภาพที่เกิดขึ้น และการสร้างภูมิต้านทานต่อปรสิต เพื่อสามารถประยุกต์ในการป้องกันท าลายและควบคุมโรคที่เกิดจากเชื้อปรสิตParasite species found in Thailand. Emphasizing the medical importance ofparasites. Reproductive biology of natural life cycle of pathogenic species and animalvectors. Sources of outbreaks and spread. Mechanisms of immune response to the parasiteinto the body. The relationship of parasites and hosts. Human pathology and effect ofimmune response on the parasites. Application of principles to prevent and control diseasescaused by parasites680341 พยำธิวิทยำทั่วไป 4(3-3-6)General Pathologyสาเหตุ พยาธิก าเนิด พยาธิสภาพ ในระดับโมเลกุล เซลล์ เนื้อเยื่อ และอวัยวะของ<strong>ร่าง</strong>กายในหัวข้อ การบาดเจ็บและการตายของเซลล์ การปรับตัวของเซลล์และการสะสมสารภายในเซลล์ การอักเสบการซ่อมแซมเนื้อเยื่อ ความผิดปกติของระบบไหลเวียนเลือด ความผิดปกติทางพันธุกรรม ความผิดปกติในการตั้งครรภ์และความพิการแต่ก าเนิด ความผิดปกติของเมตาบอลิสม ความผิดปกติอันเกิดจากสิ่งแวดล้อม(ทางกายภาพและสารเคมี) ทุโภชนาการ โรคอันเกิดจากความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกัน มะเร็ง และโรคติดเชื้อEtiology, pathogenesis and pathologic changes in molecular, cellular, tissueandorgan levels in the topic of cell injury and cell death, cellular adaptations andintracellular accumulation, inflammation, tissue repair, hemodynamic disorders, geneticdisorders, abnormality of intrauterine life and common congenital malformation, metabolic


disorders, disorders caused by environmental (physical and chemical) factors, nutritionaldisorders, diseases of immunity, neoplasia and infectious diseases680342 พยำธิวิทยำระบบ 4(3-3-6)Systematic Pathologyบุรพวิชำ : 680341กระบวนการเกิดโรคและพยาธิก าเนิดของโรคที่พบบ่อยในผู้ป่วยไทย พยาธิสรีรวิทยา และพยาธิสภาพ การเปลี่ยนแปลงของเซลล์ เนื้อเยื่อ ทุกระบบของอวัยวะใน<strong>ร่าง</strong>กายที่เป็นโรคตามระบบต่าง ๆกระบวนการเก็บตัวอย่าง ส่งตรวจ การตรวจวินิจฉัยชิ้นเนื้อ การแปลผล ค าวินิจฉัยทางเซลล์วิทยาและพยาธิวิทยากายวิภาคให้สัมพันธ์กับโรค รวมทั้งเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างการตรวจทางคลินิกกับพยาธิสภาพPrerequisite : 680341Pathogenesis of common diseases in Thai patients, pathophysiology,pathology,cellular, tissue and systemic changes of organs during pathological conditions.Specimen collection and pathological diagnosis, interpretation and correlation of anatomicalpathology and cytological diagnosis with the diseases, correlation between clinical featuresand pathology792334 เภสัชวิทยำทำงกำรแพทย์ 1 3(2-3-4)Medical Pharmacology Iเภสัชจลนศาสตร์ เภสัชพลศาสตร์ ผลข้างเคียงของยา ปฏิกิริยาต่อกันระหว่างยา และข้อบ่งใช้ของยาที่มีผลต่อระบบและอวัยวะต่างๆ ของ<strong>ร่าง</strong>กายมนุษย์ โดยเน้นถึงยาที่มีผลต่อระบบประสาทอัตโนมัติระบบหัวใจและหลอดเลือด ระบบทางเดินหายใจ ระบบไต ระบบเลือด และระบบประสาทส่วนกลางPharmacokinetics, pharmacodynamics, side effects, drug interactionsand drug indications that affect different systems and organs of the human body,focus on drugs affecting the autonomic nervous system, cardiovascular system,respiratory system, renal system, blood system central nervous system792335 เภสัชวิทยำทำงกำรแพทย์ 2 2(1-3-2)Medical Pharmacology IIบุรพวิชำ : 792334เภสัชเศรษฐศาสตร์ การติดตามความปลอดภัยจากการใช้ยา พิษวิทยา การเขียนใบสั่งยาผลข้างเคียงของยา ปฏิกิริยาต่อกันระหว่างยา และข้อบ่งใช้ของยาที่มีผลกระทบต่อระบบและอวัยวะต่างๆของ<strong>ร่าง</strong>กายมนุษย์ โดยเน้นถึงยาที่มีผลต่อระบบต่อมไร้ท่อ ระบบภูมิคุ้มกัน ระบบทางเดินอาหาร ระบบกล้ามเนื้อและกระดูก และยาเคมีบ าบัดPrerequisite : 792334Pharmacoeconomics, pharmacovogilance, toxicology, drug prescription,sideeffects, drug indications that affect different systems and organs of the humanbody, focus on drugs affecting the endocrine system, immune system, gastrointestinalsystem, musculoskeletal system and chemotherapeutic drugs62


2.2 กลุ่มวิชำชีพ560101 เวชศำสตร์ครอบครัวและชุมชน 1 2(1-3-2)Community and Family Medicine Iภาวะสุขภาพ ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อม แนวคิดพื้นฐานของทฤษฎีเชิงระบบ ความเกี่ยวเนื่องระหว่างบุคคล ครอบครัวและชุมชน ลักษณะประชากรโลก ปัญหาประชากร อนามัยครอบครัวและโภชนาการ สังคมศาสตร์ทางการแพทย์ การเข้าถึงครอบครัวในชุมชนในเชิงสังคมศาสตร์ปฏิสัมพันธ์ภายในครอบครัว ความสัมพันธ์กับชุมชน จริยธรรมการท างานกับชุมชนHealth; relationship between human and the environment; basic idea ofsystematic theory; relationship among individual, family and community; world populationcharacteristics, population problems; family health and nutritional health; medical sociology,access to know the family in terms of social sciences, interaction within the family,community relations; community work ethics560202 เวชศำสตร์ครอบครัวและชุมชน 2 1(0-3-1)Community and Family Medicine IIบุรพวิชำ : 560101การดูแลครอบครัวเดิมต่อเนื่องจากที่ศึกษาจากรายวิชา 560101 ในเชิงการส่งเสริมสุขภาพการดูแลสุขภาพพื้นฐานในครอบครัวและชุมชนทั้งทางการแพทย์แบบตะวันตก การแพทย์ทางเลือกและการแพทย์แผนไทย การเข้าถึงบริการสาธารณสุขของทุกระดับ ความทุกข์ยากของประชาชนในระบบสาธารณสุขปัจจุบัน ปัญหาที่พบบ่อยในเวชปฏิบัติปฐมภูมิ การรวบรวมข้อมูลแบบยึดผู้ป่วยเป็นศูนย์กลางองค์ประกอบระบบสุขภาพ จริยธรรมในการท างานกับครอบครัวและชุมชนPrerequisite : 560101Continuity care of the family in the 560101 subject, health promotion, basichealth care in the family and community; western medicine, alternative medicine, traditionalThai medicine; access to health services for all levels; suffering of people in the currenthealth system; common problems in primary care medical practice; collecting data basedon patient-centered; health system components, family and community work ethics560203 เวชศำสตร์ครอบครัวและชุมชน 3 2(1-3-2)Community and Family Medicine IIIบุรพวิชำ : 560202แนวคิด หลักการและวิธีการทางเวชศาสตร์ครอบครัว เวชศาสตร์ชุมชน การค้นหาปัญหาและวินิจฉัยชุมชน การน าหลักการทางวิทยาการระบาดมาใช้เพื่อแก้ไขปัญหาอนามัยชุมชน โครงสร้างของระบบสาธารณสุขที่เกี่ยวข้องกับชุมชนและครอบครัว งานสาธารณสุขมูลฐาน หน่วยบริการปฐมภูมิโรงพยาบาลชุมชน สถานบริการระดับต่าง ๆ ที่สูงขึ้นไป การดูแลผู้ป่วยที่บ้าน แนวทางการสร้างเสริมสุขภาพแก่ผู้ป่วย ครอบครัวและชุมชน จริยธรรมการท างานกับครอบครัวและชุมชนPrerequisite : 560202Basic principle and methods of family medicine, community medicine; rootcause analysis, community diagnosis; use of epidemiological principles to solve community63


health problems, public health structure in the community of families continuing care;primary health care, primary health care unit, community hospital, higher level of medicalcare; home health care; guidance for health promotion for patients family and community,family and community work ethics560404 เวชศำสตร์ครอบครัวและชุมชน 4 2(1-3-2)Community and Family Medicine IVบุรพวิชำ : 560203หลักการเบื้องต้นในการดูแลผู้ป่วยแบบปฐมภูมิในทุกระดับ ทุกมิติ การประยุกต์ความรู้ทางเวชศาสตร์ครอบครัว เวชศาสตร์ชุมชน จิตเวชศาสตร์การดูแลสุขภาพแบบองค์รวมของบุคคล ใช้ผู้ป่วยเป็นศูนย์กลางในด้านจิตใจสังคม<strong>ร่าง</strong>กายครบทั้งสี่ด้าน คือ ส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค การรักษาเบื้องต้น และการฟื้นฟูสภาพและทุกระดับต่อเนื่องจากบุคคลไปยังครอบครัวและชุมชน อาศัยพื้นฐานของการแพทย์ตะวันตกผสมผสานกับการแพทย์ทางเลือกและการแพทย์แผนไทย การบริบาลสุขภาพที่เน้นคนเป็นศูนย์กลางและการแพทย์ที่เน้นจิตวิญญาณของความเป็นมนุษย์ ทักษะในวางแผนเข้าเยี่ยมบ้าน กระบวนการขณะเยี่ยมบ้านและการสรุปหลังการเยี่ยมบ้าน ข้อมูลทั่วไปและข้อมูลสุขภาพของครอบครัว การใช้เครื่องมือเก็บข้อมูลทางเวชศาสตร์ครอบครัว การซักประวัติ การตรวจ<strong>ร่าง</strong>กาย การรวบรวมผลชันสูตร การสรุปปัญหาในลักษณะองค์รวมทุกมิติ รายงานครอบครัว การท าแฟ้มครอบครัว ทักษะการสื่อสารและมารยาท ทักษะการให้ค าปรึกษาการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมของบุคคลและครอบครัว จริยธรรมในการท างานกับครอบครัวและชุมชนPrerequisite : 560203Basic principle of primary health care in all levels, all dimensions, applicationof family medicine, community medicine, psychiatric holistic health care, patient-centeredcare in four dimensions, preventive, curative, health promotive, and rehabilitative care,primary health care in individual, family and community level, integration of Europeanmedicine, alternative medicine and Thai traditional medicine; human-centered communityhealth care, psycho-spiritual humanity aspect of medicine; skills in planning, visiting,summary of home health care, collection of general data and family folders, application oftools in collection of family medicine data; history taking, physical examination, investigation,problem gathering in holistic dimensions to create family reports, family files and folders;skills in communication, manners, counselling, holistic health care for individual and family,family and community work ethics560505 เวชศำสตร์ครอบครัวและชุมชน 5 3(1-6-2)Community and family Medicine Vบุรพวิชำ : 560404ทักษะในการดูแลผู้ป่วยแบบปฐมภูมิที่ซับซ้อนขึ้นทั้งในหน่วยบริการปฐมภูมิ โรงพยาบาลชุมชน สภาพจิตใจที่ผลต่อสุขภาพ อาชีพที่มีผลต่อสุขภาพ ปัญหาสุขภาพที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพ การแก้ไขปัญหาสุขภาพ ในทุกระดับ ทุกมิติ การประยุกต์ความรู้ทางเวชศาสตร์ครอบครัว เวชศาสตร์ชุมชนจิตเวชศาสตร์ การดูแลสุขภาพแบบองค์รวมของบุคคล การใช้ผู้ป่วยเป็นศูนย์กลางในด้านจิตใจสังคม<strong>ร่าง</strong>กายครบทั้งสี่ด้าน การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค การรักษาเบื้องต้น และการฟื้นฟูสภาพและทุกระดับต่อเนื่องจาก64


บุคคลไปยังครอบครัวและชุมชน การประยุกต์การแพทย์ตะวันตก และการแพทย์ทางเลือกและการแพทย์แผนไทย การสรุปวิธีการด าเนินการ ปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นจากการดูแลครอบครัว การบันทึกต่อเนื่องในแฟ้มครอบครัว ทักษะการสื่อสารและมารยาท ทักษะการให้ค าปรึกษาและจิตบ าบัดแบบประคับประคอง การดูแลสุขภาพแบบองค์รวมของบุคคลและครอบครัว จริยธรรมในการท างานกับครอบครัวและชุมชนPrerequisite : 560404Skills in complicated health care in primary health center, communityhospital; psychological factors affecting physical condition; occupational risk factors; healthproblems from health behavior; solving health problems in all levels and all dimensions,application of family medicine, community medicine, psychiatric holistic health care,patient-centered care in four dimensions, preventive, curative, health promotive andrehabilitative care continuing from individual to family and community, integration ofEuropean medicine, alternative medicine and Thai traditional medicine; summary of theprocess and problems from family care, continual record in family folders; skills incommunication, manners, counselling, supportive psychotherapy, holistic health care forindividual and family, family and community work ethics560506 เวชศำสตร์ป้องกันและกำรสร้ำงเสริมสุขภำพ 2(1-3-2)Preventive Medicine and Health Promotionบุรพวิชำ : 570403หลักเวชศาสตร์ชุมชน ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ครอบครัว ต่อเนื่องถึงชุมชน การสร้างความสัมพันธ์กับชุมชน อนามัยชุมชนและอนามัยสิ่งแวดล้อม ทักษะในท าโครงการและจัดกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพหรือป้องกันโรคในชุมชนโดยท างานเป็นทีมร่วมกับสหสาขาวิชาชีพ หลักการของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ แนวคิดเวชศาสตร์ป้องกัน การควบคุมและการป้องกันโรคต่าง ๆ ทั้งติดต่อและไม่ติดต่อ โรคติดเชื้อเขตร้อนที่พบบ่อยในประเทศไทย การสร้างเสริมสุขภาพ ส่วนบุคคล ครอบครัวและในชุมชน การออกก าลังกายเพื่อสุขภาพ ทักษะในท าโครงการและจัดกิจกรรมป้องกันโรคและหรือสร้างเสริมสุขภาพในชุมชนโดยท างานเป็นทีมร่วมกับสหสาขาวิชาชีพ การปฏิบัติตนที่มุ่งเน้นการสร้างเสริมสุขภาพของตนเองและในหมู่นิสิต ความปลอดภัยของผู้ป่วย จริยธรรมวิชาชีพเวชกรรมPrerequisite : 570403Principle of community medicine, relationships among personnel,family,community,community relations, environmental and public health service systems;skills in establishing projects and activities in health promotion and prevention in communityby multidisciplinary team; principle of health promotion hospital, concept of preventivemedicine; control of common communicable and non-communicable tropical diseases inThailand; health promotion in individual, family, community; exercise for health; skills inestablishing projects and activities in community health promotion and prevention bymultidisciplinary team; activities focussing on health promotion in individual and medicalstudent community; patient safety; medical ethics65


560507 เวชศำสตร์ผู้ป่วยนอกและกำรดูแลแบบประคับประคอง 2(1-3-2)Ambulatory Medicine and Palliative careบุรพวิชำ : 560404นิยาม วิทยาการระบาดทางคลินิก สาเหตุ ปัจจัยเสี่ยง พยาธิก าเนิด พยาธิสรีรวิทยาพยาธิสภาพอาการ อาการแสดง การตรวจทางห้องปฏิบัติการ การวินิจฉัย การวินิจฉัยแยกโรค ทักษะในการซักประวัติ การตรวจ<strong>ร่าง</strong>กาย การให้เหตุผลทางคลินิก การส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ การสั่งการรักษาอย่างสมเหตุผล การบันทึกเวชระเบียน การให้ค าแนะน าแก่ผู้ป่วยและญาติ และการท าหัตถการที่จ าเป็นส าหรับอาการส าคัญหรือโรคหรือภาวะที่พบบ่อยในคลินิกผู้ป่วยนอกเวชฏิบัติทั่วไปหลักการดูแลสุขภาพผู้ป่วยโรคเรื้อรังหรือโรคอื่นๆ ที่สร้างความทุกข์ทรมานแก่ผู้ป่วยโดยที่ไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ รวมถึงผู้ป่วยที่อยู่ในระยะสุดท้ายของชีวิต นิยามที่เกี่ยวข้องกับความปวด ชนิด กลไกการเกิด วิธีประเมิน วิธีต่าง ๆ ในการระงับความปวด ตลอดจนการบรรเทาอาการอื่น ๆที่สร้างความทุกข์ทรมานต่อผู้ป่วยเพื่อให้เกิดสุขภาวะทางกายจิตใจ สังคมและจิตวิญญาณของผู้ป่วยและครอบครัว เวชจริยศาสตร์และกฎหมายการแพทย์ที่เกี่ยวข้อง การุณฆาต กฏหมายที่เกี่ยวข้องกับการเจตนาในวาระสุดท้ายของชีวิต ทักษะในการสื่อสาร การแจ้งข่าวร้าย การดูแลผู้ป่วยและญาติแบบองค์รวม เพื่อเพิ่มคุณภาพชีวิตแก่ผู้ป่วยและญาติ เจตคติที่ดีในการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย ความปลอดภัยของผู้ป่วย จริยธรรมวิชาชีพเวชกรรมPrerequisite : 560404Definition, clinical epidemiology, etiology, risk factors, pathogenesis,pathophysiology, pathology, symptoms, signs, laboratory investigations, diagnosis, differentialdiagnosis, skills in history taking, physical examination, clinical reasoning, appropriatelaboratory investigation and medical prescription, medical records, counselling for patientsand relatives, procedural skills for common diseases and disorders in ambulatory medicine;principle of health care for chronic illness, critical, terminal illness; definition of pain, kind ofpain, mechanism of pain, evaluation and suppression of pain for physical-psycho-socialspiritualwell being of patients and family; medical ethics, related medical laws, euthanasia,legal aspect of last intention before death; communication skills, informing bad news; holistichealth care for patients and relatives to improve quality of life; good attitude in end-of-lifecare; patient safety; medical ethics560608 เวชปฏิบัติผู้ป่วยนอกและเวชศำสตร์ผู้สูงอำยุ 2(1-3-2)Clerkship in Ambulatory Medicine and Geriatric Medicineบุรพวิชำ : 560507ทักษะเวชปฏิบัติในคลินิกผู้ป่วยนอก ทั้งคลินิกเวชปฏิบัติทั่วไป คลินิกปฐมภูมิ หรือคลินิกเฉพาะโรค การฝึกทักษะ การซักประวัติ การตรวจ<strong>ร่าง</strong>กาย การให้เหตุผลทางคลินิก การส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ การสั่งการรักษาอย่างสมเหตุผล การบันทึกเวชระเบียน การให้ค าแนะน าแก่ผู้ป่วยและญาติการท าหัตถการที่จ าเป็นส าหรับอาการส าคัญหรือโรคหรือภาวะที่พบบ่อยในคลินิกผู้ป่วยนอกเวชปฏิบัติทั่วไปการเปลี่ยนแปลงด้าน<strong>ร่าง</strong>กาย จิตใจ สังคม จากวัยผู้ใหญ่สู่วัยชรา ปัญหาสุขภาพกาย จิต และสังคม ที่พบในวัยชรา โรคและการบาดเจ็บทางกายที่พบบ่อยในวัยชรา การสร้างเสริมสุขภาพ การดูแลแบบองค์รวม การดูแลผู้สูงอายุที่บ้าน ความปลอดภัยของผู้ป่วย จริยธรรมวิชาชีพเวชกรรม66


Prerequisite : 560507Clinical practice in out-patient clinic, general practice clinic, primary careclinic, specialty clinic, practice of history taking, physical examination, clinical reasoning,laboratory investigation, appropriate medical prescription, medical records, counselling,procedural skills for diseases and disorders in ambulatory medicine; physical, mental, andsocial changes in old age; physical-psycho-social health problems in old age; commondiseases, injury, health promotion and holistic home health care in geriatric patients; patientsafety; medical ethics560609 กำรบริหำรงำนสำธำรณสุขและงำนบริกำรสุขภำพ 2(1-3-2)Management in Public Health and Health Servicesบุรพวิชำ : 570301โครงสร้างและการบริหารงานในหน่วยงานสาธารณสุขระดับต่าง ๆทั้งส่วนกลางและภูมิภาคตลอดจนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น บทบาทของกระทรวงสาธารณสุขต่องานสาธารณสุขมูลฐานและอนามัยชุมชน ระบบสุขภาพและระบบบริการสุขภาพ ระบบประกันสุขภาพรูปแบบต่าง ๆ กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับระบบดังกล่าว เศรษฐศาสตร์สาธารณสุข การใช้ยาและเทคโนโลยีด้านสุขภาพอย่างเหมาะสม คุ้มค่า หลักการบริหารพื้นฐาน การวางแผน การจัดองค์กร การพัฒนาองค์กร การบริหารทรัพยากรต่าง ๆ ทั้งทรัพยากรมนุษย์ การเงินงบประมาณ พัสดุ การวัดผลการด าเนินงาน ภาวะผู้น าและจริยธรรมของผู้บริหาร การบริหารความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง การจัดท าและการน าเสนอโครงการต่าง ๆ ระบบบริการสุขภาพที่เน้นคนเป็นศูนย์กลาง ระบบคุณภาพต่าง ๆ ของสถานพยาบาล ระบบบริหารความเสี่ยงและความปลอดภัยของผู้ป่วย การบันทึกเวชระเบียนโดยอาศัยแนวทางมาตรฐานสากล คอมพิวเตอร์เพื่อการบริการและการบริหารโรงพยาบาล จริยธรรมวิชาชีพเวชกรรมPrerequisite : 570301Structure and management of public health service system in urban andrural areas, public health service of local administration, role of ministry of public health inprimary health care, community health care, health system, health service system, healthinsurance, medical laws, health economics, appropriate drug use, suitable and worthwhilehealth technology; principle of basic management, planning, organizing, development,resource management including human, budget, possession; evaluation of leadership andmoral of executive personnels, conflict management, negotiation; establishing andpresentation of projects; human-centered health service; quality systems of health service,risk management, patient safety, medical record using international standard, computers andinformation technology for service and hospital management; medical ethics560610 เวชปฏิบัติเวชศำสตร์ครอบครัวชุมชน 2(0-6-2)Clerkship in Family and Community Medicineบุรพวิชำ : 560505การปฏิบัติงานในโรงพยาบาลชุมชน หรือหน่วยบริการการแพทย์ขั้นปฐมภูมิ การสื่อสารการซักประวัติและตรวจ<strong>ร่าง</strong>กายผู้ที่มารับบริการ ด้านการรักษาพยาบาล การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค67


การให้การดูแลอย่างบูรณาการและมีการติดตามอย่างต่อเนื่อง โครงสร้างการบริหารและการให้บริการ ภารกิจของสถานพยาบาลที่ไปฝึกปฏิบัติ ทักษะการเก็บข้อมูลและการน าเสนอ การบริการสุขภาพที่เน้นคนเป็นศูนย์กลาง ความปลอดภัยของผู้ป่วย จริยธรรมวิชาชีพPrerequisite : 560505Clinical practice in community hospital, primary care unit; communicationskills, historytaking, physical examination; treatment, promotive and preventive dimensions,comprehensive care, integrated care, continuity of care; structure of administration andhealth service systems, hospital activities; skills in data gathering and presentation; humancenteredhealth care; patient safety; medical ethics562501 จิตเวชศำสตร์ 4(2-6-4)Psychiatryบุรพวิชำ : 570403โรค กลุ่มอาการ ภาวะทางจิตเวชศาสตร์ตามเกณฑ์มาตรฐานผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมของแพทยสภา ปัญหาทางจิตเวชที่พบบ่อยในเวชปฏิบัติทั่วไปและภาวะฉุกเฉินทางจิตเวช ทักษะการสัมภาษณ์ประวัติ การตรวจสภาพจิต การวินิจฉัยแยกโรคหรือปัญหาทางจิตเวชที่พบบ่อยในเวชปฏิบัติทั่วไป การดูแลภาวะฉุกเฉินทางจิตเวช แนวทางการรักษาพยาบาลฉุกเฉิน หลักการช่วยเหลือผู้ป่วยจิตเวชและครอบครัว การใช้ยาจิตเวชส าหรับแพทย์ทั่วไป การรักษาผู้ป่วยสารเสพติด การสร้างเสริมสุขภาพจิต การป้องกันปัญหาสุขภาพจิต การให้ค าปรึกษาและดูแลแบบประคับประคอง การตัดสินใจส่งต่อแพทย์ผู้เชี่ยวชาญอย่างเหมาะสม ความปลอดภัยของผู้ป่วย จริยธรรมวิชาชีพเวชกรรมPrerequisite : 570403Psychiatric diseases, disorders, syndrome according to standardrequirements of Medical Council of Thailand, common psychiatric problems in generalpractice, psychiatric emergency problems, psychiatric interviewing, mental status examinationskill, diagnosis and differential diagnosis for common psychiatric problems in general practice,psychiatric emergency assessment and management, management of psychiatric patients andtheir families, psychiatric drugs for general practice, addictive substance problem and management,promotion and prevention for common psychiatric problems, supportive treatment,psychoeducation, counselling; appropriate referral decision making; patient safety; medical ethics564501 อำชีวเวชศำสตร์ 2(1-3-4)Occupational Medicineบุรพวิชำ : 570403ความรู้พื้นฐานด้านงานอาชีวเวชศาสตร์ แนวทางการดูแลสุขภาพให้แก่ผู้ท างาน กฎหมายและความคุ้มครองที่เกี่ยวข้อง บทบาทหน้าที่ด้านการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม ณ สถานที่ท างาน การดูแลด้านอาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม การป้องกันการเกิดอันตรายจากการท างาน แนวทางการดูแลปัญหาสุขภาพอันเกิดจากการประกอบอาชีพหรือสิ่งแวดล้อมที่พบบ่อยในประเทศไทยและในภูมิภาค การตรวจรักษา การส่งเสริม ป้องกัน และการฟื้นฟูสภาพ การใช้เครื่องมือตรวจทางด้านอาชีวเวชศาสตร์ การส ารวจโรงงานหรือชุมชนที่ประกอบอาชีพที่พบบ่อยในภูมิภาค รวมไปถึงสถานพยาบาล การค้นหาปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ แนวทาง68


ป้องกัน ทักษะในการเขียนรายงานการเยี่ยมส ารวจ การน าเสนอผลการเยี่ยมส ารวจ ทักษะในการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม ณ สถานที่ท างาน ความปลอดภัยของผู้ป่วย จริยธรรมวิชาชีพเวชกรรมPrerequisite : 570403Basic knowledge in occupational medicine, workplace health promotion,related occupational and protection laws, holistic health care at the workplace; principle ofenvironment and occupational health care, accident prevention at work; principle ofoccupational health care for common health problems in Thailand and regional countries,medical treatment, prevention, health promotion and rehabilitation; application ofoccupational health instruments; survey of factories, communities, community hospitals,searching for occupational risk factors, guidance for prevention, skills for survey report writing,presentation, practice in holistic health care at the workplace; patient safety; medical ethics566501 เวชศำสตร์ฟื้นฟู 2(1-3-2)Rehabilitation Medicineบุรพวิชำ : 570403ความหมาย ความส าคัญ การประเมินการตรวจ หลักการส าคัญของการฟื้นฟูสภาพทักษะในการ ซักประวัติ ตรวจวินิจฉัย การประเมินความสามารถการท างานของ<strong>ร่าง</strong>กาย การรักษาและฟื้นฟูสภาพในโรคหรือภาวะต่างๆ ที่พบบ่อยทางเวชศาสตร์ฟื้นฟู การส่งตรวจกล้ามเนื้อและเส้นประสาทด้วยไฟฟ้า การออกก าลังกายเพื่อการรักษา อุปกรณ์ช่วยเดิน กายอุปกรณ์เทียม กายอุปกรณ์เสริม เครื่องมือทางกายภาพบ าบัด เวชศาสตร์ฟื้นฟูเฉพาะโรค การฟื้นฟูหัวใจและปอด ทีมงานเวชศาสตร์ฟื้นฟู แนวทางการส่งต่อผู้ป่วย การรักษาทางกายภาพบ าบัด กิจกรรมบ าบัด ความปลอดภัยของผู้ป่วยและจริยธรรมวิชาชีพเวชกรรมPrerequisite : 570403Definition, significance, evaluation, principle of rehabilitation, skills of historytaking, diagnosis, physical function assessment, rehabilitation management for commonrehabilitation diseases; investigation of electromyogram, electroneurogram, tools forrehabilitation assisting in walking, exercise prescription, prosthesis, orthosis, physical modalities;rehabilitation for special conditions, cardiopulmonary rehabilitation, multidisciplinaryrehabilitation team ; referral system; physical therapy, occupational therapy, rehabilitationteam; patient safety; medical ethics568501 นิติเวชศำสตร์ 3(2-3-4)Forensic Medicineบุรพวิชำ : 570403แนวคิดนิติเวชศาสตร์ หลักการด าเนินการและการดูแลผู้ป่วยคดี การชันสูตรบาดแผลการชันสูตร พลิกศพ การเก็บวัตถุพยานทางการแพทย์ การตรวจพิสูจน์ศพเพื่อหาสาเหตุการตาย การพิสูจน์บุคคล ศพ และโครงกระดูก การหาเวลาตาย การตายผิดธรรมชาติอย่างกะทันหันการตายจากการขาดอากาศ บาดแผลต่าง ๆ การพิสูจน์ พ่อ แม่ ลูก และหมู่เลือด นิติพิษวิทยาที่เกี่ยวกับสารพิษต่าง ๆ ยาบ้า ยาเสพติด แอลกอฮอล์ กฎหมายและข้อบังคับต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการแพทย์ ทักษะการดูแลผู้ป่วยคดี ทักษะการชันสูตรบาดแผล ทักษะการชันสูตรพลิกศพ การเก็บวัตถุพยานจากศพและการตรวจพยานหลักฐานทางการแพทย์69


ทักษะการตรวจการกระท าช าเรา การบันทึกเวชระเบียน การให้ความเห็นและการท าหนังสือรับรองเกี่ยวกับผู้ป่วย ผู้พิการ ผู้เสียหาย ผู้ต้องหาและจ าเลย การเป็นพยานในศาล การให้ค าปรึกษาทางด้านกฎหมายและจริยธรรมที่เกี่ยวกับการแพทย์ ความปลอดภัยของผู้ป่วย จริยธรรมวิชาชีพเวชกรรมPrerequisite : 570403Principle of forensic medicine, management of forensic cases, performingobjects examination, wound and postmortem examination for proving cause of death,person, corpse and skeletal identification, searching for the time of death, sudden deathfrom anoxia, kinds of wounds; parental testing from medical trace evidences, blood group;forensic toxicology, amphetamine, alcohols, addicted drugs; medical laws, skill in forensiccase management, inspection of wounds, evidence collection from the corpse, forensicobjects, rape; medical record, opinion giving, medical certification writing for the disabledforensic patients, injured persons, victims, the accused, and defendants; witness in court ofjustice, legal and ethical counselling in medical practice medicine; patient safety; medical ethics570301 พื้นฐำนทำงคลินิกและเวชจริยศำสตร์ 2(1-3-2)Foundations of Clinical Practice and Medical Ethicsวิวัฒนาการทางการแพทย์และวิชาชีพเวชกรรม การธ ารงตนในวิชาชีพ ขั้นตอนการดูแลรักษาผู้ป่วยในและผู้ป่วยนอก บรรยากาศของการท างานและความสัมพันธ์กับบุคลากรในทีม หลักการเบื้องต้นของเวชจริยศาสตร์และการให้เหตุผลเชิงจริยธรรม จริยธรรมวิชาชีพเวชกรรม ทักษะเบื้องต้นในการติดต่อสื่อสาร หลักการเรียนรู้ทางคลินิก ความรู้ทางวิทยาศาสตร์พื้นฐานที่จ าเป็นทางคลินิก ความเชื่อมโยงระหว่างวิทยาศาสตร์พื้นฐานกับวิทยาศาสตร์คลินิกDevelopment of medicine and medical practice; doctor’s roles andfunctions, code of conduct, process of out-patient and in-patient care, work atmosphere,relationship among medical personnels as a team, basic principle in medical ethics andethical reasoning; basic communication skills; principle of clinical learning; essential basicmedical sciences, correlation of medical sciences and clinical sciences570602 เวชจริยศำสตร์และทักษะกำรสื่อสำรในเวชปฏิบัติ 2(1-3-2)Medical Ethics and Communication Skills in Clinical Practiceบุรพวิชำ : 570301กฏบัตรวิชาชีพแพทย์ ประเด็นทางเวชจริยศาสตร์ที่พบในเวชปฏิบัติตามเกณฑ์ของแพทยสภา ทักษะในการระบุประเด็น วิเคราะห์ หาแนวทางปฏิบัติให้สอดคล้องกับกฎหมายหรือข้อบังคับหรือจริยธรรมแห่งวิชาชีพโดยเชื่อมโยงกับข้อขัดแย้ง ข้อร้องเรียนหรือการฟ้องร้องที่ได้เกิดขึ้นในประเทศไทย การพัฒนาความเป็นวิชาชีพแพทย์ ทักษะในการวางตัวต่อเพื่อนร่วมวิชาชีพ ผู้ป่วย ญาติผู้ป่วยและต่อคนทั่วไปในสังคมอย่างเหมาะสมกับการเป็นแพทย์และอย่างมีศักดิ์ศรีสมกับวิชาชีพ หลักส าคัญของการสื่อสาร ทักษะในการรับฟังอย่างตั้งใจ รับรู้ข้อมูลผ่านทางสื่อต่าง ๆ ทักษะในการสื่อสารด้วยค าพูด ภาษากาย ภาษาท่าทางภาษาเขียน โทรศัพท์ ทักษะในการน าเสนอรายงานผู้ป่วย ผลงาน ผลการวิจัยในที่ประชุมทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ทักษะในการเขียนรายงาน ผลงาน ผลการวิจัย บทความเชิงวิชาการผ่านทางสื่ออิเล็คโทรนิกส์ทักษะในการสื่อสารกับนิสิตแพทย์ อาจารย์ ผู้ร่วมงาน สาธารณชน สื่อมวลชน ทักษะในการถ่ายทอดความรู้70


ทักษะ ประสบการณ์ของตนเองแก่ผู้ที่เกี่ยวข้อง ความรู้ด้านแพทยศาสตรศึกษาเบื้องต้น ความปลอดภัยของผู้ป่วย จริยธรรมวิชาชีพเวชกรรมPrerequisite : 570301Medical professional laws, topics of medical ethics in general practiceaccording to standard requirements of the medical council of Thailand, skills in identificationand analysis of medical practice problems, practice guideline in corresponding to medicalethics, laws, conflicts, complaints and suing in Thailand; medical professional development;proper manner as a medical practitioner with colleagues, patients, patient’s relatives,publics; principle in communication, active listening skills, non-verbal language, writingskills, telephone skills according to standard requirements of the medical council ofThailand; skills in presentation of cases, report and research work in the conference in thaiand english language; skills in writing report, research paper and academic article byelectronic media, communication skills among medical students, medical staffs,colleagues, publics; teaching skills on knowledge and experiences; knowledge in basicmedical education; patient safety; medical ethics570305 พฤติกรรมศำสตร์เบื้องต้น 1(1-0-2)Introduction to Behavioral Scienceพัฒนาการของมนุษย์ ประสาทวิทยาศาสตร์กับพฤติกรรม ความคิดกับพฤติกรรม ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมผู้ป่วย การสื่อสารและการให้ค าปรึกษาแก่ผู้ป่วยและญาติ จริยธรรมทางการแพทย์Human development, neuroscience and behavior, thinking and behavior,factors influenzing patient behavior, consultation and communication with patient andfamily, medical ethics570403 บทน ำทำงคลินิก 4(2-6-4)Introduction to Clinicบุรพวิชำ : 570301วิธีการซักประวัติตรวจ<strong>ร่าง</strong>กาย อาการวิทยาในระบบต่าง ๆ การรวบรวมข้อมูลทางคลินิกเพื่อการวินิจฉัย แนวทางการส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการและการแปลผลเบื้องต้น การวินิจฉัยเบื้องต้น การให้เหตุผลและการตัดสินใจทางคลินิก ปัญหาแกนทางคลินิก ทักษะในการประเมินและการดูแลผู้ป่วยแบบองค์รวม การบันทึกและการเขียนรายงานผู้ป่วย ทักษะในการสร้างความสัมพันธ์และการสื่อสารกับผู้ป่วยและญาติมารยาทในการซักประวัติและตรวจ<strong>ร่าง</strong>กาย หัตถการพื้นฐานก่อนเข้าปฏิบัติงานจริงในหอผู้ป่วย ความปลอดภัยของผู้ป่วย จริยธรรมวิชาชีพเวชกรรมPrerequisite : 570301Methods of history taking, physical examination, symtomatology in varioussystems, data collection for clinical diagnosis, laboratory investigation, basic interpretation,initial diagnosis, clinical reasoning, clinical decision, clinical core problems; skills in clinicalevaluation, holistic patient care, medical record, report writing, relation and communication71


with patients and relatives; manners in history taking and physical examination, practice ofbasic clinical procedural skills before working in in-patient unit; patient safety; medical ethics572301 เวชศำสตร์เชิงประจักษ์ 1 2(1-3-2)Evidence-based Medicine Iหลักการเบื้องต้นเวชศาสตร์เชิงประจักษ์ ชีวสถิติพรรณนาเชิงอนุมาน สมมติฐานและการทดสอบ กระบวนการวิจัย การทบทวนวรรณกรรม การเขียนโครง<strong>ร่าง</strong>การวิจัยในชุมชน การสร้างเครื่องมือวิจัยจริยธรรมการวิจัยBasic principle of evidence based medicine, descriptive biological statistics,inferential biological statistics, hypothesis and testing, researching process, literature review,proposal writing for community research, research tools design; research ethics572302 เวชศำสตร์เชิงประจักษ์ 2 1(0-3-1)Evidence-based Medicine IIบุรพวิชำ : 572301ระบบข้อมูลสารสนเทศทางสุขภาพ การใช้ระบบข้อมูลสารสนเทศ ระบบการสนับสนุนการตัดสินใจด้านปัญหาสุขภาพ การท าวิจัยในชุมชนPrerequisite : 572301Health information systems, application of information technology forhealth, decision support systems; community researches572503 เวชศำสตร์เชิงประจักษ์ 3 1(0-3-1)Evidence-based Medicine IIIบุรพวิชำ : 572301วิทยาการระบาดและวิทยาการวิจัยที่จ าเป็นในการวิจารณ์ผลงานทางวิชาการ ทักษะในการค้นหาผลงานวิจัย ทักษะในการวิจารณ์ผลงานวิจัยในรูปแบบต่าง ๆ การศึกษาอุบัติการ การศึกษาเชิงการทดลองทางคลินิกในแง่ความเชื่อถือ การน าเวชศาสตร์เชิงประจักษ์ไปประยุกต์เพื่อการส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรค รักษาและฟื้นฟูสภาพ ความปลอดภัยของผู้ป่วย จริยธรรมวิชาชีพเวชกรรมPrerequisite : 572301Clinical epidemiology, research methodology for criticizing research workand paper, skills in searching research works, criticizing research paper, case report, incidentreport, clinical research; application of evidence-based medicine in health promotion,prevention, rehabilitation and medical treatment; patient safety; medical ethics572504 วิทยำกำรระบำดและกำรวิจัยทำงคลินิก 2(1-3-2)Clinical Epidemiology and Researchบุรพวิชำ : 572302วิทยาการระบาดและวิธีการวิจัยที่จ าเป็นในการวิจัยทางคลินิก การทดลองทางคลินิกในแง่ความถูกต้อง ความเชื่อถือ การตั้งค าถามวิจัย การตั้งสมมติฐาน การออกแบบโครง<strong>ร่าง</strong>งานวิจัยทางคลินิก การ72


วางแผนงานวิจัย การท างานวิจัยด้านคลินิก การเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การเขียนรายงานวิจัย การเผยแพร่ผลงาน การอภิปรายผลงานวิจัย การน าเสนอรายงานวิจัย จริยธรรมการวิจัยPrerequisite : 572302Clinical epidemiology, research methodology in clinical diagnosis, clinicalexperimental study in sense of integrity; research question, hypothesis setting, researchproposal, research planning, clinical research performance, data collection, data analysis,report writing, publishing, discussion, presentation, research ethics574501 เวชศำสตร์ฉุกเฉิน 2(1-3-2)Emergency Medicineบุรพวิชำ : 570403หลักการเวชศาสตร์ฉุกเฉิน การบริหารจัดการห้องฉุกเฉินและระบบส่งต่อผู้ป่วยทั้งในภาวะปกติและภาวะอุบัติเหตุหรืออุบัติภัยหมู่ ความรู้ด้านสัตว์ พืช อาหารที่มีพิษ และพิษวิทยาที่จ าเป็นในห้องฉุกเฉินโรคและอุบัติเหตุที่พบบ่อยในห้องฉุกเฉินหรือเป็นสาเหตุให้เสียชีวิตอย่างรวดเร็ว แนวทางการดูแลรักษา การช่วยฟื้นกู้ชีวิต การแพทย์ฉุกเฉินเคลื่อนที่ ทักษะในการคัดแยกผู้ป่วยตามความเร่งด่วน การดูแลผู้ป่วยในภาวะวิกฤติ ทักษะในการฟื้นกู้ชีพชั้นสูง การดูแลระบบหายใจ ทักษะในการซักประวัติ ตรวจ<strong>ร่าง</strong>กาย และส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ รังสีวิทยาเพื่อการวินิจฉัยแยกโรคและภาวะฉุกเฉินที่พบบ่อยในผู้ป่วยทุกวัย ทุกระบบภาวะฉุกเฉินทางจิตเวช ทักษะในการดูแลด้านพิษวิทยาที่จ าเป็นในห้องฉุกเฉิน ทักษะในการดูแลภาวะบาดเจ็บจากอุบัติเหตุในทุกระบบรวมถึงอุบัติภัยหมู่ หัตถการที่จ าเป็นในห้องฉุกเฉิน ทักษะในการท าอัลตราซาวน์เบื้องต้นในภาวะฉุกเฉิน ทักษะในการตัดสินใจขอค าปรึกษา การส่งต่อผู้ป่วย ทักษะในการติดต่อสื่อสารกับผู้ป่วยและญาติในภาวะวิกฤติหรือในภาวะที่มีความขัดแย้ง ทักษะในการแจ้งข่าวร้าย ทักษะในการดูแลผู้ป่วยคดี การบันทึกบาดแผลการบันทึกเวชระเบียน การเขียนใบมรณบัตร ความปลอดภัยของผู้ป่วย จริยธรรมวิชาชีพเวชกรรมPrerequisite : 570403Principle of emergency medicine, emergency room management , referralsystem in normal condition, emergency condition and mass casualty condition; knowledgeabout animals, plants, poisoned food, essential emergency toxicology, common emergencydiseases and conditions causing sudden death; emergency medicine service, skills for triageby urgency levels; medical care in critical period, skills in advanced cardiopulmonaryresuscitation, skills in history taking, physical examination, laboratory investigation, radiologicimaging for differential diagnosis; common emergency condition in every age group, everysystem, psychiatric emergency; clinical skills in emergency toxicology management, injuredpatients, mass casualty, emergency medical procedural skills, basic skill of ultrasonographicimaging in emergency cases, consultation, referring; skills in communication with patients andrelatives in critical and contradictory condition, informing bad news, medical care for forensicpatients, wound records, medical records, completing and signing of death certification;patient safety; medical ethics73


574602 เวชปฏิบัติเวชศำสตร์ฉุกเฉิน 2(0-6-2)Clerkship Emergency Medicineบุรพวิชำ : 574501เวชปฏิบัติในห้องฉุกเฉิน การดูแลผู้ป่วยในภาวะวิกฤติหรือฉุกเฉิน การติดต่อสื่อสารกับผู้ป่วยและญาติในภาวะวิกฤติหรือในภาวะที่มีความขัดแย้ง การแจ้งข่าวร้าย การดูแลผู้ป่วยคดี การบันทึกบาดแผล การบันทึกเวชระเบียน การเขียนใบมรณบัตร การดูแลผู้ป่วยฉุกเฉินแบบองค์รวม ความปลอดภัยของผู้ป่วย จริยธรรมวิชาชีพเวชกรรมPrerequisite : 574501Clinical practice skills in emergency room, medical care in critical andemergency condition, communication with patients and relatives in critical and contradictoryconditions, informing bad news, medical care for forensic cases, wound records, medicalrecords, completing and signing of death certification, holistic medical care for emergencypatients; patient safety; medical ethics576501 วิสัญญีวิทยำพื้นฐำน 2(1-3-2)Basic Anesthesiologyบุรพวิชำ : 570403หลักการวิสัญญีวิทยา ยาที่ใช้ การเลือกเทคนิคในการระงับความรู้สึก เครื่องมือให้ยาสลบการประเมินและเตรียมผู้ป่วยก่อนระงับความรู้สึก การดูแลผู้ป่วยและแก้ไขอาการแทรกซ้อนก่อน ระหว่าง และหลังผ่าตัด ทักษะในการใช้ยาชาเฉพาะที่ ทักษะในการใส่ท่อช่วยหายใจ การให้สารน้ าและเลือด การดูแลผู้ป่วยที่ได้ยาระงับประสาทและระงับปวด ปัญหาทางกฎหมาย ความปลอดภัยของผู้ป่วย จริยธรรมวิชาชีพเวชกรรมPrerequisite : 570403Principle of anesthesiology, anesthesic drugs, techniques of anesthesia,medical instruments for anesthesia, evaluation and preparation of patient before, during andafter anesthesia, complication management, skills of local anesthesia, endotracheal tubeintubation, intravenous and blood administration; care for patients receiving anesthesic drugsand pain relieved drugs; problems of related laws, patient safety; medical ethics578401 รังสีวิทยำวินิจฉัย 2(1-3-2)Diagnostic Radiologyบุรพวิชำ : 570301หลักการพื้นฐานทางรังสีวิทยา ความรู้ฟิสิกส์พื้นฐานทางรังสีวิทยา การตรวจทางรังสีวิทยาการตรวจวินิจฉัยด้วยเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ คลื่นเสียงความถี่สูง และการตรวจด้วยภาพที่เกิดจากคลื่นสะท้อนในสนามแม่เหล็ก หลักการพื้นฐานเกี่ยวกับเภสัชรังสี การถ่ายภาพสารทึบแสงทางรังสี เอกซเรย์เต้านม รังสีรักษา เวชศาสตร์นิวเคลียร์ ข้อบ่งชี้ ข้อห้าม ข้อจ ากัด วิธีการ และภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น การแปลผลภาพถ่ายทางรังสีที่พบบ่อย อันตรายที่เกิดจากรังสีและการป้องกัน ความปลอดภัยของผู้ป่วย จริยธรรมวิชาชีพเวชกรรม74


Prerequisite : 570301Basic principle of radiology, fundamental physics for radiology, radiologicalexamination, radiodiagnosis by Computed Tomography (CT Scan), ultrasonography, MagneticResonance Imaging (MRI), basic principle of pharmacoradiology, opaque media photography,mammogram, radiotherapy, nuclear medicine, indication, contraindication, limitations,methods, and complication of radiological examination; common radiological interpretation,danger and prevention from radiation; patient safety; medical ethics588601 เวชศำสตร์ทำงทะเลและกำรเดินทำงท่องเที่ยว 2 (1-3-2)Marine and Travel Medicineบุรพวิชำ : 570403หลักพื้นฐานด้านเวชศาสตร์ทางทะเล โรคหรือการบาดเจ็บที่เกิดจากสัตว์ พืชบริเวณชายฝั่งทะเลหรือ ใต้ทะเล โรคหรือการบาดเจ็บที่เกิดจากการเดินทาง การท่องเที่ยวและกีฬาทางทะเล อาชีพที่เกี่ยวข้องกับทะเล พื้นฐานด้านเวชศาสตร์ใต้น้ า การรักษาผู้ป่วยโดยใช้เครื่องปรับอากาศแรงดันสูง การบริหารจัดการและการดูแลผู้ป่วยจากอุบัติภัยหมู่ ทางทะเล การดูแลเคลื่อนย้ายผู้ป่วยทางทะเล โรคที่เกิดจากสภาพแวดล้อมและการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติทางทะเล พื้นฐานของเวชศาสตร์การเดินทาง แนวทางการดูแลบ าบัดผู้ป่วยจากการเจ็บป่วยที่เกิดจากการเดินทางหรือท่องเที่ยวในประเทศไทยที่พบบ่อยโรคติดต่อหรือโรคระบาดที่เกิดขึ้นจากการเดินทาง โรคที่เกิดจากอาชีพที่เกี่ยวกับการเดินทางการท่องเที่ยวการตรวจสุขภาพและการฉีดวัคซีนส าหรับผู้ที่ต้องเดินทางไปต่างประเทศ ระบบประกันสุขภาพส าหรับผู้ที่เดินทางไปต่างประเทศ ความปลอดภัยของผู้ป่วย จริยธรรมวิชาชีพเวชกรรมPrerequisite : 570403Basic principle of marine medicine; diseases and traumatic condition fromanimals, sea and seashore plants, travelling, touring, marine sports, marine occupations, marinetransportation; basic principle of submarine medicine; treatment by high-pressure chamber,management and patient care in marine mass casualty; patient transportation, diseases fromenvironment, conservative of marine natural resources; basic principle of travel medicine,treatment of common diseases, traumatic condition, communicable diseases, occupationaldiseases from journey and travelling in Thailand ; physical check up and vaccination, healthassurance system for traveler to foreign countries; patient safety; medical ethics580401 อำยุรศำสตร์ 1 4(3-3-6)Medicine Iบุรพวิชำ : 570403ความหมาย ความส าคัญของโรคหรือภาวะทางอายุรศาสตร์ตามเกณฑ์มาตรฐานผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมของแพทยสภา วิทยาการระบาดคลินิก สาเหตุ ปัจจัยเสี่ยง พยาธิก าเนิด พยาธิสรีรวิทยาพยาธิสภาพอาการ อาการแสดง การตรวจทางห้องปฏิบัติการ การวินิจฉัย การวินิจฉัยแยกโรค วิธีการค้นคว้าสมุฏฐานของโรค การด าเนินโรค การพยากรณ์โรค การสั่งการดูแลรักษาผู้ป่วยอย่างสมเหตุผลตามหลักเวชศาสตร์เชิงประจักษ์ หลักการรักษาผู้ป่วยแบบองค์รวม แนวคิดการสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค75


การประเมินสุขภาพ การตรวจคัดกรอง การให้ค าปรึกษา การใช้ยาและผลข้างเคียงของยา การฟื้นฟูสภาพโภชนาการส าหรับผู้ป่วย ความปลอดภัยของผู้ป่วย จริยธรรมวิชาชีพเวชกรรมPrerequisite : 570403Definition, significance, diseases and disorders in internal medicine accordingto standard requirements of medical council of Thailand, clinical epidemiology, pathology,pathogenesis, pathophysiology, clinical risk, signs, symptoms, laboratory investigations,diagnosis, differential diagnosis, searching for clinical leading cause, clinical course, prognosis,appropriate medical prescription on the basis of evidence-based medicine; principle ofholistic medical care, concept of health promotion and prevention, clinical evaluation,screening, counselling, drug prescription, adverse drug reaction; rehabilitation, nutritionalmanagement; patient safety; medical ethics580402 อำยุรศำสตร์ 2 3(1-6-2)Medicine IIบุรพวิชำ : 570403การซักประวัติ การตรวจ<strong>ร่าง</strong>กายผู้ป่วยทางอายุรศาสตร์ การเขียนรายงานผู้ป่วย การวินิจฉัยทางรังสีวิทยา การประมวลข้อมูลเพื่อการวินิจฉัย การวินิจฉัยแยกโรค การวางแผนและการสั่งการรักษา หลักเวชศาสตร์เชิงประจักษ์ การขอค ายินยอมการรักษา การหาแนวทางร่วมกับผู้ป่วยและญาติในการตัดสินใจการรักษา การดูแลผู้ป่วยแบบองค์รวม ความปลอดภัยของผู้ป่วย จริยธรรมวิชาชีพเวชกรรมPrerequisite : 570403History taking, physical examination in internal medicine, case report writing,radiological diagnosis, data gathering for clinical diagnosis, differential diagnosis, planning and medicalprescription on the basis of evidence-based medicine; informed consent, decision making bycoordination with patients and relatives; holistic medical care; patient safety; medical ethics580403 อำยุรศำสตร์ 3 3(1-6-2)Medicine IIIบุรพวิชำ : 570403หัตถการพื้นฐานที่จ าเป็นในการปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยอายุรศาสตร์ การฟื้นกู้ชีพ การตรวจและแปลผลทางห้องปฏิบัติการ การตรวจและแปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจ การตรวจพิเศษทางอายุรกรรมอื่น ๆตามเกณฑ์แพทยสภา ความปลอดภัยของผู้ป่วย จริยธรรมวิชาชีพเวชกรรมPrerequisite : 570403Basic procedural skills in in-patient internal medicine wards,cardiopulmonany resuscitation, laboratory investigation and interpretation, electrocardiogramexamination and interpretation, other special medical investigations according to standardrequirements of Medical Council of Thailand; patient safety; medical ethics76


580504 อำยุรศำสตร์ 4 3(2-3-4)Medicine IVบุรพวิชำ : 580401ความหมาย ความส าคัญของโรคหรือภาวะทางอายุรศาสตร์เฉพาะทาง ตามเกณฑ์มาตรฐานผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมของแพทยสภา วิทยาการระบาดคลินิก สาเหตุ ปัจจัยเสี่ยง พยาธิก าเนิดพยาธิสรีรวิทยา พยาธิสภาพ อาการ อาการแสดง การตรวจทางห้องปฏิบัติการ การวินิจฉัย การวินิจฉัยแยกโรค วิธีการค้นคว้าสมุฏฐานของโรค การด าเนินโรค การพยากรณ์โรค การสั่งการรักษาผู้ป่วยอย่างสมเหตุผลตามหลักเวชศาสตร์เชิงประจักษ์ หลักการรักษาผู้ป่วยแบบองค์รวม แนวคิดการสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค การประเมินสุขภาพ การตรวจคัดกรอง การให้ค าปรึกษา การใช้ยาและผลข้างเคียงของยา การฟื้นฟูสภาพ โภชนาการส าหรับผู้ป่วย ความปลอดภัยของผู้ป่วย จริยธรรมวิชาชีพเวชกรรมPrerequisite : 580401Definition, significance, diseases and disorders in internal medicinesubspecialties according to standard requirements of Medical Council of Thailand, clinicalepidemiology, pathology, pathogenesis, pathophysiology, clinical risk, signs and symptoms,laboratory investigations, diagnosis, differential diagnosis, searching for clinical leading cause,clinical course, prognosis, appropriate medical prescription on the basis of evidence basedmedicine; principle of holistic medical care, health promotion prevention, clinical evaluation,screening, counselling, drug prescription, adverse drug reaction; rehabilitation, nutritionalmanagement; patient safety; medical ethics580505 อำยุรศำสตร์ 5 3(2-3-4)Medicine Vบุรพวิชำ : 580402 และ 580403การซักประวัติ การตรวจ<strong>ร่าง</strong>กายในผู้ป่วยทางอายุศาสตร์เฉพาะทาง การเขียนรายงานผู้ป่วย การวินิจฉัยทางรังสีวิทยา การประมวลข้อมูลเพื่อการวินิจฉัย การวินิจฉัยแยกโรค การวางแผนและสั่งการรักษา หลักเวชศาสตร์เชิงประจักษ์ การขอค ายินยอมการรักษา การหาแนวทางร่วมกับผู้ป่วยและญาติในการตัดสินใจการรักษา การดูแลผู้ป่วยแบบองค์รวม ความปลอดภัยของผู้ป่วย จริยธรรมวิชาชีพเวชกรรมPrerequisite : 580402 and 580403History taking, physical examination in internal medicine subspecialties, casereport writing, radiological diagnosis, data gathering for clinical diagnosis, differential diagnosis,planning and medical prescription on the basis of evidence based medicine; informedconsent, decision making by coordination with patients and relatives; holistic medical care;patient safety; medical ethics580606 เวชปฏิบัติอำยุรศำสตร์ 1 3(0-9-3)Clerkship in Medicine Iบุรพวิชำ : 580504 และ 580505การปฏิบัติงานร่วมกับแพทย์และบุคลากรทางการแพทย์ การประยุกต์ความรู้และทักษะต่าง ๆ ในการดูแลผู้ป่วยอายุศาสตร์ หลักมูลฐานการวิเคราะห์ทางเวชศาสตร์ หลักเวชศาสตร์เชิงประจักษ์ หลักเวชจริยศาสตร์77


และกฏหมายที่เกี่ยวข้อง หลักการดูแลผู้ป่วยแบบองค์รวม การสื่อสารและการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ป่วยและญาติ ความปลอดภัยของผู้ป่วยPrerequisite : 580504 and 580505Cooperative working with medical staffs and medical personnels, applicationof knowledge and skills for patient care in internal medicine by taking account of principlesof medical analysis, evidence based medicine, medical ethics, related medical laws, holisticmedical care; good communicaton and relationship with patient and relatives, patient safety580607 เวชปฏิบัติอำยุรศำสตร์ 2 3(0-9-3)Clerkship in Medicine IIบุรพวิชำ : 580504 และ 580505การปฏิบัติงานร่วมกับแพทย์และบุคลากรทางการแพทย์ การประยุกต์ความรู้และทักษะต่าง ๆในการดูแลผู้ป่วยอายุศาสตร์เฉพาะทาง หลักมูลฐานการวิเคราะห์ทางเวชศาสตร์ หลักเวชศาสตร์เชิงประจักษ์หลักเวชจริยศาสตร์และกฏหมายที่เกี่ยวข้อง หลักการดูแลผู้ป่วยแบบองค์รวมความปลอดภัยของผู้ป่วย การสื่อสารและการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ป่วยและญาติ ความปลอดภัยของผู้ป่วยPrerequisite : 580504 and 580505Cooperative working with medical staffs and medical personnels, application ofknowledge and skills for patient care in internal medicine subspecialities by taking account ofprinciples of medical analysis, evidence based medicine, medical ethics, related medical laws,holistic medical care; good communicaton and relationship with patient and relatives, patientsafety582401 กุมำรเวชศำสตร์ 1 3(2-3-4)Pediatrics Iบุรพวิชำ : 570403ทฤษฎีขั้นพื้นฐานเกี่ยวกับการเจริญเติบโตและพัฒนาการ นิยามโรค วิทยาการระบาดคลินิก สาเหตุ ปัจจัยเสี่ยง พยาธิก าเนิด พยาธิสรีรวิทยา พยาธิสภาพ อาการ อาการแสดง การตรวจทางห้องปฏิบัติการ หลักการพื้นฐานรังสีวิทยาวินิจฉัยในเด็ก การวินิจฉัยแยกโรค วิธีการค้นคว้า สมุฏฐานของโรคการด าเนินโรค การพยากรณ์โรค การสั่งการรักษาอย่างสมเหตุผลตามหลักเวชศาสตร์เชิงประจักษ์ ส าหรับโรคหรือภาวะทางกุมารเวชศาสตร์ตามเกณฑ์มาตรฐานผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมของแพทยสภา หลักการรักษาผู้ป่วยแบบองค์รวม แนวคิดการสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค การประเมินสุขภาพ การตรวจคัดกรองการให้ค าปรึกษา การใช้ยาและผลข้างเคียงของยา การฟื้นฟูสภาพ โภชนาการส าหรับเด็ก หลักการแก้ไขปัญหาสุขภาพในเด็กแรกเกิด การดูแลทารกแรกเกิดปกติ ปัญหาสุขภาพเด็กที่พบบ่อยในประเทศไทย ความปลอดภัยของผู้ป่วย จริยธรรมวิชาชีพเวชกรรมPrerequisite : 570403Basic principle of growth and development, definition of diseases,epidemiology, clinical cause, clinical risk, pathogenesis, pathophysiology, pathology, signs,symptoms, laboratory investigations, diagnostic radiology, differential diagnosis, searching forclinical leading cause, clinical course, prognosis, appropriate clinical prescription using78


evidence based medicine for pediatric diseases and disorders according to standardrequirements of Medical Council of Thailand; holistic approach, health promotion andprevention, screening, counselling, drug prescription, adverse drug reaction; rehabilitation,pediatric nutrition, health care management in sick newborn, normal newborn care, commonhealth problems in Thailand; patient safety; medical ethics582402 กุมำรเวชศำสตร์ 2 3(2-3-4)Pediatrics IIบุรพวิชำ : 570403การซักประวัติ การตรวจ<strong>ร่าง</strong>กายในผู้ป่วยทางกุมารเวชศาสตร์ คลินิกผู้ป่วยนอก คลินิกเด็กสุขภาพดี การดูแลทารกแรกเกิดปกติ การเขียนรายงานผู้ป่วยให้ถูกต้องตามวิธีการ การวินิจฉัยทางรังสีวิทยาในเด็ก การประมวลข้อมูลเพื่อการวินิจฉัย การวินิจฉัยแยกโรค การวางแผนและสั่งการรักษา หลักเวชศาสตร์เชิงประจักษ์ การขอค ายินยอมการรักษา การหาแนวทางร่วมกับผู้ป่วยและญาติในการตัดสินใจการรักษา การดูแลผู้ป่วยแบบองค์รวม การจัดการกับเด็กที่มีปัญหาหรือไม่ให้ความร่วมมือ การสื่อสารและการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ป่วยและญาติ ความปลอดภัยของผู้ป่วย จริยธรรมวิชาชีพเวชกรรมPrerequisite : 570403History taking, physical examination in pediatric out-patient clinic, well childclinic, normal newborn care, medical report, diagnostic radiology in pediatrics data gatheringfor clinical diagnosis, different diagnosis, planning and medical prescription using evidencebased medicine; informed consent, decision making by coordination with patients andrelatives; holistic medical care; medical ethics; dealing with difficult children; goodcommunication and relationship with patient and relatives; patient safety582403 กุมำรเวชศำสตร์ 3 3(1-6-2)Pediatrics IIIบุรพวิชำ : 570403หัตถการพื้นฐานที่จ าเป็นในการปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยกุมารเวชศาสตร์ คลินิกผู้ป่วยนอกการฝึกช่วยหายใจ การใส่ท่อช่วยหายใจ การฟื้นกู้ชีพ การตรวจและแปลผลทางห้องปฏิบัติการ การตรวจและแปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจ การตรวจพิเศษทางกุมารเวชกรรมอื่น ๆ ตามเกณฑ์แพทยสภา ความปลอดภัยของผู้ป่วย จริยธรรมวิชาชีพเวชกรรมPrerequisite : 570403Basic procedural skills in in-patient pediatric wards, out-patient clinics,respiratory support, endotracheal intubation, cardiopulmory resuscitation, , laboratoryinvestigations and interpretation, pediatric-electrocardiogram investigation and interpretation,special pediatric investigations according to standard requirements of medical council ofThailand; patient safety; medical ethics79


582604 เวชปฏิบัติกุมำรเวชศำสตร์ 1 3(0-9-3)Clerkship in Pediatrics Iบุรพวิชำ : 582401, 582402 และ 582403การปฏิบัติงานร่วมกับแพทย์และบุคลากรทางการแพทย์ การประยุกต์ความรู้และทักษะต่าง ๆ ในการดูแลผู้ป่วยกุมารเวชศาสตร์ หลักมูลฐานการวิเคราะห์ทางเวชศาสตร์ หลักเวชศาสตร์เชิงประจักษ์กฏหมายที่เกี่ยวข้อง หลักการดูแลผู้ป่วยแบบองค์รวม การสื่อสารและการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ป่วยและญาติ ความปลอดภัยของผู้ป่วย จริยธรรมวิชาชีพเวชกรรมPrerequisite : 582401, 582402 and 582403Cooperative working with medical staffs and medical personnels, applicationof knowledge and skills in pediatric patient by taking account of principles of medicalanalysis, evidence based medicine, related medical laws, holistic medical care; goodcommunication and relationship with patient and relatives, patient safety, medical ethics582605 เวชปฏิบัติกุมำรเวชศำสตร์ 2 3(0-9-3)Clerkship in Pediatrics IIบุรพวิชำ : 582401, 582402 และ 582403การปฏิบัติงานร่วมกับแพทย์และบุคลากรทางการแพทย์ การประยุกต์ความรู้และทักษะต่าง ๆ ในการดูแลผู้ป่วยกุมารเวชศาสตร์เฉพาะทาง หลักมูลฐานการวิเคราะห์ทางเวชศาสตร์ หลักเวชศาสตร์เชิงประจักษ์ กฏหมายที่เกี่ยวข้อง หลักการดูแลผู้ป่วยแบบองค์รวม การสื่อสารและการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ป่วยและญาติ ความปลอดภัยของผู้ป่วย จริยธรรมวิชาชีพเวชกรรมPrerequisite : 582401, 582402 and 582403Cooperative working with medical staffs and medical personnels, applicationof knowledge and skills in pediatric subspecialities patient by taking account of principles ofmedical analysis, evidence based medicine, related medical laws, holistic medical care; goodcommunication and relationship with patient and relatives, patient safety, medical ethics590400 ศัลยศำสตร์ 1 4 (3-3-6)Surgery Iบุรพวิชำ : 570403ความหมาย ความส าคัญ ส าหรับโรคหรือภาวะทางศัลยศาสตร์ตามเกณฑ์มาตรฐานผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมของแพทยสภา วิทยาการระบาดทางคลินิก สาเหตุ ปัจจัยเสี่ยง พยาธิก าเนิด พยาธิสรีรวิทยา พยาธิสภาพอาการ อาการแสดง การตรวจทางห้องปฏิบัติการ การวินิจฉัย การวินิจฉัยแยกโรค การด าเนินโรค การพยากรณ์โรค การสั่งการรักษาอย่างสมเหตุผลตามหลักเวชศาสตร์เชิงประจักษ์ การบาดเจ็บทางศัลยศาสตร์ทั่วไป หลักการรักษาผู้ป่วยทางศัลยศาสตร์ทั่วไป ข้อบ่งชี้ของการผ่าตัดชนิดต่าง ๆภาวะแทรกซ้อน การเปลี่ยนแปลงทางพยาธิสรีรวิทยาที่เกี่ยวข้องกับการผ่าตัด หลักการพื้นฐานของรังสีวิทยาทางศัลยศาสตร์ การตรวจพิเศษทางศัลยศาสตร์ ข้อบ่งชี้ ภาวะแทรกซ้อน การแปลผล การรักษาผู้ป่วยแบบองค์รวม แนวคิดการสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค การประเมินผู้ป่วยแบบองค์รวม การตรวจคัดกรอง การให้ค าปรึกษา การใช้ยาและผลข้างเคียงของยา การฟื้นฟูสภาพ โภชนาการส าหรับผู้ป่วย ความปลอดภัยของผู้ป่วย จริยธรรมวิชาชีพเวชกรรม80


Prerequisite : 570403Definition, significance, diseases and disorders in surgery according tostandard requirements of Medical Council of Thailand, clinical epidemiology, pathology,pathogenesis, pathophysiology, clinical risk, sign, symptom, laboratory investigation, diagnosis,differential diagnosis, clinical course, prognosis, appropriate medical prescription on the basisof evidence based medicine; injury, principle of surgical treatment, indication for surgery,complications, surgical pathophysiologic change, basic surgical radiology, special surgicalinvestigation, indication, complication and interpretation; holistic care, health promotion andprevention, clinical evaluation, screening, counseling, drug prescription, adverse drugreaction, nutrition, rehabilitation; patient safety; medical ethics590401 ศัลยศำสตร์ 2 3 (1-6-2)Surgery IIบุรพวิชำ : 570403การซักประวัติ การตรวจ<strong>ร่าง</strong>กายในผู้ป่วยทางศัลยศาสตร์ทั่วไป การเขียนรายงานผู้ป่วยการวินิจฉัยทางรังสีวิทยา การประมวลข้อมูล การวินิจฉัย การวินิจฉัยแยกโรค การวางแผนและการสั่งการรักษา หลักเวชศาสตร์เชิงประจักษ์ การหาแนวทางร่วมกับผู้ป่วยและญาติในการตัดสินใจการรักษา การช่วยผ่าตัดตลอดจนติดตามผลการรักษาอย่างใกล้ชิดและปฏิบัติงานที่จ าเป็น หลักการพื้นฐานของการดูแลผู้ป่วยก่อนและหลังผ่าตัด การขอค ายินยอมการรักษาและการผ่าตัด การท าหัตถการ การดูแลผู้ป่วยแบบองค์ การสื่อสารและการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ป่วยและญาติ ความปลอดภัยของผู้ป่วย จริยธรรมวิชาชีพเวชกรรมPrerequisite : 570403History taking, physical examination in general surgery, case report writing,radiological diagnosis, data gathering for clinical diagnosis, differential diagnosis, planning andmedical prescription on the basis of evidence-based medicine; shared decision making withpatients and relatives; surgical assistant, closely case follow-up, necessary practicing; basicprinciple of pre and post operative cares; informed consent for treatment and surgicalprocedures, holistic care; good communication and relationship with patient and relatives;patient safety; medical ethics590410 ศัลยศำสตร์หัตถกำร 1 3(0-9-3)Procedures in Surgery Iบุรพวิชำ : 570403เทคนิคพื้นฐานของศัลยศาสตร์ในห้องปฏิบัติการและห้องผ่าตัด หัตถการการใช้เครื่องมือทางศัลยศาสตร์ การล้างมือให้ปราศจากเชื้อ การใส่เสื้อและถุงมือผ่าตัด การผูกเงื่อนและการเย็บแผลชนิดต่าง ๆ การปฏิบัติในห้องปฏิบัติการและในการท าผ่าตัดหรือท าหัตถการจริง หัตถการของศัลยศาสตร์ทั่วไปอื่นๆ ตามเกณฑ์แพทยสภา ข้อบ่งชี้ ข้อห้าม ภาวะแทรกซ้อน ความปลอดภัยของผู้ป่วย จริยธรรมวิชาชีพเวชกรรมPrerequisite : 570403Basic technique of surgery in laboratory and operative room, proceduralpracticing of surgical instruments, hand washing for sterilization, wearing surgical suit and81


surgical gloves, surgical knots tying, surgical sutures, surgical procedural practicing inlaboratory and operative room, other surgical procedures according to standard requirementsof Medical Council of Thailand; indication, contraindication, complication; patient safety;medical ethics590502 ศัลยศำสตร์ 3 2 (1-3-2)Surgery IIIบุรพวิชำ : 590400นิยามโรค วิทยาการระบาดคลินิก สาเหตุ ปัจจัยเสี่ยง พยาธิก าเนิด พยาธิสรีรวิทยา พยาธิสภาพอาการ อาการแสดง การตรวจทางห้องปฏิบัติการ การวินิจฉัย การวินิจฉัยแยกโรค การด าเนินโรคการพยากรณ์โรค การสั่งการรักษาอย่างสมเหตุผลตามหลักเวชศาสตร์เชิงประจักษ์ ส าหรับโรคหรือภาวะหรือการบาดเจ็บทางศัลยศาสตร์เฉพาะทางตามเกณฑ์มาตรฐานผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมของแพทยสภาหลักการรักษาผู้ป่วยทางศัลยศาสตร์เฉพาะทาง ข้อบ่งชี้ของการผ่าตัดชนิดต่าง ๆ ภาวะแทรกซ้อน การเปลี่ยนแปลงทางพยาธิสรีรวิทยาที่เกี่ยวข้องกับการผ่าตัด หลักการพื้นฐานของรังสีวิทยาทางศัลยศาสตร์ การตรวจพิเศษทางศัลยศาสตร์ ข้อบ่งชี้ ภาวะแทรกซ้อน การแปลผล การรักษาผู้ป่วยแบบองค์รวม แนวคิดการสร้างเสริมสุขภาพและการป้องกันโรค การประเมินสุขภาพ การตรวจคัดกรอง การให้ค าปรึกษา การใช้ยาและผลข้างเคียงของยา การฟื้นฟูสภาพ โภชนาการส าหรับผู้ป่วย ความปลอดภัยผู้ป่วย จริยธรรมวิชาชีพเวชกรรมPrerequisite : 590400Definition, clinical epidemiology, clinical cause, clinical risk, pathogenesis,pathophysiology, pathology, signs, symptoms, laboratory investigations, diagnosis, differentialdiagnosis, appropriate medical prescription on the basis of evidence based medicine forsurgical subspecialities’ diseases, disorders and injury according to standard requirements ofmedical council of Thailand; principle of surgical speciality treatment, indication for various kindsof surgery, complication; pathophysiologic change related to operation; basic principle of surgicalradiology, special surgical investigation, indication, complication and interpretation; holistic care,health promotion and prevention, clinical evaluation, screening, counseling, drug prescription,adverse drug reaction, nutrition, rehabilitation; patient safety; medical ethics590511 ศัลยศำสตร์หัตถกำร 2 2(0-6-2)Procedures in Surgery IIบุรพวิชำ : 590401 และ 590410การซักประวัติ การตรวจ<strong>ร่าง</strong>กายในผู้ป่วยทางศัลยศาสตร์ทั่วไปและเฉพาะทางบางสาขา การเขียนรายงานผู้ป่วยให้ถูกต้องตามวิธีการ การวินิจฉัยทางรังสีวิทยาการประมวลข้อมูลเพื่อการวินิจฉัย วินิจฉัยแยกโรคการวางแผนและสั่งการรักษา หลักเวชศาสตร์เชิงประจักษ์ การหาแนวทางร่วมกับผู้ป่วยและญาติในการตัดสินใจการรักษา การช่วยผ่าตัด การติดตามผลการรักษาอย่างใกล้ชิด หลักการพื้นฐานของการดูแลผู้ป่วยก่อนและหลังผ่าตัด การดูแลภาวะแทรกซ้อนทั้งก่อนและหลังผ่าตัด การขอค ายินยอมการรักษาและการผ่าตัดหรือการท าหัตถการ การฝึกปฏิบัติในห้องปฏิบัติการ การท าผ่าตัดหรือท าหัตถการจริง หัตถการของศัลยศาสตร์เฉพาะทางอื่น ๆ ตามเกณฑ์แพทยสภา ข้อบ่งชี้ ข้อห้าม ภาวะแทรกซ้อน ความปลอดภัยของผู้ป่วย จริยธรรมวิชาชีพเวชกรรม82


Prerequisite : 590401 and 590410History taking, physical examination in general surgery and some surgicalsubspecialities, case report writing by standard methods, radiologic diagnosis, data gatheringfor diagnosis, differential diagnosis, planning and treatment, the basis of evidence basedmedicine; decision making by coordination with patients and relatives; surgical assistant,closely case follow up, necessary practicing, basic principle of pre and post operative cares,complication of pre and post operative cares; informed consent for surgery and procedures;clinical procedural practicing in laboratory and operative room, subspecialty surgicalprocedures according to standard requirements of medical council of Thailand, indication,contraindication, complication; patient safety; medical ethics590603 เวชปฏิบัติศัลยศำสตร์ 1 3(0-9-3)Clerkship in Surgery Iบุรพวิชำ : 590502 และ 590511การปฏิบัติงานร่วมกับแพทย์และบุคลากรทางการแพทย์ การประยุกต์ความรู้และทักษะต่างๆ ในการดูแลผู้ป่วยศัลยศาสตร์ทั่วไป หลักมูลฐานการวิเคราะห์ทางเวชศาสตร์ หลักเวชศาสตร์เชิงประจักษ์หลักเวชจริยศาสตร์และกฏหมายที่เกี่ยวข้อง การบันทึกประวัติ การตรวจ<strong>ร่าง</strong>กาย การสั่งการรักษา การบันทึกความก้าวหน้าและ ความเปลี่ยนแปลงผลของการรักษา การอยู่เวรดูแลผู้ป่วยที่มีปัญหาศัลยศาสตร์ฉุกเฉิน การช่วยท าผ่าตัด การท าผ่าตัดตามเกณฑ์มาตรฐานผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมของแพทยสภาหลักการดูแลผู้ป่วยแบบองค์รวม ความส าคัญของการดูแลรักษาอย่างทันท่วงที ไม่ทอดทิ้งผู้ป่วย ทักษะการขอค ายินยอมผ่าตัด การแจ้งข่าวร้าย การจัดการกับผู้ป่วยที่ไม่ให้ความร่วมมือและปฏิเสธการรักษาการสื่อสารและการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ป่วยและญาติ ความปลอดภัยของผู้ป่วยPrerequisite : 590502 and 590511Cooperative working with medical staffs and medical personnels, applicationof knowledge and skills for patient cares in general surgery, principles of medical analysis,evidence based medicine, medical ethics, related medical laws, history taking, physicalexamination, medical prescription, progress note; on duty patient care for emergency surgicalcases, operative assistant and operation according to standard requirements of medicalcouncil of Thailand, holistic care, importance of emergency care without negligence;informed consent, informing bad news, management of in-cooperative patient and denyingmedical treatment; good communication and relationship with patient and relatives, patient safety590604 เวชปฏิบัติศัลยศำสตร์ 2 3(0-9-3)Clerkship in Surgery IIบุรพวิชำ : 590502 และ 590511การปฏิบัติงานร่วมกับแพทย์และบุคลากรทางการแพทย์ การประยุกต์ความรู้และทักษะต่างๆ ในการดูแลผู้ป่วยศัลยศาสตร์เฉพาะทาง หลักมูลฐานการวิเคราะห์ทางเวชศาสตร์ หลักเวชศาสตร์เชิงประจักษ์หลักเวชจริยศาสตร์และกฏหมายที่เกี่ยวข้อง การบันทึกประวัติ การตรวจ<strong>ร่าง</strong>กาย การสั่งการรักษา การบันทึกความก้าวหน้าและ ความเปลี่ยนแปลง ผลของการรักษา การอยู่เวรดูแลผู้ป่วยที่มีปัญหาศัลยศาสตร์ฉุกเฉิน83


การช่วยท าผ่าตัด การท าผ่าตัดตามเกณฑ์มาตรฐานผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมของแพทยสภา หลักการดูแลผู้ป่วยแบบองค์รวม ความส าคัญของการดูแลรักษาอย่างทันท่วงที ไม่ทอดทิ้งผู้ป่วย ทักษะการขอค ายินยอมผ่าตัด การแจ้งข่าวร้าย การจัดการกับผู้ป่วยที่ไม่ให้ความร่วมมือและปฏิเสธการรักษา การสื่อสารและการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ป่วยและญาติ ความปลอดภัยของผู้ป่วยPrerequisite : 590502 and 590511Cooperative working with medical staffs and medical personnels, applicationof knowledge and skills for patient cares in subspeciality surgery, principles of medicalanalysis, evidence based medicine, medical ethics, related medical laws, history taking,physical examination, medical prescription, progress note; on duty patient care foremergency surgical cases, operative assistant and operation according to standardrequirements of medical council of Thailand, holistic care, importance of emergency carewithout negligence; informed consent, informing bad news, management of in-cooperativepatient and denying medical treatment; good communication and relationship with patientand relatives, patient safety592501 จักษุวิทยำ 2(1-3-2)Ophthalmologyบุรพวิชำ : 570403โรคและอาการทางจักษุวิทยาที่พบบ่อยในเวชปฏิบัติทั้งผู้ป่วยนอกและห้องฉุกเฉิน ทักษะในการซักประวัติ ตรวจ<strong>ร่าง</strong>กายทางตา การดูแลเบื้องต้นส าหรับโรคตาที่พบบ่อยในเวชปฏิบัติผู้ป่วยนอกและห้องฉุกเฉินโดยเน้นในเชิงป้องกันและกรณีฉุกเฉิน หัตถการพื้นฐานที่จ าเป็นตามเกณฑ์มาตรฐานผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมของแพทยสภา การป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นกับตาจากโรคเรื้อรังหรือจากการประกอบอาชีพ การตรวจสุขภาพและประเมินความพิการด้านสายตา การดูแลผู้ป่วยทางจักษุแบบองค์รวมความปลอดภัยของผู้ป่วย จริยธรรมวิชาชีพPrerequisite : 570403Common ophthalmologic diseases and disorders in out-patient andemergency units, clinical skills in ophthalmologic history taking and physical examination;primary care in common ocular diseases in out-patient and emergency units focussing onprevention and emergency situation, basic ophthalmologic procedures according to standardrequirements of medical council of Thailand; prevention of complication from chronicdiseases, occupational diseases; ocular physical examination for evaluating visualdeformities; holistic care; patient safety; medical ethics592502 โสต ศอ นำสิกวิทยำ 2(1-3-2)Otolaryngologyบุรพวิชำ : 570403โรคและอาการทางโสต ศอ นาสิกวิทยา ที่พบบ่อยในเวชปฏิบัติ ทักษะในการซักประวัติตรวจ<strong>ร่าง</strong>กายทางหู คอ จมูก การดูแลเบื้องต้นส าหรับโรคหู คอ จมูกที่พบบ่อยในเวชปฏิบัติผู้ป่วยนอกและห้องฉุกเฉินโดยเน้นในเชิงป้องกันและกรณีฉุกเฉิน หัตถการพื้นฐานที่จ าเป็น ตามเกณฑ์มาตรฐานผู้ประกอบวิชาชีพ84


เวชกรรมของแพทยสภา ทักษะในการตัดสินใจส่งปรึกษา การป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นกับหูจากโรคเรื้อรังหรือจากการประกอบอาชีพ การตรวจสุขภาพและประเมินความพิการด้านการได้ยิน การดูแลผู้ป่วยทางหู คอ จมูกแบบองค์รวม หลักการดูแลผู้มีปัญหาหรือพิการทางการได้ยิน ความปลอดภัยของผู้ป่วยจริยธรรมวิชาชีพเวชกรรมPrerequisite : 570403Common otolaryngologic diseases and disorders, skills in history taking,otolaryngologic examination, initial management of common otolaryngologic diseases in outpatientand emergency units focussing on prevention and emergency situation, basicotolaryngologic procedures according to standard requirements of medical council ofThailand; prevention of complication from chronic diseases, occupational diseases;otolaryngologic examination and hearing evaluation; holistic care; principle of managementof patient with hearing impairment; patient safety; medical ethics594501 ออร์โธปิดิกส์ 2(1-3-2)Orthopedicsบุรพวิชำ : 570403ทักษะในการซักประวัติ การตรวจ<strong>ร่าง</strong>กาย การวินิจฉัย การรักษา ภาวะกระดูกหักและข้อเคลื่อนหลุดและโรคทางออร์โธปิดิกส์ที่พบบ่อยตามเกณฑ์มาตรฐานผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมของแพทยสภา ทักษะในการแปลผลภาพรังสีของกระดูกและข้อทั้งผู้ป่วยใน ผู้ป่วยนอกและห้องฉุกเฉิน การวินิจฉัยโรคทางออร์โธปิดิกส์ด้วยเครื่องเอกซเรย์คอมพิวเตอร์และคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า การผ่าตัดและหัตถการทางออร์โธปิดิกส์การใส่เฝือกและดึงถ่วงน้ าหนัก การฉีดยาเข้าข้อและรอบเอ็น การจัดดึงกระดูกให้เข้าที่ เทคนิคต่าง ๆ ของห้องผ่าตัดการเตรียมผู้ป่วยก่อนผ่าตัดและดูแลหลังผ่าตัด ภาวะแทรกซ้อน วิธีการผ่าตัดและการผ่าตัดเล็กตามเกณฑ์มาตรฐานของแพทยสภา ยาที่ใช้ในออร์โธปิดิกส์ การดูแลผู้ป่วยแบบองค์รวม การให้การบ าบัดอาการปวดเรื้อรัง การบาดเจ็บและความพิการทางออร์โธปิดิกส์ที่เป็นปัญหาของประเทศ ความปลอดภัยของผู้ป่วย จริยธรรมวิชาชีพPrerequisite : 570403Clinical skills in history taking, physical examination, diagnosis, treatment ofbone fracture, joint dislocation, common orthopedic diseases according to standardrequirements of medical council of Thailand; clinical skills in radiology interpretation for outpatient,in-patient and emergency cases; clinical diagnosis supported by computedtomography and magnetic resonance imaging; orthopedic procedures and surgery, wearingcast and weight bearing, intra - arthricular injection, paratendon injection, skeletal traction,preoperative and postoperative care, complication, surgical skills in operative theatres andminor operative room, orthopedic drug use; holistic care, management of chronic pain,trauma, common orthopedic deformities in Thailand; patient safety; medical ethics85


594602 เวชปฏิบัติออร์โธปิดิกส์ 2(0-6-2)Clerkship in Orthopedicsบุรพวิชำ : 594501การปฏิบัติในการดูแลผู้ป่วยทางออร์โธปิดิกส์ การบ าบัดโรคหรือภาวะกระดูกหักและข้อเคลื่อนที่พบบ่อยในเวชปฏิบัติผู้ป่วยนอก และห้องฉุกเฉิน การดูแลภาวะแทรกซ้อน การเตรียมผู้ป่วยก่อนผ่าตัดและดูแลหลังผ่าตัด การเข้าช่วยในห้องผ่าตัดใหญ่หรือผ่าตัดเล็ก การท าหัตถการทางออร์โธปิดิกส์ที่จ าเป็น การจัดดึงกระดูกให้เข้าที่ การดูแลผู้ป่วยออร์โธปิดิกส์แบบองค์รวม ความปลอดภัยของผู้ป่วย จริยธรรมวิชาชีพเวชกรรมPrerequisite : 594501Clinical practice in orthopedic patient care for common bone fractures, jointdislocations in out-patient and emergency unit, complication, preoperative and postoperative care,surgical assistance in operative theatre and minor operative room, necessary orthopedic clinicalskills, skeletal traction; holistic care in orthopedics; patient safety; medical ethics596400 สูติศำสตร์ – นรีเวชวิทยำ 1 4 (3-3-6)Obstetrics and Gynecology Iบุรพวิชำ : 570403ความหมาย ความส าคัญ กลไกการเกิดโรค การวินิจฉัย การด าเนินโรค การพยากรณ์โรคหลักการรักษาผู้ป่วย ข้อบ่งชี้ของการผ่าตัดชนิดต่าง ๆ ภาวะแทรกซ้อน การเปลี่ยนแปลงทางพยาธิสรีรวิทยาที่เกี่ยวข้องกับการผ่าตัด การตั้งครรภ์ การวินิจฉัยการตั้งครรภ์ การเจ็บครรภ์ การคลอด ระยะหลังคลอด การปฏิบัติทันทีต่อทารกแรกคลอด การตั้งครรภ์ผิดปกติ การตั้งครรภ์นอกมดลูก ครรภ์ไข่ปลาอุก การแท้งบุตรทารกตายในครรภ์ การคลอดก่อนก าหนด การตั้งครรภ์เกินก าหนด การคลอดที่ผิดปกติ ภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการตั้งครรภ์ โรค กลุ่มอาการ/ภาวะ ทางนรีเวชวิทยาตามเกณฑ์มาตรฐานผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมของแพทยสภา การดูแลและให้ค าแนะน าผู้มาฝากครรภ์หรือผู้มารับบริการหลังการคลอดการวางแผนครอบครัวและวิธีการคุมก าเนิดชนิดต่าง ๆ เทคโนโลยีการเจริญพันธุ์สมัยใหม่ ความปลอดภัยของผู้ป่วย จริยธรรมวิชาชีพเวชกรรมPrerequisite : 570403Definition, significance, pathogenesis, diagnosis, clinical course, prognosis,principle of treatment, indication for surgery, complication, pathophysiologic change relatedto obstetrical operation, pregnancy detection, labour pain, normal labour, postlabour,newborn resuscitation; abnormality in obstetrics, ectopic pregnancy, molar pregnancy,abortion, fetal death in utero, premature labour, postmature labour, complication ofpregnancy; diseases, disorders, conditions in gynecology according to standard requirementsof Medical Council of Thailand; antenatal or postpartum care and counselling; family planning,various contraceptive methods, modern fertile technologies; patient safety; medical ethics86


596602 เวชปฏิบัติสูติศำสตร์ – นรีเวชวิทยำ 1 3(0-9-3)Clerkship in Obstetrics and Gynecology Iบุรพวิชำ : 596400, 596401 และ 596410การปฏิบัติงานร่วมกับแพทย์และบุคลากรทางการแพทย์ การประยุกต์ความรู้และทักษะต่าง ๆ ในการดูแลผู้ป่วยสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา การวิเคราะห์ทางเวชศาสตร์ หลักเวชศาสตร์เชิงประจักษ์หลักเวชจริยศาสตร์และกฏหมายที่เกี่ยวข้อง หลักการดูแลผู้ป่วยแบบองค์รวม การเน้นความปลอดภัยของผู้ป่วยเป็นส าคัญ การสื่อสารและการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ป่วยและญาติ จริยธรรมวิชาชีพเวชกรรมPrerequisite : 596400, 596401 and 596410Cooperative working with medical staffs and medical personnels, applicationof knowledge and skills in obstetric and gynecologic patient, principles of medical analysis,evidence based medicine, medical ethics, related medical laws, holistic medical care,focussing on patient safety; good communication and relationship with patient and relatives596611 เวชปฏิบัติสูติศำสตร์ – นรีเวชวิทยำ 2 3(0-9-3)Clerkship in Obstetrics and Gynecology IIบุรพวิชำ : 596400, 596401 และ 596410การปฏิบัติงานร่วมกับแพทย์และบุคลากรทางการแพทย์ การประยุกต์ความรู้และทักษะต่าง ๆ ในการดูแลผู้ป่วยสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยาเฉพาะทาง การวิเคราะห์ทางเวชศาสตร์ หลักเวชศาสตร์เชิงประจักษ์ หลักเวชจริยศาสตร์และกฏหมายที่เกี่ยวข้อง หลักการดูแลผู้ป่วยแบบองค์รวม การเน้นความปลอดภัยของผู้ป่วยเป็นส าคัญ การสื่อสารและการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ป่วยและญาติ จริยธรรมวิชาชีพเวชกรรมPrerequisite : 596400, 596401 and 596410Cooperative working with medical staffs and medical personnels, application ofknowledge and skills in subspeciality obstetric and gynecologic patient, principles of medicalanalysis, evidence based medicine, medical ethics, related medical laws, holistic medical care,focussing on patient safety; good communication and relationship with patient and relatives2.3 กลุ่มวิชำเลือก560611 กำรดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ำย 4(2-6-4)Palliative Careหลักการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย สุขภาวะทางกาย จิตใจ สังคมและจิตวิญญาณของผู้ป่วยและครอบครัว เวชจริยศาสตร์และกฎหมายการแพทย์ที่เกี่ยวข้อง การุณฆาต ฝึกปฏิบัติงานเพื่อเพิ่มพูนทักษะในการให้การวินิจฉัยให้การรักษาและดูแลแบบองค์รวม เพิ่มคุณภาพชีวิตแก่ผู้ป่วย ดูแลจิตใจแก่ครอบครัว พัฒนาเจตคติที่ดีในการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายPrinciple of palliative care, physical, mental, social, spiritual condition ofpatients and relatives; medical ethics and related medical laws; practicing to gainexperiences in diagnosis, treatment and holistic care, increasing patient quality of life,psychological management for their families, development of good attitude to palliative care88


562503 ปฏิบัติจิตเวชศำสตร์ในกำรบริบำลปฐมภูมิ 4(2-6-4)Practice in Primary Care Psychiatryฝึกประสบการณ์การรับค าปรึกษาและดูแลรักษาผู้ป่วยทางกายที่มีปัญหาทางจิตเวชในผู้ป่วยแผนกต่าง ๆและผู้ป่วยนอก ทักษะการใช้ยาทางจิตเวชในผู้ป่วยที่มีปัญหาทางกาย ทักษะการติดต่อสื่อสารกับผู้ป่วยและญาติที่มีปัญหายุ่งยาก การให้ค าปรึกษาปัญหาการปรับตัวแก่ผู้ป่วยและญาติ หลักทักษะการให้ค าปรึกษาทั่วไปทางจิตเวชผู้ป่วยเฮชไอวี (HIV) ผู้ป่วยฆ่าตัวตายPsychiatric techniques for counselling, supportive psychotherapy in outpatientand in-patient unit, skills in psychopharmacotherapy for medical patients, communicationwith patients and relatives that have complicated problems, psychoeducation, counselling for HIVpositivepatients, suicidal patients562504 จิตเวชเด็กและวัยรุ่น 4(2-6-4)Child and Adolescent Psychiatryทฤษฎีเบื้องต้นเกี่ยวกับการพัฒนาการของจิตใจและบุคลิกภาพ จิตวิทยาการเลี้ยงดูเด็กการป้องกันแก้ไขปัญหาสุขภาพจิต การส่งเสริมสุขภาพจิตของเด็ก การส่งเสริมสุขภาพจิตในโรงเรียน ฝึกปฏิบัติการดูแลรักษาเด็กและวัยรุ่นที่เป็นโรคทางจิตเวชที่พบบ่อยหรือมีปัญหาด้านจิตใจ อารมณ์และพฤติกรรม ฝึกการให้ค าปรึกษาเกี่ยวกับ การเลี้ยงดู การส่งเสริมสุขภาพจิตเด็กแก่พ่อแม่ การรับปรึกษาปัญหาทางจิตสังคมส าหรับผู้ป่วยเด็กที่เป็นโรคทางกายBasic theory for psychiatric development and personality, child – carepsychology, psychiatric problem solving, prevention, promotion in children and schools;comprehensive care for child and adolescent patients, common psychiatric disorders; mind,mental and behavioral problems; practice in psychoeducation including psychological careand psychological promotion for parents, social; psychological counselling for children withmedical and psychiatric566502 เวชศำสตร์ฟื้นฟูในผู้ป่วยทำงระบบประสำท 2(1-3-2)Rehabilitation in Neurological Disorderทักษะการตรวจประเมิน วินิจฉัยปัญหาความพิการในผู้ป่วยเด็กและผู้ใหญ่ที่มีปัญหาทางระบบประสาทโรคหลอดเลือดสมอง โรคที่มีการบาดเจ็บของไขสันหลังและสภาวะสมองพิการ ป้องกันและให้การรักษาทางเวชศาสตร์ฟื้นฟูเบื้องต้น ติดตามดูขั้นตอนการรักษาด้านกายภาพบ าบัดและกิจกรรมบ าบัดอย่างต่อเนื่องClinical skills for evaluation, diagnosis in problems of diabled children,adults, inneurological system, cardiovascular system, spinal injury, cerebral palsy; preventionand treatment in fundamental rehabilitation medicine: continous follow up steps ofphysiotherapy and occupational therapy566603 เวชศำสตร์กำรกีฬำประยุกต์ 2(1-3-2)Applied Sport Medicineวิธีการออกก าลังเพื่อสุขภาพ การแนะน าการออกก าลังกายที่ถูกต้องให้แก่ประชาชนที่อยู่ในความดูแลการป้องกันภยันตรายจากการเล่นกีฬาหรือออกก าลังกาย การเพิ่มสมรรถนะของ<strong>ร่าง</strong>กายในมิติต่าง ๆ การดูแลผู้ได้รับการบาดเจ็บจากกีฬาแบบองค์รวม89


Methods of exercises for health, Introduction of proper exercise for caredpublics, prevention of sport injury, physical illness development in various dimension, holistic carefor sport injury person570504 กำรจัดกำรกับควำมเครียดและกำรพัฒนำตนเอง 2(1-3-2)Stress Management and Self Developmentหลักการจัดการกับความเครียดและการผ่อนคลายความเครียด การดูแลสุขภาพตนเองแบบองค์รวมการเข้าถึงสุขภาวะทางจิต การฝึกปฏิบัติเพื่อการดูแลสุขภาพแบบองค์รวมและผ่อนคลายความเครียด การพิจารณาและท าความเข้าใจตนเอง การท าความเข้าใจผู้อื่น การพัฒนาความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล การวางแผนพัฒนาตนเองPrinciple of stress management and mental relaxation, holistic health careapproaching for psycliologic health; practice in holistic health care and mental relaxation,consideration and self understanding and others, relationship development betweenpersons, planning for self development572605 ปฏิบัติกำรวิจัยทำงคลินิก 4(0-8-4)Practice in Clinical Researchปฏิบัติการวิจัยทางคลินิก ตั้งแต่การตั้งค าถามทางคลินิก การตั้งสมมติฐาน การออกแบบและเขียนโครง<strong>ร่าง</strong>การวิจัยการเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การเขียนผลงาน การน าเสนอและการลงตีพิมพ์Practice in Clinical Research from research question formation, hypothesisformation,research designing, proposal writing, sampling, measuring, data analysis, resultconclusion, presentation, paper printing574604 ปฏิบัติกำรหน่วยแพทย์ฉุกเฉินเคลื่อนที่ 4(1-9-2)Practice in Emergency Medical Servicesบุรพวิชำ : 570403ปฏิบัติการออกหน่วยปฐมพยาบาล การรับผู้ป่วยหนัก การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยหนักอย่างปลอดภัย การให้ การดูแลฉุกเฉินก่อนมาถึงโรงพยาบาล การบริหารงานและพัฒนาบุคลากรในระบบฉุกเฉินการจัดการบรรเทาสาธารณภัยในฐานะแพทย์Prerequisite : 570403Clerkships in primary care unit, critical case admission, safe patienttransferring,emergency treatment before reaching hospital; personnel management anddevelopment for emergency system, disaster management by the role of physician576502 วิสัญญีวิทยำประยุกต์ : วิสัญญีซับซ้อน 2(1-3-2)Applied Anesthesiology : Complicated Anesthesiaบุรพวิชำ : 576501ทักษะระงับความรู้สึกเพื่อการผ่าตัดคลอด การระงับความรู้สึกผู้ป่วยที่มีโรคประจ าตัวการระงับความรู้สึกเด็ก ผ่าตัดฉุกเฉิน การระงับความรู้สึกโดยการสกัดกั้นเส้นประสาทส่วนปลาย การบ าบัด90


ความปวดหลังผ่าตัด การแก้ปัญหาทางเดินหายใจล าบาก การสอดสายสวนหลอดเลือดแดง การสอดสายสวนหลอดเลือดด าส่วนกลางPrerequisite : 576501Procedural skills in anesthesia for general surgery, chronic illness patients,children, emergency surgery, local neural blockage, management of back pain after surgery:problem solving in dyspnea, arterial and central venous cannulation576503 วิสัญญีวิทยำประยุกต์ : กำรบ ำบัดทำงระบบหำยใจ 2(1-3-2)Applied Anesthesiology : Respiratory Careทักษะการบ าบัดทางระบบหายใจ การดูแลทางเดินหายใจ การใช้ทางเดินหายใจเทียมชนิดต่าง ๆ การรักษาอนามัยหลอดลม การบ าบัดด้วยความชื้นและฝอยละออง การบ าบัดเพื่อขยายปอดกายภาพบ าบัดส่วนทรวงอก การดูดเสมหะในหลอดลม การบ าบัดด้วยออกซิเจน การบ าบัดโดยปรับความดันในทางเดินหายใจ หลักการช่วยหายใจ เทคนิคการช่วยหายใจและการใช้เครื่องช่วยหายใจ การบ าบัดทางระบบหายใจในโรคและสภาวะเฉพาะที่พบบ่อยClinical skills in respiratory management, air – way management, artificialrespiratory instrument management, aerosol therapy, lung expansion therapy, chestphysiotherapy, tracheal suction, tracheal hygiene care, oxygen therapy, pressure control inairway, respiratory support and care, respirator using, respiratory care in common diseasesand special conditions576604 วิสัญญีวิทยำประยุกต์ : กำรดูแลผู้ป่วยหนัก 2(1-3-2)Applied Anesthesiology : Intensive Careบุรพวิชำ : 576501หลักการและทักษะพื้นฐานในการดูแลผู้ป่วยในหออภิบาลผู้ป่วยหนัก การประคับประคองผู้ป่วยช็อก หัวใจวาย เต้นผิดจังหวะ ไตวายอุบัติเหตุรุนแรง ไม่รู้สึกตัว การสอดสายสวนหลอดเลือดด าส่วนกลาง การวัดความดันเลือดด าส่วนกลาง การวัดความดันเลือดแดงโดยตรง การเฝ้าระวังคลื่นไฟฟ้าหัวใจการเฝ้าระวังระบบหายใจ การวิเคราะห์ก๊าซในเลือดแดง จริยธรรมของการดูแลผู้ป่วยหนักPrerequisite : 576501Principle and basic skills in patient care in intensive care unit, supportivetreatment for patients, with shock, heart failure, arrhythmia, renal failure, severe emergencycases, unconscious patient, central venous cannulation, central venous pressuremeasurement, directed central arterial pressure measurement, electrocardiogram precaution,respiratory precaution, arterial blood gas analysis: medical ethics of intensive cared patients576605 วิสัญญีวิทยำประยุกต์ : กำรระงับปวด 2(1-3-2)Applied Anesthesiology : Pain Managementบุรพวิชำ : 570403นิยามศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับความปวด กลไกการเกิด วิธีประเมิน ชนิดของการปวดที่พบทางคลินิกวิธีต่าง ๆ ที่ใช้ในการระงับปวด การดูแลผู้ป่วยที่มีปัญหาการปวดแบบองค์รวมภาวะแทรกซ้อนของการระงับปวด การระงับปวดหลังผ่าตัด และการระงับปวดในการคลอด91


Prerequisite : 570403Definition of pain, mechanism of pain, evaluation method, Type ofpain in clinical practice, various kinds of pain management, pain suppression holisticcare for patients with pain problem : complication from pain suppression : painsuppression after surgery and during labour578530 รังสีวิทยำคลินิก 2(0-2-4)Clinical Radiologyบุรพวิชำ : 570403การปฏิบัติการทางรังสีวิทยาทั้งทางด้านการวินิจฉัยและรักษา และประสบการณ์ทางคลินิกด้านรังสีวิทยาเกี่ยวกับโรคที่พบบ่อย หัตถการทางรังสีวิทยา ข้อบ่งชี้ข้อแทรกซ้อนPrerequisite : 570403Clinical practice in both diagnostic and therapeutic radiology; clinicalradiologic experiences in common diseases, radiological procedures, indication, contraindication578602 รังสีรักษำและเวชศำสตร์นิวเคลียร์ 2(1-3-2)Radiotherapy and Nuclear Medicineบุรพวิชำ : 570403แนวคิดและหลักการรักษาโรคมะเร็งที่พบบ่อยในประเทศไทย หลักการรักษาโรคด้วยสารกัมมันตภาพรังสีวิธีการให้รังสีรักษา เครื่องมือทางรังสีรักษาชนิดต่าง ๆ การดูแลผู้ป่วยในระหว่างการฉายรังสีและหลังการฉายรังสี การรักษาเบื้องต้นสภาวะแทรกซ้อนที่เกิดจากการฉายรังสี หลักการตรวจทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์ ประโยชน์ในการตรวจวินิจฉัยโรค แนะน าเครื่องมือและวิธีการตรวจทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์ชนิดต่าง ๆการแปลผลการตรวจของอวัยวะต่าง ๆPrerequisite : 570403Principles of radio nuclide treatment for common benign and malignantnuclear medicine, administration tools and techniques, preparation of patients beforetreatment and care of patients after treatment, complication of treatment and care,examination in nuclear medicine, benefit and interpretation of examination, introduction ofinstruments, methods in various kinds of nuclear medicine580608 พฤฒิวิทยำ 2(1-3-2)Gerontologyบุรพวิชำ : 570403การเปลี่ยนแปลงของ<strong>ร่าง</strong>กายและจิตใจผู้สูงอายุ ความเสี่ยงในการเกิดโรค ภาวะโรคที่พบบ่อย การดูแลผู้สูงอายุแบบองค์รวม ความส าคัญของสุขภาพผู้สูงอายุต่อประเทศ หลักการพัฒนารูปแบบการดูแลผู้สูงอายุจริยธรรมในการดูแลผู้สูงอายุPrerequisite : 570403Biological and psychological change of elder; Clinical risks of commondiseases and conditions; holistic care of elder, importance of elder, principle of caredevelopment and ethics for elder92


580609 หทัยวิทยำ 2(1-3-2)Cardiologyบุรพวิชำ : 570403ทักษะในการวินิจฉัย การดูแลรักษาผู้ป่วย โรค ภาวะ กลุ่มอาการที่ส าคัญในระบบหัวใจและหลอดเลือด การดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือดแบบองค์รวมPrerequisite : 570403Clinical skills in diagnosis and treatment of patients, diseases, condition,disorders, in cardiovascular system; holistic case for cardiovascular patients580610 ประสำทวิทยำ 2(1-3-2)Neurologyบุรพวิชำ : 570403ทักษะในการวินิจฉัย การดูแลรักษาผู้ป่วย โรค ภาวะ กลุ่มอาการที่ส าคัญทางประสาทวิทยา การดูแลผู้ป่วยประสาทวิทยาแบบองค์รวมPrerequisite : 570403Clinical skills in diagnosis and treatment of patients, diseases, condition,disorders, in neurology; holistic care for neurologic patients580611 โลหิตวิทยำ 2(1-3-2)Hematologyบุรพวิชำ : 570403ทักษะในการวินิจฉัย การดูแลรักษาผู้ป่วย โรค ภาวะ กลุ่มอาการที่ส าคัญในระบบโลหิตวิทยาการดูแลผู้ป่วยโรคเลือดแบบองค์รวมPrerequisite : 570403Clinical skills in diagnosis and treatment of patients, diseases, condition,disorders in hematology; holistic care for hematologic patients580612 วิทยำทำงเดินอำหำร 2(1-3-2)Gastroenterologyบุรพวิชำ : 570403ทักษะในการวินิจฉัย การดูแลรักษาผู้ป่วย โรค ภาวะ กลุ่มอาการที่ส าคัญในระบบทางเดินอาหาร การดูแลผู้ป่วยโรคทางเดินอาหารแบบองค์รวมPrerequisite : 570403Clinical skills in diagnosis and treatment of patients, diseases, condition,disorders in gastroenterology; holistic care for gastroenterologic patients93


580613 วักกวิทยำ 2(1-3-2)Nephrologyบุรพวิชำ : 570403ทักษะในการวินิจฉัย การดูแลรักษาผู้ป่วย โรค ภาวะ กลุ่มอาการที่ส าคัญในโรคไตผู้ป่วยที่มีความผิดปกติ สมดุลกรดด่างและเกลือแร่ การฟอกเลือดในการรักษาไตวาย การดูแลผู้ป่วยโรคไตแบบองค์รวมPrerequisite : 570403Clinical skills in diagnosis and treatment of patients; diseases, condition,disorders in nephrology; holistic care for nephrologic patients580614 โรคระบบหำยใจ 2(1-3-2)Respiratory Diseaseบุรพวิชำ : 570403ทักษะในการวินิจฉัย การดูแลรักษาผู้ป่วย โรค ภาวะ กลุ่มอาการที่ส าคัญในระบบหายใจ การดูแลผู้ป่วยโรคระบบหายใจแบบองค์รวมPrerequisite : 570403Clinical skills in diagnosis and treatment of patients, diseases, condition,disorders in respiratory system; holistic care for respiratory patients580615 วิทยำต่อมไร้ท่อ 2(1-3-2)Endocrinologyบุรพวิชำ : 570403ทักษะในการวินิจฉัย การดูแลรักษาผู้ป่วย โรค ภาวะ กลุ่มอาการที่ส าคัญในระบบต่อมไร้ท่อและเมแทบอลิซึม การดูแลผู้ป่วยโรคต่อมไร้ท่อและเมแทบอลิซึมแบบองค์รวม การจัดการภาวะฉุกเฉินทางต่อมไร้ท่อที่ส าคัญPrerequisite : 570403Clinical skills in diagnosis, treatment of patients diseases, condition,disorders in endocrinal and metabolic system; holistic care and emergency management forendocrinal and metabolic patients580616 โรคติดเชื้อ 2(1-3-2)Infectious Diseaseบุรพวิชำ : 570403ทักษะในการวินิจฉัย การดูแลรักษาผู้ป่วย โรค ภาวะ กลุ่มอาการที่ส าคัญในผู้ป่วยโรคติดเชื้อ การดูแลผู้ป่วยโรคติดเชื้อแบบองค์รวม การดูแลรักษาให้ค าแนะน า การป้องกันการติดเชื้อในบุคลากรPrerequisite : 570403Clinical skills in diagnosis, treatment of patients, diseases, condition,disorders in infectious diseases; holistic patient care, patient education, prevention ofinfection in personnels94


580617 โรคภูมิแพ้ วิทยำภูมิคุ้มกัน และวิทยำรูมำติก 2(1-3-2)บุรพวิชำ : 570403ทักษะในการวินิจฉัย การดูแลรักษาผู้ป่วย โรค ภาวะ กลุ่มอาการที่ส าคัญในระบบภูมิคุ้มกัน โรคข้อ การดูแลผู้ป่วยโรคภูมิแพ้ ความผิดปกติทางภูมิคุ้มกันและโรคข้อแบบองค์รวมPrerequisite : 570403Clinical skills in diagnosis and treatment of patients, diseases, condition,disorders in allergic, immunologic and rheumatologic systems; holistic care for allergic,immunologic, rheumatic patients582507 ทำรกแรกเกิด 2(1-3-2)Newbornบุรพวิชำ : 570403, 582401, 582402 และ 582403ประสบการณ์การดูแลรักษาทารกแรกเกิดที่มีปัญหาทั้งการเจ็บป่วยเฉียบพลันและเรื้อรังข้อบ่งชี้ ขั้นตอนและวิธีการท าหัตถการที่ใช้บ่อยในผู้ป่วยทารกแรกเกิดและภาวะแทรกซ้อนPrerequisite : 570403, 582401, 582402 and 582403Experiences in pediatric management including newborn having emergencyand chronic illness indication, stepping methods in common procedures for sick newbornsand complication590512 ประสบกำรณ์ทำงคลินิกผู้ป่วยอุบัติเหตุ 2(1-2-3)Clinical Experience in Traumatic Patientบุรพวิชำ : 570403ทักษะการดูแล วินิจฉัย รักษา ผู้ป่วยที่ประสบอุบัติเหตุของทุกระบบ การดูแลแบบองค์รวม การป้องกันการเกิดอุบัติเหตุ การป้องกันความพิการ จริยธรรมของการดูแลผู้ป่วยที่ประสบอุบัติเหตุระบบการประกันอุบัติเหตุ การเขียนรายงานผู้ป่วยคดีที่ประสบอุบัติเหตุPrerequisite : 570403Clinical skills including health care, diagnosis, treatment for patients withaccidents in all systems, holistic care; prevention for accident, disability; medical ethics inaccident patient care, Accident insurance sustain, case report writing in occident cases590513 ประสบกำรณ์ทำงคลินิกศัลยศำสตร์ระบบปัสสำวะ 2(1-2-3)Clinical Experience in Urologyบุรพวิชำ : 570403ทักษะการวินิจฉัยดูแลรักษาผู้ป่วยทางศัลยศาสตร์ระบบปัสสาวะ กลุ่มอาการที่พบบ่อย ปฏิบัติหัตถการที่ส าคัญPrerequisite : 570403Clinical skills including diagnosis and managent for urologic patients commonurologic disorders, important procedural practices95


590514 ประสบกำรณ์ทำงคลินิกกุมำรศัลยศำสตร์ 2(1-3-2)Clinical Experience in Pediatric Surgeryบุรพวิชำ : 570403ทักษะการวินิจฉัยดูแลรักษาผู้ป่วยทางกุมารศัลยศาสตร์ กลุ่มอาการที่พบบ่อย ปฏิบัติหัตถการที่ส าคัญPrerequisite : 570403Clinical skills in pediatric surgical management, common disorders, importantprocedural practice590515 ประสบกำรณ์ทำงคลินิกศัลยศำสตร์ตกแต่ง 2(1-3-2)Clinical Experience in Plastic Surgeryบุรพวิชำ : 570403ทักษะการวินิจฉัยดูแลรักษาผู้ป่วยทางศัลยศาสตร์ตกแต่ง กลุ่มอาการที่พบบ่อย ปฏิบัติหัตถการที่ส าคัญPrerequisite : 570403Clinical skills in plastic surgical management, common disorders, importantprocedural practice590516 ประสบกำรณ์ทำงคลินิกศัลยศำสตร์หัวใจและทรวงอก 2(1-3-2)Clinical Experience in Cardio-thoracic Surgeryบุรพวิชำ : 570403ทักษะการวินิจฉัยดูแลรักษาผู้ป่วยทางศัลยศาสตร์หัวใจและทรวงอก กลุ่มอาการที่พบบ่อยปฏิบัติหัตถการที่ส าคัญPrerequisite : 570403Clinical skills in cardio – thoracic surgical management; common disorders,important procedural practice590517 ประสบกำรณ์ทำงคลินิกประสำทศัลยศำสตร์ 2(1-3-2)Clinical Experience in Neurosurgeryบุรพวิชำ : 570403ทักษะการวินิจฉัยดูแลรักษาผู้ป่วยทางประสาทศัลยศาสตร์ กลุ่มอาการที่พบบ่อย ปฏิบัติหัตถการที่ส าคัญPrerequisite : 570403Clinical skills in neurosurgical management; common disorders, importantprocedural practices96


592603 จักษุวิทยำประยุกต์ 4(2-6-4)Applied Ophthalmologyบุรพวิชำ : 592501หลักการและการประยุกต์ การตรวจพิเศษโรคที่พบบ่อยทางตา การดูแลรักษา หลักการผ่าตัด ประสบการณ์การผ่าตัดต้อเนื้อและหัตถการที่ส าคัญ จักษุสาธารณสุขประยุกต์Prerequisite : 592501Principle and Application of ophthalmologic special examination andmanagement of common ophthalmologic diseases; printable of surgery; surgical experiencein pterygium and important procedures; ophalmologic applied public health592604 โสต ศอ นำสิก วิทยำประยุกต์ 4(2-6-4)Applied Otolaryngologyบุรพวิชำ : 592502หลักการและการประยุกต์ การตรวจพิเศษ โรคที่พบบ่อยทางหูคอจมูกการดูแลรักษาหลักการผ่าตัด ประสบการณ์การผ่าตัดทอนซิล สิ่งแปลกปลอม เจาะคอ และหัตถการที่ส าคัญPrerequisite : 592502Principle and Application, special examination, common diseases inotolaryngology, clinical care, principle of surgery, experience in tonsillectomy, foreignbody removal, tracheostomy and other important procedures594603 ประสบกำรณ์ทำงคลินิกออร์โธปิดิกส์ 4(2-6-4)Clinical Experience in Orthopedicsบุรพวิชำ : 594501หลักการและทักษะการวินิจฉัยดูแลรักษาผู้ป่วยทางออร์โธปิดิกส์ การดูแลรักษากระดูกหักข้อเคลื่อน การใส่เฝือก และเครื่องพยุง กลุ่มอาการที่พบบ่อย การดูแลรักษาโรคกระดูกสันหลังแบบองค์รวมการป้องกันภาวะแทรกซ้อน ความวิกลรูปและความพิการ ปฏิบัติหัตถการที่ส าคัญ การดึงกระดูกให้เข้าที่การผ่าตัดเล็กทางออร์โธปิดิกส์Prerequisite : 594501Principle and clinical skills in orthopedic management of bone fracture,joint dislocation, wearing cast, support tools; common orthopedic disorders, holistic care,complication prevention, disability, deformities; important procedural practice, skeletaltraction, orthopedic minor operation596603 กำรตรวจวินิจฉัยด้วยคลื่นควำมถี่สูงทำงสูติศำสตร์- นรีเวชวิทยำ 2(1-3-2)Ultrasonography in Obstetrics and Gynecologyบุรพวิชำ : 596500, 596501 และ 596510หลักการของการตรวจวินิจฉัยด้วยคลื่นความถี่สูงที่ใช้ทางเวชปฏิบัติสูติศาสตร์ - นรีเวชวิทยาข้อบ่งชี้ ทักษะการปฏิบัติ การอ่านแปลผล97


Prerequisite : 596500, 596501 and 596510Principle of utrasonographic examination in obstetrics and gynecology;indication, interpretation and procedural practice598601 ประสบกำรณ์ทำงคลินิก 1 1(0-3-1)Clinical Experience Iบุรพวิชำ : 570403ศึกษาค้นคว้าหรือปฏิบัติงานทางคลินิก เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ทักษะ หรือเจตคติในการที่จะเป็นแพทย์ที่มีคุณธรรม จริยธรรมResearch work or clinical training to develop knowledge, skill, attitude inmedical professionalism, medical ethics598602 ประสบกำรณ์ทำงคลินิก 2 2(0-6-2)Clinical Experience IIบุรพวิชำ : 570403การปฏิบัติงานทางคลินิกหรือภาคสนามในสาขาวิชาทางการแพทย์หรือสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องในสถานพยาบาล หรือสถาบันอื่นทั้งในและต่างประเทศ ความปลอดภัยของผู้ป่วย จริยธรรมวิชาชีพClinical training or field work in any subject of medicine and relateddisciplines in health care center or other institution, either domestic or abroad; patientsafety; medical ethics598603 ประสบกำรณ์ทำงคลินิก 3 3(0-9-3)Clinical Experience IIIบุรพวิชำ : 570403การปฏิบัติงานทางคลินิกหรือภาคสนามในสาขาวิชาทางการแพทย์หรือสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องในสถานพยาบาล หรือสถาบันอื่น รวมไปถึงปฏิบัติงานในชุมชน ความปลอดภัยของผู้ป่วย จริยธรรมวิชาชีพClinical training or field work in any subject of medicine and related disciplinein health care center, other institutions, or community works; patient safety; medical ethics98598604 ประสบกำรณ์ทำงคลินิก 4 4(0-12-4)Clinical Experience IVบุรพวิชำ : 570403ศึกษาดูงาน ฝึกปฏิบัติงานทางคลินิก เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ทักษะ หรือเจตคติในการที่จะเป็นแพทย์ที่มีคุณธรรม จริยธรรม โดยเป็นการฝึกปฏิบัติงานในต่างประเทศClinical training or study visit abroad to develop knowledge, skill, and attitudein in medical professionalism, medical ethics


99651211 กำรแพทย์ทำงเลือกและกำรแพทย์แผนไทย 2(1-3-2)Alternative and Thai Traditional Medicineการแพทย์ทางเลือกที่มีในประเทศไทย ประสิทธิภาพของการรักษา การตัดสินใจน ามาใช้กับการดูแลสุขภาพเพื่อเสริมกับการแพทย์แผนปัจจุบัน การให้การรักษาและแนะน าแนวทางการรักษาแบบการแพทย์ทางเลือกเบื้องต้นแก่ผู้ป่วย จริยธรรมวิชาชีพเวชกรรม หลักและทฤษฎีการแพทย์แผนไทย ศาสตร์คณะแพทย์แผนไทยในการดูแลรักษา ป้องกัน ส่งเสริมฟื้นฟูสุขภาพละอาการเจ็บป่วยเบื้องต้น ข้อบ่งชี้และวิธีการใช้ยาสมุนไพรตามบัญชียาหลักแห่งชาติ การนวดและกดจุดแผนไทยเพื่อการรักษา ความปลอดภัยของผู้ป่วยAlternative medicine in Thailand; effectiveness of treatment and introducingfor modern medicine support, alternative medical treatment, introducing to patients,indication, medicinal herbs prescription according to national medical drug lists, thaitraditional massage, massage with pathologic point compression for treatment, patient safety,medical ethics651207 กำรแพทย์ทำงเลือก 2(1-3-2)Alternative Medicineการแพทย์ทางเลือกที่นิยม ประสิทธิภาพการรักษา การตัดสินใจน ามาใช้กับการดูแลสุขภาพ การส่งเสริมแพทย์แผนปัจจุบัน ให้การรักษาและแนะน าแนวทางการรักษาแบบการแพทย์ทางเลือกเบื้องต้นแก่ผู้ป่วยThe popularity of Alternative Medicine Effective treatment The decisionsapplies to health care Promoting Modern Medicine Recommended guidelines for treatmentand medical treatment options for patients Information651210 กำรแพทย์แผนไทย 2(1-3-2)Thai Traditional Medicineวิวัฒนาการการแพทย์แผนไทย ภูมิปัญญาไทยกับการดูแลสุขภาพ การวินิจฉัยโรคตามแบบแพทย์แผนไทย พืชสมุนไพรและสรรพคุณต่างๆ แนวการวิจัยและค้นคว้าเพื่อพัฒนาตัวยาสมุนไพรไทยการนวดและกดจุดแผนไทยเพื่อสุขภาพ การแพทย์แผนไทยกับการปฏิรูประบบสุขภาพThe evolution of thai traditional medicine, thai wisdom and health care, thaitraditional medical diagnosis, properties of various herbs and plants, research for developingthai herbal medicine, traditional thai massage and points pressure for health, thai traditionalmedicine and health system reform


100เอกสารหมายเลข 3ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจ าหลักสูตร


ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจ าหลักสูตร1. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นายแพทย์ทวีลาภ ตั๊นสวัสดิ์1. หัวหน้าโครงการวิจัยเรื่อง ผู้ป่วยโรคอุจจาระร่วงจากการติดเชื้อแบคทีเรียที่มารับการรักษาที่ศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพ <strong>มหาวิทยาลัยบูรพา</strong>ตีพิมพ์ในวารสารโรงพยาบาลชลบุรี ปีที่ 29 ฉบับที่ 3, 2547 : 133-1402. ผู้ร่วมวิจัยในโครงการวิจัยเรื่อง สถานการณ์ ปัญหา ความต้องการ และ พลังอ านาจของญาติผู้ดูแลเด็กป่วยเรื้อรังที่บ้าน ในชุดโครงการวิจัย การพัฒนาระบบการดูแลสุขภาพ ที่บ้านที่มุ่งเน้นการเสริมสร้างพลังอ านาจญาติผู้ดูแลที่บ้านในเขตภาคตะวันออก พ.ศ. 2546 ( ทุนส านักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ )ตีพิมพ์ในวารสารพยาบาลสาธารณสุข 2551, 22(3):25-393. หัวหน้าโครงการวิจัยเรื่องลักษณะการเกิดบาดแผลและพฤติกรรมการป้องกันการเกิดบาดแผลในผู้ป่วยเบาหวาน และผู้บริหารชุดโครงการวิจัยในต าแหน่งผู้ประสานงานชุดโครงการวิจัยรูปแบบการจัดการโรคเบาหวานแบบผสมผสาน ( ทุนส านักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ )ตีพิมพ์ในวารสารโรงพยาบาลชลบุรี ปีที่ 33 ฉบับที่ 1, 2551 : 53-624. ได้รับทุนจาก American Academy of Allergy Asthma and Immunology( AAAAI )ไปเสนอผลงานวิจัยเรื่อง Nasal challenge test in childhood allergic rhinitisที่กรุงวอชิงตัน ดีซี ประเทศสหรัฐอเมริกา ในการประชุม 2009 AAAAI Annual MeetingWashington, D.C. 13-17 March, 2009.5. หัวหน้าโครงการวิจัย เรื่อง Basophil activation test in childhood allergic rhinitis with housedust mite sensitization เผยแพร่ในรูปแบบ poster presentation ในการประชุม 29 th Congressof the European Academy of Allergy and Clinical Immunology ( EAACI 2010 )London, United Kingdom ;5 - 9 June 2010. ( ทุนวิจัยโรงพยาบาลรามาธิบดี )6. บทความทางวิชาการเรื่อง ภูมิแพ้ต่ออาหารทะเลตีพิมพ์ใน วารสารสาธารณสุข <strong>มหาวิทยาลัยบูรพา</strong> ปีที่ 5 ฉบับที่ 1 มกราคม - มิถุนายน 2553 : 59-657. หัวหน้าโครงการวิจัย เรื่อง พฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตและผลกระทบต่อสุขภาพของนิสิต<strong>มหาวิทยาลัยบูรพา</strong> (ก าลังด าเนินการ)8. หัวหน้าโครงการวิจัยย่อย เรื่อง ดัชนีชี้วัดสุขภาพปริก าเนิด ปัจจัยเสี่ยงด้านมารดาและทารกในเครือข่ายวิจัยคลินิกสหสถาบัน (ก าลังด าเนินการ)9. หัวหน้าโครงการวิจัย เรื่อง ความชุกของอาการโรคภูมิแพ้ที่พบบ่อยในเด็กนักเรียน โรงเรียนสาธิต“พิบูลบ าเพ็ญ” <strong>มหาวิทยาลัยบูรพา</strong> (ก าลังด าเนินการ)2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นายแพทย์กิตติ กรุงไกรเพชร1. ผลงานวิจัยเรื่อง เปรียบเทียบประสิทธิผลของยาทรามาดอลกับมอร์ฟีนในการลดความเจ็บปวดหลังการผ่าตัดคลอดบุตร ในโรงพยาบาล<strong>มหาวิทยาลัยบูรพา</strong>(รางวัลชนะเลิศงานวิจัยระดับจังหวัดส านักงานสาธารณสุข จังหวัดชลบุรี ปี 2549)2. ผลงานวิจัยเรื่อง เปรียบเทียบการรักษาอาการคลื่นไส้อาเจียนของหญิงตั้งครรภ์ด้วยไวตามินบีหก ขนาดสูงกับขนาดปกติ(ธรรมศาสตร์เวชสาร ปีที่ 8 ฉบับที่ 3 ก.ค.-ก.ย. 2551)3. ผลงานวิจัยเรื่อง ความรู้ เจตคติ และพฤติกรรมในการบริโภคอาหาร ในนิสิตวุฒิการศึกษาระดับปริญญาตรี ที่ก าลังศึกษาอยู่ในคณะกลุ่มวิทยาศาสตร์สุขภาพ(รอรับการตีพิมพ์)101


4. ผลงานวิจัยเรื่อง ปัจจัยอันเป็นมูลเหตุของพฤติกรรมการบริโภคสุราเป็นประจ าของนิสิตระดับปริญญาตรีของมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งในภาคตะวันออก การศึกษา 2552 (รอรับการตีพิมพ์)5. ผลงานวิจัยเรื่อง ทางออกทางเพศและการป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ของนิสิตระดับปริญญาตรีในกลุ่มคณะวิทยาศาสตร์สุขภาพ ชั้นปีที่ 3 ภาคปกติ มหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งในภาคตะวันออก (อยู่ระหว่างด าเนินการ)6. ผลงานวิจัยเรื่อง ความชุกของเหตุป่วยจากอาคาร (Sick building syndrome) ของบุคลากรที่ปฏิบัติงานในอาคารส านักงาน ภายใน<strong>มหาวิทยาลัยบูรพา</strong> วิทยาเขตบางแสน (อยู่ระหว่างด าเนินการ)7. คู่มือปฏิบัติการส าหรับบุคลากร7.1 การดูแลหญิงที่ถูกข่มขืน7.2 โรคที่พบบ่อยทางนรีเวชวิทยา ปี พ.ศ. 25517.3 ภาวะฉุกเฉินทางสูติศาสตร์ ปี พ.ศ. 25518. บทความทางวิชาการ เรื่อง การรักษาผู้ป่วยปรีอีแคลมเซียแบบประคับประคอง (ธรรมศาสตร์เวชสาร ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 เมษายน –มิถุนายน 2553)9. บทความที่ออกรายการสุขภาพดีมีสุข9.1 เมลาโทนิน ยาวิเศษจริงหรือ9.2 โรคสุกใสป้องกันได้9.3 รู้จริงเรื่องเลนส์สัมผัส ตอนที่ 1 – 39.4 ดีซ่านในทารกแรกเกิด9.5 เบาหวานในสตรีมีครรภ์9.6 จุ๊กกรูไวอะกร้า9.7 เชื้อร้ายในแผลกระเพาะอาหาร9.8 IP6 ความหวังใหม่ในโรคมะเร็ง9.9 โภชนาการและยาปฏิชีวนะ9.10 ยาลดความอ้วนตัวใหม่ในวงการแพทย์9.11 สิว ตอนที่ 1 – 39.12 เชื้อพยาธิแมวกับการตั้งครรภ์9.13 สมองตาย การตายที่แท้จริงในวงการแพทย์ ตอนที่ 1 – 29.14 สุขภาพทารกในครรภ์9.15 มาตรวจหาเด็กดาวน์กันเถอะ9.16 ความส าคัญของแร่ธาตุแมกนีเซียม9.17 เลโวเซทริซีนกับโรคภูมิแพ้3. แพทย์หญิงรมร แย้มประทุม1. ผลงานวิจัยเรื่อง ปัญหาพฤติกรรม และปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมของเด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยินตีพิมพ์ในวารสารกุมารเวชศาสตร์ ปีที่ 45 ฉบับที่ 4 ตุลาคม-ธันวาคม 25492. คู่มือการปฏิบัติงานเรื่อง การช่วยฟื้นคืนชีพทารกแรกเกิด3. หัวหน้าโครงการวิจัยเรื่อง คุณธรรม จริยธรรมของบัณฑิตแพทย์ที่เป็นที่ต้องการของผู้ใช้บัณฑิต(ก าลังด าเนินการ)102


4. ศาสตราจารย์พิเศษ นายแพทย์สุจินต์ อึ้งถาวร1. การวิจัยเกี่ยวกับกลไกการเกิดความพิการแต่ก าเนิด อันเป็นผลจากการได้รับปัจจัยต่างๆ จากภายนอกในช่วงระยะเวลาของการตั้งครรภ์5. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นายแพทย์พิสิษฐ์ พิริยาพรรณ1. (2546). การวิเคราะห์ความชุกและสภาพทั่วไปของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 สัมพันธ์กับภาวะความดันโลหิตสูงและไขมันผิดปกติในเลือด ที่มารับบริการ ณ ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ <strong>มหาวิทยาลัยบูรพา</strong>.สัดส่วนท าวิจัย ร้อยละ 100 (เสร็จสิ้น)2. (2550). การพัฒนาแนวทางและรูปแบบการจัดการส่งเสริมสุขภาพของนิสิตที่มีภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานและกลุ่มเมตะบอลิค.สัดส่วนท าวิจัย ร้อยละ 50 (เสร็จสิ้น)3. (2550). พัฒนาแนวทางและรูปแบบการจัดการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุที่เป็นโรคเรื้อรังเชิงรุก.สัดส่วนท าวิจัย ร้อยละ 50 (เสร็จสิ้น)4. (2552). การศึกษาภาวะสุขภาพและศักยภาพในการดูแลตนเองของนิสิตที่มีภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวานและกลุ่มอาการเมตะบอลิค: กรณีศึกษา<strong>มหาวิทยาลัยบูรพา</strong>สัดส่วนท าวิจัย ร้อยละ 50 (เสร็จสิ้น)5. (2554). รูปแบบการจัดการอาชีวอนามัยโดยการสร้างความมีส่วนร่วมของโรงงานอุตสาหกรรมในเขตนิคมอุตสาหกรรมภาคตะวันออกสัดส่วนท าวิจัย ร้อยละ 20 (ก าลังด าเนินการ)103


104เอกสารหมายเลข 4แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้(Curriculum Mapping)


มาตรฐานผลการเรียนรู้ Learning Outcome (LO)หมวดวิชาศึกษาทั่วไป1. คุณธรรม จริยธรรม(1) มีวินัย ตรงเวลา และมีความรับผิดชอบสูงทั้งต่อตนเอง วิชาชีพและสังคม(2) มีคุณธรรมและจริยธรรม(3) เคารพในระเบียบและกฎเกณฑ์ขององค์กรและสังคม ในระดับชาติและนานาชาติ2. ความรู้(1) เข้าใจหลักการและทฤษฎีพื้นฐาน และสามารถน าไปประยุกต์ใช้(2) เข้าใจ สามารถวิเคราะห์หลักการของศาสตร์ในสาขาต่างๆ และน ามาใช้เป็นพื้นฐานในการด ารงชีวิตอย่างมีประสิทธิภาพ(3) สามารถเข้าใจเกี่ยวกับความก้าวหน้าของความรู้ และงานวิจัยในปัจจุบันที่เกี่ยวข้องกับปัญหาของสังคมยุคปัจจุบัน3. ทักษะทางปัญญา(1) มีความสามารถในการวิเคราะห์สถานการณ์ โดยใช้หลักการที่ได้เรียนมาตลอดจนสามารถน าความรู้ไปประยุกต์ในสถานการณ์จริงได้(2) สามารถแก้ปัญหาได้โดยน าหลักการต่างๆ มาอ้างอิงได้อย่างเหมาะสม(3) มีความใฝ่หาความรู้4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและ ความรับผิดชอบ(1) มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี และสามารถปรับตัวเข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมองค์กร(2) มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย(3) มีภาวะผู้น าและเป็นแบบอย่างที่ดี5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ(1) มีทักษะการใช้ภาษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ(2) สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการเก็บรวบรวมข้อมูล และการน าเสนอ(3) มีความรู้ทางคณิตศาสตร์และสถิติในการวิเคราะห์และน าเสนอ


แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบผลการเรียนรู้สู่รายวิชา(Curriculum Mapping) ในรายวิชาศึกษาทั่วไปหลักสูตรปรับปรุง ปีการศึกษา 2556●ความรับผิดชอบหลัก ○ความรับผิดชอบรองหมวดวิชาศึกษาทั่วไปรายวิชา1. คุณธรรมจริยธรรม2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ5. ทักษะการวิเคราะห์การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3999041 ภาษาอังกฤษ 1 ○ ○ ○ ○ ● ○ ○ ○ ● ○999042 ภาษาอังกฤษ 2 ○ ○ ○ ○ ● ○ ○ ○ ● ○999043 ภาษาอังกฤษ 3 ○ ○ ○ ○ ● ○ ○ ○ ● ○550201 ภาษาอังกฤษทางการแพทย์ ● ● ● ● ●228101ทักษะการใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร ○ ○ ● ○ ● ○ ○ ○ ● ○885101 เทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจ าวัน ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ●265109มนุษยศาสตร์เชิงบูรณาการ ● ● ● ● ○671101สังคมศาสตร์เชิงบูรณาการ ● ● ● ● ○306106ความหลากหลายทางชีวภาพและการอนุรักษ์ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○309103วิทยาศาสตร์ทางทะเล ● ● ○ ● ○ ● ● ● ● ● ● ○ ● ● ○107101การสร้างเสริมสุขภาพแบบองค์รวม ● ○ ● ○ ● ○ ● ● ● ● ○850120ลีลาศเพื่อสุขภาพ ○ ○ ● ○ ○ ○ ○ ○ ○107104 การพัฒนาจิตให้เกิดปัญญา ● ○ ● ○ ● ● ● ○ ● ○


มาตรฐานผลการเรียนรู้หมวดวิชาเฉพาะสาขาแพทยศาสตร์ ก าหนดมาตรฐานผลการเรียนรู้ 7 ด้าน ที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ของสาขาแพทยศาสตร์ที่ก าหนดไว้ ดังนี้1. คุณธรรม จริยธรรม1.1 แสดงออกถึงคุณธรรมจริยธรรมที่เหมาะสมต่อวิชาชีพ1.2 แสดงออกถึงความซื่อสัตย์สุจริตต่อตนเองและวิชาชีพ เป็นที่ไว้วางใจของผู้ป่วยและสังคม1.3 แสดงออกถึงบุคลิกภาพอันเป็นที่น่าเชื่อถือ1.4 มีความตรงต่อเวลา และรับผิดชอบต่อการนัดหมาย1.5 มีความรับผิดชอบต่อผู้ป่วย และงานที่ได้รับมอบหมาย1.6 เข้าใจความต้องการและข้อจ ากัด โดยไม่แบ่งแยกในบริบทของเชื้อชาติ ศาสนาวัฒนธรรม เพศ อายุ และเศรษฐฐานะ1.7 เคารพในสิทธิของผู้ป่วย โดยการให้ความจริง รักษาความลับ และค านึงถึงประโยชน์และความปลอดภัยของผู้ป่วยเป็นส าคัญ1.8 มีความเข้าใจและสามารถให้การบริบาลสุขภาพโดยมุ่งเน้นคนเป็นศูนย์กลาง2. ความรู้ มีความรู้ความเข้าใจในด้านต่างๆ ต่อไปนี้2.1 วิทยาศาสตร์การแพทย์ระดับพื้นฐาน (ตามเกณฑ์มาตรฐานผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม แพทยสภา ภาคผนวก ก)2.2 วิชาชีพและทักษะทางคลินิก (ตามเกณฑ์มาตรฐานผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม แพทยสภา ภาคผนวก ข)2.3 การสร้างเสริมสุขภาพ และระบบบริบาลสุขภาพ (ตามเกณฑ์มาตรฐานผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม แพทยสภา ภาคผนวก ค)2.4 เวชจริยศาสตร์ (ตามเกณฑ์มาตรฐานผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม แพทยสภา ภาคผนวก ง)2.5 กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการประกอบวิชาชีพเวชกรรม (ตามเกณฑ์มาตรฐานผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม แพทยสภา ภาคผนวก จ)2.6 การใช้ยา ผลิตภัณฑ์ และเทคโนโลยีด้านสุขภาพอย่างเหมาะสม โดยค านึงถึงความคุ้มค่าในเศรษฐศาสตร์คลินิก2.7 หลักการด้านวิทยาการระบาดเชิงคลินิก ชีวสถิติ เวชสารสนเทศ และเวชศาสตร์เชิงประจักษ์2.8 หลักการด้านสังคมศาสตร์ มานุษยวิทยา และพฤติกรรมศาสตร์ ที่จ าเป็นส าหรับสร้างเสริมเจตคติ และสร้างความเข้าใจต่อเพื่อนมนุษย์และสังคม2.9 หลักการด้านบริหารงานขั้นพื้นฐานทางสาธารณสุข2.10 หลักการพื้นฐานด้านระบบคุณภาพ และความปลอดภัยของผู้ป่วย


3. ทักษะทางปัญญา3.1 ตระหนักรู้ในศักยภาพและข้อควรพัฒนาของตน เพื่อก าหนดความต้องการในการเรียนรู้และพัฒนาของตนเอง ได้อย่างครอบคลุมทุกด้านที่จ าเป็น3.2 สามารถวางแผนและแสวงหาวิธีการสร้างและพัฒนาความรู้ ทักษะ เจตคติ และพฤติกรรมที่เหมาะสม3.3 คิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ โดยใช้องค์ความรู้ทางวิชาชีพและด้านอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง3.4 สามารถน าข้อมูลและหลักฐานทั้งด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์พื้นฐานและทางคลินิกไปใช้ในการอ้างอิงและแก้ไขปัญหาได้อย่างมีวิจารณญาณ3.5 สามารถแสวงหาและแลกเปลี่ยนความรู้ ฝึกทักษะ รวมทั้งพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องและสม่ าเสมอ3.6 เลือกใช้วิธีการแก้ไขปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับสถานการณ์ และบริบททางสุขภาพที่เปลี่ยนไป3.7 เลือกใช้วิธีการตรวจโดยเครื่องมือพื้นฐาน เครื่องมือพิเศษ และการตรวจทางห้องปฏิบัติการ โดยค านึงถึงความคุ้มค่าและเหมาะสม3.8 เข้าใจบทบาท คุณประโยชน์ และแนวทางการบูรณาการการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกเข้ากับระบบสุขภาพของประเทศ เพื่อเลือกใช้แนวทาง หรือส่งต่อผู้ป่วยได้อย่างเหมาะสม3.9 เข้าใจความส าคัญของการพัฒนาคุณภาพงาน ทั้งสามารถปฏิบัติได้อย่างสม่ าเสมอและต่อเนื่อง สามารถสร้างองค์ความรู้จากการปฏิบัติงานประจ าวัน และเข้าใจในระบบบริหารจัดการความรู้3.10 สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ด้านสุนทรียศาสตร์ ชีวิตและความตาย วัฒนธรรม สังคมกฎหมาย เศรษฐศาสตร์ และสิ่งแวดล้อมของชุมชน เพื่อเชื่อมโยงกับการบริบาลสุขภาพอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล4. ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ4.1 สามารถปรับตัวเชิงวิชาชีพ และมีปฏิสัมพันธ์อย่างสร้างสรรค์กับผู้อื่น4.2 สามารถท างานเป็นทีมในบทบาทผู้น าและสมาชิกในทีมดูแลรักษา ทีมสุขภาพ และทีมในชุมชนของระบบบริการสาธารณสุข ในบริบทหรือสถานการณ์ที่แตกต่างกัน4.3 มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ต่อสังคม และรับผิดชอบในการพัฒนาวิชาชีพ องค์กรและสังคม4.4 สามารถส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน/ชุมชนให้มีบทบาทในการดูแล สร้างเสริมสุขภาพ และตอบสนองต่อความต้องการของชุมชนอย่างเหมาะสม


5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ5.1 สามารถประยุกต์ใช้หลักตรรกะ คณิตศาสตร์ และสถิติทางการแพทย์ได้อย่างเหมาะสม5.2 สามารถสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพทั้งการพูด การฟัง การอ่าน การเขียน การน าเสนอ และอวัจนภาษาหรือภาษาท่าทาง(non-verbal communication) รวมทั้งสามารถอ่านต ารา และวารสารภาษาอังกฤษได้อย่างเข้าใจ5.3 สามารถขอความยินยอมในการรักษาพยาบาลจากผู้ป่วย รวมทั้งสร้างความมั่นใจเรื่องการคงความลับของผู้ป่วย5.4 มีทักษะการสื่อสารในสถานการณ์เฉพาะ ได้แก่ การแจ้งข่าวร้าย การจัดการเมื่อเกิดข้อผิดพลาด โน้มน้าว ไกล่เกลี่ย และเจรจาต่อรอง5.5 มีทักษะในการรับฟังปัญหา เข้าใจถึงความรู้สึกและความวิตกกังวลของผู้ป่วยและญาติ อีกทั้งสามารถตอบค าถาม อธิบาย ให้ค าปรึกษา และค าแนะน า โดยเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วมอย่างเหมาะสม5.6 สามารถค้นคว้าหาข้อมูลจากแหล่งต่างๆ โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ รวมทั้งมีวิจารณญาณในการประเมินข้อมูล ด้วยหลักการของวิทยาการระบาดคลินิก และเวชศาสตร์เชิงประจักษ์5.7 มีทักษะในการรับข้อมูลอย่างมีวิจารณญาณ และแปลงข้อมูลให้เป็นสารสนเทศที่มีคุณภาพรวมทั้งสามารถอ่าน วิเคราะห์ และถ่ายทอดข้อมูลข่าวสารแก่ผู้อื่นได้อย่างเข้าใจ5.8 สามารถเลือกและใช้รูปแบบการน าเสนอสารสนเทศ ตลอดจนใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพและเหมาะสมกับสถานการณ์5.9 สามารถบันทึกเอกสารทางการแพทย์อย่างเป็นระบบ ถูกต้อง และต่อเนื่อง โดยอาศัยแนวทางมาตรฐานสากล5.10 มีทักษะในการถ่ายทอดความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ แก่ผู้เกี่ยวข้อง6. ทักษะพิสัย6.1 มีความสามารถในการสังเกตอากัปกิริยา ท่าทีของผู้ป่วยและญาติ6.2 มีความสามารถในการซักประวัติและตรวจ<strong>ร่าง</strong>กายผู้ป่วยได้อย่างครอบคลุมและเหมาะสม6.3 มีความสามารถในการตรวจและแปลผลโดยเครื่องมือพื้นฐาน และการตรวจทางห้องปฏิบัติการที่จ าเป็นได้ โดยค านึงถึงความคุ้มค่าและเหมาะสม6.4 มีทักษะในการให้การดูแลรักษา และท าหัตถการที่จ าเป็น (ตามเกณฑ์มาตรฐานผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม แพทยสภา)


7. เอกลักษณ์ของสถาบันและคุณลักษณะบัณฑิต7.1 ด้านเวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน7.1.1มีความรู้ด้านเวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน และศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง7.1.2 สามารถวางแผนและแสวงหาวิธีการสร้างและพัฒนาความรู้ ทักษะ เจตคติ และพฤติกรรมที่เหมาะสม7.1.3 สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ เลือกใช้วิธีการแก้ไขปัญหาอย่างมีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับสถานการณ์และบริบททางสุขภาพของครอบครัวและชุมชน7.1.4 เข้าใจถึงระบบสุขภาพของประเทศ เพื่อเลือกใช้แนวทางการดูแลครอบครัวและชุมชนได้อย่างเหมาะสม7.1.5 มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ และต่อสังคม7.2 ด้านเวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน7.2.1 มีความรู้ด้านอาชีวเวชศาสตร์ และศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง7.2.2 สามารถวางแผนและแสวงหาวิธีการสร้างและพัฒนาความรู้ ทักษะ เจตคติ และพฤติกรรมที่เหมาะสม7.2.3 สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ เลือกใช้วิธีการแก้ไขปัญหาด้านอาชีวเวชศาสตร์อย่างมีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับสถานการณ์และบริบทขององค์กร7.2.4 เข้าใจถึงระบบสุขภาพ กฎหมายเกี่ยวกับอาชีวเวชศาสตร์ เพื่อเลือกใช้แนวทางการดูแลเกี่ยวกับด้านอาชีวเวชศาสตร์ได้อย่างเหมาะสม7.2.5 มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ และต่อสังคม


แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบผลการเรียนรู้สู่รายวิชา (Curriculum Mapping)●ความรับผิดชอบหลัก ○ความรับผิดชอบรองหมวดวิชาเฉพาะ กลุ่มวิชาพื้นฐานวิชาชีพรายวิชา 1. คุณธรรมจริยธรรม 2. ความรู้1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 1.7 1.8 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 2.6 2.7 2.8 2.9 2.10302114 แคลคูลัสส าหรับวิทยาศาสตร์สุขภาพ ● ● ● ●303105 เคมีทั่วไปส าหรับแพทย์ ○ ● ●303106 ปฏิบัติการเคมีทั่วไปส าหรับแพทย์ ● ●303227 เคมีอินทรีย์ส าหรับแพทย์ ○ ● ●303221 ปฏิบัติการเคมีอินทรีย์ ● ●306103 ชีววิทยาส าหรับแพทยศาสตร์ ● ● ● ○306104 ปฏิบัติการชีววิทยาส าหรับแพทยศาสตร์ ● ● ● ○308108 ฟิสิกส์ทางการแพทย์ ○ ● ○308109 ปฏิบัติการฟิสิกส์ทางการแพทย์ ○ ● ○316203 ชีวเคมีการแพทย์พื้นฐาน ○ ● ● ○ ○680203 พัฒนาการกายวิภาคศาสตร์ ● ●680205 จุลกายวิภาคศาสตร์ ● ●680201 มหกายวิภาคศาสตร์เชิงระบบ 1 ● ●


รายวิชา 1. คุณธรรมจริยธรรม 2. ความรู้1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 1.7 1.8 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 2.6 2.7 2.8 2.9 2.10680202 มหกายวิภาคศาสตร์เชิงระบบ 2 ● ●680215 สรีรวิทยาทางการแพทย์1 ● ●680216 สรีรวิทยาทางการแพทย์2 ● ●680204 ประสาทชีววิทยา ● ●680295 เซลล์และชีววิทยาเชิงโมเลกุลของเซลล์ ● ●680321 พันธุศาสตร์มนุษย์และพันธุวิศวกรรม ● ● ●792334 เภสัชวิทยาทางการแพทย์ 1 ● ● ●792335 เภสัชวิทยาทางการแพทย์2 ● ● ●680341 พยาธิวิทยาทั่วไป ● ● ○ ● ● ○ ○ ○ ●680342 พยาธิวิทยาระบบ ● ● ○ ● ● ○ ○ ○ ●680331 ปรสิตวิทยา ● ● ●680326 จุลชีววิทยาทางคลินิก ● ●680323 วิทยาภูมิคุ้มกันทางการแพทย์ ● ●584301 พยาธิวิทยาคลินิก ● ● ○


รายวิชา 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และความรับผิดชอบ3.1 3.2 3.3 3.4 3.5 3.6 3.7 3.8 3.9 3.10 4.1 4.2 4.3 4.4302114 แคลคูลัสส าหรับวิทยาศาสตร์สุขภาพ ● ○303105 เคมีทั่วไปส าหรับแพทย์ ○ ● ○ ○303106 ปฏิบัติการเคมีทั่วไปส าหรับแพทย์ ○ ● ○ ○ ○303227 เคมีอินทรีย์ส าหรับแพทย์ ○ ● ○ ○303221ปฏิบัติการเคมีอินทรีย์ ○ ● ○ ○ ○306103ชีววิทยาส าหรับแพทยศาสตร์ ○ ○ ●306104ปฏิบัติการชีววิทยาส าหรับแพทยศาสตร์ ○ ○ ●308108 ฟิสิกส์ทางการแพทย์ ○ ○ ● ● ○ ○308109 ปฏิบัติการฟิสิกส์ทางการแพทย์ ○ ○ ● ● ○ ○316203 ชีวเคมีการแพทย์พื้นฐาน ● ○ ● ○ ●680203 พัฒนาการกายวิภาคศาสตร์ ○680205 จุลกายวิภาคศาสตร์680201 มหกายวิภาคศาสตร์เชิงระบบ 1 ○680202 มหกายวิภาคศาสตร์เชิงระบบ 2 ○


รายวิชา 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และความรับผิดชอบ3.1 3.2 3.3 3.4 3.5 3.6 3.7 3.8 3.9 3.10 4.1 4.2 4.3 4.4680215 สรีรวิทยาทางการแพทย์1 ○ ● ● ○680216 สรีรวิทยาทางการแพทย์2 ○ ● ● ○680204 ประสาทชีววิทยา ○680295 เซลล์และชีววิทยาเชิงโมเลกุลของเซลล์ ○680321 พันธุศาสตร์มนุษย์และพันธุวิศวกรรม ●792334 เภสัชวิทยาทางการแพทย์ 1 ● ○ ○792335 เภสัชวิทยาทางการแพทย์2 ● ○ ○680341 พยาธิวิทยาทั่วไป ● ● ○ ● ● ●680342 พยาธิวิทยาระบบ ● ● ○ ● ● ●680331 ปรสิตวิทยา ● ○680326 จุลชีววิทยาทางคลินิก ● ○680323 วิทยาภูมิคุ้มกันทางการแพทย์ ● ○584301 พยาธิวิทยาคลินิก ○ ● ○


รายวิชา 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และเทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย5.1 5.2 5.3 5.4 5.5 5.6 5.7 5.8 5.9 5.10 6.1 6.2 6.3 6.4302114 แคลคูลัสส าหรับวิทยาศาสตร์สุขภาพ ○303105 เคมีทั่วไปส าหรับแพทย์ ○ ○303106 ปฏิบัติการเคมีทั่วไปส าหรับแพทย์ ○ ○303227 เคมีอินทรีย์ส าหรับแพทย์ ○ ○303221 ปฏิบัติการเคมีอินทรีย์ ○ ○306103 ชีววิทยาส าหรับแพทยศาสตร์ ○ ○306104 ปฏิบัติการชีววิทยาส าหรับแพทยศาสตร์ ○ ○308108 ฟิสิกส์ทางการแพทย์ ● ○ ○ ○ ●308109 ปฏิบัติการฟิสิกส์ทางการแพทย์ ● ○ ○ ○ ●316203 ชีวเคมีการแพทย์พื้นฐาน ○ ○680203 พัฒนาการกายวิภาคศาสตร์ ○ ○680205 จุลกายวิภาคศาสตร์680201 มหกายวิภาคศาสตร์เชิงระบบ 1 ○ ○680202 มหกายวิภาคศาสตร์เชิงระบบ 2 ○ ○680215 สรีรวิทยาทางการแพทย์1 ○ ○


รายวิชา 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และเทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย5.1 5.2 5.3 5.4 5.5 5.6 5.7 5.8 5.9 5.10 6.1 6.2 6.3 6.4680216 สรีรวิทยาทางการแพทย์2 ○ ○680204 ประสาทชีววิทยา ○ ○680295 เซลล์และชีววิทยาเชิงโมเลกุลของเซลล์ ○ ○680321 พันธุศาสตร์มนุษย์และพันธุวิศวกรรม ● ● ○792334 เภสัชวิทยาทางการแพทย์ 1 ○ ○ ○792335 เภสัชวิทยาทางการแพทย์2 ○ ○ ○680341 พยาธิวิทยาทั่วไป ● ● ● ○680342 พยาธิวิทยาระบบ ● ● ● ○680331 ปรสิตวิทยา ● ● ●680326 จุลชีววิทยาทางคลินิก ● ● ○680323 วิทยาภูมิคุ้มกันทางการแพทย์ ● ● ●584301 พยาธิวิทยาคลินิก ○ ○ ●


รายวิชา302114 แคลคูลัสส าหรับวิทยาศาสตร์สุขภาพ303105 เคมีทั่วไปส าหรับแพทย์303106 ปฏิบัติการเคมีทั่วไปส าหรับแพทย์303227 เคมีอินทรีย์ส าหรับแพทย์303221 ปฏิบัติการเคมีอินทรีย์306103 ชีววิทยาส าหรับแพทยศาสตร์306104 ปฏิบัติการชีววิทยาส าหรับแพทยศาสตร์308108 ฟิสิกส์ทางการแพทย์308109 ปฏิบัติการฟิสิกส์ทางการแพทย์316203 ชีวเคมีการแพทย์พื้นฐาน680203 พัฒนาการกายวิภาคศาสตร์680205 จุลกายวิภาคศาสตร์680201 มหกายวิภาคศาสตร์เชิงระบบ 1680202 มหกายวิภาคศาสตร์เชิงระบบ 2680215 สรีรวิทยาทางการแพทย์17. เอกลักษณ์ของสถาบันและคุณลักษณะบัณฑิต7.1.1 7.1.2 7.1.3 7.1.4 7.1.5 7.2.1 7.2.2 7.2.3 7.2.4 7.2.5


รายวิชา680216 สรีรวิทยาทางการแพทย์2680204 ประสาทชีววิทยา680295 เซลล์และชีววิทยาเชิงโมเลกุลของเซลล์680321 พันธุศาสตร์มนุษย์และพันธุวิศวกรรม792334 เภสัชวิทยาทางการแพทย์ 1792335 เภสัชวิทยาทางการแพทย์2680341 พยาธิวิทยาทั่วไป680342 พยาธิวิทยาระบบ680331 ปรสิตวิทยา680326 จุลชีววิทยาทางคลินิก680323 วิทยาภูมิคุ้มกันทางการแพทย์584301 พยาธิวิทยาคลินิก7. เอกลักษณ์ของสถาบันและคุณลักษณะบัณฑิต7.1.1 7.1.2 7.1.3 7.1.4 7.1.5 7.2.1 7.2.2 7.2.3 7.2.4 7.2.5


แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบผลการเรียนรู้สู่รายวิชา (Curriculum Mapping)●ความรับผิดชอบหลัก ○ความรับผิดชอบรองหมวดวิชาเฉพาะ กลุ่มวิชาชีพรายวิชา 1. คุณธรรมจริยธรรม 2. ความรู้1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 1.7 1.8 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 2.6 2.7 2.8 2.9 2.10560101 เวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน 1 ● ○ ○ ● ○ ○560202 เวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน 2 ● ○ ○ ● ○ ○560203 เวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน 3 ● ○ ○ ● ● ●560404 เวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน 4 ● ● ● ● ● ● ● ● ○ ● ● ○ ○ ○ ○ ● ○ ○560505 เวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน 5 ● ● ● ● ● ● ● ● ○ ● ● ○ ○ ○ ○ ● ○ ○560506 เวชศาสตร์ป้องกันและการสร้างเสริมสุขภาพ ● ● ● ● ● ● ● ● ○ ● ● ○ ○ ● ● ● ○ ○560507 เวชศาสตร์ผู้ป่วยนอกและการดูแลแบบประคับประคอง560608 เวชปฏิบัติเวชศาสตร์ผู้ป่วยนอกและเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ560609 การบริหารงานสาธารณสุขและงานบริการสุขภาพ● ● ● ● ● ● ● ● ○ ● ● ○ ○ ● ○ ● ○ ○● ● ● ● ● ● ● ● ○ ● ● ○ ○ ● ○ ● ○ ○● ● ● ● ● ● ● ● ○ ○ ● ○ ● ● ● ● ● ●560610 เวชปฏิบัติเวชศาสตร์ครอบครัวชุมชน ● ● ● ● ● ● ● ● ○ ● ● ○ ○ ○ ○ ● ○ ○


รายวิชา 1. คุณธรรมจริยธรรม 2. ความรู้1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 1.7 1.8 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 2.6 2.7 2.8 2.9 2.10562501 จิตเวชศาสตร์ ● ● ● ● ● ● ● ● ○ ● ○ ○ ● ○ ○ ● ○564501 อาชีวเวชศาสตร์ ● ● ● ● ● ● ● ● ○ ● ● ○ ● ○ ○ ● ○ ○570301 พื้นฐานทางคลินิกและเวชจริยศาสตร์ 1 ● ● ● ● ● ● ● ○ ○ ○ ○ ● ● ○ ○ ○ ○570602 เวชจริยศาสตร์และทักษะการสื่อสารในเวชปฏิบัติ● ● ● ● ● ● ● ● ○ ○ ● ○ ○ ○ ● ○570305 พฤติกรรมศาสตร์เบื้องต้น ● ○ ○ ○ ○ ● ○ ○ ● ○566501 เวชศาสตร์ฟื้นฟู ○ ● ○ ● ○ ○ ○ ● ○ ● ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○568501 นิติเวชศาสตร์ ● ● ● ● ● ● ● ● ○ ○ ○ ● ○ ○ ○ ○570403 บทน าทางคลินิก ● ● ● ● ● ● ● ● ○ ● ○ ● ○ ○ ○ ○572301 เวชศาสตร์เชิงประจักษ์ 1 ● ○ ● ● ○ ●572302 เวชศาสตร์เชิงประจักษ์ 2 ● ○ ● ● ○ ●572503 เวชศาสตร์เชิงประจักษ์ 3 ● ● ● ● ● ● ● ● ○ ● ● ○ ● ● ○ ○572504 วิทยาการระบาดและการวิจัยทางคลินิก ● ● ● ● ● ● ● ● ○ ● ● ○ ○ ● ○ ○574501 เวชศาสตร์ฉุกเฉิน ● ● ● ● ● ● ● ● ○ ● ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○574602 เวชปฏิบัติเวชศาสตร์ฉุกเฉิน ● ● ● ● ● ● ● ● ○ ● ○ ● ○ ● ○ ○ ○576501 วิสัญญีวิทยาพื้นฐาน ● ● ● ● ● ● ● ● ○ ● ○ ● ○ ○ ○ ○578401 รังสีวิทยาวินิจฉัย ● ● ● ● ● ● ● ● ○ ● ○ ○ ○ ○ ○ ○588601 เวชศาสตร์ทางทะเลและการเดินทางท่องเที่ยว ● ● ● ● ● ● ● ● ○ ● ● ○ ○ ○ ○ ● ○


รายวิชา 1. คุณธรรมจริยธรรม 2. ความรู้1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 1.7 1.8 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 2.6 2.7 2.8 2.9 2.10580401 อายุรศาสตร์ 1 ● ● ● ● ● ○ ○ ○ ○ ● ○ ○ ○ ○ ○ ○580402 อายุรศาสตร์ 2 ● ● ● ● ● ○ ○ ○ ○ ● ○ ○ ○ ○ ○ ○580403 อายุรศาสตร์ 3 ● ● ● ● ● ○ ○ ○ ○ ● ○ ○ ○ ○ ○ ○580504 อายุรศาสตร์ 4 ● ● ● ● ● ○ ○ ○ ○ ● ○ ○ ○ ○ ○ ○580505 อายุรศาสตร์ 5 ● ● ● ● ● ○ ○ ○ ○ ● ○ ○ ○ ○ ○ ○580606 เวชปฏิบัติ อายุรศาสตร์ 1 ● ● ● ● ● ● ● ● ○ ● ○ ○ ● ○ ○ ○580607 เวชปฏิบัติ อายุรศาสตร์ 2 ● ● ● ● ● ● ● ● ○ ● ○ ○ ● ○ ○ ○582401 กุมารเวชศาสตร์ 1 ● ● ● ● ● ● ● ● ○ ● ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○582402 กุมารเวชศาสตร์ 2 ● ● ● ● ● ● ● ● ○ ● ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○582403 กุมารเวชศาสตร์ 3 ● ● ● ● ● ● ● ● ○ ● ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○582604 เวชปฏิบัติกุมารเวชศาสตร์ 1 ● ● ● ● ● ● ● ● ○ ● ○ ○ ○ ● ○ ○ ○582605 เวชปฏิบัติกุมารเวชศาสตร์ 2 ● ● ● ● ● ● ● ● ○ ● ○ ○ ○ ● ○ ○ ○590400 ศัลยศาสตร์ 1 ● ● ● ● ● ● ● ● ○ ● ○ ○ ○ ○ ○ ○590401 ศัลยศาสตร์ 2 ● ● ● ● ● ● ● ● ○ ● ○ ○ ○ ○ ○ ○590410 ศัลยศาสตร์หัตถการ 1 ● ● ● ● ● ● ● ● ● ○ ○ ○ ○ ○ ○590502 ศัลยศาสตร์ 3 ● ● ● ● ● ● ● ● ○ ● ○ ○ ○ ○ ○ ○590511 ศัลยศาสตร์หัตถการ 2 ● ● ● ● ● ● ● ● ● ○ ○ ○ ○ ○ ○


รายวิชา 1. คุณธรรมจริยธรรม 2. ความรู้1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6 1.7 1.8 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 2.6 2.7 2.8 2.9 2.10590603 เวชปฏิบัติศัลยศาสตร์ 1 ● ● ● ● ● ● ● ● ○ ● ○ ○ ● ○ ○ ○590604 เวชปฏิบัติศัลยศาสตร์ 2 ● ● ● ● ● ● ● ● ○ ● ○ ○ ● ○ ○ ○592501 จักษุวิทยา ● ● ● ● ● ● ● ● ○ ● ○ ○ ○ ○ ○ ○592502 โสต ศอ นาสิกวิทยา ● ● ● ● ● ● ● ● ○ ● ○ ○ ○ ○ ○ ○594501 ออร์โธปิดิกส์ ● ● ● ● ● ● ● ● ○ ● ○ ○ ○ ○ ○ ○594602 เวชปฏิบัติออร์โธปิดิกส์ ● ● ● ● ● ● ● ● ○ ● ○ ○ ● ○ ○ ○596400 สูติศาสตร์ – นรีเวชวิทยา 1 ○ ● ● ● ● ○ ○ ○ ● ○ ○ ○ ○ ○ ○596401 สูติศาสตร์ – นรีเวชวิทยา 2 ○ ● ● ● ● ○ ○ ○ ● ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○596410 สูติศาสตร์ – นรีเวชวิทยาหัตถการ ● ● ● ● ● ● ● ● ● ○ ○ ○ ○ ○ ○596602 เวชปฏิบัติสูติศาสตร์ – นรีเวชวิทยา 1 ● ● ● ● ● ● ● ● ○ ● ○ ○ ● ○ ○ ○596611 เวชปฏิบัติสูติศาสตร์ – นรีเวชวิทยา 2 ● ● ● ● ● ● ● ● ○ ● ○ ○ ● ○ ○ ○


รายวิชา 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และความรับผิดชอบ3.1 3.2 3.3 3.4 3.5 3.6 3.7 3.8 3.9 3.10 4.1 4.2 4.3 4.4560101 เวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน 1 ○ ● ●560202 เวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน 2 ○ ○ ● ●560203 เวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน 3 ○ ○ ● ● ○ ●560404 เวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน 4 ○ ○ ○ ● ○ ● ● ○ ○ ● ● ○ ● ○560505 เวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน 5 ○ ○ ○ ● ○ ● ● ○ ○ ● ● ○ ● ○560506 เวชศาสตร์ป้องกันและการสร้างเสริมสุขภาพ ○ ○ ○ ● ○ ● ● ○ ○ ● ● ○ ● ○560507 เวชศาสตร์ผู้ป่วยนอกและการดูแลแบบประคับประคอง ○ ○ ○ ● ○ ● ● ○ ○ ● ● ○ ● ○560608 เวชปฏิบัติเวชศาสตร์ผู้ป่วยนอกและเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ ○ ○ ○ ● ○ ● ● ○ ○ ● ● ○ ● ○560609 การบริหารงานสาธารณสุขและงานบริการสุขภาพ ○ ○ ○ ● ○ ● ● ○ ○ ● ● ○ ● ○560610 เวชปฏิบัติเวชศาสตร์ครอบครัวชุมชน ○ ○ ○ ○ ○ ● ● ● ○ ● ● ○ ● ○562501 จิตเวชศาสตร์ ○ ○ ○ ● ○ ● ● ○ ○ ● ● ○ ● ○564501 อาชีวเวชศาสตร์ ○ ○ ○ ● ○ ● ● ○ ○ ● ● ○ ● ○570301 พื้นฐานทางคลินิกและเวชจริยศาสตร์ 1 ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○ ● ○ ○570602 เวชจริยศาสตร์และทักษะการสื่อสารในเวชปฏิบัติ ○ ○ ○ ● ○ ● ● ○ ○ ● ● ○ ● ○570305 พฤติกรรมศาสตร์เบื้องต้น ○ ○ ● ○ ○ ○ ● ● ○ ○ ○


รายวิชา 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และความรับผิดชอบ3.1 3.2 3.3 3.4 3.5 3.6 3.7 3.8 3.9 3.10 4.1 4.2 4.3 4.4566501 เวชศาสตร์ฟื้นฟู ○ ○ ○ ● ○ ○ ● ○ ○ ○ ○ ● ● ○568501 นิติเวชศาสตร์ ○ ○ ○ ● ○ ● ● ○ ○ ● ○ ○570403 บทน าทางคลินิก ○ ○ ○ ● ○ ● ● ○ ○ ● ● ●572301 เวชศาสตร์เชิงประจักษ์ 1 ○ ○ ○ ○572302 เวชศาสตร์เชิงประจักษ์ 2 ○ ○ ○572503 เวชศาสตร์เชิงประจักษ์ 3 ○ ○ ○ ● ○ ○ ● ○ ○ ● ● ○ ● ○572504 วิทยาการระบาดและการวิจัยทางคลินิก ○ ○ ○ ● ○ ● ● ○ ● ○ ● ○ ● ○574501 เวชศาสตร์ฉุกเฉิน ○ ○ ○ ● ○ ● ● ○ ○ ● ● ○ ● ○574602 เวชปฏิบัติเวชศาสตร์ฉุกเฉิน ○ ○ ○ ● ○ ● ● ○ ○ ● ● ○ ● ○576501 วิสัญญีวิทยาพื้นฐาน ○ ○ ○ ● ○ ● ● ○ ○ ● ● ○ ● ○578401 รังสีวิทยาวินิจฉัย ○ ○ ○ ● ○ ● ● ○ ○ ● ● ○ ● ○588601 เวชศาสตร์ทางทะเลและการเดินทางท่องเที่ยว ○ ○ ○ ● ○ ● ● ○ ○ ● ● ○ ● ○580401 อายุรศาสตร์ 1 ○ ○ ○ ● ○ ● ● ○ ○ ● ● ○ ● ○580402 อายุรศาสตร์ 2 ○ ○ ○ ● ○ ● ● ○ ○ ● ● ○ ● ○580403 อายุรศาสตร์ 3 ○ ○ ○ ● ○ ● ● ○ ○ ● ● ○ ● ○580504 อายุรศาสตร์ 4 ○ ○ ○ ● ○ ● ● ○ ○ ● ● ○ ● ○


รายวิชา 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และความรับผิดชอบ3.1 3.2 3.3 3.4 3.5 3.6 3.7 3.8 3.9 3.10 4.1 4.2 4.3 4.4580505 อายุรศาสตร์ 5 ○ ○ ○ ● ○ ● ● ○ ○ ● ● ○ ● ○580606 เวชปฏิบัติ อายุรศาสตร์ 1 ○ ○ ○ ● ○ ● ● ○ ○ ● ● ○ ● ○580607 เวชปฏิบัติ อายุรศาสตร์ 2 ○ ○ ○ ● ○ ● ● ○ ○ ● ● ○ ● ○582401 กุมารเวชศาสตร์ 1 ○ ○ ○ ● ○ ● ● ○ ○ ● ● ○ ● ○582402 กุมารเวชศาสตร์ 2 ○ ○ ○ ● ○ ● ● ○ ○ ● ● ○ ● ○582403 กุมารเวชศาสตร์ 3 ○ ○ ○ ● ○ ● ● ○ ○ ● ● ○ ● ○582604 เวชปฏิบัติกุมารเวชศาสตร์ 1 ○ ○ ○ ● ○ ● ● ○ ○ ● ● ○ ● ○582605 เวชปฏิบัติกุมารเวชศาสตร์ 2 ○ ○ ○ ● ○ ● ● ○ ○ ● ● ○ ● ○590400 ศัลยศาสตร์ 1 ○ ○ ○ ● ○ ● ● ○ ○ ● ● ○ ● ○590401 ศัลยศาสตร์ 2 ○ ○ ○ ● ○ ● ● ○ ○ ● ● ○ ● ○590410 ศัลยศาสตร์หัตถการ 1 ○ ○ ○ ● ○ ● ● ○ ○ ● ● ○ ● ○590502 ศัลยศาสตร์ 3 ○ ○ ○ ● ○ ● ● ○ ○ ● ● ○ ● ○590511 ศัลยศาสตร์หัตถการ 2 ○ ○ ○ ● ○ ● ● ○ ○ ● ● ○ ● ○590603 เวชปฏิบัติศัลยศาสตร์ 1 ○ ○ ○ ● ○ ● ● ○ ○ ● ● ○ ● ○590604 เวชปฏิบัติศัลยศาสตร์ 2 ○ ○ ○ ● ○ ● ● ○ ○ ● ● ○ ● ○592501 จักษุวิทยา ○ ○ ○ ● ○ ● ● ○ ○ ● ● ○ ● ○


รายวิชา 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และความรับผิดชอบ3.1 3.2 3.3 3.4 3.5 3.6 3.7 3.8 3.9 3.10 4.1 4.2 4.3 4.4592502 โสต ศอ นาสิกวิทยา ○ ○ ○ ● ○ ● ● ○ ○ ● ● ○ ● ○594501 ออร์โธปิดิกส์ ○ ○ ○ ● ○ ● ● ○ ○ ● ● ○ ● ○594602 เวชปฏิบัติออร์โธปิดิกส์ ○ ○ ○ ● ○ ● ● ○ ○ ● ● ○ ● ○596400 สูติศาสตร์ – นรีเวชวิทยา 1 ○ ○ ○ ● ○ ● ● ○ ○ ● ● ○ ● ○596401 สูติศาสตร์ – นรีเวชวิทยา 2 ○ ○ ○ ● ○ ● ● ○ ○ ● ● ○ ● ○596410 สูติศาสตร์ – นรีเวชวิทยาหัตถการ ○ ○ ○ ● ○ ● ● ○ ○ ● ● ○ ● ○596602 เวชปฏิบัติสูติศาสตร์ – นรีเวชวิทยา 1 ○ ○ ○ ● ○ ● ● ○ ○ ● ● ○ ● ○596611 เวชปฏิบัติสูติศาสตร์ – นรีเวชวิทยา 2 ○ ○ ○ ● ○ ● ● ○ ○ ● ● ○ ● ○


รายวิชา 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และเทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย5.1 5.2 5.3 5.4 5.5 5.6 5.7 5.8 5.9 5.10 6.1 6.2 6.3 6.4560101 เวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน 1 ● ○ ○560202 เวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน 2 ● ○ ○ ○560203 เวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน 3 ● ● ○ ○ ● ● ● ○560404 เวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน 4 ○ ● ○ ○ ○ ● ○ ○ ● ○ ○ ● ● ○560505 เวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน 5 ○ ● ○ ○ ○ ● ○ ○ ● ○ ○ ● ● ○560506 เวชศาสตร์ป้องกันและการสร้างเสริมสุขภาพ ○ ● ○ ○ ○ ● ○ ○ ● ○ ○ ● ● ○560507 เวชศาสตร์ผู้ป่วยนอกและการดูแลแบบประคับประคอง560608 เวชปฏิบัติเวชศาสตร์ผู้ป่วยนอกและเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ○ ● ○ ○ ○ ● ○ ○ ● ○ ○ ● ● ○○ ● ● ● ● ● ○ ○ ● ○ ● ● ● ●560609 การบริหารงานสาธารณสุขและงานบริการสุขภาพ ○ ○ ○ ○ ○ ● ○ ○ ○ ○ ○ ● ● ○560610 เวชปฏิบัติเวชศาสตร์ครอบครัวชุมชน ○ ○ ○ ○ ● ○ ● ● ● ● ● ● ● ●562501 จิตเวชศาสตร์ ○ ● ○ ○ ○ ● ○ ○ ● ○ ○ ● ● ○564501 อาชีวเวชศาสตร์ ○ ● ○ ○ ○ ● ○ ○ ● ○ ○ ● ● ○570301 พื้นฐานทางคลินิกและเวชจริยศาสตร์ ● ○ ○ ○ ○ ○ ○570602 เวชจริยศาสตร์และทักษะการสื่อสารใน ○ ● ● ○ ● ● ○ ○ ● ○ ○ ● ● ○


เวชปฏิบัติรายวิชา 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และเทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย5.1 5.2 5.3 5.4 5.5 5.6 5.7 5.8 5.9 5.10 6.1 6.2 6.3 6.4570305 พฤติกรรมศาสตร์เบื้องต้น ○ ● ○ ○ ○ ○ ○ ○ ○566501 เวชศาสตร์ฟื้นฟู ○ ● ○ ● ● ● ○ ○ ● ○ ○ ● ○ ○568501 นิติเวชศาสตร์ ○ ● ○ ○ ○ ● ○ ○ ● ○ ○ ● ● ○570403 บทน าทางคลินิก ● ○ ○ ○ ● ○ ○ ● ○ ○ ● ● ○572301 เวชศาสตร์เชิงประจักษ์ 1 ● ○ ○ ○572302 เวชศาสตร์เชิงประจักษ์ 2 ● ○ ○ ○572503 เวชศาสตร์เชิงประจักษ์ 3 ○ ● ○ ○ ○ ● ○ ○ ● ○ ○ ● ● ○572504 วิทยาการระบาดและการวิจัยทางคลินิก ○ ● ○ ○ ○ ● ○ ○ ● ○ ○ ● ● ○574501 เวชศาสตร์ฉุกเฉิน ○ ● ○ ○ ○ ● ○ ○ ● ○ ○ ● ● ○574602 เวชปฏิบัติเวชศาสตร์ฉุกเฉิน ○ ● ● ● ● ● ○ ○ ● ○ ● ● ● ●576501 วิสัญญีวิทยาพื้นฐาน ○ ● ○ ○ ○ ● ○ ○ ● ○ ○ ● ● ○578401 รังสีวิทยาวินิจฉัย ○ ● ○ ● ○ ○ ● ○ ○ ● ● ○588601 เวชศาสตร์ทางทะเลและการเดินทางท่องเที่ยว ○ ● ○ ○ ○ ● ○ ○ ● ○ ○ ● ● ○580401 อายุรศาสตร์ 1 ○ ● ○ ○ ○ ● ○ ○ ● ○ ○ ● ● ○580402 อายุรศาสตร์ 2 ○ ● ○ ○ ○ ● ○ ○ ● ○ ○ ● ● ○580403 อายุรศาสตร์ 3 ○ ● ○ ○ ○ ● ○ ○ ● ○ ○ ● ● ○


รายวิชา 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และเทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย5.1 5.2 5.3 5.4 5.5 5.6 5.7 5.8 5.9 5.10 6.1 6.2 6.3 6.4580504 อายุรศาสตร์ 4 ○ ● ○ ○ ○ ● ○ ○ ● ○ ○ ● ● ○580505 อายุรศาสตร์ 5 ○ ● ○ ○ ○ ● ○ ○ ● ○ ○ ● ● ○580606 เวชปฏิบัติ อายุรศาสตร์ 1 ○ ● ● ● ● ● ○ ○ ● ○ ○ ● ● ○580607 เวชปฏิบัติ อายุรศาสตร์ 2 ○ ● ● ● ● ● ○ ○ ● ○ ○ ● ● ○582401 กุมารเวชศาสตร์ 1 ○ ● ○ ○ ○ ● ○ ○ ● ○ ○ ● ● ○582402 กุมารเวชศาสตร์ 2 ○ ● ○ ○ ○ ● ○ ○ ● ○ ○ ● ● ○582403 กุมารเวชศาสตร์ 3 ○ ● ○ ○ ○ ● ○ ○ ● ○ ○ ● ● ○582604 เวชปฏิบัติกุมารเวชศาสตร์ 1 ○ ● ● ● ● ● ○ ○ ● ○ ● ● ● ●582605 เวชปฏิบัติกุมารเวชศาสตร์ 2 ○ ● ● ● ● ● ○ ○ ● ○ ● ● ● ●590400 ศัลยศาสตร์ 1 ○ ● ○ ○ ○ ● ○ ○ ● ○ ○ ● ● ○590401 ศัลยศาสตร์ 2 ○ ● ○ ○ ○ ● ○ ○ ● ○ ○ ● ● ○590410 ศัลยศาสตร์หัตถการ 1 ○ ● ○ ○ ○ ● ○ ○ ● ○ ○ ● ● ○590502 ศัลยศาสตร์ 3 ○ ● ○ ○ ○ ● ○ ○ ● ○ ○ ● ● ○590511 ศัลยศาสตร์หัตถการ 2 ○ ● ○ ○ ○ ● ○ ○ ● ○ ○ ● ● ○590603 เวชปฏิบัติศัลยศาสตร์ 1 ○ ● ● ● ● ● ○ ○ ● ○ ○ ● ● ○590604 เวชปฏิบัติศัลยศาสตร์ 2 ○ ● ● ● ● ● ○ ○ ● ○ ○ ● ● ○592501 จักษุวิทยา ○ ● ○ ○ ○ ● ○ ○ ● ○ ○ ● ● ○


รายวิชา 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และเทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย5.1 5.2 5.3 5.4 5.5 5.6 5.7 5.8 5.9 5.10 6.1 6.2 6.3 6.4592502 โสต ศอ นาสิกวิทยา ○ ● ○ ○ ○ ● ○ ○ ● ○ ○ ● ● ○594501 ออร์โธปิดิกส์ ○ ● ○ ○ ○ ● ○ ○ ● ○ ○ ● ● ○594602 เวชปฏิบัติออร์โธปิดิกส์ ○ ● ● ● ● ● ○ ○ ● ○ ○ ● ● ○596400 สูติศาสตร์ – นรีเวชวิทยา 1 ○ ● ○ ○ ○ ● ○ ○ ● ○ ○ ● ● ○596401 สูติศาสตร์ – นรีเวชวิทยา 2 ○ ● ○ ○ ○ ● ○ ○ ● ○ ○ ● ● ○596410 สูติศาสตร์ – นรีเวชวิทยาหัตถการ ○ ● ○ ○ ○ ● ○ ○ ● ○ ○ ● ● ○596602 เวชปฏิบัติสูติศาสตร์ – นรีเวชวิทยา 1 ○ ● ● ● ● ● ○ ○ ● ○ ○ ● ● ○596611 เวชปฏิบัติสูติศาสตร์ – นรีเวชวิทยา 2 ○ ● ● ● ● ● ○ ○ ● ○ ○ ● ● ○


รายวิชา7. เอกลักษณ์ของสถาบันและคุณลักษณะบัณฑิต7.1.1 7.1.2 7.1.3 7.1.4 7.1.5 7.2.1 7.2.2 7.2.3 7.2.4 7.2.5560101 เวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน 1 ● ○ ● ● ○ ○ ● ● ○ ○560202 เวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน 2 ● ○ ● ● ○ ○ ● ● ○ ○560203 เวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน 3 ● ○ ● ● ○ ○ ● ● ○ ○560404 เวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน 4 ● ○ ● ● ○ ○ ● ● ○ ○560505 เวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน 5 ● ○ ● ● ○ ○ ● ● ○ ○560506 เวชศาสตร์ป้องกันและการสร้างเสริมสุขภาพ ● ○560507 เวชศาสตร์ผู้ป่วยนอกและการดูแลแบบประคับประคอง ● ○560608 เวชปฏิบัติเวชศาสตร์ผู้ป่วยนอกและเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ ● ○560609 การบริหารงานสาธารณสุขและงานบริการสุขภาพ ● ○560610 เวชปฏิบัติเวชศาสตร์ครอบครัวชุมชน ● ○562501 จิตเวชศาสตร์ ○ ○564501 อาชีวเวชศาสตร์ ● ○ ○ ○ ○570301 พื้นฐานทางคลินิกและเวชจริยศาสตร์ ○570602 เวชจริยศาสตร์และทักษะการสื่อสารในเวชปฏิบัติ570305 พฤติกรรมศาสตร์เบื้องต้น ○○


รายวิชา7. เอกลักษณ์ของสถาบันและคุณลักษณะบัณฑิต7.1.1 7.1.2 7.1.3 7.1.4 7.1.5 7.2.1 7.2.2 7.2.3 7.2.4 7.2.5566501 เวชศาสตร์ฟื้นฟู ○568501 นิติเวชศาสตร์ ○570403 บทน าทางคลินิก ○ ○572301 เวชศาสตร์เชิงประจักษ์ 1572302 เวชศาสตร์เชิงประจักษ์ 2572503 เวชศาสตร์เชิงประจักษ์ 3 ○ ○572504 วิทยาการระบาดและการวิจัยทางคลินิก ○ ○574501 เวชศาสตร์ฉุกเฉิน ○ ○574602 เวชปฏิบัติเวชศาสตร์ฉุกเฉิน ○576501 วิสัญญีวิทยาพื้นฐาน ○578401 รังสีวิทยาวินิจฉัย ○588601 เวชศาสตร์ทางทะเลและการเดินทางท่องเที่ยว ○ ○580401 อายุรศาสตร์ 1 ○580402 อายุรศาสตร์ 2 ○580403 อายุรศาสตร์ 3 ○580504 อายุรศาสตร์ 4 ○580505 อายุรศาสตร์ 5 ○580606 เวชปฏิบัติ อายุรศาสตร์ 1 ○


รายวิชา7. เอกลักษณ์ของสถาบันและคุณลักษณะบัณฑิต7.1.1 7.1.2 7.1.3 7.1.4 7.1.5 7.2.1 7.2.2 7.2.3 7.2.4 7.2.5580607 เวชปฏิบัติ อายุรศาสตร์ 2 ○582401 กุมารเวชศาสตร์ 1 ○ ○582402 กุมารเวชศาสตร์ 2 ○ ○582403 กุมารเวชศาสตร์ 3 ○ ○582604 เวชปฏิบัติกุมารเวชศาสตร์ 1 ○ ○582605 เวชปฏิบัติกุมารเวชศาสตร์ 2 ○ ○590400 ศัลยศาสตร์ 1 ○590401 ศัลยศาสตร์ 2 ○590410 ศัลยศาสตร์หัตถการ 1 ○590502 ศัลยศาสตร์ 3 ○590511 ศัลยศาสตร์หัตถการ 2 ○590603 เวชปฏิบัติศัลยศาสตร์ 1 ○590604 เวชปฏิบัติศัลยศาสตร์ 2 ○592501 จักษุวิทยา ○592502 โสต ศอ นาสิกวิทยา ○594501 ออร์โธปิดิกส์ ○594602 เวชปฏิบัติออร์โธปิดิกส์ ○


รายวิชา7. เอกลักษณ์ของสถาบันและคุณลักษณะบัณฑิต7.1.1 7.1.2 7.1.3 7.1.4 7.1.5 7.2.1 7.2.2 7.2.3 7.2.4 7.2.5596400 สูติศาสตร์ – นรีเวชวิทยา 1 ○596401 สูติศาสตร์ – นรีเวชวิทยา 2 ○596410 สูติศาสตร์ – นรีเวชวิทยาหัตถการ ○596602 เวชปฏิบัติสูติศาสตร์ – นรีเวชวิทยา 1 ○596611 เวชปฏิบัติสูติศาสตร์ – นรีเวชวิทยา 2 ○


135เอกสารหมายเลข 5ค าสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณาหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานระดับอุดมศึกษา


137เอกสารหมายเลข 6ตารางเปรียบเทียบ หลักสูตรใหม่และหลักสูตรเดิม (พ.ศ. 2549)


หมวดวิชาศึกษาทั่วไป หมายเหตุหลักสูตรเดิม 30 หน่วยกิต หลักสูตรใหม่ 30 หน่วยกิต คงเดิมรหัส ชื่อวิชา หน่วยกิต รหัส ชื่อวิชา หน่วยกิตกลุ่มวิชาภาษาอังกฤษ 12 หน่วยกิต กลุ่มวิชาภาษา 9 หน่วยกิต ลดลง 3 หน่วยกิต(วิชาภาษาอังกฤษเรียน 2 รายวิชาจากภาษาอังกฤษ 1-4 ตามความสามารถ) (วิชาภาษาอังกฤษเรียน 2 รายวิชาจากภาษาอังกฤษ 1-3 ตามความสามารถ)222101 ภาษาอังกฤษ 1English I222102 ภาษาอังกฤษ 2English II222103 ภาษาอังกฤษ 3English III222104 ภาษาอังกฤษ 4English IV3(3-0-6) 999041 ภาษาอังกฤษ 1English I3(3-0-6) คงเดิม3(3-0-6) 999042 ภาษาอังกฤษ 23(3-0-6) คงเดิมEnglish II3(3-0-6) 999043 ภาษาอังกฤษ 33(3-0-6) คงเดิมEnglish III3(3-0-6) ไม่เปิดสอน222202 ภาษาอังกฤษทางด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพEnglish for Health Science3(3-0-6) 550201 ภาษาอังกฤษทางการแพทย์English for Medicine3(3-0-6) เปลี่ยนรหัสและชื่อรายวิชา222208 การอ่านเพื่องานอาชีพReading for Careers3(3-0-6) ตัดออกกลุ่มวิชาภาษาไทย กลุ่มวิชาภาษาอื่นๆ 3 หน่วยกิต คงเดิม228101 ทักษะการใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร 3(3-0-6) 228101 ทักษะการใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร 3(3-0-6) คงเดิมThai Language Skills for CommunicationThai Language Skills forCommunication139


หมวดวิชาศึกษาทั่วไปรหัส ชื่อวิชา หน่วยกิต รหัส ชื่อวิชา หน่วยกิต หมายเหตุกลุ่มวิชาทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 3 หน่วยกิต กลุ่มวิชาทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 3 หน่วยกิต คงเดิม310101 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร Informationand Communication Technology3(2-2-5) 885101 เทคโนโลยีสารสนเทศในชีวิตประจ าวันInformation Technology inDaily Life3(2-2-5) เปลี่ยนรหัส, เปลี่ยนชื่อรายวิชากลุ่มวิชาทางด้านมนุษยศาสตร์ 4 หน่วยกิต กลุ่มวิชาทางด้านมนุษยศาสตร์ 3 หน่วยกิต ลดลง 1 หน่วยกิต265109 มนุษยศาสตร์เชิงบูรณาการIntegrated Humanities2(2-0-4) 265109 มนุษยศาสตร์เชิงบูรณาการIntegrated Humanities3(3-0-6) คงเดิม601101 ศิลปะและวัฒนธรรม2(2-0-4)Art and Cultureไม่เปิดสอนกลุ่มวิชาทางด้านสังคมศาสตร์ 3 หน่วยกิต กลุ่มวิชาทางด้านสังคมศาสตร์ 3 หน่วยกิต คงเดิม215101 สังคมศาสตร์เชิงบูรณาการIntegrated Social Sciences3(3-0-6) 671101 สังคมศาสตร์เชิงบูรณาการIntegrated Social Sciences3(3-0-6) เปลี่ยนรหัสกลุ่มวิชาคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ 3 หน่วยกิต กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ 4 หน่วยกิต เพิ่มขึ้น 1 หน่วยกิต312201 สถิติเบื้องต้น3(3-0-6) ไม่เปิดสอนElementary Statistics306106 ความหลากหลายทางชีวภาพและการอนุรักษ์Biodiversity and Conservation2(2-0-4) เปิดใหม่309103 วิทยาศาสตร์ทางทะเลMarine Science1402(2-0-4) เปิดใหม่


หมวดวิชาศึกษาทั่วไปรหัส ชื่อวิชา หน่วยกิต รหัส ชื่อวิชา หน่วยกิต หมายเหตุกลุ่มวิชาเลือก ด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ 2 หน่วยกิต กลุ่มวิชาเลือก ด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ 3 หน่วยกิต เพิ่มขึ้น 1 หน่วยกิต107101 การสร้างเสริมสุขภาพแบบองค์รวม1(1-0-2) 107101 การสร้างเสริมสุขภาพแบบองค์รวม 2(2-0-4) ปรับเพิ่มหน่วยกิตHolistic Health PromotionHolistic Health Promotion851110 การออกก าลังกายเพื่อสุขภาพ1(0-2-1) ไม่เปิดสอนExercise for Health850120 ลีลาศเพื่อสุขภาพ1(0-2-1) เปิดใหม่Social Dance for Healthกลุ่มวิชาเลือก ด้านการพัฒนาทักษะและคุณภาพชีวิต 0 หน่วยกิต กลุ่มวิชาเลือกด้านการพัฒนาทักษะและคุณภาพชีวิต 2 หน่วยกิต เพิ่มขึ้น 2 หน่วยกิต107104 การพัฒนาจิตให้เกิดปัญญาMindfulness Cultivation forWisdom2(1-3-2) เปิดใหม่141


หมวดวิชาเฉพาะ / กลุ่มวิชาพื้นฐานวิชาชีพ หมายเหตุหลักสูตรเดิม 80 หน่วยกิต หลักสูตรใหม่ 81 หน่วยกิต เพิ่มขึ้น 1 หน่วยกิตรหัส ชื่อวิชา หน่วยกิต รหัส ชื่อวิชา หน่วยกิต302114 แคลคูลัสส าหรับวิทยาศาสตร์สุขภาพ 3(3-0-6) 302114 แคลคูลัสส าหรับวิทยาศาสตร์สุขภาพ 3(3-0-6) คงเดิมCalculus for Health ScienceCalculus for Health Science303105 เคมีทั่วไป3(3-0-6) 303105 เคมีทั่วไปส าหรับแพทย์3(3-0-6) คงเดิมGeneral ChemistryMedicine General Chemistry303106 ปฏิบัติการเคมีทั่วไปGeneral Chemistry Laboratory1(0-3-0) 303106 ปฏิบัติการเคมีทั่วไปส าหรับแพทย์Medical General Chemistry Laboratory1(0-3-1) ปรับจ านวนชั่วโมงการศึกษาด้วยตนเอง303220 เคมีอินทรีย์3(3-0-6) 303227 เคมีอินทรีย์ส าหรับแพทย์3(3-0-6) คงเดิมOrganic ChemistryMedical Organic Chemistry303221 ปฏิบัติการเคมีอินทรีย์Organic Chemistry Laboratory1(0-3-0) 303221 ปฏิบัติการเคมีอินทรีย์Organic Chemistry Laboratory1(0-3-1) ปรับจ านวนชั่วโมงการศึกษาด้วยตนเอง306103 ชีววิทยาทางการแพทย์3(3-0-6) 306103 ชีววิทยาส าหรับแพทยศาสตร์3(3-0-6) คงเดิมMedical BiologyMedical Biology306104 ปฏิบัติการชีววิทยาทางการแพทย์Medical Biology Laboratory1(0-3-0) 306104 ปฏิบัติการชีววิทยาส าหรับแพทยศาสตร์Medical Biology Laboratory1(0-3-1) ปรับจ านวนชั่วโมงการศึกษาด้วยตนเอง142


หมวดวิชาเฉพาะ / กลุ่มวิชาพื้นฐานวิชาชีพรหัส ชื่อวิชา หน่วยกิต รหัส ชื่อวิชา หน่วยกิต หมายเหตุ308108 ฟิสิกส์ทางการแพทย์3(3-0-6) 308108 ฟิสิกส์ทางการแพทย์3(3-0-6) คงเดิมMedical PhysicsMedical Physics308109 ปฏิบัติการฟิสิกส์ทางการแพทย์Medical Physics Laboratory1(0-3-0) 308109 ปฏิบัติการฟิสิกส์ทางการแพทย์Medical Physics Laboratory1(0-3-1) ปรับจ านวนชั่วโมงการศึกษาด้วยตนเอง316203 ชีวเคมีทางการแพทย์พื้นฐานBasic Medical Biochemistry4(3-3-6) 316203 ชีวเคมีทางการแพทย์พื้นฐานBasic Medical Biochemistry4(3-3-6) คงเดิม143


หมวดวิชาเฉพาะ/ กลุ่มวิชาพื้นฐานวิชาชีพรหัส ชื่อวิชา หน่วยกิต รหัส ชื่อวิชา หน่วยกิต หมายเหตุ317223 พัฒนาการกายวิภาคศาสตร์Developmental Anatomy3(2-3-4) 680203 พัฒนาการกายวิภาคศาสตร์Developmental Anatomy3(3-0-6) เพิ่มชั่วโมงทฤษฎีตัดชั่วโมงปฏิบัติการ317225 จุลกายวิภาคศาสตร์ของมนุษย์4(3-3-6) 680205 จุลกายวิภาคศาสตร์ของมนุษย์4(3-3-6) เปลี่ยนรหัสรายวิชาHuman MicroanatomyHuman Microanatomy317228 มหกายวิภาคศาสตร์เชิงระบบ 14(3-3-6) 680201 มหกายวิภาคศาสตร์ของมนุษย์เชิงระบบ 1 4(3-3-6) เปลี่ยนรหัสรายวิชาSystemic Gross Anatomy ISystemic Human Gross Anatomy I317229 มหกายวิภาคศาสตร์เชิงระบบ 24(3-3-6) 680202 มหกายวิภาคศาสตร์ของมนุษย์เชิงระบบ 2 4(3-3-6) เปลี่ยนรหัสรายวิชาSystemic Gross Anatomy IISystemic Human Gross Anatomy II317234 สรีรวิทยาทางการแพทย์ 14(3-3-6) 680215 สรีรวิทยาทางการแพทย์ 14(3-3-6) เปลี่ยนรหัสรายวิชาMedical Physiology IMedical Physiology I317235 สรีรวิทยาทางการแพทย์ 24(3-3-6) 680216 สรีรวิทยาทางการแพทย์ 24(3-3-6) เปลี่ยนรหัสรายวิชาMedical Physiology IIMedical Physiology II317236 ประสาทวิทยาศาสตร์Neuroscience4(3-3-6) 680204 ประสาทชีววิทยาNeurobiology4(3-3-6) เปลี่ยนรหัสรายวิชา และเปลี่ยนชื่อรายวิชา317281 เซลล์และชีววิทยาเชิงโมเลกุล3(3-0-6) 680295 เซลล์และชีววิทยาเชิงโมเลกุลของเซลล์ 3(3-0-6) เปลี่ยนรหัสรายวิชาCell and Molecular BiologyCell and Molecular Biology317329 พันธุศาสตร์มนุษย์และพันธุวิศวกรรม 2(2-0-4) 680321 พันธุศาสตร์มนุษย์และพันธุวิศวกรรม 2(2-0-4) เปลี่ยนรหัสรายวิชาHuman Genetics and Genetic EngineeringHuman Genetics and Genetic Engineering317343 เภสัชวิทยาPharmacology5(4-3-8) 792334 เภสัชวิทยาทางการแพทย์ 1Medical Pharmacology I3(2-3-4) เปลี่ยนรหัสรายวิชาและหน่วยกิต144


หมวดวิชาเฉพาะ / กลุ่มวิชาพื้นฐานวิชาชีพรหัส ชื่อวิชา หน่วยกิต รหัส ชื่อวิชา หน่วยกิต หมายเหตุ792335 เภสัชวิทยาทางการแพทย์ 2 2(1-3-2) เปิดใหม่Medical Pharmacology II317353 พยาธิวิทยาทั่วไป4(3-3-6) 680341 พยาธิวิทยาทั่วไป4(3-3-6) เปลี่ยนรหัสรายวิชาGeneral PathologyGeneral Pathology317354 พยาธิวิทยาระบบ4(3-3-6) 680342 พยาธิวิทยาระบบ4(3-3-6) เปลี่ยนรหัสรายวิชาSystematic PathologySystematic Pathology317363 ปรสิตวิทยา3(2-3-4) 680331 ปรสิตวิทยา3(2-3-4) เปลี่ยนรหัสรายวิชาParasitologyParasitology317371 จุลชีววิทยาทางการแพทย์Medical Microbiology4(3-3-6) 680326 จุลชีววิทยาทางคลินิกClinical Microbiology3(2-3-4) ภาคทฤษฎีลดลง 1 หน่วยกิตและเปลี่ยนรหัสรายวิชา317372 วิทยาภูมิคุ้มกันทางการแพทย์ 3(2-3-4) 680323 วิทยาภูมิคุ้มกันทางการแพทย์ 3(2-3-4) เปลี่ยนรหัสรายวิชาMedical ImmunologyMedical Immunology584301 พยาธิวิทยาคลินิกClinical Pathology2(1-3-2) 584301 พยาธิวิทยาคลินิกClinical Pathology4(3-3-6) ภาคทฤษฎีเพิ่มขึ้น 2 หน่วยกิต145


หมวดวิชาเฉพาะ / กลุ่มวิชาชีพหลักสูตรเดิม 145 หน่วยกิต หลักสูตรใหม่ 136 หน่วยกิต ลดลง 9 หน่วยกิตรหัส ชื่อวิชา หน่วยกิต รหัส ชื่อวิชา หน่วยกิต หมายเหตุสาขาวิชาเวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน 25 หน่วยกิต สาขาวิชาเวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน 20 หน่วยกิต ลดลง 5 หน่วยกิต560101 เวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน 1 2(1-3-2) 560101 เวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน 1 2(1-3-2) คงเดิมCommunity and Family Medicine I560202 เวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน 2Community and Family Medicine IICommunity and Family Medicine I1(0-3-0) 560202 เวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน 2Community and Family Medicine II1(0-3-1) ปรับจ านวนชั่วโมงการศึกษาด้วยตนเอง146


หมวดวิชาเฉพาะ / กลุ่มวิชาชีพรหัส ชื่อวิชา หน่วยกิต รหัส ชื่อวิชา หน่วยกิต หมายเหตุ560203 เวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน 32(1-3-2) 560203 เวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน 3 2(1-3-2) คงเดิมCommunity and Family Medicine IIICommunity and Family Medicine III560401 การแพทย์ปฐมภูมิ 1Primary Medical Care I4(2-6-4) 560404 เวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน 4Community and Family Medicine IV2(1-3-2) เปลี่ยนชื่อและรหัสรายวิชาและ ปรับลดหน่วยกิต560502 การแพทย์ปฐมภูมิ 2Primary Medical Care II4(2-6-4) 560505 เวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน 5Community and Family Medicine V3(1-6-2) เปลี่ยนชื่อและรหัสรายวิชาและ ปรับลดหน่วยกิต560503 การบริบาลสุขภาพชุมชนCommunity-oriented Primary Care4(2-6-4) 560506 เวชศาสตร์ป้องกันและการสร้างเสริมสุขภาพPreventive Medicine and HealthPromotion2(1-3-2) เปลี่ยนชื่อและรหัสรายวิชาและ ปรับลดหน่วยกิต560604 การแพทย์ปฐมภูมิ 3Primary Medical Care III560605 การแพทย์ปฐมภูมิ 4Primary Medical Care IV560606 การบริหารงานสาธารณสุขManagement in Public Health4(1-9-2) 560507 เวชศาสตร์ผู้ป่วยนอกและการดูแลแบบประคับประคองAmbulatory Medicine and Palliative Care2(0-4-2) 560608 เวชปฏิบัติผู้ป่วยนอกและเวชศาสตร์ผู้สูงอายุClerkship in Ambulatory Medicineand Geriatric Medicine2(1-3-2) 560609 การบริหารงานสาธารณสุขและงานบริการสุขภาพManagement in Public Health andHealth Services560610 เวชปฏิบัติเวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชนClerkship in Family and CommunityMedicine1472(1-3-2) เปลี่ยนชื่อและรหัสรายวิชาและ ปรับลดหน่วยกิต2(1-3-2) เปลี่ยนชื่อและรหัสรายวิชาปรับจ านวนชั่วโมงภาคทฤษฎีและปฏิบัติ2(1-3-2) เปลี่ยนชื่อและรหัสรายวิชา2(0-6-2) เปิดใหม่


หมวดวิชาเฉพาะ / กลุ่มวิชาชีพรหัส ชื่อวิชา หน่วยกิต รหัส ชื่อวิชา หน่วยกิต หมายเหตุสาขาวิชาจิตเวชศาสตร์ 5 หน่วยกิต สาขาวิชาจิตเวชศาสตร์ 4 หน่วยกิต ลดลง 1 หน่วยกิต562401 จิตเวชศาสตร์คลินิกClinical Psychiatry3(2-3-4) 562501 จิตเวชศาสตร์Psychiatry4(2-6-4) เปลี่ยนชื่อรายวิชาและเพิ่ม 1หน่วยกิต562502 จิตเวชศาสตร์ชุมชน2(1-3-2) ตัดออกCommunity Psychiatryสาขาวิชาอาชีวเวชศาสตร์ 2 หน่วยกิต สาขาวิชาอาชีวเวชศาสตร์ 2 หน่วยกิต คงเดิม564501 อาชีวเวชศาสตร์2(1-3-2) 564501 อาชีวเวชศาสตร์2(1-3-2) คงเดิมOccupational MedicineOccupational Medicineสาขาวิชาพื้นฐานทางคลินิกและเวชจริยศาสตร์ 4 หน่วยกิต สาขาวิชาพื้นฐานทางคลินิกและเวชจริย 5 หน่วย เพิ่มขึ้น 1 หน่วยกิตศาสตร์กิต570201 พื้นฐานทางคลินิกและเวชจริยศาสตร์ 1Foundations of Clinical Practice andMedical Ethics I2(1-3-2) 570301 พื้นฐานทางคลินิกและเวชจริยศาสตร์Foundations of Clinical Practice andMedical Ethics2(1-3-2) * ปรับปรุงเนื้อหาและให้เรียนในชั้นปีที่ 3* เปลี่ยนชื่อและรหัสรายวิชา570302 พื้นฐานทางคลินิกและเวชจริยศาสตร์ 2Foundations of Clinical Practice andMedical Ethics II2(1-3-2) 570602 เวชจริยศาสตร์และทักษะการสื่อสารในเวชปฏิบัติMedical Ethics and Communicationskills in Clinical Practice570305 พฤติกรรมศาสตร์เบื้องต้นIntroduction to Behavioral Science2(1-3-2) * ปรับปรุงเนื้อหาและให้เรียนในชั้นคลินิก* เปลี่ยนชื่อและรหัสรายวิชา1(1-0-2) เปิดใหม่148


หมวดวิชาเฉพาะ / กลุ่มวิชาชีพรหัส ชื่อวิชา หน่วยกิต รหัส ชื่อวิชา หน่วยกิต หมายเหตุสาขาวิชาสหสาขาทางคลินิก 25 หน่วยกิต สาขาวิชาสหสาขาทางคลินิก 25 หน่วยกิต คงเดิม566501 เวชศาสตร์ฟื้นฟู2(1-3-2) 566501 เวชศาสตร์ฟื้นฟู2(1-3-2) คงเดิมRehabilitation MedicineRehabilitation Medicine568401 นิติเวชศาสตร์ 1Forensic Medicine I1(1-0-2) 568501 นิติเวชศาสตร์Forensic Medicine3(2-3-4) เปลี่ยนชื่อและรหัสรายวิชาเพิ่มเป็น 3 หน่วยกิต568502 นิติเวชศาสตร์ 2 Forensic Medicine II 1(1-0-2) ตัดออก568603 นิติเวชศาสตร์ 3 Forensic Medicine III 2(1-3-2) ตัดออก570403 บทน าทางคลินิก4(2-6-4) 570403 บทน าทาง คลินิก4(2-6-4) คงเดิมIntroduction to ClinicIntroduction to Clinic572301 เวชศาสตร์เชิงประจักษ์ 1Evidence-based Medicine I2(1-3-2) 572301 เวชศาสตร์เชิงประจักษ์ 1Evidence-based Medicine I2(1-3-2) คงเดิม572302 เวชศาสตร์เชิงประจักษ์ 2Evidence-based Medicine II572403 เวชศาสตร์เชิงประจักษ์ 3Evidence-based Medicine III572504 เวชศาสตร์เชิงประจักษ์ 4Evidence-based Medicine IV574401 เวชศาสตร์ฉุกเฉิน 1Emergency Medicine I2(1-3-2) 572302 เวชศาสตร์เชิงประจักษ์ 2Evidence-based Medicine II2(1-3-2) 572503 เวชศาสตร์เชิงประจักษ์ 3Evidence-based Medicine III2(1-3-2) 572504 วิทยาการระบาดและการวิจัยทางคลินิกClinical Epidemiology andResearch1(0-3-0) 574501 เวชศาสตร์ฉุกเฉินEmergency Medicine1491(0-3-1) ปรับลดหน่วยกิต1(0-3-1) ลดเหลือ 1 หน่วยกิต ย้ายไปเรียนในปี 5 และเปลี่ยนรหัสรายวิชา2(1-3-2) เปลี่ยนชื่อรายวิชา2(1-3-2) * เปลี่ยนชื่อและรหัสรายวิชา* เพิ่มหน่วยกิต


หมวดวิชาเฉพาะ / กลุ่มวิชาชีพรหัส ชื่อวิชา หน่วยกิต รหัส ชื่อวิชา หน่วยกิต หมายเหตุ574502 เวชศาสตร์ฉุกเฉิน 21(0-3-0) ตัดออกEmergency Medicine II574603 เวชศาสตร์ฉุกเฉิน 3Emergency Medicine III3(1-6-2) 574602 เวชปฏิบัติเวชศาสตร์ฉุกเฉินClerkship Emergency Medicine2(0-6-2) * ลดเหลือ 2 หน่วยกิต* เปลี่ยนชื่อรายวิชา576501 วิสัญญีวิทยาพื้นฐาน2(1-3-2) 576501 วิสัญญีวิทยาพื้นฐาน2(1-3-2) คงเดิมBasic AnesthesiologyBasic Anesthesiology578401 รังสีวิทยาวินิจฉัย2(1-3-2) เปิดใหม่Diagnostic Radiology588601 เวชศาสตร์ทางทะเลและการเดินทาง 2(1-3-2) เปิดสอนใหม่เรียนในชั้นคลินิกท่องเที่ยวMarine and Travel Medicineสาขาวิชาที่ไม่มีการผ่าตัด 37 หน่วยกิต สาขาวิชาที่ไม่มีการผ่าตัด 37 หน่วยกิต คงเดิม580401 อายุรศาสตร์ 14(3-3-6) 580401 อายุรศาสตร์ 14(3-3-6) คงเดิมMedicine IMedicine I580402 อายุรศาสตร์ 2Medicine II3(1-6-2) 580402 อายุรศาสตร์ 2Medicine II3(1-6-2) คงเดิม150


หมวดวิชาเฉพาะ / กลุ่มวิชาชีพรหัส ชื่อวิชา หน่วยกิต รหัส ชื่อวิชา หน่วยกิต หมายเหตุ580403 อายุรศาสตร์ 3Medicine III3(1-6-2) 580403 อายุรศาสตร์ 3Medicine III3(1-6-2) ปรับจ านวนชั่วโมงภาคทฤษฎีและปฏิบัติ580504 อายุรศาสตร์ 4Medicine IV3(1-6-2) 580504 อายุรศาสตร์ 4Medicine IV3(2-3-4) ปรับจ านวนชั่วโมงภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ580505 อายุรศาสตร์ 52(1-3-2) 580505 อายุรศาสตร์ 53(2-3-4) เพิ่มเป็น 3 หน่วยกิตMedicine VMedicine V580606 อายุรศาสตร์ 6Medicine VI4(1-9-2) 580606 เวชปฏิบัติอายุรศาสตร์ 1Clerkship in Medicine I3(0-9-3) เปลี่ยนชื่อรายวิชาและลดเหลือ 3 หน่วยกิต580607 อายุรศาสตร์ 7Medicine VII4(1-9-2) 580607 เวชปฏิบัติอายุรศาสตร์ 2Clerkship in Medicine II3(0-9-3) เปลี่ยนชื่อรายวิชาและลดเหลือ 3 หน่วยกิต151


หมวดวิชาเฉพาะ / กลุ่มวิชาชีพรหัส ชื่อวิชา หน่วยกิต รหัส ชื่อวิชา หน่วยกิต หมายเหตุ582401 กุมารเวชศาสตร์ 14(4-0-8) 582401 กุมารเวชศาสตร์ 1 3(2-3-4) ปรับลดหน่วยกิตPediatrics IPediatrics I582402 กุมารเวชศาสตร์ 22(0-6-3) 582402 กุมารเวชศาสตร์ 2 3(2-3-4) ปรับเพิ่มหน่วยกิตPediatrics IIPediatrics II582403 กุมารเวชศาสตร์ 32(0-6-3) 582403 กุมารเวชศาสตร์ 3 3(1-6-2) ปรับเพิ่มหน่วยกิตPediatrics IIIPediatrics III582604 กุมารเวชศาสตร์ 4Pediatrics IV2(2-0-4) 582604 เวชปฏิบัติกุมารเวชศาสตร์ 1Clerkship in Pediatrics I3(0-9-3) เปลี่ยนชื่อรายวิชาและเพิ่มเป็น 3 หน่วยกิต582605 กุมารเวชศาสตร์ 5Pediatrics V4(0-12-0) 582605 เวชปฏิบัติกุมารเวชศาสตร์ 2Clerkship in Pediatrics II3(0-9-3) เปลี่ยนชื่อรายวิชาและลดเหลือ 3 หน่วยกิต152


หมวดวิชาเฉพาะ / กลุ่มวิชาชีพรหัส ชื่อวิชา หน่วยกิต รหัส ชื่อวิชา หน่วยกิต หมายเหตุสาขาวิชาที่มีการผ่าตัด 47 หน่วย สาขาวิชาที่มีการผ่าตัด 43 หน่วยกิต ลดลง 4 หน่วยกิตกิต590400 ศัลยศาสตร์ทฤษฎี4(4-0-8) 590400 ศัลยศาสตร์ 14(3-3-6) เปลี่ยนชื่อรายวิชาTheoretical SurgerySurgery I590401 ศัลยศาสตร์ปฏิบัติการ 14(0-12-0) 590401 ศัลยศาสตร์ 23(1-6-2) เปลี่ยนชื่อรายวิชาPractical Surgery ISurgery II590410 ศัลยศาสตร์หัตถการ 12(0-6-0) 590410 ศัลยศาสตร์หัตถการ 1 3(0-9-3) เพิ่มเป็น 3 หน่วยกิตOperative Surgery ISkill in Surgery I590502 ศัลยศาสตร์ปฏิบัติการ 22(0-6-0) 590502 ศัลยศาสตร์ 32(1-3-2) เปลี่ยนชื่อรายวิชาPractical Surgery IISurgery III590511 ศัลยศาสตร์หัตถการ 22(0-6-0) 590511 ศัลยศาสตร์หัตถการ 2 2(0-6-2) ปรับชั่วโมงศึกษาด้วยตนเองOperative Surgery IISkill in Surgery II590603 ศัลยศาสตร์ปฏิบัติการ 33(0-9-0) 590603 เวชปฏิบัติศัลยศาสตร์ 1 3(0-9-3) เปลี่ยนชื่อรายวิชาPractical Surgery IIIClerkship in Surgery I590604 ศัลยศาสตร์ปฏิบัติการ 43(0-9-0) 590604 เวชปฏิบัติศัลยศาสตร์ 2 3(0-9-3) เปลี่ยนชื่อรายวิชาPractical Surgery IVClerkship in Surgery II590605 ศัลยศาสตร์ปฏิบัติการ 5Practical Surgery V2(0-6-0) ตัดออก153


หมวดวิชาเฉพาะ / กลุ่มวิชาชีพรหัส ชื่อวิชา หน่วยกิต รหัส ชื่อวิชา หน่วยกิต หมายเหตุ592501 จักษุวิทยา2(1-3-2) 592501 จักษุวิทยา2(1-3-2) คงเดิมOphthalmologyOphthalmology592502 โสต ศอ นาสิก ลาริงซ์วิทยา2(1-3-2) 592502 โสต ศอ นาสิกวิทยา2(1-3-2) เปลี่ยนชื่อรายวิชาOtolaryngologyOtolaryngology594501 ออร์โธปิดิกส์ 12(1-3-2) 594501 ออร์โธปิดิกส์2(1-3-2) เปลี่ยนชื่อรายวิชาOrthopedics IOrthopedics594602 ออร์โธปิดิกส์ 2Orthopedics II2(1-3-2) 594602 เวชปฏิบัติออร์โธปิดิกส์Clerkship in Orthopedics2(0-6-2) * เปลี่ยนชื่อรายวิชา* ปรับจ านวนชั่วโมงทฤษฎีและ596500 สูติศาสตร์ – นรีเวชวิทยาทฤษฎีTheoretical Obstetrics and Gynecology596501 สูติศาสตร์ – นรีเวชวิทยาปฏิบัติการ 1Practical Obstetrics and Gynecology I596510 สูติศาสตร์ – นรีเวชวิทยาหัตถการ 1Operative Obstetrics and Gynecology I596602 สูติศาสตร์ – นรีเวชวิทยาปฏิบัติการ 2Practical Obstetrics and Gynecology II4(4-0-8) 596400 สูติศาสตร์ – นรีเวชวิทยา 1Obstetrics and Gynecology I3(0-9-0) 596401 สูติศาสตร์ – นรีเวชวิทยา 2Obstetrics and Gynecology II4(0-12-0) 596410 สูติศาสตร์ – นรีเวชวิทยาหัตถการSkills in Obstetrics andGynecology3(0-9-0) 596602 เวชปฏิบัติสูติศาสตร์ – นรีเวชวิทยา 1Clerkship in obstetrics andGynecology Iปฏิบัติ4(3-3-6) * เปลี่ยนชื่อรายวิชา* ปรับจ านวนชั่วโมงทฤษฎีและปฏิบัติ และศึกษาด้วยตนเอง3(1-6-2) * เปลี่ยนชื่อรายวิชา* ปรับจ านวนชั่วโมงทฤษฎีและปฏิบัติ และศึกษาด้วยตนเอง2(0-6-2) เปลี่ยนชื่อรายวิชาและลดเหลือ2 หน่วยกิต3(0-9-3) เปลี่ยนชื่อรายวิชา และปรับชั่วโมงศึกษาด้วยตนเอง154


หมวดวิชาเฉพาะ / กลุ่มวิชาชีพรหัส ชื่อวิชา หน่วยกิต รหัส ชื่อวิชา หน่วยกิต หมายเหตุ596611 สูติศาสตร์ – นรีเวชวิทยาหัตถการ 2Operative Obstetrics and Gynecology II3(0-9-0) 596611 เวชปฏิบัติสูติศาสตร์ – นรีเวชวิทยา 2Clerkship in obstetrics andGynecology II3(0-9-3) เปลี่ยนชื่อรายวิชา และปรับชั่วโมงศึกษาด้วยตนเอง155


หมวดวิชาเฉพาะ / กลุ่มวิชาเลือกหลักสูตรเดิม หลักสูตรใหม่ หมายเหตุรหัส ชื่อวิชา หน่วยกิต รหัส ชื่อวิชา หน่วยกิต560607 การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย4(2-6-4) 560607 การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย4(2-6-4) คงเดิมPalliative CarePalliative Care562503 ปฎิบัติการจิตเวชศาสตร์ในการบริบาลปฐมภูมิ 4(2-6-4) 562503 ปฎิบัติการจิตเวชศาสตร์ในการบริบาลปฐมภูมิ 4(2-6-4) คงเดิมPractice in Primary Care PsychiatryPractice in Primary Care Psychiatry562504 จิตเวชเด็กและวัยรุ่น4(2-6-4) 562504 จิตเวชเด็กและวัยรุ่น4(2-6-4) คงเดิมChild and Adolescent PsychiatryChild and Adolescent Psychiatry566502 เวชศาสตร์ฟื้นฟูในผู้ป่วยทางระบบประสาท 2(1-3-2) 566502 เวชศาสตร์ฟื้นฟูในผู้ป่วยทางระบบประสาท 2(1-3-2) คงเดิมRehabilitation in Neurological DisorderRehabilitation in Neurological Disorder570520 การจัดการกับความเครียดและการพัฒนาตนเอง 2(1-3-2) 570520 การจัดการกับความเครียดและการพัฒนาตนเอง 2(1-3-2) คงเดิมStress Management and Self DevelopmentStress Management and Self Development572520 ปฏิบัติการวิจัยทางคลินิก4(0-8-4) 572520 ปฏิบัติการวิจัยทางคลินิก4(0-8-4) คงเดิมPractice in Clinical ResearchPractice in Clinical Research574520 ปฏิบัติการหน่วยแพทย์ฉุกเฉินเคลื่อนทีPractice in 4(1-9-2) 574520 ปฏิบัติการหน่วยแพทย์ฉุกเฉินเคลื่อนทีPractice in 4(1-9-2) คงเดิมEmergency Medical ServicesEmergency Medical Services576520 วิสัญญีวิทยาประยุกต์ : วิสัญญีซับซ้อนApplied 2(1-3-2) 576520 วิสัญญีวิทยาประยุกต์ : วิสัญญีซับซ้อนApplied 2(1-3-2) คงเดิมAnesthesiology : Complicated AnesthesiaAnesthesiology : Complicated Anesthesia576530 วิสัญญีวิทยาประยุกต์ : การบ าบัดทางระบบหายใจApplied Anesthesiology : Respiratory Care2(1-3-2) 576530 วิสัญญีวิทยาประยุกต์ : การบ าบัดทางระบบหายใจApplied Anesthesiology : Respiratory Care2(1-3-2) คงเดิม156


หมวดวิชาเฉพาะ / กลุ่มวิชาเลือกหลักสูตรเดิม หลักสูตรใหม่ หมายเหตุรหัส ชื่อวิชา หน่วยกิต รหัส ชื่อวิชา หน่วยกิต576640 วิสัญญีวิทยาประยุกต์ : การดูแลผู้ป่วยหนักApplied Anesthesiology : Intensive Care2(1-3-2) 576640 วิสัญญีวิทยาประยุกต์ : การดูแลผู้ป่วยหนักApplied Anesthesiology :2(1-3-2) คงเดิม576550 วิสัญญีวิทยาประยุกต์ : การระงับปวดApplied Anesthesiology : PainManagement578520 รังสีวิทยาวินิจฉัยDiagnostic Radiology578530 รังสีวิทยาคลินิกClinical Radiology578540 รังสีรักษาและเวชศาสตร์นิวเคลียร์Radiotherapy and Nuclear Medicine580520 พฤฒิวิทยาGerontology580531 หทัยวิทยาCardiology580532 ประสาทวิทยาNeurologyIntensive Care2(1-3-2) 576550 วิสัญญีวิทยาประยุกต์ : การระงับปวดApplied Anesthesiology : PainManagement2(1-3-2) คงเดิม2(1-3-2) เปลี่ยนเป็นวิชาบังคับ2(0-2-4) 578530 รังสีวิทยาคลินิกClinical Radiology2(1-3-2) 578540 รังสีรักษาและเวชศาสตร์นิวเคลียร์Radiotherapy and NuclearMedicine2(1-3-2) 580520 พฤฒิวิทยาGerontology2(1-3-2) 580531 หทัยวิทยาCardiology2(1-3-2) 580532 ประสาทวิทยาNeurology2(0-6-2) คงเดิม2(1-3-2) คงเดิม2(1-3-2) คงเดิม2(1-3-2) คงเดิม2(1-3-2) คงเดิม157


หมวดวิชาเฉพาะ / กลุ่มวิชาเลือกหลักสูตรเดิม หลักสูตรใหม่ หมายเหตุรหัส ชื่อวิชา หน่วยกิต รหัส ชื่อวิชา หน่วยกิต580533 โลหิตวิทยา2(1-3-2) 580533 โลหิตวิทยา2(1-3-2) คงเดิมHematologyHematology580534 วิทยาทางเดินอาหาร2(1-3-2) 580534 วิทยาทางเดินอาหาร2(1-3-2) คงเดิมGastroenterologyGastroenterology580535 วักกวิทยา2(1-3-2) 580535 วักกวิทยา2(1-3-2) คงเดิมNephrologyNephrology580536 โรคระบบหายใจ2(1-3-2) 580536 โรคระบบหายใจ2(1-3-2) คงเดิมRespiratory DiseaseRespiratory Disease580537 วิทยาต่อมไร้ท่อ2(1-3-2) 580537 วิทยาต่อมไร้ท่อ2(1-3-2) คงเดิมEndocrinologyEndocrinology580538 โรคติดเชื้อ2(1-3-2) 580538 โรคติดเชื้อ2(1-3-2) คงเดิมInfectious DiseaseInfectious Disease580539 โรคภูมิแพ้ วิทยาภูมิคุ้มกัน และวิทยารูมาติกAllergy, Immunology andRheumatology2(1-3-2) 580539 โรคภูมิแพ้ วิทยาภูมิคุ้มกัน และวิทยารูมาติกAllergy, Immunology andRheumatology2(1-3-2) คงเดิม582520 ทารกแรกเกิดNewborn2(1-3-2) 582520 ทารกแรกเกิดNewborn2(1-3-2) คงเดิม158


หมวดวิชาเฉพาะ / กลุ่มวิชาเลือกหลักสูตรเดิม หลักสูตรใหม่ หมายเหตุรหัส ชื่อวิชา หน่วยกิต รหัส ชื่อวิชา หน่วยกิต590520 ประสบการณ์ทางคลินิกผู้ป่วยอุบัติเหตุClinical Experience in TraumaticPatient2(1-3-2) 590520 ประสบการณ์ทางคลินิกผู้ป่วยอุบัติเหตุClinicalExperience in Traumatic Patient2(1-3-2) คงเดิม590531 ประสบการณ์ทางคลินิกศัลยศาสตร์ระบบปัสสาวะClinical Experience in Urology590514 ประสบการณ์ทางคลินิกกุมารศัลยศาสตร์Clinical Experience in Pediatric Surgery590515 ประสบการณ์ทางคลินิกศัลยศาสตร์ตกแต่งClinical Experience in Plastic Surgery590516 ประสบการณ์ทางคลินิกศัลยศาสตร์หัวใจและทรวงอกClinical Experience in Cardio-thoracicSurgery590517 ประสบการณ์ทางคลินิกประสาทศัลยศาสตร์Clinical Experience in Neurosurgery592603 จักษุวิทยาประยุกต์Applied Ophthalmology592604 โสต ศอ นาสิก ลาริงซ์วิทยาประยุกต์Applied Otolaryngology2(1-3-2) 590531 ประสบการณ์ทางคลินิกศัลยศาสตร์ระบบปัสสาวะClinical Experience in Urology2(1-3-2) 590514 ประสบการณ์ทางคลินิกกุมารศัลยศาสตร์Clinical Experience in Pediatric Surgery2(1-3-2) 590515 ประสบการณ์ทางคลินิกศัลยศาสตร์ตกแต่งClinical Experience in Plastic Surgery2(1-3-2) 590516 ประสบการณ์ทางคลินิกศัลยศาสตร์หัวใจและทรวงอกClinical Experience in Cardio-thoracicSurgery2(1-3-2) 590517 ประสบการณ์ทางคลินิกประสาทศัลยศาสตร์Clinical Experience in Neurosurgery4(2-6-4) 592603 จักษุวิทยาประยุกต์Applied Ophthalmology4(2-6-4) 592604 โสต ศอ นาสิก วิทยาประยุกต์Applied Otolaryngology2(1-3-2) คงเดิม2(1-3-2) คงเดิม2(1-3-2) คงเดิม2(1-3-2) คงเดิม2(1-3-2) คงเดิม4(2-6-4) คงเดิม4(2-6-4) คงเดิม159


หมวดวิชาเฉพาะ / กลุ่มวิชาเลือกหลักสูตรเดิม หลักสูตรใหม่ หมายเหตุรหัส ชื่อวิชา หน่วยกิต รหัส ชื่อวิชา หน่วยกิต594603 ประสบการณ์ทางคลินิกออร์โธปิดิกส์Clinical Experience in Orthopedics4(2-6-4) 594603 ประสบการณ์ทางคลินิกออร์โธปิดิกส์Clinical Experience in4(2-6-4) คงเดิม596603 การตรวจวินิจฉัยด้วยคลื่นความถี่สูงทางสูติศาสตร์ - นรีเวชวิทยาUltrasonography inObstetrics and Gynecology596604 วิทยามะเร็งทางนรีเวชวิทยาOncology in GynecologyOrthopedics2(1-3-2) 596603 การตรวจวินิจฉัยด้วยคลื่นความถี่สูงทางสูติศาสตร์ - นรีเวชวิทยาUltrasonography in Obstetricsand Gynecology2(1-3-2) 596604 วิทยามะเร็งทางนรีเวชวิทยาOncology in Gynecology598601 ประสบการณ์ทางคลินิก 1Clinical Experience I598602 ประสบการณ์ทางคลินิก 2Clinical Experience II598603 ประสบการณ์ทางคลินิก 3Clinical Experience III598604 ประสบการณ์ทางคลินิก 4Clinical Experience IV2(1-3-2) คงเดิม2(1-3-2) คงเดิม1(0-3-1) เปิดใหม่2(0-6-2) เปิดใหม่3(0-9-3) เปิดใหม่4(0-12-4) เปิดใหม่160


หมวดวิชาเฉพาะ / กลุ่มวิชาเลือกหลักสูตรเดิมหลักสูตรใหม่รหัส ชื่อวิชา หน่วยกิต รหัส ชื่อวิชา หน่วยกิต หมายเหตุ228102 ศิลปะการพูดและการน าเสนอ 2(2-0-4) 228102 ศิลปะการพูดและการน าเสนอ 2(2-0-4) คงเดิมArt of SpeakingArt of Speaking265102 พุทธศาสน์2(2-0-4) 265102 พุทธศาสน์2(2-0-4) คงเดิมBuddhismBuddhism311411 อาหารและโภชนศาสตร์3(3-0-6) 311411 อาหารและโภชนศาสตร์ 3(3-0-6) คงเดิมFood and NutritionFood and Nutrition317442 พืชสมุนไพร2(2-0-4) 317442 พืชสมุนไพร2(2-0-4) คงเดิมMedicinal PlantsMedicinal Plants566520 เวชศาสตร์การกีฬาประยุกต์2(1-3-2) 566520 เวชศาสตร์การกีฬาประยุกต์ 2(1-3-2) คงเดิมApplied Sport MedicineApplied Sport Medicine651206 การแพทย์แผนไทยThai Traditional Medicine4(2-6-4) 651210 การแพทย์แผนไทยThai Traditional Medicine2(1-3-2) เปลั่ยนรหัสรายวิชาและปรับหน่วยกิต651207 การแพทย์ทางเลือก2(1-3-2) 651207 การแพทย์ทางเลือก2(1-3-2) คงเดิมAlternative MedicineAlternative Medicine651211 การแพทย์ทางเลือกและการแพทย์แผนไทยAlternative and Thai TraditionMedicine2(1-3-2) เปิดใหม่161


161เอกสารหมายเลข 7ข้อบังคับ<strong>มหาวิทยาลัยบูรพา</strong> ว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2552


(สําเนา)ขอบังคับ<strong>มหาวิทยาลัยบูรพา</strong>วาดวยการศึกษาระดับปริญญาตรีพ.ศ. ๒๕๕๒---------------------โดยที่เปนการสมควรใหมีขอบังคับวาดวยการศึกษาระดับปริญญาตรีอาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๒๑(๒) แหงพระราชบัญญัติ<strong>มหาวิทยาลัยบูรพา</strong> พ.ศ.๒๕๕๐ และมติสภา<strong>มหาวิทยาลัยบูรพา</strong> ในการประชุมครั้งที่ ๔/๒๕๕๑ วันที่ ๒๕ กรกฎาคม๒๕๕๑ จึงออกขอบังคับไวดังตอไปนี้ขอ ๑ ขอบังคับนี้เรียกวา “ขอบังคับ<strong>มหาวิทยาลัยบูรพา</strong> วาดวยการศึกษาระดับปริญญาตรีพ.ศ. ๒๕๕๒”ขอ ๒ ขอบังคับนี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศเปนตนไปขอ ๓ ในขอบังคับนี้“คณบดี” หมายความวา คณบดีของคณะที่นิสิตสังกัด“ประธานสาขาวิชา” หมายความวา ผูที่ไดรับแตงตั้งจากมหาวิทยาลัยเปนผูบริหารหลักสูตรสาขาวิชาที่นิสิตสังกัด“นิสิต” หมายความวา นิสิตระดับปริญญาตรีขอ ๔ คุณวุฒิและคุณสมบัติของผูสมัครเขาเปนนิสิตผูสมัครเขาเปนนิสิต จะตองมีคุณวุฒิ และคุณสมบัติดังตอไปนี้๔.๑ สําเร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือเทียบเทาที่มหาวิทยาลัยรับรอง หรือ๔.๒ สําเร็จการศึกษาขั้นอนุปริญญา หรือเทียบเทาที่มหาวิทยาลัยรับรอง เพื่อเขาศึกษาในขั้นปริญญาตรี ในคณะใดคณะหนึ่งของมหาวิทยาลัย ตามระเบียบหรือเงื่อนไขของคณะนั้น ๆ หรือ๔.๓ สําเร็จการศึกษาขั ้นปริญญาตรีหรือเทียบเทาที่มหาวิทยาลัยรับรอง เพื่อเขาศึกษาในขั้นปริญญาตรีในคณะใดคณะหนึ่ง ตามระเบียบหรือเงื่อนไขของคณะนั้น ๆ๔.๔ เปนผูมีความประพฤติดี ตามมาตรฐานของมหาวิทยาลัย


๔.๕ ไมเปนโรคติดตอรายแรง ซึ่งเปนโรคที่สังคมรังเกียจ หรือเปนโรคที่จะเปนอุปสรรคตอการศึกษาสําหรับคณะที่จัดการศึกษาเปนภาษาตางประเทศอาจกําหนดคุณวุฒิและคุณสมบัติของผูเปนนิสิตเพิ่มเติมจากที่กลาวขางตนได โดยใหจัดทําเปนประกาศของมหาวิทยาลัยขอ ๕ การรับผูสมัครเขาเปนนิสิตผูสมัครเขาเปนนิสิต จะตองผานการสอบคัดเลือกตามที่มหาวิทยาลัยจะกําหนดรายละเอียดและประกาศใหทราบเปนคราว ๆ ไป แตในกรณีที่มีเหตุผลความจําเปนเปนพิเศษเพื่อประโยชนของทางราชการ มหาวิทยาลัยอาจคัดเลือกบุคคลที่มีคุณสมบัติครบถวนตามขอ ๔ เขาเปนนิสิต ตามนโยบายของมหาวิทยาลัยก็ไดขอ ๖ การขึ้นทะเบียนเปนนิสิต๖.๑ ผูที่จะขึ้นทะเบียนเปนนิสิตของมหาวิทยาลัยจะตองขึ้นทะเบียนเปนนิสิตประเภทใดประเภทหนึ่งตามขอ ๗๖.๒ ผูสมัครเขาเปนนิสิตจะมีสภาพเปนนิสิตตอเมื่อไดขึ้นทะเบียนเปนนิสิตแลวรายละเอียดของการขึ้นทะเบียนเปนนิสิตนั้น ใหเปนไปตามประกาศของมหาวิทยาลัยขอ ๗ ประเภทนิสิตนิสิตมี ๒ ประเภท ดังนี้๗.๑ นิสิตภาคปกติ เปนนิสิตที่เรียนในระบบการศึกษาภาคปกติ๗.๒ นิสิตภาคพิเศษ เปนนิสิตที่เรียนในระบบการศึกษาภาคพิเศษขอ ๘ ระบบการศึกษา แบงเปน ๒ ประเภท ดังนี้๘.๑ การศึกษาภาคปกติ เปนการจัดการเรียนการสอนเต็มเวลา โดยจัดเปนระบบทวิภาค ปการศึกษาหนึ่งแบงออกเปน ๒ ภาคการศึกษา คือ ภาคตนและภาคปลาย ตามลําดับมหาวิทยาลัยอาจจัดการศึกษาในภาคฤดูรอนหรือในชวงเวลาใหเหมาะสมกับวิธีการจัดการศึกษาในขอ ๙ ก็ได๘.๒ การศึกษาภาคพิเศษ เปนการจัดการเรียนการสอนเต็มเวลาหรือบางสวน ปการศึกษาหนึ่งแบงออกเปน ๓ ภาคการศึกษา คือ ภาคฤดูรอน ภาคตน และภาคปลาย ตามลําดับ มหาวิทยาลัยอาจจัดการศึกษาในชวงเวลาใหเหมาะสมกับวิธีการจัดการศึกษาในขอ ๙ ก็ไดขอ ๙ วิธีการจัดการเรียนการสอน การจัดการเรียนการสอนในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่งหรือหลายรูปแบบ ดังนี้๙.๑ การศึกษาแบบเฉพาะบางชวงเวลา เปนการจัดการศึกษาในบางชวงเวลาของปการศึกษา หรือเปนไปตามเงื่อนไขของคณะ หรือขอตกลงตามที่มหาวิทยาลัยกําหนด


๙.๒ การศึกษาแบบทางไกล เปนการจัดการศึกษาโดยใชการสอนทางไกลผานทางไปรษณีย หรือวิทยุกระจายเสียง หรือเครือขายสารสนเทศอื่น ๆ หรือเปนไปตามเงื่อนไขของคณะหรือขอตกลงตามที่มหาวิทยาลัยกําหนด๙.๓ การศึกษาแบบชุดวิชา (Module System) เปนการจัดการเรียนการสอนเปนรายวิชาหรือกลุมรายวิชา ตามกําหนดเวลาของคณะนั้น ๆ๙.๔ การศึกษาแบบนานาชาติ เปนการจัดการศึกษาโดยความรวมมือของสถานศึกษาในประเทศ หรือตางประเทศ หรือเปนหลักสูตรของมหาวิทยาลัยที่มีการจัดการ และมาตรฐานเชนเดียวกับหลักสูตรนานาชาติขอ ๑๐ “หนวยกิต” หมายถึง มาตราที่ใชแสดงปริมาณการศึกษาที่นิสิตไดรับ แตละรายวิชาจะมีจํานวนหนวยกิตกําหนดไว๑๐.๑ รายวิชาใดที่ใชเวลาเรียนสัปดาหละ ๑ หนวยชั่วโมง หรือไมนอยกวา ๑๕ หนวยชั่วโมง ในหนึ่งภาคเรียน ใหนับเปน ๑ หนวยกิต๑๐.๒ รายวิชาใดที่ใชเวลาปฏิบัติการสัปดาหละ ๒ ถึง ๓ หนวยชั่วโมง หรือไมนอยกวา๓๐-๔๕ หนวยชั่วโมง ในหนึ่งภาคเรียน ใหนับเปน ๑ หนวยกิต๑๐.๓ รายวิชาใดที่ใชเวลาฝกงานสัปดาหละ ๓ ถึง ๖ หนวยชั่วโมง หรือไมนอยกวา๔๕-๙๐ หนวยชั่วโมง ในหนึ่งภาคเรียน ใหนับเปน ๑ หนวยกิตขอ ๑๑ การลงทะเบียนเรียน๑๑.๑ กําหนดวัน เวลา และวิธีการลงทะเบียนเรียนในแตละภาคเรียนใหเปนไปตามประกาศของมหาวิทยาลัย๑๑.๒ นิสิตที่ไมไดลงทะเบียนเรียนโดยสมบูรณในภาคเรียนใดภายในกําหนดวันตามประกาศของมหาวิทยาลัย จะไมมีสิทธิเรียนในภาคเรียนนั้น๑๑.๓ นิสิตตองไดรับความเห็นชอบจากอาจารยที่ปรึกษาในการเลือกเรียนรายวิชาใด ๆ ในแตละภาคการศึกษา กอนการลงทะเบียนเรียน ถารายวิชาใดบังคับวาตองเรียนรายวิชาอื่นกอน นิสิตตองเรียนรายวิชานั้นแลว หรือไดรับอนุมัติจากหัวหนาภาควิชาหรือประธานสาขาวิชาที่รายวิชานั้นสังกัด จึงจะมีสิทธิลงทะเบียนเรียนรายวิชาดังกลาวได๑๑.๔ ในแตละภาคการศึกษา กรณีที่นิสิตมีความจําเปนตองลงทะเบียนเรียนขามประเภทนิสิต ตามขอ ๗ ใหเปนไปตามประกาศมหาวิทยาลัย๑๑.๕ การลงทะเบียนเรียนจะสมบูรณ ตอเมื่อไดชําระคาบํารุงและคาธรรมเนียมตาง ๆ ของมหาวิทยาลัยเรียบรอยแลว นิสิตผูใดชําระคาบํารุงและคาธรรมเนียมตาง ๆ ภายหลังวันที่มหาวิทยาลัยกําหนด จะตองถูกปรับตามระเบียบ<strong>มหาวิทยาลัยบูรพา</strong>วาดวยการเก็บเงินคาบํารุงและคาธรรมเนียมการศึกษา


๑๑.๖ จํานวนหนวยกิต แตละภาคการศึกษา๑๑.๖.๑ ในแตละภาคการศึกษา นิสิตภาคปกติตองลงทะเบียนเรียนไมตํ่ากวา๙ หนวยกิต และไมเกิน ๒๑ หนวยกิต สําหรับนิสิตภาคพิเศษใหลงทะเบียนเรียนไมเกิน ๑๖ หนวยกิต๑๑.๖.๒ นิสิตจะลงทะเบียนเรียนนอยหรือมากกวาเกณฑที่กําหนดในขอ ๑๑.๖.๑ไดตอเมื่อไดรับอนุมัติจากคณบดี๑๑.๖.๓ นิสิตที่จะจบหลักสูตรและเหลือวิชาเรียนตามหลักสูตรมีจํานวนหนวยกิตตํ่ากวาเกณฑที่กําหนดไวใน ขอ ๑๑.๖.๑ ใหลงทะเบียนเรียนเทาจํานวนหนวยกิตที่เหลือได๑๑.๖.๔ ภาคฤดูรอนลงทะเบียนเรียนไมเกิน ๑๐ หนวยกิต ทั้งนิสิตภาคปกติและนิสิตภาคพิเศษขอ ๑๒ การลงทะเบียนเรียนวิชาเปนพิเศษโดยไมนับหนวยกิต (audit)๑๒.๑ นิสิตอาจลงทะเบียนเรียนวิชาเปนพิเศษโดยไมนับหนวยกิตได โดยตองชําระคาหนวยกิตตามปกติ ทั้งนี้โดยไดรับความเห็นชอบจากอาจารยที่ปรึกษาและอาจารยผูสอน๑๒.๒ การเรียนวิชาเปนพิเศษโดยไมนับหนวยกิตนี้ไมบังคับใหนิสิตสอบ และใหบันทึกในระเบียนในชองผลการเรียนวา “ au ” เฉพาะผูที่มีเวลาเรียนไมนอยกวารอยละ ๘๐ ของเวลาเรียนทั้งหมดของรายวิชานั้นเทานั้นขอ ๑๓ การลงทะเบียนเรียนของบุคคลภายนอกมหาวิทยาลัยอาจอนุมัติใหบุคคลภายนอกใด ๆ ที่ไมใชนิสิตของมหาวิทยาลัยเขาเรียนบางวิชาที่เปดสอนในมหาวิทยาลัย โดยนับหนวยกิตหรือไมนับหนวยกิตก็ได แตผูนั้นจะตองมีคุณสมบัติและพื้นความรูตามประกาศมหาวิทยาลัย และจะตองปฏิบัติตามขอบังคับและระเบียบตางๆ เชนเดียวกับนิสิต กับตองเสียคาธรรมเนียมการศึกษาตามระเบียบ<strong>มหาวิทยาลัยบูรพา</strong> วาดวยการเก็บเงินคาบํารุงและคาธรรมเนียมการศึกษาตามระบบการศึกษาตามขอ ๘.๒ขอ ๑๔ การขอถอน ขอเพิ่ม หรือของดรายวิชาที่จะเรียน๑๔.๑ การขอถอน ขอเพิ่ม หรือ ของดรายวิชาที่จะเรียน ตองไดรับอนุมัติจากอาจารยที่ปรึกษา ในกรณีขอเพิ่มรายวิชา ตองไดรับความเห็นชอบจากอาจารยผูสอนดวย๑๔.๒ การขอถอน หรือขอเพิ่มรายวิชาที่จะเรียนตองไดรับอนุมัติภายใน ๒ สัปดาหแรกของภาคเรียน ทั้งนี้ตองเปนไปตามขอ ๑๑.๓ และ ๑๑.๖๑๔.๓ การของดเรียนบางรายวิชาหรือทุกรายวิชา ตองกระทํากอนวันเริ่มสอบไลวันแรก ไมนอยกวา ๒ สัปดาห


ขอ ๑๕ การขอถอนคืนคาลงทะเบียนเรียนรายวิชา๑๕.๑ นิสิตที่ขอถอนหรืองดเรียนรายวิชาใดเพราะมหาวิทยาลัยประกาศไมสอนรายวิชานั้นทั้งภาคเรียน มีสิทธิขอถอนคืนคาลงทะเบียนเรียนรายวิชานั้นไดเต็มจํานวน๑๕.๒ นิสิตที่ขอถอนรายวิชาใดภายใน ๒ สัปดาหแรกของภาคเรียน มีสิทธิขอถอนคืนคาลงทะเบียนเรียนรายวิชานั้นไดเต็มจํานวน๑๕.๓ นิสิตที่ของดเรียนรายวิชาภายหลังกําหนดเวลาที่ระบุไวในขอ ๑๔.๒ ไมมีสิทธิขอถอนคืนคาลงทะเบียนเรียนขอ ๑๖ เวลาเรียน๑๖.๑ นิสิตตองใชเวลาเรียนในรายวิชาหนึ่ง ๆ ไมนอยกวารอยละ ๘๐ ของเวลาเรียนทั้งหมดของรายวิชานั้น จึงจะมีสิทธิเขาสอบในรายวิชานั้น๑๖.๒ นิสิตตองเรียนตามหลักสูตรใหสําเร็จการศึกษา ภายในกําหนดเวลา ดังนี้๑๖.๒.๑ หลักสูตรตอเนื่อง ภายในเวลา ๔ ปการศึกษา สําหรับนิสิตภาคปกติและภายใน ๖ ปการศึกษา สําหรับนิสิตภาคพิเศษ๑๖.๒.๒ หลักสูตร ๔ ป ภายในเวลา ๘ ปการศึกษา สําหรับนิสิตภาคปกติและภายใน ๑๒ ปการศึกษา สําหรับนิสิตภาคพิเศษ๑๖.๒.๓ หลักสูตร ๕ ป ภายในเวลา ๑๐ ปการศึกษา สําหรับนิสิตภาคปกติและภายใน ๑๕ ปการศึกษา สําหรับนิสิตภาคพิเศษ๑๖.๒.๔ หลักสูตร ๖ ป ภายในเวลา ๑๒ ปการศึกษา สําหรับนิสิตภาคปกติและภายใน ๑๘ ปการศึกษา สําหรับนิสิตภาคพิเศษขอ ๑๗ ระบบการใหคะแนน๑๗.๑ ระบบการใหคะแนนเปนแบบมีคาระดับขั้นระบบการใหคะแนนของแตละรายวิชาใหกระทําเปนแบบมีคาระดับขั้น ซึ่งมีความหมายและมีคาระดับขั้นดังนี้ระดับขั้น ความหมาย คาระดับขั้นA ดีเยี่ยม ๔.๐B+ ดีมาก ๓.๕B ดี ๓.๐C+ คอนขางดี ๒.๕C พอใช ๒.๐D+ ออน ๑.๕D ออนมาก ๑.๐F ตก ๐


๑๗.๒ ระบบการใหคะแนนเปนแบบไมมีคาระดับขั้นระบบการใหคะแนนของแตละรายวิชาอาจแสดงไดดวยสัญลักษณตาง ๆที่ไมมีคาระดับขั้น แตมีความหมาย ดังนี้สัญลักษณ ความหมายSผลการศึกษาผานตามเกณฑ (Satisfactory)Uผลการศึกษาไมผานตามเกณฑ (Unsatisfactory)Iการประเมินผลยังไมสมบูรณ (Incomplete)Wงดเรียนโดยไดรับอนุมัติ (Withdrawn)auการศึกษาโดยไมนับหนวยกิต (audit)๑๗.๓ การให F ใหกระทําไดในกรณีตอไปนี้ดวย๑๗.๓.๑ นิสิตขาดสอบโดยไมไดรับอนุมัติจากคณบดี๑๗.๓.๒ นิสิตใชเวลาเรียนไมครบตามเกณฑในขอ ๑๖.๑๑๗.๓.๓ นิสิตทุจริตในการสอบ๑๗.๔ การให S หรือ U ในแตละรายวิชาใหเปนไปตามที่กําหนดไวในหลักสูตรแตละสาขาวิชา๑๗.๕ การให I ในรายวิชาใดจะกระทําไดในกรณีตอไปนี้๑๗.๕.๑ นิสิตใชเวลาเรียนครบตามเกณฑในขอ ๑๖.๑ แตไมไดสอบ เพราะปวยหรือเหตุสุดวิสัย และไดรับอนุมัติจากคณบดี๑๗.๕.๒ อาจารยผูสอน หัวหนาภาควิชาหรือประธานสาขาวิชาและคณบดีเห็นสมควรใหรอผลการศึกษา เพราะนิสิตยังปฏิบัติงานซึ่งเปนสวนประกอบการศึกษารายวิชานั้นยังไมสมบูรณ โดยมิใชเปนความผิดของนิสิต๑๗.๕.๓ นิสิตที่ไดรับการใหคะแนนระดับขั้น I จะตองดําเนินการขอประเมินผลเพื่อแกระดับขั้น I ใหเสร็จสิ้น เพื่อใหอาจารยผูสอนรายงานผลการเรียนไดภายในภาคเรียนถัดไปที่นิสิตมีสิทธิลงทะเบียนเรียน หากพนกําหนดดังกลาว มหาวิทยาลัยจะเปลี่ยนระดับขั้น Iเปน F โดยอัตโนมัติ๑๗.๖ การให W ในรายวิชาใด จะกระทําไดในกรณีตอไปนี้๑๗.๖.๑ นิสิตไดรับอนุมัติใหงดเรียนในรายวิชานั้นตามขอ ๑๔.๓๑๗.๖.๒ นิสิตไดรับอนุญาตใหลาพักการเรียนตามขอ ๒๑.๒๑๗.๖.๓ นิสิตถูกสั่งพักการเรียนในภาคเรียนนั้น๑๗.๖.๔ นิสิตที่ไดรับอนุมัติจากคณบดีใหเปลี่ยนจากระดับขั้น I ที่นิสิตไดรับตามขอ ๑๗.๕.๑ และครบกําหนดเวลาของการเปลี ่ยนระดับขั้น I แลวแตการปวยหรือเหตุสุดวิสัยยังไมสิ้นสุด โดยไดรับอนุมัติจากคณบดี


๑๗.๗ การนับจํานวนหนวยกิตเพื่อใชในการคํานวณหาคาระดับขั้นเฉลี่ย ใหนับจากรายวิชาที่มีระบบการใหคะแนนแบบมีคาระดับขั้น ในกรณีที่นิสิตลงทะเบียนเรียนซํ้าในรายวิชาใด ๆ ใหนําคาระดับขั้นที่ได ไปใชในการคํานวณหาคาระดับขั้นเฉลี่ยแทนรายวิชาที่เรียนซํ้า๑๗.๘ การนับจํานวนหนวยกิตสะสมของนิสิตเพื่อใหครบหลักสูตร ใหนับเฉพาะหนวยกิตของรายวิชาที่สอบไดเทานั้น๑๗.๙ คาระดับขั้นเฉลี่ยเฉพาะรายภาคเรียน ใหคํานวณจากผลการเรียนของนิสิตในภาคเรียนนั้น โดยนําผลรวมของผลคูณของจํานวนหนวยกิตกับคาระดับขั้นของแตละรายวิชาเปนตัวตั้ง หารดวยจํานวนหนวยกิตรวมของรายวิชาที่มีคาระดับขั้นของภาคเรียนนั้น๑๗.๑๐ คาระดับขั้นเฉลี่ยสะสม ใหคํานวณจากผลการเรียนของนิสิตตั้งแตเริ่มเขาเรียนจนถึงภาคเรียนสุดทายที่นิสิตลงทะเบียนเรียน โดยนําผลรวมของผลคูณของจํานวนหนวยกิตกับคาระดับขั้นของแตละรายวิชาที่เรียนทั้งหมดตามขอ ๑๗.๗ เปนตัวตั้ง หารดวยจํานวนหนวยกิตรวมของรายวิชาที่มีคาระดับขั้น๑๗.๑๑ เมื่อมีการประเมินผลเพื่อแกระดับขั้น I แลว ใหนํามาประมวลผลใหมอีกครั้งหนึ่งขอ ๑๘ การเรียนซ้ําหรือเรียนแทน๑๘.๑ รายวิชาใดที่นิสิตสอบได D+ หรือ D นิสิตจะลงทะเบียนเรียนซํ้าไดตอเมื่อไดรับอนุมัติจากคณบดีที่รายวิชานั้นสังกัด๑๘.๒ นิสิตที่ไดรับ F หรือ U ในรายวิชาบังคับ จะตองลงทะเบียนเรียนรายวิชานั้นซํ้าอีก จนกวาจะไดรับ A B+ B C+ C D+ D หรือ S๑๘.๓ นิสิตที่ไดรับ F หรือ U ในรายวิชาเลือก สามารถจะลงทะเบียนเรียนรายวิชาอื่นๆแทนได แตตองอยูในกลุมวิชาเดียวกัน ทั้งนี้หากเรียนครบหลักสูตรแลวจะไมเลือกรายวิชาเรียนแทนก็ไดขอ ๑๙ การจําแนกสภาพนิสิต๑๙.๑ การจําแนกสภาพนิสิต จะกระทําเมื่อสิ้นภาคเรียนแตละภาค ทั้งนี้ยกเวนนิสิตที่เขาศึกษาเปนปแรก การจําแนกสภาพนิสิตจะกระทําเมื่อเรียนครบสองภาคเรียนนับแตเริ่มเขาศึกษา๑๙.๒ สภาพนิสิตมี ๔ สภาพ คือ สภาพสมบูรณ สภาพรอพินิจ สภาพทดลองเรียนและสภาพอาคันตุกะ ดังนี้๑๙.๒.๑ นิสิตสภาพสมบูรณ ไดแก นิสิตที่ลงทะเบียนเรียนเปนปแรก หรือนิสิตที่สอบไดคาระดับขั้นเฉลี่ยสะสมไมตํ่ากวา ๒.๐๐๑๙.๒.๒ นิสิตสภาพรอพินิจ ไดแก นิสิตที่สอบไดคาระดับขั้นเฉลี่ยสะสมตั้งแต ๑.๗๕ ถึง ๑.๙๙


๑๙.๒.๓ นิสิตสภาพทดลองเรียน ไดแก นิสิตที่มหาวิทยาลัยรับเขาเรียน โดยมีเงื่อนไขตามประกาศของมหาวิทยาลัย๑๙.๒.๔ นิสิตสภาพอาคันตุกะ ไดแก นิสิตจากสถาบันอื่นที่มาลงทะเบียนเรียนบางรายวิชาที่มหาวิทยาลัย๑๙.๓ นิสิตภาคปกติที่ไดรับอนุญาตใหเรียนในภาคฤดูรอน ใหนําผลการเรียนในภาคฤดูรอนไปรวมกับผลการเรียนในภาคเรียนถัดไปที่นิสิตลงทะเบียนเรียน เพื่อการจําแนกสภาพนิสิตในกรณีที่นิสิตอยูในสภาพรอพินิจ ใหนายทะเบียนแจงใหนิสิตและอาจารยที่ปรึกษาของนิสิตผูนั้นทราบโดยเร็วที่สุดอาจสั่งใหขอ ๒๐ การทุจริตในการสอบนิสิตที่ทําการทุจริตดวยประการใด ๆ ก็ตามเกี่ยวกับการสอบทุกชนิด มหาวิทยาลัย๒๐.๑ ตกในรายวิชานั้น หรือ๒๐.๒ ตกในรายวิชานั้น และพักการเรียนในภาคเรียนถัดไป หรือ๒๐.๓ พนจากสภาพนิสิตขอ ๒๑ การลาพักการเรียน๒๑.๑ นิสิตอาจยื่นคํารองขออนุญาตลาพักการเรียนตอคณบดีไดในกรณีตอไปนี้๒๑.๑.๑ ไดรับทุนแลกเปลี่ยนนักศึกษาระหวางประเทศ หรือทุนอื่นใดซึ่งมหาวิทยาลัยเห็นสมควรสนับสนุน๒๑.๑.๒ เจ็บปวยจนตองพักรักษาตัวเปนเวลานาน เกินรอยละ ๒๐ ของเวลาเรียนทั้งหมดในภาคเรียนนั้นตามคําสั่งแพทย โดยมีใบรับรองแพทยจากสถานพยาบาลของทางราชการหรือสถานพยาบาลของเอกชนตามกฎหมายวาดวยสถานพยาบาลซึ่งเปนของเอกชน และที่กระทรวงสาธารณสุขกําหนด๒๑.๑.๓ มีความจําเปนสวนตัว โดยอาจยื่นคํารองขออนุญาตลาพักการเรียนไดเมื่อไดเรียนในมหาวิทยาลัยมาแลวอยางนอยหนึ่งภาคเรียน๒๑.๒ การลาพักการเรียน นิสิตตองยื่นคํารองตอคณบดีภายใน ๒ สัปดาห หรือตามที่คณบดีเห็นสมควร นับจากวันเปดภาคเรียนและใหคณบดีเปนผูพิจารณาอนุญาต แลวแจงใหนายทะเบียนทราบ๒๑.๓ การลาพักการเรียน ใหอนุญาตครั้งละไมเกินหนึ่งภาคเรียน ถานิสิตยังมีความจําเปนที่จะตองขอลาพักการเรียนตอไปอีกใหยื่นคํารองใหม๒๑.๔ ในกรณีที่นิสิตไดรับอนุญาตใหลาพักการเรียน ใหนับระยะเวลาที่ลาพักการเรียนรวมอยูในระยะเวลาการศึกษาดวย


๒๑.๕ ในระหวางที่ไดรับอนุญาตใหลาพักการเรียน นิสิตจะตองชําระเงินคาบํารุงมหาวิทยาลัยและคาบํารุงคณะตามระเบียบทุกภาคเรียนภายใน ๒ สัปดาห นับจากวันเปดภาคเรียน เพื่อรักษาสภาพนิสิต มิฉะนั้นจะถูกคัดชื่อออกจากมหาวิทยาลัย๒๑.๖ นิสิตที่ไดรับอนุญาตใหลาพักการเรียน เมื่อจะกลับเขาเรียนจะตองยื่นคํารองขอกลับเขาเรียนตอคณบดี และใหคณบดีแจงใหนายทะเบียนทราบขอ ๒๒ ฐานะชั้นปของนิสิต๒๒.๑ นิสิตที่มีจํานวนหนวยกิตสะสมต่ํากวา ๓๕ หนวยกิตใหเทียบฐานะเปนนิสิตชั้นปที่ ๑๒๒.๒ นิสิตที่มีจํานวนหนวยกิตสะสมตั้งแต ๓๕ หนวยกิตขึ้นไปแตไมถึง ๗๐ หนวยกิตใหเทียบฐานะเปนนิสิต ชั้นปที่ ๒๒๒.๓ นิสิตที่มีจํานวนหนวยกิตสะสมตั้งแต ๗๐ หนวยกิตขึ้นไปแตไมถึง ๑๐๐ หนวยกิตใหเทียบฐานะเปนนิสิต ชั้นปที่ ๓๒๒.๔ นิสิตที่มีจํานวนหนวยกิตสะสมตั้งแต ๑๐๐ หนวยกิตขึ้นไป ใหเทียบฐานะเปนนิสิต ชั้นปที่ ๔ ยกเวนนิสิตหลักสูตร ๕ ป และหลักสูตร ๖ ป ถามีหนวยกิตสะสม ระหวาง ๑๐๐-๑๒๙ หนวยกิต ใหเทียบชั้นปที่ ๔ ถามีหนวยกิตสะสมระหวาง ๑๓๐-๑๕๙ หนวยกิต ใหเทียบชั้นปที่ ๕ และถามีหนวยกิตสะสม ๑๖๐ หนวยกิตขึ้นไป ใหเทียบชั้นปที่ ๖ขอ ๒๓ การยายคณะ๒๓.๑ นิสิตที่จะขอยายคณะ ตองมีคุณสมบัติดังนี้๒๓.๑.๑ ไดเรียนในคณะเดิมมาแลวไมนอยกวา ๒ ภาคเรียน ทั้งนี้ไมนับภาคเรียนที่ลาพักการเรียนหรือถูกสั่งใหพักการเรียน๒๓.๑.๒ ไมเคยไดรับอนุมัติใหยายคณะมากอน๒๓.๒ ในการยื่นคํารองขอยายคณะ นิสิตตองแสดงเหตุผลประกอบ การพิจารณาอนุมัติใหอยูในดุลพินิจของคณบดีที่เกี่ยวของ และเปนไปตามระเบียบของคณะนั้น ๆ๒๓.๓ การยายคณะตองดําเนินการใหเสร็จสิ้นกอนการลงทะเบียนเรียนในภาคเรียนที่จะยายคณะ๒๓.๔ นิสิตที่ยายคณะ จะตองมีเวลาเรียนในคณะที่ยายเขามาใหมอยางนอย ๔ภาคเรียน กอนจบการศึกษา๒๓.๕ รายวิชาตาง ๆ ที่นิสิตยายคณะไดเรียนมา ถึงแมจะไมตรงกับหลักสูตรของคณะที่ยายเขาก็ตาม ใหนํามาคํานวณคาระดับขั้นเฉลี่ยสะสมดวย๒๓.๖ ระยะเวลาการศึกษา ใหนับตั้งแตเริ่มเขาเรียนในคณะเดิม


ขอ ๒๔ การเปลี่ยนสาขาวิชาและวิชาโท๒๔.๑ นิสิตซึ่งศึกษาตามหลักสูตรตอเนื่อง ๒ ป จะเปลี่ยนสาขาวิชามิได ถามีความประสงคจะเปลี่ยนสาขาวิชา ก็ใหกระทําไดโดยการสอบคัดเลือกใหม การโอนหนวยกิตใหเปนไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัย๒๔.๒ นิสิตซึ่งศึกษาตามหลักสูตร ๔ ป อาจขอเปลี่ยนสาขาวิชาภายในคณะไดเพียงครั้งเดียว ทั้งนี้โดยความเห็นชอบของหัวหนาภาควิชาหรือประธานสาขาวิชาที่เกี่ยวของและไดรับอนุมัติจากคณบดี แลวใหคณบดีแจงใหนายทะเบียนทราบขอ ๒๕ การเปลี่ยนประเภทนิสิตนิสิตสามารถเปลี่ยนประเภทได ทั้งนี้ใหเปนไปตามประกาศของมหาวิทยาลัยขอ ๒๖ การรับโอนนิสิตนักศึกษาจากสถาบันอุดมศึกษาอื่นมหาวิทยาลัยอาจพิจารณารับโอนนิสิตนักศึกษาจากสถาบันอุดมศึกษาอื่นที่มีวิทยฐานะเทียบเทามหาวิทยาลัยได ตามขอบังคับ<strong>มหาวิทยาลัยบูรพา</strong> วาดวยการยายโอนนิสิตนักศึกษาภาคปกติระดับปริญญาตรีขอ ๒๗ การเทียบโอนหนวยกิตมหาวิทยาลัยอาจพิจารณาเทียบโอนหนวยกิตไดตามประกาศของมหาวิทยาลัยขอ ๒๘ การพนจากสภาพนิสิตนิสิตตองพนจากสภาพนิสิตในกรณีตอไปนี้๒๘.๑ สําเร็จการศึกษาตามหลักสูตรและไดรับปริญญาตามขอ ๓๐๒๘.๒ ไดรับอนุมัติจากคณบดีใหลาออก๒๘.๓ ถูกคัดชื่อออกจากมหาวิทยาลัยในกรณีดังตอไปนี้๒๘.๓.๑ ไมลงทะเบียนเรียนในภาคเรียนแรกที่ขึ้นทะเบียนเปนนิสิต๒๘.๓.๒ ไมลงทะเบียนเรียนในภาคเรียนใดภาคเรียนหนึ่ง หรือการลงทะเบียนเรียนไมสมบูรณ โดยมิไดลาพักการเรียนตามขอ ๒๑๒๘.๓.๓ ขาดคุณวุฒิหรือคุณสมบัติตามขอ ๔ อยางใดอยางหนึ่ง๒๘.๓.๔ เมื่อคาระดับขั้นเฉลี่ยสะสมตํ่ากวา ๑.๗๕๒๘.๓.๕ มีระยะเวลาการศึกษาครบกําหนดตามขอ ๑๖.๒ แลวยังไมสําเร็จการศึกษา๒๘.๓.๖ เปนนิสิตสภาพรอพินิจที่มีคาระดับขั้นเฉลี่ยสะสมตํ่ากวา ๑.๘๐ เปนเวลาสองภาคเรียนที่มีการจําแนกสภาพตอเนื่องกัน และยังไมพนสภาพรอพินิจ๒๘.๓.๗ เปนนิสิตสภาพรอพินิจครบ ๔ ภาคเรียน ที่มีการจําแนกสภาพตอเนื่องกันแลวยังไมพนสภาพรอพินิจ


๒๘.๓.๘ ทําการทุจริตอยางรายแรงในการสอบ๒๘.๓.๙ มีความประพฤติเสื่อมเสียอยางรายแรงในขณะที่เปนนิสิต๒๘.๓.๑๐ ทําผิดระเบียบของมหาวิทยาลัยอยางรายแรงผูที่พนจากสภาพนิสิตเพราะถูกคัดชื่อออกจากมหาวิทยาลัยตามขอ ๒๘.๓.๒ หากประสงคขอคืนสภาพเปนนิสิตอีกใหยื่นคํารองผานอาจารยที่ปรึกษา หัวหนาภาควิชาหรือประธานสาขาวิชาและคณบดีเพื ่อพิจารณาเสนอใหอธิการบดีอนุมัติ ทั้งนี้ ผูนั้นตองชําระเงินคาบํารุงและคาธรรมเนียมการศึกษา ตามระเบียบ<strong>มหาวิทยาลัยบูรพา</strong> วาดวยการเก็บเงินคาบํารุงและคาธรรมเนียมการศึกษา เมื่อไดรับอนุมัติแลว ใหผูนั้นคืนสภาพเปนนิสิตอีกครั้งหนึ่งและคงสภาพเปนนิสิตเพียงเทาระยะเวลาตามขอ ๑๖.๒ นับตั้งแตวันขึ้นทะเบียนเปนนิสิตครั้งแรกขอ ๒๙ การขอรับปริญญา๒๙.๑ ในภาคเรียนใดที่นิสิตคาดวาจะสําเร็จการศึกษาใหยื่นคํารองขอรับปริญญาตอนายทะเบียน ภายใน ๑ เดือน นับแตวันเปดภาคเรียน๒๙.๒ นิสิตที่จะขอรับปริญญาไดตองมีเวลาเรียนที่มหาวิทยาลัย ไมนอยกวา ๕ ภาคเรียนสําหรับหลักสูตร ๕ ป ไมนอยกวา ๔ ภาคเรียนสําหรับหลักสูตร ๔ ป หรือไมนอยกวา ๒ ภาคเรียนสําหรับหลักสูตร ๒ ปขอ ๓๐ การใหปริญญามหาวิทยาลัยจะพิจารณานิสิตที่ไดยื่นความจํานงขอรับปริญญาและมีความประพฤติดี เสนอชื่อตอสภามหาวิทยาลัยเพื่ออนุมัติปริญญาบัณฑิต หรือปริญญาบัณฑิตเกียรตินิยมตามเกณฑ ดังตอไปนี้๓๐.๑ ปริญญาบัณฑิต นิสิตผูมีสิทธิไดรับปริญญาบัณฑิตตองสอบไดจํานวนหนวยกิตครบตามหลักสูตร และไดคาระดับขั้นเฉลี่ยสะสมไมนอยกวา ๒.๐๐๓๐.๒ ปริญญาบัณฑิตเกียรตินิยมอันดับสอง นิสิตผูมีสิทธิไดรับปริญญาบัณฑิตเกียรตินิยมอันดับสองตองสอบไดจํานวนหนวยกิตครบตามหลักสูตร ๔ ป หรือ ๕ ป หรือ ๖ ป ไดคาระดับขั้นเฉลี่ยสะสมตั้งแต ๓.๒๕ ขึ้นไป และไมเคยสอบได D+ D F หรือ U ในรายวิชาใด๓๐.๓ ปริญญาบัณฑิตเกียรตินิยมอันดับหนึ่ง นิสิตผูมีสิทธิไดรับปริญญาบัณฑิตเกียรตินิยมอันดับหนึ่ง ตองสอบไดจํานวนหนวยกิตครบตามหลักสูตร ๔ ป หรือ ๕ ป หรือ ๖ ป ไดคาระดับขั้นเฉลี่ยสะสมตั้งแต ๓.๖๐ ขึ้นไป และไมเคยสอบได D+ D F หรือ U ในรายวิชาใด


ขอ ๓๑ การใหเหรียญรางวัลในแตละปการศึกษา นิสิตผูมีสิทธิไดรับเหรียญรางวัลจะตองมีคุณสมบัติดังนี้๓๑.๑ ไดรับปริญญาบัณฑิตเกียรตินิยมอันดับหนึ่ง๓๑.๒ ไดคาระดับขั้นเฉลี่ยสะสมสูงสุด ในบรรดาผูสําเร็จการศึกษาในสาขาวิชาเดียวกันขอ ๓๒ ใหอธิการบดีรักษาการใหเปนไปตามขอบังคับนี้ และใหมีอํานาจออกประกาศกําหนด วิธีปฏิบัติเพื่อใหเปนไปตามขอบังคับนี้ หากมีขอขัดของไมเปนไปตามขอบังคับนี้ใหอธิการบดีดําเนินการได โดยผานความเห็นชอบของสภาวิชาการสําเนาถูกตองประกาศ ณ วันที่ ๒๓ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๒(นางธนวรรณ ศักดากัมปนาท)เจาหนาที่บริหารงานทั่วไป(ลงชื่อ) สุชาติ อุปถัมภ(ศาสตราจารยสุชาติ อุปถัมภ)อธิการบดี<strong>มหาวิทยาลัยบูรพา</strong>


ขอบังคับ<strong>มหาวิทยาลัยบูรพา</strong>วาดวยการศึกษาระดับปริญญาตรี (ฉบับที่ ๒)พ.ศ. ๒๕๕๒---------------------โดยที่เปนการสมควรปรับปรุงขอบังคับวาดวยการศึกษาระดับปริญญาตรีอาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๒๑(๒) แหงพระราชบัญญัติ<strong>มหาวิทยาลัยบูรพา</strong>พ.ศ. ๒๕๕๐ และมติสภา<strong>มหาวิทยาลัยบูรพา</strong> ในการประชุมครั้งที่ ๔/๒๕๕๑ วันที่ ๒๕ กรกฎาคม๒๕๕๑ จึงออกขอบังคับไวดังตอไปนี้ขอ ๑ ขอบังคับนี้เรียกวา “ขอบังคับ<strong>มหาวิทยาลัยบูรพา</strong> วาดวยการศึกษาระดับปริญญาตรี(ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๒”ขอ ๒ ขอบังคับนี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศเปนตนไปขอ ๓ ใหยกเลิกความในขอ ๒๓.๒ ของขอบังคับ<strong>มหาวิทยาลัยบูรพา</strong> วาดวยการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. ๒๕๕๒ และใหใชความตอไปนี้แทน“๒๓.๒ ในการยื่นคํารองขอยายคณะ นิสิตตองแสดงเหตุผลประกอบ การพิจารณาอนุมัติใหอยูในดุลพินิจของคณบดีที่เกี่ยวของ และเปนไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัย”สําเนาถูกตองประกาศ ณ วันที่ ๑๘ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๒(นางธนวรรณ ศักดากัมปนาท)เจาหนาที่บริหารงานทั่วไป(สําเนา)(ลงชื่อ) สุชาติ อุปถัมภ(ศาสตราจารยสุชาติ อุปถัมภ)อธิการบดี<strong>มหาวิทยาลัยบูรพา</strong>


(สําเนา)ขอบังคับ<strong>มหาวิทยาลัยบูรพา</strong>วาดวยการศึกษาระดับปริญญาตรี (ฉบับที่ ๓)พ.ศ. ๒๕๕๒---------------------------------------โดยที่เปนการสมควรปรับปรุงขอบังคับวาดวยการศึกษาระดับปริญญาตรีอาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๒๑(๒) แหงพระราชบัญญัติ<strong>มหาวิทยาลัยบูรพา</strong> พ.ศ. ๒๕๕๐และมติสภา<strong>มหาวิทยาลัยบูรพา</strong> ในการประชุมครั้งที่ ๔/๒๕๕๑ วันที่ ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๕๑จึงออกขอบังคับไวดังตอไปนี้ขอ ๑ ขอบังคับนี้เรียกวา “ขอบังคับ<strong>มหาวิทยาลัยบูรพา</strong> วาดวยการศึกษาระดับปริญญาตรี(ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๒”ขอ ๒ ขอบังคับนี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศเปนตนไปขอ ๓ ใหยกเลิกความในขอ ๑๑.๖.๔ ของขอบังคับ<strong>มหาวิทยาลัยบูรพา</strong> วาดวยการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. ๒๕๕๒ และใหใชความตอไปนี้แทน“๑๑.๖.๔ ภาคฤดูรอนลงทะเบียนเรียนไมเกิน ๙ หนวยกิต ทั้งนิสิตภาคปกติ และนิสิตภาคพิเศษ”ประกาศ ณ วันที่ ๒๖ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๒สําเนาถูกตอง(ลงชื่อ) สุชาติ อุปถัมภ(ศาสตราจารยสุชาติ อุปถัมภ)อธิการบดี<strong>มหาวิทยาลัยบูรพา</strong>(นางธนวรรณ ศักดากัมปนาท)เจาหนาที่บริหารงานทั่วไป


176เอกสารหมายเลข 8ค าสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ<strong>ร่าง</strong>และปรับปรุงหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา ประจ า<strong>คณะแพทยศาสตร์</strong>


(dl LUI)~ik~nmzuwnunlami u~~i?nuiGuyr~i4 &a l10&&mdoa ~~ia~~nnamsoun~ri~~~~nzd4~d~~w~nqmrmiunre~lu~m~~~udoziinmz~~wnofiiami


kd 6Ld T U ~ 3d ~u91wu W.W. b&&m


179เอกสารหมายเลข 9อาจารย์ประจ า<strong>คณะแพทยศาสตร์</strong>และภาระงานสอน


อาจารย์ประจ า<strong>คณะแพทยศาสตร์</strong><strong>มหาวิทยาลัยบูรพา</strong>และภาระงานสอนภาควิชากุมารเวชศาสตร์1. นายแพทย์ทวีลาภ ตั๊นสวัสดิ์คุณวุฒิ แพทยศาสตรบัณฑิต(เกียรตินิยม), มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. 2533วุฒิบัตรวิชาชีพกุมารเวชศาสตร์, แพทยสภา พ.ศ. 2539อนุมัติบัตรวิชาชีพเวชศาสตร์ครอบครัว, แพทยสภา พ.ศ. 2546วุฒิบัตรวิชาชีพกุมารเวชศาสตร์โรคภูมิแพ้และภูมิคุ้มกัน, แพทยสภา พ.ศ. 2552ต าแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์เลขประจ าตัวบัตรประชาชน 3-2001-0051x-xx-xภาระงานสอนภาระการสอนที่มีอยู่แล้ว1. 317372 วิทยาภูมิคุ้มกันทางการแพทย์ 3 (2-3-4)2. 570201 พื้นฐานทางคลินิกและเวชจริยศาสตร์ 1 2 (1-3-2)3. 570302 พื้นฐานทางคลินิกและเวชจริยศาสตร์ 2 2 (1-3-2)4. 584301 พยาธิวิทยาคลินิก 2 (1-3-2)5. 582401 กุมารเวชศาสตร์ 1 4 (4-0-8)6. 582402 กุมารเวชศาสตร์ 2 2 (0-6-3)7. 582403 กุมารเวชศาสตร์ 3 2 (0-6-3)8. 560401 การแพทย์ปฐมภูมิ 1 4 (2-6-4)9. 560502 การแพทย์ปฐมภูมิ 2 4 (2-6-4)10. 560604 การแพทย์ปฐมภูมิ 3 4 (1-9-2)ภาระการสอนในหลักสูตรปรับปรุง1. 570301 พื้นฐานทางคลินิกและเวชจริยศาสตร์ 2 (1-3-2)2. 584301 พยาธิวิทยาคลินิก 4 (3-3-6)3. 582401 กุมารเวชศาสตร์ 1 3 (2-3-4)4. 582402 กุมารเวชศาสตร์ 2 3 (2-3-4)5. 582403 กุมารเวชศาสตร์ 3 3 (1-6-2)6. 680323 วิทยาภูมิคุ้มกันทางการแพทย์ 3 (2-3-4)180


2. แพทย์หญิงรมร แย้มประทุมคุณวุฒิ แพทยศาสตรบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ . ศ.2537วุฒิบัตรวิชาชีพกุมารเวชศาสตร์, แพทยสภา พ.ศ. 2543อนุมัติบัตรวิชาชีพ เวชศาสตร์ครอบครัว, แพทยสภา พ.ศ. 2545วุฒิบัตรวิชาชีพกุมารเวชศาสตร์พัฒนาการและพฤติกรรม, แพทยสภา พ.ศ. 2553ต าแหน่งทางวิชาการ อาจารย์เลขประจ าตัวประชาชน 3-2001-0109x-xx-xภาระงานสอนภาระการสอนที่มีอยู่แล้ว1. 582401 กุมารเวชศาสตร์ 1 4 (4-0-8)2. 582402 กุมารเวชศาสตร์ 2 2 (0-6-3)3. 582403 กุมารเวชศาสตร์ 3 2 (0-6-3)4. 317329 พันธุกรรมศาสตร์มนุษย์และพันธุวิศวกรรม 2 (2-0-4)5. 560101 เวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน 1 2 (1-3-2)6. 570201 พื้นฐานทางคลินิกและเวชจริยศาสตร์ 1 2 (1-3-2)ภาระการสอนในหลักสูตรปรับปรุง1. 582401 กุมารเวชศาสตร์ 1 3 (2-3-4)2. 582402 กุมารเวชศาสตร์ 2 3 (2-3-4)3. 582403 กุมารเวชศาสตร์ 3 3 (1-6-2)4. 680321 พันธุศาสตร์มนุษย์และพันธุวิศวกรรม 2 (2-0-4)5. 560101 เวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน 1 2 (1-3-2)6. 570301 พื้นฐานทางคลินิกและเวชจริยศาสตร์ 2 (1-3-2)3. นายแพทย์ปราการ ทัตติยกุลคุณวุฒิ แพทยศาสตรบัณฑิต, มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. 2544วุฒิบัตรวิชาชีพ กุมารเวชศาสตร์, แพทยสภา พ.ศ. 2552วุฒิบัตรวิชาชีพ กุมารเวชศาสตร์ทารกแรกเกิดและปริก าเนิด, แพทยสภา พ.ศ. 2555ต าแหน่งทางวิชาการ อาจารย์เลขประจ าตัวประชาชน 3-2498-0006x-xx-xภาระงานสอนภาระการสอนที่มีอยู่แล้ว1. 317223 พัฒนาการกายวิภาคศาสตร์ 3 (2-3-4)2. 317329 พันธุกรรมศาสตร์มนุษย์และพันธุวิศวกรรม 2 (2-0-4)181


1823. 582401 กุมารเวชศาสตร์ 1 4 (4-0-8)4. 582402 กุมารเวชศาสตร์ 2 2 (0-6-3)5. 582403 กุมารเวชศาสตร์ 3 2 (0-6-3)6. 584301 พยาธิวิทยาคลินิก 2 (1-3-2)ภาระการสอนในหลักสูตรปรับปรุง1. 582401 กุมารเวชศาสตร์ 1 3 (2-3-4)2. 582402 กุมารเวชศาสตร์ 2 3 (2-3-4)3. 582403 กุมารเวชศาสตร์ 3 3 (1-6-2)4. 584301 พยาธิวิทยาคลินิก 4 (3-0-6)5. 680203 พัฒนาการกายวิภาคศาสตร์ 3 (3-0-6)6. 680321 พันธุศาสตร์มนุษย์และพันธุวิศวกรรม 2 (2-0-4)4. นายแพทย์วราวุฒิ เกรียงบูรพาคุณวุฒิ แพทยศาสตรบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ พ.ศ. 2545วุฒิบัตรวิชาชีพ กุมารเวชศาสตร์, แพทยสภา พ.ศ. 2551วุฒิบัตรวิชาชีพ กุมารเวชศาสตร์โรคระบบการหายใจ, แพทยสภา พ.ศ. 2555ต าแหน่งทางวิชาการ อาจารย์เลขประจ าตัวประชาชน 3-2401-0031x-xx-xภาระงานสอนภาระการสอนที่มีอยู่แล้ว1. 570201 พื้นฐานทางคลินิกและเวชจริยศาสตร์ 1 2 (1-3-2)2. 584301 พยาธิวิทยาคลินิก 2 (1-3-2)3. 582401 กุมารเวชศาสตร์ 1 4 (4-0-8)4. 582402 กุมารเวชศาสตร์ 2 2 (0-6-3)5. 582403 กุมารเวชศาสตร์ 3 2 (0-6-3)ภาระการสอนในหลักสูตรปรับปรุง1. 570301 พื้นฐานทางคลินิกและเวชจริยศาสตร์ 2 (1-3-2)2. 584301 พยาธิวิทยาคลินิก 2 (1-3-2)3. 582401 กุมารเวชศาสตร์ 1 3 (2-3-4)4. 582402 กุมารเวชศาสตร์ 2 3 (2-3-4)5. 582403 กุมารเวชศาสตร์ 3 3 (1-6-2)


1835. แพทย์หญิงปริชญา งามเชิดตระกูลคุณวุฒิ แพทยศาสตรบัณฑิต,มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. 2547วุฒิบัตรวิชาชีพ กุมารเวชศาสตร์, แพทยสภา พ.ศ. 2552ต าแหน่งทางวิชาการ อาจารย์เลขประจ าตัวประชาชน 3-1002-0336x-xx-xภาระงานสอนภาระการสอนที่มีอยู่แล้ว1. 317223 พัฒนาการกายวิภาคศาสตร์ 3 (2-3-4)2. 584301 พยาธิวิทยาคลินิก 2 (1-3-2)3. 582401 กุมารเวชศาสตร์ 1 4 (4-0-8)4. 582402 กุมารเวชศาสตร์ 2 2 (0-6-3)5. 582403 กุมารเวชศาสตร์ 3 2 (0-6-3)ภาระการสอนในหลักสูตรปรับปรุง1. 582401 กุมารเวชศาสตร์ 1 3 (2-3-4)2. 582402 กุมารเวชศาสตร์ 2 3 (2-3-4)3. 582403 กุมารเวชศาสตร์ 3 3 (1-6-2)4. 584301 พยาธิวิทยาคลินิก 4 (3-3-6)5. 680203 พัฒนาการกายวิภาคศาสตร์ 3 (3-0-6)6. แพทย์หญิงเบญจารัตน์ ทรรทรานนท์คุณวุฒิ แพทยศาสตรบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ พ.ศ. 2547วุฒิบัตรวิชาชีพ กุมารเวชศาสตร์, แพทยสภา พ.ศ. 2553ต าแหน่งทางวิชาการ อาจารย์เลขประจ าตัวประชาชน 3-7201-0003x-xx-xภาระงานสอนภาระการสอนที่มีอยู่แล้ว1. 317223 พัฒนาการกายวิภาคศาสตร์ 3 (2-3-4)2. 317329 พันธุกรรมศาสตร์มนุษย์และพันธุวิศวกรรม 2 (2-0-4)3. 582401 กุมารเวชศาสตร์ 1 4 (4-0-8)4. 582402 กุมารเวชศาสตร์ 2 2 (0-6-3)5. 582403 กุมารเวชศาสตร์ 3 2 (0-6-3)6. 584301 พยาธิวิทยาคลินิก 2 (1-3-2)


184ภาระการสอนในหลักสูตรปรับปรุง1. 582401 กุมารเวชศาสตร์ 1 3 (2-3-4)2. 582402 กุมารเวชศาสตร์ 2 3 (2-3-4)3. 582403 กุมารเวชศาสตร์ 3 3 (1-6-2)4. 584301 พยาธิวิทยาคลินิก 4 (3-3-6)5. 680203 พัฒนาการกายวิภาคศาสตร์ 3 (3-0-6)6. 680321 พันธุศาสตร์มนุษย์และพันธุวิศวกรรม 2 (2-0-4)7. นายแพทย์จักรพันธ์ ศิริบริรักษ์คุณวุฒิ แพทยศาสตรบัณฑิต, มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. 2549วุฒิบัตรวิชาชีพ กุมารเวชศาสตร์, แพทยสภา พ.ศ. 2555ต าแหน่งทางวิชาการ อาจารย์เลขประจ าตัวประชาชน 3-8001-0018x-xx-xภาระงานสอนภาระการสอนที่มีอยู่แล้ว1. 317329 พันธุกรรมศาสตร์มนุษย์และพันธุวิศวกรรม 2 (2-0-4)2. 582401 กุมารเวชศาสตร์ 1 4 (4-0-8)3. 582402 กุมารเวชศาสตร์ 2 2 (0-6-3)4. 582403 กุมารเวชศาสตร์ 3 2 (0-6-3)ภาระการสอนในหลักสูตรปรับปรุง1. 582401 กุมารเวชศาสตร์ 1 3 (2-3-4)2. 582402 กุมารเวชศาสตร์ 2 3 (2-3-4)3. 582403 กุมารเวชศาสตร์ 3 3 (1-6-2)4. 680321 พันธุศาสตร์มนุษย์และพันธุวิศวกรรม 2 (2-0-4)


185ภาควิชาจักษุ โสต นาสิก ลาริงซ์วิทยา1. แพทย์หญิงลักษณาพร กรุงไกรเพชรคุณวุฒิ แพทยศาสตรบัณฑิต,จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2536วุฒิบัตรวิชาชีพจักษุวิทยา,แพทยสภา พ.ศ. 2542อนุมัติบัตรวิชาชีพ เวชศาสตร์ครอบครัว,แพทยสภา พ.ศ. 2545ต าแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์เลขประจ าตัวบัตรประชาชน 3-3301-0029x-xx-xภาระงานสอนภาระการสอนที่มีอยู่แล้ว1. 592501 จักษุวิทยา 2 (1-3-2)2. 572301 เวชศาสตร์เชิงประจักษ์ 1 2 (1-3-2)3. 572302 เวชศาสตร์เชิงประจักษ์ 2 2 (1-3-2)ภาระการสอนในหลักสูตรปรับปรุง1. 592501 จักษุวิทยา 2 (1-3-2)2. 572301 เวชศาสตร์เชิงประจักษ์ 1 2 (1-3-2)3. 572302 เวชศาสตร์เชิงประจักษ์ 2 1 (0-3-1)2. แพทย์หญิงสุธิดา พันธุ์พิทย์แพทย์คุณวุฒิ แพทยศาสตรบัณฑิต, มหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2547วุฒิบัตรวิชาชีพจักษุวิทยา, แพทยสภา พ.ศ. 2552ต าแหน่งทางวิชาการ อาจารย์เลขประจ าตัวบัตรประชาชน 3-4199-0063x-xx-xภาระงานสอนภาระการสอนที่มีอยู่แล้ว1. 592501 จักษุวิทยา 2 (1-3-2)ภาระการสอนในหลักสูตรปรับปรุง1. 592501 จักษุวิทยา 2 (1-3-2)


1863. แพทย์หญิงกนกวรรณ วงศ์สุวรรณคุณวุฒิ แพทยศาสตรบัณฑิต,มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2547วุฒิบัตรวิชาชีพจักษุวิทยา, แพทยสภา พ.ศ. 2554ต าแหน่งทางวิชาการ อาจารย์เลขประจ าตัวบัตรประชาชน 5-2001-0001x-xx-xภาระงานสอนภาระการสอนที่มีอยู่แล้ว1. 592501 จักษุวิทยา 2 (1-3-2)ภาระการสอนในหลักสูตรปรับปรุง1. 592501 จักษุวิทยา 2 (1-3-2)4. แพทย์หญิงวิพรร ณัฐรังสีคุณวุฒิ แพทยศาสตรบัณฑิต, มหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2550วุฒิบัตรวิชาชีพโสต ศอ นาสิก ,แพทยสภา พ.ศ. 2555ต าแหน่งทางวิชาการ อาจารย์เลขประจ าตัวบัตรประชาชน 3-3299-0023x-xx-xภาระงานสอนภาระการสอนที่มีอยู่แล้ว1. 592501 จักษุวิทยา 2 (1-3-2)ภาระการสอนในหลักสูตรปรับปรุง1. 592501 จักษุวิทยา 2 (1-3-2)


ภาควิชาพยาธิวิทยาคลินิก และนิติเวชศาสตร์1. นายแพทย์สุจินต์ อึ้งถาวรคุณวุฒิ แพทยศาสตรบัณฑิตมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ พ.ศ. 2502M.Sc (Microscopic Anatomy) Queen’s University พ.ศ. 2510Medical Education, University of Illinois พ.ศ. 2514ต าแหน่งทางวิชาการ ศาสตราจารย์พิเศษเลขประจ าตัวบัตรประชาชน 3-1005-0248x-xx-xภาระงานสอนภาระการสอนที่มีอยู่แล้ว1. 317329 พันธุกรรมศาสตร์มนุษย์และพันธุวิศวกรรม 2(2-0-4)187ภาระการสอนในหลักสูตรปรับปรุง1. 680321 พันธุศาสตร์มนุษย์และพันธุวิศวกรรม 2(2-0-4)2. นายแพทย์ชาตรี สารโยคุณวุฒิ แพทยศาสตรบัณฑิต, วิทยาลัยแพทยศาสตร์พระมงกุฎ พ.ศ. 2548นิติศาสตร์บัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2553วุฒิบัตรวิชาชีพนิติเวชศาสตร์ ,แพทยสภา พ.ศ. 2553ต าแหน่งทางวิชาการ อาจารย์เลขประจ าตัวบัตรประชาชน 3-1020-0037x-xx-xภาระงานสอนภาระการสอนที่มีอยู่แล้ว1. 570201 พื้นฐานทางคลินิกและเวชจริยศาสตร์ 1 2(2-0-4)2. 570302 พื้นฐานทางคลินิกและเวชจริยศาสตร์ 2 2(2-0-4)ภาระการสอนในหลักสูตรปรับปรุง1. 570301 พื้นฐานทางคลินิกและเวชจริยศาสตร์ 2 (1-3-2)


ภาควิชาวิสัญญีวิทยา1. นายแพทย์กฤติน กิตติกรชัยชาญคุณวุฒิ แพทยศาสตรบัณฑิต, มหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2544วุฒิบัตรวิชาชีพวิสัญญีวิทยา, แพทยสภา พ.ศ. 2551ต าแหน่งทางวิชาการ อาจารย์เลขประจ าตัวบัตรประชาชน 3-3199-0007x-xx-xภาระงานสอนภาระการสอนที่มีอยู่แล้ว1. 560203 เวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน 3 2(1-3-2)2. 584301 พยาธิวิทยาคลินิก 2(1-3-2)3. 576501 วิสัญญีพื้นฐาน 2(1-3-2)ภาระการสอนในหลักสูตรปรับปรุง1. 560203 เวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน 3 2(1-3-2)2. 584301 พยาธิวิทยาคลินิก 2(1-3-2)3. 576501 วิสัญญีพื้นฐาน 2(1-3-2)2. นายแพทย์วิมานะ ภักดีธนากุลคุณวุฒิ แพทยศาสตรบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ พ.ศ. 2551วุฒิบัตรวิชาชีพวิสัญญีวิทยา, แพทยสภา พ.ศ. 2554ต าแหน่งทางวิชาการ อาจารย์เลขประจ าตัวบัตรประชาชน 1-1017-0000x-xx-xภาระงานสอนภาระการสอนที่มีอยู่แล้ว1. 576501 วิสัญญีพื้นฐาน 2(1-3-2)ภาระการสอนในหลักสูตรปรับปรุง1. 576501 วิสัญญีพื้นฐาน 2(1-3-2)188


ภาควิชาเวชศาสตร์ชุมชน และเวชศาสตร์ครอบครัว1. นายแพทย์พิสิษฐ์ พิริยาพรรณคุณวุฒิ แพทยศาสตรบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ. 2525วุฒิบัตรวิชาชีพ เวชปฏิบัติทั่วไป, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ. 2529อนุมัติบัตรวิชาชีพ เวชศาสตร์ครอบครัว, แพทยสภา พ.ศ. 2545ต าแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์เลขประจ าตัวบัตรประชาชน 3-2001-0066x-xx-xภาระงานสอนภาระการสอนที่มีอยู่แล้ว1. 560101 เวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน 1 2(1-3-2)2. 560202 เวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน 2 1(0-3-0)3. 560203 เวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน 3 2(1-3-2)ภาระการสอนในหลักสูตรปรับปรุง1. 560101 เวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน 1 2(1-3-2)2. 560202 เวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน 2 1(0-3-1)3. 560203 เวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน 3 2(1-3-2)2. แพทย์หญิงมยุรี พิทักษ์ศิลป์คุณวุฒิ แพทยศาสตรบัณฑิต,จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2541วุฒิบัตรวิชาชีพ เวชศาสตร์ครอบครัว,มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ. 2547ต าแหน่งทางวิชาการ อาจารย์เลขประจ าตัวบัตรประชาชน 3-2404-0065x-xx-xภาระงานสอนภาระการสอนที่มีอยู่แล้ว1. 560101 เวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน 1 2(1-3-2)2. 560202 เวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน 2 1(0-3-0)3. 560203 เวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน 3 2(1-3-2)4. 560401 การแพทย์ปฐมภูมิ 1 4(2-6-4)5. 560502 การแพทย์ปฐมภูมิ 2 4(2-6-4)6. 560503 การบริบาลสุขภาพชุมชน 4(2-6-4)7. 560604 การแพทย์ปฐมภูมิ 3 4(1-9-2)ภาระการสอนในหลักสูตรปรับปรุง1. 560101 เวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน 1 2(1-3-2)189


2. 560202 เวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน 2 1(0-3-1)3. 560203 เวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน 3 2(1-3-2)4. 560404 เวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน 4 2(1-3-2)5. 560505 เวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน 5 3(1-6-2)6. 560507 เวชปฏิบัติผู้ป่วยนอกและการดูแลแบบ 2(1-3-2)ประคับประคอง3. แพทย์หญิงสมจิต พฤกษะริตานนท์คุณวุฒิ แพทยศาสตรบัณฑิต,มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ. 2518วุฒิบัตรวิชาชีพ เวชศาสตร์ครอบครัว, แพทยสภา พ.ศ. 2547ต าแหน่งทางวิชาการ รองศาสตราจารย์เลขประจ าตัวบัตรประชาชน 3-1009-0396x-xx-xภาระงานสอนภาระการสอนที่มีอยู่แล้ว1. 560101 เวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน 1 2(1-3-2)2. 560202 เวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน 2 1(0-3-0)3. 560203 เวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน 3 2(1-3-2)4. 560401 การแพทย์ปฐมภูมิ 1 4(2-6-4)5. 560502 การแพทย์ปฐมภูมิ 2 4(2-6-4)6. 560604 การแพทย์ปฐมภูมิ 3 4(1-9-2)ภาระการสอนในหลักสูตรปรับปรุง1. 560101 เวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน 1 2(1-3-2)2. 560202 เวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน 2 1(0-3-1)3. 560203 เวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน 3 2(1-3-2)4. 560404 เวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน 4 2(1-3-2)5. 560505 เวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน 5 3(1-6-2)6. 560507 เวชปฏิบัติผู้ป่วยนอกและการดูแลแบบ 2(1-3-2)ประคับประคอง190


ภาควิชาศัลยกรรมกระดูก และเวชศาสตร์ฟื้นฟู1. แพทย์หญิงสุพรรณี อ านวยพรสถิตย์คุณวุฒิ แพทยศาสตรบัณฑิต,มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. 2544วุฒิบัตรวิชาชีพเวชศาสตร์ฟื้นฟู, แพทยสภา พ.ศ. 2551ต าแหน่งทางวิชาการ อาจารย์เลขประจ าตัวบัตรประชาชน 3-2099-0009x-xx-xภาระงานสอนภาระการสอนที่มีอยู่แล้ว1. 570201 พื้นฐานทางคลินิกและเวชจริยศาสตร์1 2(1-3-2)ภาระการสอนในหลักสูตรปรับปรุง1. 570301 พื้นฐานทางคลินิกและเวชจริยศาสตร์ 2(1-3-2)2. นายแพทย์กิตติ อรุณจรัสธรรมคุณวุฒิ แพทยศาสตรบัณฑิต,มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. 2544วุฒิบัตรวิชาชีพ ศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์, แพทยสภา พ.ศ. 2551ต าแหน่งทางวิชาการ อาจารย์เลขประจ าตัวบัตรประชาชน 3-1015-0085x-xx-xภาระงานสอนภาระการสอนที่มีอยู่แล้ว1. 570201 พื้นฐานทางคลินิกและเวชจริยศาสตร์ 1 2(1-3-2)ภาระการสอนในหลักสูตรปรับปรุง1. 570301 พื้นฐานทางคลินิกและเวชจริยศาสตร์ 2(1-3-2)3. นายแพทย์พร้อมพงศ์ อนุชิตชาญชัยคุณวุฒิ แพทยศาสตรบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ. 2544วุฒิบัตรวิชาชีพศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์, แพทยสภา พ.ศ. 2552ต าแหน่งทางวิชาการ อาจารย์เลขประจ าตัวบัตรประชาชน 3-5799-0002x-xx-xภาระงานสอนภาระการสอนที่มีอยู่แล้ว1. 570201 พื้นฐานทางคลินิกและเวชจริยศาสตร์ 1 2(1-3-2)2. 317223 พัฒนาการกายวิภาคศาสตร์ 3(2-3-4)191


1923. 594501 ออร์โธปิดิกส์ 1 2(1-3-2)ภาระการสอนในหลักสูตรปรับปรุง1. 570301 พื้นฐานทางคลินิกและเวชจริยศาสตร์ 2(1-3-2)2. 680203 พัฒนาการกายวิภาคศาสตร์ 3(3-0-6)3. 594501 ออร์โธปิดิกส์ 1 2(1-3-2)4. แพทย์หญิงจารุวรรณ กิตติวราวุฒิคุณวุฒิ แพทยศาสตรบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ. 2543วุฒิบัตรวิชาชีพเวชศาสตร์ฟื้นฟู, แพทยสภา พ.ศ. 2550ต าแหน่งทางวิชาการ อาจารย์เลขประจ าตัวบัตรประชาชน 3-5106-0010x-xx-xภาระงานสอนภาระการสอนที่มีอยู่แล้ว1. 566501 เวชศาสตร์ฟื้นฟู 2(1-3-2)2. 317234 สรีรวิทยาทางการแพทย์ 1 4(3-3-6)ภาระการสอนในหลักสูตรปรับปรุง1. 566501 เวชศาสตร์ฟื้นฟู 2(1-3-2)5. แพทย์หญิงกรองแก้ว ฟุ้งเฟื่องคุณวุฒิ แพทยศาสตรบัณฑิต, มหาวิทยาลัย รังสิต พ.ศ. 2547วุฒิบัตรวิชาชีพเวชศาสตร์ฟื้นฟู, แพทยสภา พ.ศ. 2553ต าแหน่งทางวิชาการ อาจารย์เลขประจ าตัวบัตรประชาชน 3-1022-0086x-xx-xภาระงานสอนภาระการสอนที่มีอยู่แล้ว1. 566501 เวชศาสตร์ฟื้นฟู 2(1-3-2)ภาระการสอนในหลักสูตรปรับปรุง2. 566501 เวชศาสตร์ฟื้นฟู 2(1-3-2)


6. นายแพทย์ธนะศักดิ์ ยะค าป้อคุณวุฒิ แพทยศาสตรบัณฑิต, มหาวิทยาลัย เชียงใหม่ พ.ศ. 2547วุฒิบัตรวิชาชีพออร์โธปิดิกส์, แพทยสภา พ.ศ. 2552ต าแหน่งทางวิชาการ อาจารย์เลขประจ าตัวบัตรประชาชน 3-5101-0039x-xx-xภาระงานสอนภาระการสอนที่มีอยู่แล้ว1. 317343 เภสัชวิทยา 5(4-3-8)2. 594501 ออร์โธปิดิกส์ 1 2(1-3-2)ภาระการสอนในหลักสูตรปรับปรุง1. 317343 เภสัชวิทยา 5(4-3-8)2. 594501 ออร์โธปิดิกส์ 1 2(1-3-2)3. 560505 เวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน 5 3(1-6-2)4. 574501 เวชศาสตร์ฉุกเฉิน 2(1-3-2)7. นายแพทย์ปราโมทย์ ธนาศุภกรกุลคุณวุฒิ แพทยศาสตรบัณฑิต, มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ พ.ศ. 2546วุฒิบัตรวิชาชีพศัลยศาสตร์ ออร์โธปิดิกส์, แพทยสภา พ.ศ. 2553ต าแหน่งทางวิชาการ อาจารย์เลขประจ าตัวบัตรประชาชน 3-1009-0307x-xx-xภาระงานสอนภาระการสอนที่มีอยู่แล้ว1. 560401 การแพทย์ปฐมภูมิ 1 4(2-6-4)2. 560502 การแพทย์ปฐมภูมิ 2 4(2-6-4)ภาระการสอนในหลักสูตรปรับปรุง1. 560404 เวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน 4 2(1-3-2)2. 560505 เวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน 5 3(1-6-2)193


8. นายแพทย์ออมทรัพย์ พะวันคุณวุฒิ แพทยศาสตรบัณฑิต, มหาวิทยาลัย มหิดล พ.ศ. 2548วุฒิบัตรวิชาชีพศัลยศาสตร์ ออร์โธปิดิกส์, แพทยสภา พ.ศ. 2555ต าแหน่งทางวิชาการ อาจารย์เลขประจ าตัวบัตรประชาชน 3-5106-0010x-xx-xภาระงานสอนภาระการสอนที่มีอยู่แล้ว1. 560502 การแพทย์ปฐมภูมิ 2 4(2-6-4)ภาระการสอนในหลักสูตรปรับปรุง2. 560505 เวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน 5 3(1-6-2)9. นายแพทย์จตุภูมิ ชั้นสมบูรณ์คุณวุฒิ แพทยศาสตรบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ. 2544วุฒิบัตรวิชาชีพออร์โธปิดิกส์, แพทยสภา พ.ศ. 2552ต าแหน่งทางวิชาการ อาจารย์เลขประจ าตัวบัตรประชาชน 3-1017-0108x-xx-xภาระงานสอนภาระการสอนที่มีอยู่แล้ว1. 560502 การแพทย์ปฐมภูมิ 2 4(2-6-4)ภาระการสอนในหลักสูตรปรับปรุง1. 560505 เวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน 5 3(1-6-2)194


ภาควิชาศัลยศาสตร์1. นายแพทย์สันติชัย ดินชูไทคุณวุฒิ แพทยศาสตรบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2544วุฒิบัตรวิชาชีพ ศัลยศาสตร์, แพทยสภา พ.ศ. 2552ต าแหน่งทางวิชาการ อาจารย์เลขประจ าตัวบัตรประชาชน 3-4801-0072x-xx-xภาระงานสอน195ภาระการสอนที่มีอยู่แล้ว1. 570201 พื้นฐานทางคลินิกและเวชจริยศาสตร์ 1 2(1-3-2)2. 317229 มหกายวิภาคศาสตร์เชิงระบบ 2 4(3-3-6)ภาระการสอนในหลักสูตรปรับปรุง1. 570301 พื้นฐานทางคลินิกและเวชจริยศาสตร์ 2(1–3-2)2. 680202 มหกายวิภาคศาสตร์เชิงระบบ 2 4(3-3-6)2. แพทย์หญิงปองทิพย์ อุ่นประเสริฐคุณวุฒิ แพทยศาสตรบัณฑิต, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พ.ศ. 2548ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง(วิทยาศาสตร์การแพทย์) ,มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พ.ศ. 2553ต าแหน่งทางวิชาการ อาจารย์เลขประจ าตัวบัตรประชาชน 3-1014-0071x-xx-xภาระงานสอนภาระการสอนที่มีอยู่แล้ว1. 560401 การแพทย์ปฐมภูมิ 1 4(2-6-4)2. 560502 การแพทย์ปฐมภูมิ 2 4(2-6-4)ภาระการสอนในหลักสูตรปรับปรุง1. 560404 เวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน 4 2(1-3-2)2. 560505 เวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน 5 3(1-6-2)3. นายแพทย์ภาคภูมิ บ ารุงราชภักดีคุณวุฒิ แพทยศาสตรบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ พ.ศ. 2549ประกาศนียบัตรชั้นสูงวิทยาศาสตร์การแพทย์คลินิก , พ.ศ. 2553ต าแหน่งทางวิชาการ อาจารย์เลขประจ าตัวบัตรประชาชน 3-7099-0021x-xx-x


ภาระงานสอนภาระการสอนที่มีอยู่แล้ว1. 570201 พื้นฐานทางคลินิกและเวชจริยศาสตร์ 1 2(1-3-2)2. 680202 มหกายวิภาคศาสตร์เชิงระบบ 2 4(3-3-6)ภาระการสอนในหลักสูตรปรับปรุง1. 570301 พื้นฐานทางคลินิกและเวชจริยศาสตร์ 2(1-3-2)2. 680202 มหกายวิภาคศาสตร์เชิงระบบ 2 4(3-3-6)ภาควิชาสูตินรีเวชวิทยา1. นายแพทย์กิตติ กรุงไกรเพชรคุณวุฒิ แพทยศาสตรบัณฑิต,มหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2534วุฒิบัตรวิชาชีพ สูติศาสตร์ – นรีเวชวิทยา, แพทยสภา พ.ศ. 2539อนุมัติบัตรวิชาชีพเวชศาสตร์ครอบครัว, แพทยสภา พ.ศ. 2546ต าแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์เลขประจ าตัวบัตรประชาชน 3-2099-0002x-xx-xภาระงานสอนภาระการสอนที่มีอยู่แล้ว1. 572301 เวชศาสตร์เชิงประจักษ์ 1 2(1-3-2)2. 572302 เวชศาสตร์เชิงประจักษ์ 2 2(1-3-2)3. 317223 พัฒนาการกายวิภาคศาสตร์ 3(2-3-4)4. 792334 เภสัชวิทยา 5(4-3-8)5. 317234 สรีรวิทยาทางการแพทย์ 1 4(3-3-6)ภาระการสอนในหลักสูตรปรับปรุง1. 572301 เวชศาสตร์เชิงประจักษ์ 1 2(1-3-2)2. 572302 เวชศาสตร์เชิงประจักษ์ 2 1(0-3-1)3. 680203 พัฒนาการกายวิภาคศาสตร์ 3(3-0-6)4. 680215 สรีรวิทยาทางการแพทย์ 1 4(3-3-6)5. 792334 เภสัชวิทยา 1 3(2-3-4)6. 792335 เภสัชวิทยา 2 2(1-3-2)196


2. นายแพทย์ศรรัฐ เฮงเจริญคุณวุฒิ แพทยศาสตรบัณฑิต,จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2546วุฒิบัตรวิชาชีพ สูติศาสตร์ – นรีเวชวิทยา, แพทยสภา พ.ศ. 2551ต าแหน่งทางวิชาการ อาจารย์เลขประจ าตัวบัตรประชาชน 3-1017-0226x-xx-xภาระงานสอนภาระการสอนที่มีอยู่แล้ว1. 570201 พื้นฐานทางคลินิกและเวชจริยศาสตร์ 1 2(1-3-2)ภาระการสอนในหลักสูตรปรับปรุง1. 570301 พื้นฐานทางคลินิกและเวชจริยศาสตร์ 2(1-3-2)ภาควิชาอายุรศาสตร์1. นายแพทย์สมชาย ยงศิริคุณวุฒิ แพทยศาสตรบัณฑิต,มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ. 2541วุฒิบัตรวิชาชีพ อายุรกรรม,แพทยสภา พ.ศ. 2545วุฒิบัตรวิชาชีพ อายุรศาสตร์โรคไต,แพทยสภา พ.ศ. 2547ต าแหน่งทางวิชาการ อาจารย์เลขประจ าตัวบัตรประชาชน 3-2401-0031x-xx-xภาระงานสอนภาระการสอนที่มีอยู่แล้ว1. 584301 พยาธิวิทยาคลินิก 4(3-3-6)2. 317234 สรีรวิทยาทางการแพทย์ 1 4(3-3-6)3. 317235 สรีรวิทยาทางการแพทย์ 2 4(3-3-6)ภาระการสอนในหลักสูตรปรับปรุง1. 584301 พยาธิวิทยาคลินิก 4(3-3-6)2. 680215 สรีรวิทยาทางการแพทย์ 1 4(3-3-6)3. 680216 สรีรวิทยาทางการแพทย์ 2 4(3-3-6)197


2. นายแพทย์ณัฐพล อันนานนท์คุณวุฒิ แพทยศาสตรบัณฑิต,มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พ.ศ. 2539วุฒิบัตรวิชาชีพ อายุรศาสตร์, แพทยสภา พ.ศ. 2546วุฒิบัตรวิชาชีพ อายุรศาสตร์โรคติดเชื้อ, แพทยสภา พ.ศ. 2550ต าแหน่งทางวิชาการ อาจารย์เลขประจ าตัวบัตรประชาชน 3-8006-0031x-xx-xภาระงานสอนภาระการสอนที่มีอยู่แล้ว1. 584301 พยาธิวิทยาคลินิก 4(3-3-6)2. 317371 จุลชีววิทยาทางคลินิก 4(3-3-6)3. 560101 เวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน 1 2(1-3-2)4. 560202 เวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน 2 1(0-3-0)5. 560203 เวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน 3 2(1-3-2)ภาระการสอนในหลักสูตรปรับปรุง1. 584301 พยาธิวิทยาคลินิก 4(3-3-6)2. 680326 จุลชีววิทยาทางคลินิก 3 (2-3-4)3. 560101 เวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน 1 2 (1-3-2)4. 560202 เวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน 2 1 (0-3-0)5. 560203 เวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน 3 2 (1-3-2)3. นายแพทย์สุริยา โปร่งน้ าใจคุณวุฒิ แพทยศาสตรบัณฑิต,มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ พ.ศ. 2544วุฒิบัตรวิชาชีพอายุรศาสตร์, แพทยสภา พ.ศ. 2551ต าแหน่งทางวิชาการ อาจารย์เลขประจ าตัวบัตรประชาชน 3-2099-0040x-xx-xภาระงานสอนภาระการสอนที่มีอยู่แล้ว1. 584301 พยาธิวิทยาคลินิก 4 (3-3-6)2. 792334 เภสัชวิทยา 5 (4-3-8)ภาระการสอนในหลักสูตรปรับปรุง1. 550201 ภาษาอังกฤษทางการแพทย์ 3 (3-0-6)2. 564501 อาชีวเวชศาสตร์ 2 (1-3-2)198


3. 584301 พยาธิวิทยาคลินิก 4 (3-3-6)2. 792334 เภสัชวิทยา 1 3 (2-3-4)3. 792335 เภสัชวิทยา 2 2 (1-3-2)1994. แพทย์หญิงผกาพรรณ ดินชูไทคุณวุฒิ แพทยศาสตรบัณฑิต,จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2544วุฒิบัตรวิชาชีพ อายุรศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2551ต าแหน่งทางวิชาการ อาจารย์เลขประจ าตัวบัตรประชาชน 3-1014-0358x-xx-xภาระงานสอนภาระการสอนที่มีอยู่แล้ว1. 317223 พัฒนาการกายวิภาคศาสตร์ 3(2-3-4)2. 792334 เภสัชวิทยา 5(4-3-8)3. 570201 พื้นฐานทางคลินิกและเวชจริยศาสตร์ 1 2(1-3-2)ภาระการสอนในหลักสูตรปรับปรุง1. 680203 พัฒนาการกายวิภาคศาสตร์ 3(3-0-6)2. 792334 เภสัชวิทยา 1 3(2-3-4)3. 792335 เภสัชวิทยา 2 2(1-3-2)4. 570301 พื้นฐานทางคลินิกและเวชจริยศาสตร์ 2(1-3-2)5. แพทย์หญิงเพ็ชรงาม เต็งพฤทธิ์ธนากรคุณวุฒิ แพทยศาสตรบัณฑิต,มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ. 2544วุฒิบัตรวิชาชีพ อายุรศาสตร์,แพทยสภา พ.ศ. 2551ต าแหน่งทางวิชาการ อาจารย์เลขประจ าตัวบัตรประชาชน 3-5099-0144x-xx-xภาระงานสอนภาระการสอนที่มีอยู่แล้ว1. 584301 พยาธิวิทยาคลินิก 2(1-3-2)2. 317343 สรีรวิทยาทางการแพทย์ 1 4(3-3-6)3. 317343 เภสัชวิทยา 5(4-3-8)ภาระการสอนในหลักสูตรปรับปรุง1. 584301 พยาธิวิทยาคลินิก 4(3-3-6)2. 680215 สรีรวิทยาทางการแพทย์ 1 4(3-3-6)


3. 792334 เภสัชวิทยาทางการแพทย์ 1 3(2-3-4)4. 792335 เภสัชวิทยาทางการแพทย์ 2 2(1-3-2)6. แพทย์หญิงศิริพร ตั้งจาตุรนต์รัศมีคุณวุฒิ แพทยศาสตรบัณฑิต,มหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2544วุฒิบัตรวิชาชีพ อายุรศาสตร์โรคเลือด,แพทยสภา พ.ศ. 2550ต าแหน่งทางวิชาการ อาจารย์เลขประจ าตัวบัตรประชาชน 3-4101-0217x-xx-xภาระงานสอนภาระการสอนที่มีอยู่แล้ว1. 584301 พยาธิวิทยาคลินิก 2(1-3-2)ภาระการสอนในหลักสูตรปรับปรุง1. 584301 พยาธิวิทยาคลินิก 4(3-3-6)7. แพทย์หญิงอรพิณ ธนวินนานนท์คุณวุฒิ แพทยศาสตรบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2543วุฒิบัตรวิชาชีพ อายุรศาสตร์, แพทยสภา พ.ศ. 2549ต าแหน่งทางวิชาการ อาจารย์เลขประจ าตัวบัตรประชาชน 3-1013-0033x-xx-xภาระงานสอนภาระการสอนในหลักสูตรปรับปรุง1. 584301 พยาธิวิทยาคลินิก 4(3-3-6)8. แพทย์หญิงรัชนีพร ชื่นสุวรรณคุณวุฒิ แพทยศาสตรบัณฑิต,มหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2544วุฒิบัตรวิชาชีพ อายุรศาสตร์,แพทยสภา พ.ศ. 2550ต าแหน่งทางวิชาการ อาจารย์เลขประจ าตัวบัตรประชาชน 3-1009-0500x-xx-xภาระงานสอนภาระการสอนที่มีอยู่แล้ว1. 317235 สรีรวิทยาทางการแพทย์ 2 4(3-3-6)2. 584301 พยาธิวิทยาคลินิก 2(1-3-2)3. 792334 เภสัชวิทยา 5(4-3-8)200


ภาระการสอนในหลักสูตรปรับปรุง1. 584301 พยาธิวิทยาคลินิก 4(3-3-6)2. 680216 สรีรวิทยาทางการแพทย์ 2 4(3-3-6)3. 792334 เภสัชวิทยา 1 3(2-3-4)4. 792335 เภสัชวิทยา 2 2(1-3-2)ภาควิชารังสีวิทยาและเวชศาสตร์นิวเคลียร์1. แพทย์หญิงอลิสรา วงศ์สุทธิเลิศคุณวุฒิ แพทยศาสตรบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2541วุฒิบัตรวิชาชีพ เวชศาสตร์นิวเคลียร์, แพทยสภา พ.ศ. 2554ต าแหน่งทางวิชาการ อาจารย์เลขประจ าตัวบัตรประชาชน 3-1014-0200x-xx-xภาระงานสอนภาระการสอนที่มีอยู่แล้ว1. 317223 พัฒนาการกายวิภาคศาสตร์ 3(2-3-4)2. 578501 รังสีวิทยาวินิจฉัย 2(1-3-2)ภาระการสอนในหลักสูตรปรับปรุง1. 578401 รังสีวิทยาวินิจฉัย 2(1-3-2)2. แพทย์หญิงศรสุภา ลิ้มเจริญคุณวุฒิ แพทยศาสตรบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2533วุฒิบัตรวิชาชีพ รังสีวิทยาทั่วไป, แพทยสภา พ.ศ. 2536ต าแหน่งทางวิชาการ อาจารย์เลขประจ าตัวบัตรประชาชน 3-7705-0085x-xx-xภาระงานสอนภาระการสอนที่มีอยู่แล้ว1. 578501 รังสีวิทยาวินิจฉัย 2(1-3-2)2. 560502 การแพทย์ปฐมภูมิ 2 4(2-6-4)ภาระการสอนในหลักสูตรปรับปรุง1. 578401 รังสีวิทยาวินิจฉัย 2(1-3-2)2. 560502 การแพทย์ปฐมภูมิ 2 4(2-6-4)201


3. แพทย์หญิงอรรฆพร วิทิตวโรดมคุณวุฒิ แพทยศาสตรบัณฑิต, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ พ.ศ. 2549วุฒิบัตรวิชาชีพ รังสีวิทยาทั่วไป, แพทยสภา พ.ศ. 2555ต าแหน่งทางวิชาการ อาจารย์เลขประจ าตัวบัตรประชาชน 3-1010-0044x-xx-xภาระงานสอนภาระการสอนที่มีอยู่แล้ว1. 574502 เวชศาสตร์ฉุกเฉิน 1(0-3-0)2. 560502 การแพทย์ปฐมภูมิ 2 4(2-6-4)ภาระการสอนในหลักสูตรปรับปรุง1. 574502 เวชศาสตร์ฉุกเฉิน 1(0-3-0)2. 560502 การแพทย์ปฐมภูมิ 2 4(2-6-4)202


ภาควิชาจิตเวชศาสตร์1. นายแพทย์พรรษ กรรณล้วนคุณวุฒิ แพทยศาสตรบัณฑิต,มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2541วุฒิบัตรวิชาชีพ ,แพทยสภา พ.ศ. 2545ต าแหน่งทางวิชาการ อาจารย์เลขประจ าตัวบัตรประชาชน 3-4099-0115x-xx-xภาระงานสอนภาระการสอนที่มีอยู่แล้ว1. 562401 จิตเวชศาสตร์คลินิก 3(2-3-4)ภาระการสอนในหลักสูตรปรับปรุง1. 562501 จิตเวชศาสตร์ 4(2-6-4)2. 570305 พฤติกรรมศาสตร์เบื้องต้น 1(1-0-2)2. แพทย์หญิงกัญญา เลิศเกียรติกรคุณวุฒิ แพทยศาสตรบัณฑิต,มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ พ.ศ. 2550วุฒิบัตรวิชาชีพจิตเวชศาสตร์ ,แพทยสภา พ.ศ. 2554ต าแหน่งทางวิชาการ อาจารย์เลขประจ าตัวบัตรประชาชน 1-7105-0000x-xx-xภาระงานสอนภาระการสอนที่มีอยู่แล้ว1. 562401 จิตเวชศาสตร์คลินิก 3(2-3-4)ภาระการสอนในหลักสูตรปรับปรุง1. 562501 จิตเวชศาสตร์ 4(2-6-4)2. 570305 พฤติกรรมศาสตร์เบื้องต้น 1(1-0-2)203


204เอกสารหมายเลข 10รายชื่ออาจารย์พิเศษ


205รายชื่ออาจารย์พิเศษโรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ ศรีราชา สภากาชาดไทย จังหวัดชลบุรีอันดับ ชื่อ สกุล วุฒิการศึกษา ฝ่าย/กลุ่มงาน1 แพทย์หญิงรัตนา แจ้งยอดสุข อายุรศาสตร์อายุรกรรมเวชศาสตร์ครอบครัว2 นายแพทย์พงษ์ศักดิ์ ชุนพงษ์ทอง อายุรศาสตร์อายุรกรรมอายุรศาสตร์โรคไต3 นายแพทย์พงษ์ภัทร์ วรสายัณห์ อายุรศาสตร์อายุรกรรมประสาทวิทยา4 นายแพทย์ชัชวาล วัตนะกุล อายุรศาสตร์อายุรกรรมเวชศาสตร์ครอบครัว5 นายแพทย์สมควร ตั้งจิตร์พร อายุรศาสตร์อายุรกรรมอายุรศาสตร์โรคหัวใจ6 นายแพทย์ธเนศ จัดวัฒนกุล อายุรศาสตร์อายุรกรรมเวชศาสตร์ครอบครัว7 นายแพทย์กมล พจนมงคลกิจ อายุรศาสตร์อายุรกรรมเวชศาสตร์ครอบครัว8 นายแพทย์คงศักดิ์ อุไรรงค์ อายุรศาสตร์ อายุรกรรม9 นายแพทย์นพวุฒิ กีรติกรณ์สุภัค อายุรศาสตร์ อายุรกรรม10 นายแพทย์สฐาปกร ศิริวงศ์ อายุรศาสตร์อายุรกรรมอายุรศาสตร์โรคต่อมไร้ท่อ11 นายแพทย์วิเชียร จุฬาเสรีกุล อายุรศาสตร์อายุรกรรมอายุรศาสตร์โรคไต12 นายแพทย์จารุพงษ์ พรหมวิทักษ์ ศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์ อายุรกรรมเวชศาสตร์ป้องกันแขนงสาธารณสุขศาสตร์13 นายแพทย์สมยศ โล่ห์จินดาพงศ์ ศัลยศาสตร์ทั่วไป ศัลยกรรมเวชศาสตร์ครอบครัว14 นายแพทย์วิทยา โชคชัยไพศาล ศัลยศาสตร์ทั่วไป ศัลยกรรม15 นายแพทย์อนุเวช วงศ์มีเกียรติ ศัลยศาสตร์ทั่วไป ศัลยกรรม16 นายแพทย์สมเกียรติ จ ารูญถาวร ศัลยศาสตร์ทั่วไป ศัลยกรรม17 นายแพทย์ณัฐวุฒิ อมรภิญโญเกียรติ ศัลยศาสตร์ทั่วไป ศัลยกรรม18 นายแพทย์กนก กิตตินิรันดร์กุล ศัลยศาสตร์ทั่วไป ศัลยกรรมเวชศาสตร์ครอบครัว19 นายแพทย์สุทธิพันธ์ สุทธิศรี ศัลยศาสตร์ทั่วไป ศัลยกรรม20 นายแพทย์ปวริศ ตั้งเรือนรัตน์ ศัลยศาสตร์ ศัลยกรรม


อันดับ ชื่อ สกุล วุฒิการศึกษา ฝ่าย/กลุ่มงาน21 นายแพทย์สุวัฒน์ เงาประเสริฐวงศ์ ประสาทศัลยศาสตร์ ศัลยกรรม22 แพทย์หญิงปริภา เอี่ยมหฤท ศัลยศาสตร์ตกแต่ง ศัลยกรรม23 นายแพทย์ไตรรงค์ โตสุขุมวงศ์ ศัลยศาสตร์ศัลยกรรมศัลยศาสตร์ตกแต่ง24 แพทย์หญิงจุฑาทิพย์ นิรุตติรักษ์ กุมารเวชศาสตร์กุมารเวชกรรมเวชศาสตร์ครอบครัว25 นายแพทย์นิพนธ์ อุปมานรเศรษฐ์ ศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์ ออร์โธปิดิกส์เวชศาสตร์ครอบครัว26 นายแพทย์สมรักษ์ สันติเบ็ญจกุล จิตเวชศาสตร์ จิตเวช27 แพทย์หญิงรุ่งนภา ฐาปนวรกุล จิตเวชศาสตร์ ฝ่ายผู้ป่วยนอกและอุบัติเหตุ28 นายแพทย์สิทธินันท์ ตัณจักรวรานนท์ จิตเวชศาสตร์ ฝ่ายผู้ป่วยนอกและอุบัติเหตุ29 นายแพทย์พีรพล ภัทรนุธาพร จิตเวชศาสตร์ จิตเวช30 นายแพทย์วิชาญ ลือสมบูรณ์ กุมารเวชศาสตร์กุมารเวชกรรมเวชศาสตร์ครอบครัว31 นายแพทย์เอกรินทร์ โปรเทียรณ์ กุมารเวชศาสตร์ กุมารเวชกรรม32 นายแพทย์เอกชัย ประเดิมดุษฎีพร กุมารเวชศาสตร์ กุมารเวชกรรม33 ทันตแพทย์หญิงธาริณี พนมเริงศักดิ์ ทันตแพทยศาสตร์ ทันตกรรม34 นายแพทย์วันชัย นัยรักษ์เสรี ศัลยศาสตร์ยูโรวิทยา ศัลยกรรม35 นายแพทย์คมวุฒิ คนฉลาด เวชศาสตร์ฟื้นฟู เวชกรรมฟื้นฟู36 แพทย์หญิงกรวิกา สมสุด เวชศาสตร์ครอบครัว ผู้ป่วยนอกและอุบัติเหตุ206


207อันดับ ชื่อ สกุล วุฒิการศึกษา ฝ่าย/กลุ่มงาน37 นายแพทย์สมเกียรติ บวรเสรีไผท สูติ-นรีเวชวิทยาสูติ-นรีเวชกรรมเวชศาสตร์ครอบครัว38 นายแพทย์สมศักดิ์ เจษฏาพรชัย สูติ-นรีเวชวิทยา สูติ-นรีเวชกรรม39 นายแพทย์ไชยพร วราธนสิน สูติ-นรีเวชวิทยาสูติ-นรีเวชกรรมเวชศาสตร์ครอบครัว40 แพทย์หญิงอรอนงค์ นุ่มเจริญ สูติ-นรีเวชวิทยา สูติ-นรีเวชกรรม41 นายแพทย์อรรถพร พันธ์พานิช สูติ-นรีเวชวิทยา สูติ-นรีเวชกรรม42 แพทย์หญิงวาทินี สนธิรติ สูติ-นรีเวชวิทยา สูติ-นรีเวชกรรม43 นายแพทย์จันทรวัฒน์ นีละศรี สูติ-นรีเวชวิทยา สูติ-นรีเวชกรรม44 นายแพทย์ประสงค์ บุญรังสิมันตุ์ สูติ-นรีเวชวิทยาสูติ-นรีเวชกรรมเวชศาสตร์ครอบครัว45 แพทย์หญิงสมสุข สันติเบ็ญจกุล สูติ-นรีเวชวิทยา สูติ-นรีเวชกรรม46 นายแพทย์สมพร เตชะพะโลกุล ศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์ ออร์โธปิดิกส์เวชศาสตร์ครอบครัว47 นายแพทย์ณัฐวุธ ศาสตรวาหา ศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์ ออร์โธปิดิกส์เวชศาสตร์ครอบครัว48 นายแพทย์สุรพล อธิประยูร ศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์ ออร์โธปิดิกส์49 นายแพทย์เอกวิทย์ ถาวร ศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์ ออร์โธปิดิกส์50 นายแพทย์ปรัชญา จรัสจิตวิไล ศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์ ออร์โธปิดิกส์51 แพทย์หญิงพรเพ็ญ อัครวัชรางกูล เวชศาสตร์ครอบครัว ผู้ป่วยนอกและอุบัติเหตุ


อันดับ ชื่อ สกุล วุฒิการศึกษา ฝ่าย/กลุ่มงาน52 นายแพทย์อดุลย์ ปริยัติดุลภาค วิสัญญีวิทยา (วว.) จุฬาฯ วิสัญญี53 นายแพทย์การุณย์ เตชะพิเชษวนิช วิสัญญีวิทยา (วว.) จุฬาฯ วิสัญญี54 แพทย์หญิงอรศิริ สามัญตระกูล วิสัญญีวิทยา ขอนแก่น วิสัญญี55 แพทย์หญิงธีรารัตน์ ฉันทชล อายุรศาสตร์ จุฬาฯ อายุรกรรมอายุรศาสตร์ฉุกเฉิน จุฬาลงกรณ์วิทยาลัย56อายุรศาสตร์ จุฬาฯแพทย์หญิงหทัยชนก งามเกษมอายุรศาสตร์โรคหัวใจ จุฬาฯอายุรกรรม57 แพทย์หญิงพรเพ็ญ อัครวัชรางกูร เวชศาสตร์ครอบครัว รพ.สมเด็จฯอายุรศาสตร์ จุฬาฯผู้ป่วยนอกและอุบัติเหตุฉุกเฉิน58 นายแพทย์บรรเจิด พิมาพันธุ์ศรี โสต นาสิก ลาริงซ์วิทยา จุฬา จักษุ โสต ศอ นาสิก ลาริงซ์59 นายแพทย์ชยวิทย์ ขจิตตานนท์ จักษุวิทยา จุฬาฯ จักษุ โสต ศอ นาสิก ลาริงซ์60 นายแพทย์อัครินทร์ พลสวัสดิ์ ศัลยศาสตร์ทั่วไป จุฬาฯ ศัลยกรรม61 แพทย์หญิงวรัชญา วิศทเวย์ รังสีวิทยาวินิจฉัย จุฬาฯ รังสี62 แพทย์หญิงสุขใจ ดรุนัยธร เวชศาสตร์ฟื้นฟู จุฬาฯ เวชกรรมฟื้นฟู63 นายแพทย์วุฒิชัย เพิ่มศิริวาณิชย์ เวชศาสตร์ฟื้นฟู จุฬาฯ เวชกรรมฟื้นฟู64 นายแพทย์อภิชาต สิรกุลจิรา เวชศาสตร์ครอบครัว สงขลาฯศัลยศาสตร์ทั่วไป สงขลาฯ65 นายแพทย์นิติ ประสาทอาภรณ์ ศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์ จุฬา ออร์โธปิดิกส์66 นายแพทย์ณัฐวุฒิ ศาสตรวาหา ศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์ จุฬาฯ ออร์โธปิดิกส์67 นายแพทย์วรสัณห์ ทวีวุฒิทรัพย์ ศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์ รพ.พระ208ผู้ป่วยนอกและอุบัติเหตุฉุกเฉินออร์โธปิดิกส์มงกุฏฯ68 แพทย์หญิงปรียาทรรศน์ ศุขโรจน์ จักษุวิทยา จุฬาฯ จักษุ โสต ศอ นาสิก ลาริงซ์69 แพทย์หญิงวิไลลักษณ์ อมรภิญโญเกียรติ โสต นาสิก ลาริงซ์วิทยา จุฬาฯ จักษุ โสต ศอ นาสิก ลาริงซ์70 แพทย์หญิงธิติมา โชคทวีกาญจน์ โสต นาสิก ลาริงซ์วิทยา จุฬาฯ จักษุ โสต ศอ นาสิก ลาริงซ์


209รายชื่ออาจารย์พิเศษโรงพยาบาลศูนย์เจ้าพระยาอภัยภูเบศร จังหวัดปราจีนบุรีอันดับ ชื่อ สกุล วุฒิการศึกษา ฝ่าย/กลุ่มงาน1 นายแพทย์วิชาญ เกิดวิชัย ประสาทศัลยศาสตร์ ศัลยกรรม2 นายแพทย์เอนก พึ่งผล กุมารเวชศาสตร์ กุมารเวชกรรม3 นายแพทย์ธงชัย รักษาศิริกุล ศัลยศาสตร์ ศัลยกรรม4 นายแพทย์เผดิม โรจนสกุล ศัลยศาสตร์ ศัลยกรรม5 นายแพทย์พนม สุทธิรัตน์ อายุรศาสตร์ อายุรกรรม6 นายแพทย์ปราโมทย์ อัมพรสิทธิกูล โสต นาสิก ลาริงซ์วิทยา หู คอ จมูก7 นายแพทย์พงษ์ศักดิ์ ศิริฤกษ์อุดมพร ศัลยศาสตร์ ศัลยกรรม8 นายแพทย์ชโรม เนรัญชร สูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา สูติ-นรีเวชกรรม9 แพทย์หญิงจินตนา เลิศการค้าสุข สูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา สูติ-นรีเวชกรรม10 นายแพทย์สมบูรณ์ วณิชโยบล เวชศาสตร์ครอบครัวศัลยศาสตร์ ศัลยกรรมกระดูกออร์โธปิดิกส์11 แพทย์หญิงสุภาพร ภู่พิทยา อายุรศาสตร์ อายุรกรรม12 นายแพทย์ภราดร พัฒนะธนัง โสต นาสิก ลาริงซ์วิทยา หู คอ จมูก13 แพทย์หญิงจริยา ตั้งรักษาสัตย์ เวชศาสตร์ครอบครัว กุมารเวชกรรมกุมารเวชศาสตร์14 แพทย์หญิงกฤติกา งามจรรยาภรณ์ เวชศาสตร์ครอบครัว กุมารเวชกรรมกุมารเวชศาสตร์15 แพทย์หญิงพรสุข โอสถาพงษ์กาญจน์ เวชศาสตร์ครอบครัว รังสีวิทยารังสีวิทยาทั่วไป16 นายแพทย์พิสิฎฐ์ ชัยประเสริฐสุด เวชศาสตร์ครอบครัว จิตเวชสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยาจิตเวชศาสตร์17 นายแพทย์พรชัย ตันติวุฒิพงศ์ ศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์ ศัลยกรรมกระดูก18 นายแพทย์กิตติชัย มูลวิริยกิจ เวชศาสตร์ครอบครัว กุมารเวชกรรมกุมารเวชศาสตร์19 แพทย์หญิงวลีรัตน์ ไกรโกศล วิสัญญีวิทยา วิสัญญีวิทยา20 นายแพทย์ศักดิ์สิทธิ์ จิตรกฤษฎากุล ศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์ ศัลยกรรมกระดูก21 นายแพทย์อุทัย สุลักษณานนท์ อายุรศาสตร์ อายุรกรรม22 นายแพทย์สมโพชน์ จ ารัสพันธุ์ เวชศาสตร์ครอบครัว สูติ-นรีเวชกรรมสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา23 แพทย์หญิงนิภาภรณ์ มณีรัตน์ เวชศาสตร์ครอบครัวจักษุวิทยาจักษุวิทยา


อันดับ ชื่อ สกุล วุฒิการศึกษา ฝ่าย/กลุ่มงาน24 แพทย์หญิงปรียา เตชเพ็ญพันธ์ เวชศาสตร์ครอบครัว อายุรกรรมอายุรศาสตร์25 นายแพทย์วิทยา บุญเลิศเกิดไกร เวชศาสตร์ครอบครัวเวชศาสตร์ ศัลยกรรมป้องกันคลินิกศัลยศาสตร์ยูโรวิทยา26 นายแพทย์สืบสิทธิ์ ศุภจิตกุลชัย สูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา สูติ-นรีเวชกรรม27 นายแพทย์ไชยาวุฒิ สิทธินันท์ กุมารเวชศาสตร์ กุมารเวชกรรม28 แพทย์หญิงพัลลภา วัฒนรงคุปต์ รังสีวิทยาทั่วไป รังสีวิทยา29 นายแพทย์ศิริพงษ์ ปิติพร ศัลยศาสตร์ ศัลยกรรม30 นายแพทย์กมล รัศมีหิรัญ นิติเวชศาสตร์ พยาธิวิทยากายวิภาค31 นายแพทย์เอกรินทร์ สาธุเสน วิสัญญีวิทยา วิสัญญีวิทยา32 นายแพทย์อุดมศักดิ์ อุดมผล อายุรศาสตร์ อายุรกรรม33 แพทย์หญิงรัชฎา สหะวรกุลศักดิ์ เวชศาสตร์ฟื้นฟู เวชกรรมฟื้นฟู34 นายแพทย์จอมพล มุสิกวงศ์ ศัลยศาสตร์ตกแต่ง ศัลยกรรม35 นายแพทย์วรวิทย์ เสภาศีราภรณ์ ศัลยศาสตร์ออร์โธปิดิกส์ ศัลยกรรมกระดูก36 นายแพทย์ชัยวัฒน์ หนูแก้ว ประสาทศัลยศาสตร์ ศัลยกรรม37 แพทย์หญิงวรางคณา รักษ์งาน จิตเวชศาสตร์ จิตเวช38 นายแพทย์ชาติชาย คล้ายสุบรรณ เวชศาสตร์ฉุกเฉิน เวชศาสตร์ฉุกเฉินและนิติเวชวิทยา39 นายแพทย์กรัณย์ พรหมมี พยาธิวิทยาทั่วไป พยาธิวิทยากายวิภาค40 แพทย์หญิงชนกานต์ ดีมาก กุมารเวชศาสตร์ กุมารเวชกรรม41 นายแพทย์มกร ลิ้มอุดมพร ประสาทวิทยา อายุรกรรม42 นายแพทย์ชัยณรงค์ กวีกานนท์ ศัลยศาสตร์ ศัลยกรรม43 แพทย์หญิงอุไรวรรณ ลักษณะวิลัย สูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา สูติ-นรีเวชกรรม210


211เอกสารหมายเลข 11ข้อบังคับ<strong>มหาวิทยาลัยบูรพา</strong>ว่าด้วยการพิจารณาต าแหน่งทางวิชาการส าหรับผู้ซึ่งไม่ได้เป็นผู้ปฏิบัติงานในมหาวิทยาลัย


(สําเนา)ขอบังคับ<strong>มหาวิทยาลัยบูรพา</strong>วาดวยการพิจารณาตําแหนงทางวิชาการสําหรับผูซึ่งมิไดเปนผูปฏิบัติงานในมหาวิทยาลัยพ.ศ. ๒๕๕๓---------------------------------โดยที่เปนการสมควรใหมีขอบังคับวาดวยการพิจารณาตําแหนงทางวิชาการสําหรับผูซึ่งมิไดเปนผูปฏิบัติงานในมหาวิทยาลัยอาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๒๑ (๒) มาตรา ๕๖ และมาตรา ๕๘ แหงพระราชบัญญัติ<strong>มหาวิทยาลัยบูรพา</strong> พ.ศ. ๒๕๕๐ สภา<strong>มหาวิทยาลัยบูรพา</strong> จึงออกขอบังคับไว ดังตอไปนี้ขอ ๑ ขอบังคับนี้เรียกวา “ขอบังคับ<strong>มหาวิทยาลัยบูรพา</strong> วาดวยการพิจารณาตําแหนงทางวิชาการสําหรับผูซึ่งมิไดเปนผูปฏิบัติงานในมหาวิทยาลัย พ.ศ. ๒๕๕๓”ขอ ๒ ขอบังคับนี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศเปนตนไปขอ ๓ ในขอบังคับนี้“คณะ” หมายความรวมถึง วิทยาลัยดวย“อาจารยพิเศษ” หมายความวา อาจารยพิเศษตามมาตรา ๕๘ แหงพระราชบัญญัติ<strong>มหาวิทยาลัยบูรพา</strong> พ.ศ. ๒๕๕๐“ผูชวยศาสตราจารยพิเศษ” หมายความวา ผูชวยศาสตราจารยพิเศษตามมาตรา ๕๘แหงพระราชบัญญัติ<strong>มหาวิทยาลัยบูรพา</strong> พ.ศ. ๒๕๕๐“รองศาสตราจารยพิเศษ” หมายความวา รองศาสตราจารยพิเศษตามมาตรา ๕๘แหงพระราชบัญญัติ<strong>มหาวิทยาลัยบูรพา</strong> พ.ศ. ๒๕๕๐“ศาสตราจารยพิเศษ” หมายความวา ศาสตราจารยพิเศษตามมาตรา ๕๖ แหงพระราชบัญญัติ<strong>มหาวิทยาลัยบูรพา</strong> พ.ศ. ๒๕๕๐ขอ ๔ ในแตละปการศึกษา อธิการบดีอาจแตงตั้งบุคคลซึ่งมิไดเปนผูปฏิบัติงานในมหาวิทยาลัยที่มีความรูและประสบการณอันเปนประโยชนโดยตรงตอการเรียนการสอนในหลักสูตรของมหาวิทยาลัยเปนอาจารยพิเศษเพื่อทําหนาที่สอนวิชาหนึ่งวิชาใดก็ได ทั้งนี้ ตามคําแนะนําของคณบดีคณะซึ่งรับผิดชอบหลักสูตรนั้น


ขอ ๕ การแตงตั้งผูชวยศาสตราจารยพิเศษ หรือรองศาสตราจารยพิเศษ หรือพิจารณาเสนอเพื่อทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ แตงตั้งศาสตราจารยพิเศษ ใหนําขอบังคับ<strong>มหาวิทยาลัยบูรพา</strong> วาดวยการพิจารณาตําแหนงทางวิชาการ พ.ศ. ๒๕๕๑ และที่แกไขเพิ่มเติม มาใชบังคับโดยอนุโลมขอ ๖ ใหอธิการบดีรักษาการใหเปนไปตามขอบังคับนี้ประกาศ ณ วันที่ ๑๗ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๓สําเนาถูกตอง(ลงชื่อ) เกษม สุวรรณกุล(ศาสตราจารยเกษม สุวรรณกุล)นายกสภา<strong>มหาวิทยาลัยบูรพา</strong>(นางธนวรรณ ศักดากัมปนาท)เจาหนาที่บริหารงานทั่วไป


214เอกสารหมายเลข 12ทรัพยากรการเรียนการสอน


ทรัพยากรในการจัดการเรียนการสอน1. สถานที่และอุปกรณ์การสอน1.1 อาคารสถานที่ ในการจัดการเรียนการสอนชั้นปรีคลินิก ดังนี้อาคารวิทยาศาสตร์การแพทย์ เป็นอาคาร 6 ชั้น พื้นที่ 9,000ตารางเมตร ประกอบด้วย1. ห้องบรรยาย ขนาดความจุ 100 ที่นั่ง จ านวน 4 ห้อง2. ห้องบรรยาย ขนาดความจุ 50 ที่นั่ง จ านวน 3 ห้อง3. ห้องบรรยาย ขนาดความจุ 30 ที่นั่ง จ านวน 2 ห้อง4. ห้องเรียนปฏิบัติการขนาดใหญ่ จ านวน 8 ห้อง5. ห้องปฏิบัติการวิจัยเฉพาะด้าน จ านวน 21 ห้อง6. ห้องพักอาจารย์ ห้องละ 10 ที่นั่ง จ านวน 5 ห้อง7. ห้องประชุม จ านวน 1 ห้อง8. ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ จ านวน 2 ห้องโดยแบ่งแต่ละชั้นเป็นชั้น 1 ส านักงาน<strong>คณะแพทยศาสตร์</strong>ส านักงานภาควิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์ คณะวิทยาศาสตร์ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์จ านวน 2 ห้องห้องกิจกรรมนิสิตศูนย์ปฏิบัติการกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนชั้น 2 ห้องบรรยาย ขนาดความจุ 100 ที่นั่ง จ านวน 2 ห้องห้องพักอาจารย์สาขาสรีรวิทยาจ านวน 1 ห้องห้องเรียนปฏิบัติการสรีรวิทยาจ านวน 1 ห้องห้องเลี้ยงสัตว์ทดลอง จ านวน 1 ห้องห้องปฏิบัติการวิจัยเฉพาะด้านจ านวน 5 ห้องห้องประชุม ขนาดความจุ 15–20 ที่นั่ง จ านวน 1 ห้องชั้น 3 ห้องพักอาจารย์สาขาเภสัชวิทยา จ านวน 1 ห้องห้องเรียนห้องปฏิบัติการเภสัชวิทยาจ านวน 1 ห้องห้องวิจัยเฉพาะด้านจ านวน 5 ห้องห้องบรรยาย ขนาดความจุ 30 ที่นั่ง จ านวน 1 ห้องชั้น 4 ห้องบรรยาย ขนาดความจุ 100 ที่นั่ง จ านวน 2 ห้องห้องบรรยาย ขนาดความจุ 30 ที่นั่ง จ านวน 1 ห้องห้องพักอาจารย์สาขาจุลชีววิทยาทางการแพทย์และปรสิตวิทยาทางการแพทย์จ านวน 1 ห้องห้องเรียนปฏิบัติการสาขาจุลชีววิทยาทางการแพทย์และปรสิตวิทยาทางการแพทย์จ านวน 1 ห้องห้องปฏิบัติการวิจัยเฉพาะด้านจ านวน 5 ห้องชั้น 5 ห้องพักอาจารย์สาขากายวิภาคศาสตร์และพยาธิวิทยา จ านวน 1 ห้องห้องเรียนปฏิบัติการจุลกายวิภาคศาสตร์และพยาธิวิทยา จ านวน 4 ห้องห้องเรียนปฏิบัติการประสาทกายวิภาคศาสตร์ จ านวน 4 ห้อง215


ห้องวิจัยเฉพาะด้านจ านวน 4 ห้องชั้น 6 ห้องพักอาจารย์สาขากายวิภาคศาสตร์และพยาธิวิทยา จ านวน 1 ห้องห้องเรียนปฏิบัติการมหกายวิภาคศาสตร์จ านวน 1 ห้องห้องเรียนปฏิบัติการกายวิภาคศาสตร์พื้นฐาน จ านวน 2 ห้องห้องบรรยาย ขนาดความจุ 50 ที่นั่ง จ านวน 3 ห้องห้องเตรียมและดองศพจ านวน 1 ห้องอาคาร<strong>คณะแพทยศาสตร์</strong>เป็นอาคาร 6 ชั้น พื้นที่ 13,852 ตารางเมตร ส าหรับจัดการเรียนการสอนปฏิบัติการทักษะทางคลินิก (Clinical skill laboratory) ส านักงานคณบดี และห้องท างานอาจารย์และเจ้าหน้าที่ ศูนย์วิจัยห้องประชุม และหน่วยตรวจผู้ป่วยนอก๑. ห้องบรรยาย ขนาด 5× 8 และ 8 × 8 เมตร จ านวน 11 ห้อง๒. ห้องบรรยาย ขนาด 5× 12 และ 8 × 10 เมตร จ านวน 2 ห้อง๓. ห้องบรรยาย ขนาด 12 × 14 เมตร จ านวน 3 ห้อง๔. ห้องบรรยาย ขนาด 8 × 14เมตร จ านวน 1 ห้อง๕. ห้องประชุม ขนาด 8 × 15เมตร จ านวน 1 ห้อง๖. ห้องประชุม ขนาด 15 × 32 เมตร จ านวน 1 ห้อง๗. ห้องปฏิบัติการวิจัย จ านวน 10 ห้อง๘. ห้องเรียนปฏิบัติการขนาดใหญ่ จ านวน 10 ห้อง๙. ห้องสมุดทางการแพทย์ จ านวน 1 ห้อง๑๐. ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ จ านวน 2 ห้อง1.2 อาคารสถานที่ ในการจัดการเรียนการสอนชั้นคลินิก ดังนี้1.2.1 โรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ ศรีราชา สภากาชาดไทย อ าเภอศรีราชาจังหวัดชลบุรีขนาดจ านวนเตียง 500 เตียงประกอบด้วยอาคารเกษตร สนิทวงศ์- ห้องประชุม 1รองรับนิสิตได้ 32 คนมีอุปกรณ์เครื่องฉายภาพสามมิติวิชวลไรเซอร์เครื่องฉาย Projectorจอฉาก Projector ใช้มอเตอร์ เปิด/ปิดคอมพิวเตอร์216


217- ห้องประชุม 2 รองรับนิสิตได้ 32 คนมีอุปกรณ์เครื่องฉายภาพสามมิติวิชวลไรเซอร์กระดานแอคทีฟยี่ห้อ IQ Board รุ่นPSLCD TV 48 นิ้ว ยี่ห้อ Sonyตู้ดูฟิลม์สไลด์จอฉาก Projector ใช้มอเตอร์ เปิด/ปิดคอมพิวเตอร์- ห้องประชุม โถงรองรับนิสิตได้ 32 คนมีอุปกรณ์เครื่องฉายภาพสามมิติวิชวลไรเซอร์เครื่องฉาย Projecterคอมพิวเตอร์- ห้องCommon roomรองรับนิสิตได้ 32 คนมีอุปกรณ์เครื่องฉายภาพสามมิติวิชวลไรเซอร์เครื่องฉาย Projecterคอมพิวเตอร์1.2.2 โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร อ าเภอเมือง จังหวัดปราจีนบุรีขนาดจ านวนเตียง 505 เตียงงานห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศโรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศรมีห้องสมุด 2 แห่งคือ1.ห้องสมุดหลัก ตั้งอยู่ที่ชั้น5 อาคารเฉลิมพระเกียรติ ให้บริการหนังสือ และวารสาร ครอบคลุมทุกสาขาวิชาชีพ โดยจัดท าแบบส ารวจความต้องการทุกปี2.ห้องสมุดแพทย์ ตั้งอยู่ในห้องพักแพทย์ โดยมีต ารามาตรฐานและวารสารการแพทย์ เพื่อการค้นคว้าอย่างรวดเร็ว โดยจัดท าแบบส ารวจความต้องการทุกปีนอกจากนี้โรงพยาบาลจัดให้มีบทความวิชาการและวารสารวิชาการอิเลคทรอนิคส์ผ่านทางเวปไซต์ของโรงพยาบาล (www.aphai.net)


2. ห้องสมุดและสารสนเทศ2.1ส านักหอสมุด <strong>มหาวิทยาลัยบูรพา</strong> มีทรัพยากรสารสนเทศแล้ว ดังนี้จ านวนวัสดุสารนิเทศหนังสือ ภาษาไทย 254,912 เล่มภาษาต่างประเทศ 73,592 เล่มวารสาร ภาษาไทย 1,551 ชื่อภาษาต่างประเทศ 923 ชื่อหนังสือพิมพ์ ภาษาไทย 23 ชื่อภาษาต่างประเทศ 4 ชื่อสื่อโสตทัศน์ 15,015 ชิ้นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ 29,555 ชิ้นฐานข้อมูลออนไลน์ 17 ฐาน1. วันเวลาในการให้บริการนิสิต ดังนี้เวลาเปิดภาคเรียนปกติ วันจันทร์ – วันอาทิตย์ เวลา 08.00–22.00 น.ก่อนสอบปลายภาค 1 สัปดาห์และช่วงสอบเปิดถึง 24.00 น.เวลาเปิดภาคเรียนฤดูร้อน วันจันทร์ – วันศุกร์ เวลา 08.00–15.30 น.วันเสาร์ เวลา 08.00–22.00 น.วันอาทิตย์ เวลา 08.00–20.30 น.เวลาปิดภาคเรียน วันจันทร์ – วันศุกร์ เวลา 08.00–15.30 น.หมายเหตุ : ปิดบริการตามวันหยุดของมหาวิทยาลัย2. การบริการอื่น ๆ ได้แก่ก. ศูนย์การเรียนรู้ด้วยตนเองข. บริการห้องฉายภาพยนตร์ (มินิโฮมเธียเตอร์)ค. บริการสืบค้นข้อมูลจากอินเตอร์เน็ตง. บริการห้องศึกษากลุ่มจ. บริการสืบค้นฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์เพื่อการวิจัยฉ. บริการบนเว็บไซต์ส านักหอสมุด ได้แก่ E-Service, E-Form, Video และ CD onDemand, นิทรรศการออนไลน์, บทเรียนช่วยสอนการให้ห้องสมุด (Online Library Tutorial)ช. บริการฐานข้อมูลที่ส านักหอสมุดเป็นผู้พัฒนา ได้แก่ ฐานข้อมูลทรัพยากรสารสนเทศ(Web OPAC) ฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์/วิจัย/บทความ <strong>มหาวิทยาลัยบูรพา</strong> ฐานข้อมูลภาคตะวันออกฐานข้อมูลเว็บไซต์ภาคตะวันออก ฐานข้อมูลดิจิทัลเครือข่ายห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาจังหวัดชลบุรีฐานข้อมูลชี้แหล่งสารสนเทศภาคตะวันออก218


2.2 ส านักคอมพิวเตอร์ เปิดให้บริการแก่นิสิต ดังมีรายละเอียดดังนี้1. จ านวนคอมพิวเตอร์จ านวนคอมพิวเตอร์ที่เปิดให้บริการแก่นิสิต จ านวน 250 เครื่อง2. วัน เวลา ให้บริการวัน เวลาในการให้บริการแก่นิสิต ตั้งแต่ 08.00 – 24.00 น. ทุกวัน ยกเว้นวันหยุดนักขัตฤกษ์3. การรับข้อร้องเรียน และส ารวจความพึงพอใจของผู้ใช้บริการการท าการส ารวจความพึงพอใจ อย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง หรือตามความเหมาะสมของงานบริการ วิเคราะห์ข้อมูลจัดท าระดับความพึงพอใจเสนอผู้บริหารเพื่อให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น4. การให้บริการพัฒนาระบบสารสนเทศให้บริการพัฒนาระบบสารสนเทศ ปรับปรุง และดูแลระบบสารสนเทศตามความต้องการของผู้มาขอรับบริการทั้งหน่วยงานภายในและหน่วยงานภายนอกมหาวิทยาลัย5. การให้บริการสื่อผสม (Multimedia)ให้บริการงานด้านมัลติมีเดีย บริการพิมพ์เอกสารด้วยเครื่องพิมพ์เลเซอร์ พิมพ์เอกสารรูปภาพสี พิมพ์สีขนาดโปสเตอร์ สแกนเอกสารหรือรูปภาพ เขียนข้อมูลลงแผ่นซีดีอาร์(CD-R) แปลงวิดีโอเทปเป็นวีซีดีและให้บริการอุปกรณ์โสตทัศนูปกรณ์ในห้องปฏิบัติการ และห้องประชุมของส านักคอมพิวเตอร์6. การให้บริการห้องปฏิบัติการให้บริการ ดูแล และบ ารุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์ในห้องปฏิบัติการของส านักคอมพิวเตอร์แก่นิสิตและบุคลากรของมหาวิทยาลัย7. การให้บริการเครื่องแม่ข่ายให้บริการงานด้านเครื่องแม่ข่าย ออกบัญชีผู้ใช้งานเครือข่าย จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ และจัดให้บริการเว็บโฮสติ้งส าหรับหน่วยงานภายในมหาวิทยาลัย8. การให้บริการเครือข่ายอินเตอร์เน็ตให้ค าปรึกษาเกี่ยวกับเครือข่ายอินเตอร์เน็ต การเชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ของหน่วยงานต่างๆ เข้ากับเครือข่ายหลักของมหาวิทยาลัย เพื่อให้บริการอินเตอร์เน็ตส าหรับการศึกษาและวิจัย ควบคุมดูแลการเชื่อมโยงเครือข่ายให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อย9. การให้บริการวิชาการแก่สังคมให้บริการจัดสัมมนา จัดฝึกอบรมคอมพิวเตอร์ การขอความอนุเคราะห์วิทยากรทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร บริการรับจองห้องสัมมนาและห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ ทั้งหน่วยงานภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย10. การให้บริการสื่อการเรียนการสอนอิเล็กทรอนิกส์ให้บริการพัฒนาสื่อการเรียนการสอนอิเล็กทรอนิกส์ส าหรับหน่วยงานภายในมหาวิทยาลัย219


220เอกสารหมายเลข 13(<strong>ร่าง</strong>) มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรีสาขาแพทยศาสตร์


๑. ชื่อสาขาแพทยศาสตรMedicine๒. ชื่อปริญญาภาษาไทย :มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาแพทยศาสตรแพทยศาสตรบัณฑิตพ.บ.ภาษาอังกฤษ : Doctor of MedicineM.D.๓. ลักษณะของสาขาวิชาเปนสาขาวิชาที่ตองนําความรูทั้งดานศาสตรและศิลปมาใชเพื่อการประกอบวิชาชีพเวชกรรม โดยครอบคลุมถึงมิติทั้งทางรางกาย จิตใจ สังคม และปญญา (spiritual) เปนวิชาชีพที่ตองเรียนรูตลอดชีวิต มีการใชขอมูลเชิงประจักษ ในการปองกันโรค การวินิจฉัยโรค การบําบัดโรค การฟนฟูสมรรถภาพ รวมทั้งการสรางเสริมสุขภาพแบบองครวม โดยมุงเนนคนเปนศูนยกลาง และยึดมั่นในคุณธรรมและจริยธรรมแหงวิชาชีพ๔. คุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค (ตาม (ราง) เกณฑมาตรฐานผูประกอบวิชาชีพเวชกรรมแพทยสภา พ.ศ. ... * )(๑) มีพฤตินิสัย เจตคติ คุณธรรม และจริยธรรมแหงวิชาชีพ (Professional habit, attitude,moral and ethics)(๒) มีทักษะในการสื่อสารและการสรางสัมพันธภาพ (Communication and interpersonal skills)(๓) มีความรูพื้นฐานทางการแพทย (Scientific knowledge of medicine)(๔) มีความรูความสามารถในการรวบรวมขอมูล กําหนดปญหา ตั้งสมมติฐานโรค วางแผนการตรวจวินิจฉัย และใหการดูแลรักษาผูปวย ตามลักษณะการบริบาลผูปวยที่เหมาะสม (Patient care)(๕) มีความรูในการสรางเสริมสุขภาพ และระบบบริบาลสุขภาพ ของบุคคล ชุมชน และประชาชน(Health promotion and health care system: individual, community and population health)(๖) มีการพัฒนาความรูความสามารถทางวิชาชีพอยางตอเนื่อง (Continuous professionaldevelopment) เพื่อธํารงและพัฒนาความสามารถดานความรู ทักษะ เจตคติ และพฤติกรรม ในการประกอบวิชาชีพเวชกรรมใหมีมาตรฐาน ทันสมัย และตอบสนองตอความตองการของผูปวย สังคม และการเปลี่ยนแปลง(๗) มีทักษะในการดํารงชีวิตในสังคมอยางเปนสุข (Life and social skills)*รายละเอียดในภาคผนวก


๕. มาตรฐานผลการเรียนรูสาขาแพทยศาสตร กําหนดมาตรฐานผลการเรียนรู ๖ ดาน ที่สอดคลองกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิอุดมศึกษาแหงชาติ และคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงคของสาขาแพทยศาสตรที่กําหนดไว ดังนี้๕.๑ คุณธรรม จริยธรรม๕.๑.๑ แสดงออกถึงคุณธรรมจริยธรรมที่เหมาะสมตอวิชาชีพ๕.๑.๒ แสดงออกถึงความซื่อสัตยสุจริตตอตนเองและวิชาชีพ เปนที่ไววางใจของผูปวยและสังคม๕.๑.๓ แสดงออกถึงบุคลิกภาพอันเปนที่นาเชื่อถือ๕.๑.๔ มีความตรงตอเวลา และรับผิดชอบตอการนัดหมาย๕.๑.๕ มีความรับผิดชอบตอผูปวย และงานที่ไดรับมอบหมาย๕.๑.๖ เขาใจความตองการและขอจํากัด โดยไมแบงแยกในบริบทของเชื้อชาติ ศาสนาวัฒนธรรม เพศ อายุ และเศรษฐฐานะ๕.๑.๗ เคารพในสิทธิของผูปวย โดยการใหความจริง รักษาความลับ และคํานึงถึงประโยชนและความปลอดภัยของผูปวยเปนสําคัญ๕.๑.๘ มีความเขาใจและสามารถใหการบริบาลสุขภาพโดยมุงเนนคนเปนศูนยกลาง๕.๒ ความรู มีความรูความเขาใจในดานตางๆ ตอไปนี้๕.๒.๑ วิทยาศาสตรการแพทยระดับพื้นฐาน (ตาม (ราง) เกณฑมาตรฐานผูประกอบวิชาชีพเวชกรรม แพทยสภา พ.ศ. ..... ภาคผนวก ก)๕.๒.๒ วิชาชีพและทักษะทางคลินิก (ตาม (ราง) เกณฑมาตรฐานผูประกอบวิชาชีพเวชกรรม แพทยสภา พ.ศ. ..... ภาคผนวก ข)๕.๒.๓ การสรางเสริมสุขภาพ และระบบบริบาลสุขภาพ (ตาม (ราง) เกณฑมาตรฐานผูประกอบวิชาชีพเวชกรรม แพทยสภา พ.ศ. ..... ภาคผนวก ค)๕.๒.๔ เวชจริยศาสตร (ตาม (ราง) เกณฑมาตรฐานผูประกอบวิชาชีพเวชกรรม แพทยสภาพ.ศ. ..... ภาคผนวก ง)๕.๒.๕ กฎหมายที่เกี่ยวของกับการประกอบวิชาชีพเวชกรรม (ตาม (ราง) เกณฑมาตรฐานผูประกอบวิชาชีพเวชกรรม แพทยสภา พ.ศ. ..... ภาคผนวก จ)๕.๒.๖ การใชยา ผลิตภัณฑ และเทคโนโลยีดานสุขภาพอยางเหมาะสม โดยคํานึงถึงความคุมคาในเศรษฐศาสตรคลินิก๕.๒.๗ หลักการดานวิทยาการระบาดเชิงคลินิก ชีวสถิติ เวชสารสนเทศ และเวชศาสตรเชิงประจักษ


๕.๒.๘ หลักการดานสังคมศาสตร มานุษยวิทยา และพฤติกรรมศาสตร ที่จําเปนสําหรับสรางเสริมเจตคติ และสรางความเขาใจตอเพื่อนมนุษยและสังคม๕.๒.๙ หลักการดานบริหารงานขั้นพื้นฐานทางสาธารณสุข๕.๒.๑๐ หลักการพื้นฐานดานระบบคุณภาพ และความปลอดภัยของผูปวย๕.๓ ทักษะทางปญญา๕.๓.๑ ตระหนักรูในศักยภาพและขอควรพัฒนาของตน เพื่อกําหนดความตองการในการเรียนรูและพัฒนาของตนเอง ไดอยางครอบคลุมทุกดานที่จําเปน๕.๓.๒ สามารถวางแผนและแสวงหาวิธีการสรางและพัฒนาความรู ทักษะ เจตคติ และพฤติกรรมที่เหมาะสม๕.๓.๓ คิดวิเคราะหอยางเปนระบบ โดยใชองคความรูทางวิชาชีพและดานอื่นๆ ที่เกี่ยวของ๕.๓.๔ สามารถนําขอมูลและหลักฐานทั้งดานวิทยาศาสตรการแพทยพื้นฐานและทางคลินิกไปใชในการอางอิงและแกไขปญหาไดอยางมีวิจารณญาณ๕.๓.๕ สามารถแสวงหาและแลกเปลี่ยนความรู ฝกทักษะ รวมทั้งพัฒนาตนเองอยางตอเนื่องและสม่ําเสมอ๕.๓.๖ เลือกใชวิธีการแกไขปญหาไดอยางมีประสิทธิภาพ สอดคลองกับสถานการณ และบริบททางสุขภาพที่เปลี่ยนไป๕.๓.๗ เลือกใชวิธีการตรวจโดยเครื่องมือพื้นฐาน เครื่องมือพิเศษ และการตรวจทางหองปฏิบัติการ โดยคํานึงถึงความคุมคาและเหมาะสม๕.๓.๘ เขาใจบทบาท คุณประโยชน และแนวทางการบูรณาการการแพทยแผนไทยและการแพทยทางเลือกเขากับระบบสุขภาพของประเทศ เพื่อเลือกใชแนวทาง หรือสงตอผูปวยไดอยางเหมาะสม๕.๓.๙ เขาใจความสําคัญของการพัฒนาคุณภาพงาน ทั้งสามารถปฏิบัติไดอยางสม่ําเสมอและตอเนื่อง สามารถสรางองคความรูจากการปฏิบัติงานประจําวัน และเขาใจในระบบบริหารจัดการความรู๕.๓.๑๐ สามารถประยุกตใชความรูดานสุนทรียศาสตร ชีวิตและความตาย วัฒนธรรม สังคมกฎหมาย เศรษฐศาสตร และสิ่งแวดลอมของชุมชน เพื่อเชื่อมโยงกับการบริบาลสุขภาพอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล๕.๔ ความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ๕.๔.๑ สามารถปรับตัวเชิงวิชาชีพ และมีปฏิสัมพันธอยางสรางสรรคกับผูอื่น๕.๔.๒ สามารถทํางานเปนทีมในบทบาทผูนําและสมาชิกในทีมดูแลรักษา ทีมสุขภาพ และทีมในชุมชนของระบบบริการสาธารณสุข ในบริบทหรือสถานการณที่แตกตางกัน๕.๔.๓ มีความรับผิดชอบตอหนาที่ ตอสังคม และรับผิดชอบในการพัฒนาวิชาชีพ องคกรและสังคม


๕.๔.๔ สามารถสงเสริมการมีสวนรวมของประชาชน/ชุมชนใหมีบทบาทในการดูแล สรางเสริมสุขภาพ และตอบสนองตอความตองการของชุมชนอยางเหมาะสม๕.๕ ทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ๕.๕.๑ สามารถประยุกตใชหลักตรรกะ คณิตศาสตร และสถิติทางการแพทยไดอยางเหมาะสม๕.๕.๒ สามารถสื่อสารไดอยางมีประสิทธิภาพทั้งการพูด การฟง การอาน การเขียน การนําเสนอ และอวัจนภาษาหรือภาษาทาทาง (non-verbal communication) รวมทั้งสามารถอานตํารา และวารสารภาษาอังกฤษไดอยางเขาใจ๕.๕.๓ สามารถขอความยินยอมในการรักษาพยาบาลจากผูปวย รวมทั้งสรางความมั่นใจเรื่องการคงความลับของผูปวย๕.๕.๔ มีทักษะการสื่อสารในสถานการณเฉพาะ ไดแก การแจงขาวราย การจัดการเมื่อเกิดขอผิดพลาด โนมนาว ไกลเกลี่ย และเจรจาตอรอง๕.๕.๕ มีทักษะในการรับฟงปญหา เขาใจถึงความรูสึกและความวิตกกังวลของผูปวยและญาติ อีกทั้งสามารถตอบคําถาม อธิบาย ใหคําปรึกษา และคําแนะนํา โดยเปดโอกาสใหมีสวนรวมอยางเหมาะสม๕.๕.๖ สามารถคนควาหาขอมูลจากแหลงตางๆ โดยใชเทคโนโลยีสารสนเทศ รวมทั้งมีวิจารณญาณในการประเมินขอมูล ดวยหลักการของวิทยาการระบาดคลินิก และเวชศาสตรเชิงประจักษ๕.๕.๗ มีทักษะในการรับขอมูลอยางมีวิจารณญาณ และแปลงขอมูลใหเปนสารสนเทศที่มีคุณภาพรวมทั้งสามารถอาน วิเคราะห และถายทอดขอมูลขาวสารแกผูอื่นไดอยางเขาใจ๕.๕.๘ สามารถเลือกและใชรูปแบบการนําเสนอสารสนเทศ ตลอดจนใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารไดอยางมีประสิทธิภาพและเหมาะสมกับสถานการณ๕.๕.๙ สามารถบันทึกเอกสารทางการแพทยอยางเปนระบบ ถูกตอง และตอเนื่อง โดยอาศัยแนวทางมาตรฐานสากล๕.๕.๑๐ มีทักษะในการถายทอดความรู ทักษะ และประสบการณ แกผูเกี่ยวของ๕.๖ ทักษะพิสัย๕.๖.๑ มีความสามารถในการสังเกตอากัปกิริยา ทาทีของผูปวยและญาติ๕.๖.๒ มีความสามารถในการซักประวัติและตรวจรางกายผูปวยไดอยางครอบคลุมและเหมาะสม๕.๖.๓ มีความสามารถในการตรวจและแปลผลโดยเครื่องมือพื้นฐาน และการตรวจทางหองปฏิบัติการที่จําเปนได โดยคํานึงถึงความคุมคาและเหมาะสม๕.๖.๔ มีทักษะในการใหการดูแลรักษา และทําหัตถการที่จําเปน (ตาม (ราง) เกณฑมาตรฐานผูประกอบวิชาชีพเวชกรรม แพทยสภา พ.ศ....)๖. องคกรวิชาชีพที่เกี่ยวของแพทยสภา


๗. โครงสรางหลักสูตรการจัดวิชาและหนวยกิตของหมวดวิชาในหลักสูตรตองเปนไปตามเกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี ๖ ป พ.ศ.๒๕๕๒ ของสํานักงานมาตรฐานอุดมศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ใหมีจํานวนหนวยกิตรวมตลอดหลักสูตรไมนอยกวา ๑๘๐ หนวยกิตและไมเกิน ๒๖๓ หนวยกิต โดยมีสัดสวนจํานวนหนวยกิต ของแตละหมวดวิชา ดังนี้๗.๑ หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ไมนอยกวา ๓๐ หนวยกิต อาจจัดการเรียนการสอนในลักษณะจําแนกเปนรายวิชา หรือในลักษณะบูรณาการ โดยผสมผสานเนื้อหาวิชาที่ครอบคลุมสาระของกลุมวิชาสังคมศาสตร มนุษยศาสตร ภาษาศาสตรและกลุมวิชาวิทยาศาสตรกับคณิตศาสตร ในสัดสวนที่เหมาะสม๗.๒ หมวดวิชาเฉพาะ ไมนอยกวา ๑๔๔ หนวยกิต๗.๒.๑ กลุมวิชาพื้นฐานวิชาชีพ (บังคับ)๗.๒.๒ กลุมวิชาชีพ (บังคับ)๗.๒.๓ กลุมวิชาพื้นฐานวิชาชีพ / วิชาชีพ (เลือก)๗.๓ หมวดวิชาเลือกเสรี ไมนอยกวา ๖ หนวยกิต๘. เนื้อหาสาระสําคัญของสาขาวิชาเนื้อหาสาระสําคัญของวิชาแพทยศาสตรอาจเปนแบบบูรณาการ หรือแยกเปนระดับ โดยรายละเอียดดังนี้๘.๑ ระดับเตรียมแพทย ครอบคลุมเนื้อหาวิชาทั่วไป ไดแก กลุมวิชาสังคมศาสตร มนุษยศาสตรภาษาศาสตร วิทยาศาสตร และคณิตศาสตร ในสัดสวนที่เหมาะสม๘.๒ ระดับปรีคลินิก ครอบคลุมเนื้อหาวิทยาศาสตรการแพทยพื้นฐาน เกี่ยวกับโครงสรางหนาที่และกลไกการทํางานของรางกายและจิตใจของมนุษย สาเหตุ กลไกการเกิดโรค พยาธิสภาพและพยาธิสรีรวิทยาของโรค แนวทางการตรวจทางหองปฏิบัติการ ความรูเกี่ยวกับยา เวชศาสตรชุมชน เวชศาสตรครอบครัว และชีวสถิติทางการแพทย๘.๓ ระดับคลินิก ครอบคลุมความรูความสามารถ ทักษะ และเจตคติในการสรางเสริมสุขภาพการปองกันโรค การรักษาโรค การวินิจฉัยโรค การบําบัดโรค และการฟนฟูสมรรถภาพเกี่ยวกับโรค/ปญหาทางดานสุขภาพ รวมถึงการฝกปฏิบัติงานในโรงพยาบาลชุมชน ทักษะในการดูแลรักษาผูปวยที่พบบอย ผูปวยฉุกเฉิน และการแกไขปญหาทั้งนี้ เนื้อหาตองสอดคลองกับ (ราง) เกณฑมาตรฐานผูประกอบวิชาชีพเวชกรรม แพทยสภาพ.ศ. .....


๙. กลยุทธการสอนและการประเมินผลการเรียนรู๙.๑ กลยุทธการสอนเพื่อใหนักศึกษาสามารถบรรลุมาตรฐานผลการเรียนรูสาขาแพทยศาสตร การจัดการเรียนการสอนใหใชหลักการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ (student-centered learning) เนนการมีสวนรวมของผูเรียน (active participation) มีการบูรณาการความรู ทักษะ และเจตคติ (integrated learning) มุงเนนการคิดวิเคราะห (critical thinking) การใหเหตุผล (reasoning) และการแกไขปญหา (problem solving)เพื่อใหบรรลุเปาหมายไดบัณฑิตที่มีคุณลักษณะตามมาตรฐานที่กําหนดไวทั้ง ๖ ดาน โดยสถาบันควรเลือกจัดรูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลายใหเหมาะสมกับแตละสถาบัน อาทิเชน๑) การบรรยาย (lecture)๒) การอภิปรายกลุม (group discussion)๓) การเรียนรูโดยการกํากับตนเอง (self-directed learning)๔) การฝกปฏิบัติทางหองปฏิบัติการ (laboratory study)๕) การฝกทําโครงการ/วิจัย (project)๖) การฝกปฏิบัติในสถานการณจําลอง (simulated situation)๗) การฝกปฏิบัติกับผูปวย (clinical practice)๘) การสอนขางเตียง (bedside teaching)๙) การฝกประสบการณในชุมชน (community experience)๑๐) การปฏิบัติตนเปนแบบอยาง (role model)สําหรับกลยุทธการสอนระดับวิทยาศาสตรการแพทยพื้นฐาน ควรเลือกจัดรูปแบบการเรียนที่หลากหลายตามความเหมาะสมของแตละรายวิชา เชน การบรรยาย การอภิปรายกลุม การฝกปฏิบัติทางหองปฏิบัติการ การฝกทําโครงการ/วิจัย การมอบหมายงานบุคคล และการเรียนรูโดยการกํากับตนเองเปนตน โดยผูสอนควรกําหนดสัดสวนและลําดับของการเรียนรูทางทฤษฎีและการเรียนรูจากโจทยปญหาใหมีความเหมาะสมสําหรับกลยุทธการสอนระดับวิทยาศาสตรการแพทยคลินิกนั้น ตองเนนการเรียนรูจากผูปวยจริงเปนหลัก โดยใหนักศึกษาไดเรียนรูทั้งจากผูปวยใน ผูปวยนอก ผูปวยฉุกเฉิน และการฝกประสบการณในชุมชน ภายใตการดูแลของอาจารยแพทยที่ปฏิบัติตนเปนแบบอยาง ทั้งนี้ อาจจัดการสอนแบบบรรยายการอภิปรายกลุม การฝกปฏิบัติในสถานการณจําลอง การเรียนรูแบบแสวงหาความรูไดดวยตนเอง และการเรียนรูแบบอื่นๆ รวมดวยตามความเหมาะสม๙.๒ กลยุทธการประเมินผลการเรียนรูการประเมินผลการเรียนรูตองดําเนินการอยางเปนระบบ ตรงตามมาตรฐานผลการเรียนรูทั้ง ๖ดาน มีการประเมินผลทั้งในดานการประเมินความกาวหนาตามวัตถุประสงคการเรียนรู (formativeassessment) และการประเมินผลเพื่อตัดสินผลการเรียนรู (summative assessment) โดยมีการแจงใหนักศึกษาทราบถึงวิธีการวัดผลและเกณฑการประเมินผลลวงหนา


สถาบันสามารถเลือกใชวิธีการประเมินผลที่หลากหลาย แตตองสอดคลองกับวัตถุประสงคของแตละรายวิชาและจุดมุงหมายของหลักสูตร โดยพิจารณาเลือกเครื่องมือวัดผลในรูปแบบตางๆ ใหเหมาะสมกับสถาบัน ดังนี้๑) การประเมินความรูและการประยุกตใชความรู ดวยขอสอบแบบปรนัยเลือกตอบขอสอบแบบอัตนัยดัดแปลง และ/หรือการสอบปากเปลา เปนตน๒) การประเมินสมรรถนะ ดวยการสอบ objective structured clinical examination(OSCE) การสอบรายสั้นและรายยาว การสอบหลายสถานีทางคลินิก และ/หรือวิธีการประเมินในสถานการณจําลองอื่นๆ๓) การสังเกตพฤติกรรมและประเมินการปฏิบัติงานทางคลินิก การใชสมุดบันทึกเหตุการณ ตลอดจนการประเมินงานที่ไดรับมอบหมายการประเมินผลการเรียนรู อาจดําเนินการโดยเลือกใชเครื่องมือตามความเหมาะสม ดังตัวอยางตอไปนี้๙.๒.๑ ดานคุณธรรมและจริยธรรม ใชการสังเกตพฤติกรรม การประเมินตนเอง การประเมินโดยเพื่อนรวมชั้นเรียนหรือกลุมงาน และการประเมินผลงานที่ไดรับมอบหมาย๙.๒.๒ ดานความรู ใชการสอบแบบปรนัย อัตนัย การสอบปากเปลา การสอบปฏิบัติ และการประเมินผลงานที่ไดรับมอบหมาย๙.๒.๓ ดานทักษะทางปญญา ใชการสอบแบบปรนัย อัตนัย การสอบปากเปลา การสอบปฏิบัติการสังเกตจากการใหผูเรียนแสดงความคิดเห็น และการประเมินผลงานที่ไดรับมอบหมายซึ่งตองใชการประมวลความรูของผูเรียน๙.๒.๔ ดานทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ ใชการสังเกตพฤติกรรม การประเมินตนเอง การประเมินโดยเพื่อนรวมชั้นเรียนหรือกลุมงาน และการประเมินผลงานที่ไดรับมอบหมาย๙.๒.๕ ดานทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ ใชการสอบขอเขียน การสอบปากเปลา การสอบปฏิบัติ การสังเกตจากการใหผูเรียนแสดงความคิดเห็น การประเมินผลงานที่ไดรับมอบหมาย และการนําเสนอ๙.๒.๖ ดานทักษะพิสัย ใชการสอบปฏิบัติ การประเมินตนเอง การประเมินโดยเพื่อนรวมชั้นเรียนหรือกลุมงาน การสังเกตพฤติกรรม และประเมินการปฏิบัติงานทางคลินิก๑๐. การทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรูสถาบันการศึกษาตองกําหนดใหมีระบบและกลไกการทวนสอบเพื่อยืนยันวา นักศึกษาและผูสําเร็จการศึกษาทุกคนมีผลการเรียนรูทุกดานตามที่กําหนดไวในมาตรฐานคุณวุฒิสาขาแพทยศาสตร เปนอยางนอย โดยดําเนินการทั้งการทวนสอบระดับรายวิชา และระดับหลักสูตรและกําหนดใหเปนสวนหนึ่งของการประกันคุณภาพภายใน


๑๐.๑ การทวนสอบระดับรายวิชาสถาบันจะตองจัดทําการทวนสอบในระดับรายวิชาทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ โดยสถาบันการศึกษากําหนดระบบและกลไกในการดําเนินงานเกี่ยวกับการทวนสอบเพื่อพิจารณาความเหมาะสมของระบบการใหคะแนน รวมทั้งการประเมินดวยวิธีอื่นที่กําหนดในรายละเอียดวิชา รวมทั้งการอุทธรณ การประเมินผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา (ถามี) ซึ่งสถาบันการศึกษาจะตองมีการวางแผนและรายงานผลการทวนสอบตอคณะกรรมการบริหารหลักสูตร ทุกภาคการศึกษา๑๐.๒ การทวนสอบระดับหลักสูตรการกําหนดกลวิธีการทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรูของนักศึกษาหลังสําเร็จการศึกษา ควรเนนการทําวิจัยสัมฤทธิ์ผลของการประกอบอาชีพของบัณฑิตที่ทําอยางตอเนื่อง และนําผลการวิจัยที่ไดมาปรับปรุงกระบวนการการเรียนการสอนและหลักสูตรแบบครบวงจร รวมทั้งการประเมินคุณภาพของหลักสูตรและหนวยงานโดยองคกรภายนอกหรือระดับชาติ โดยการวิจัยอาจดําเนินการดังตัวอยางตอไปนี้๑๐.๒.๑ ภาวะการไดงานทําของบัณฑิต ประเมินจากบัณฑิตแตละรุนที่จบการศึกษา ในดานของระยะเวลาในการหางานทํา ความเห็นตอความรู ความสามารถ ความมั่นใจของบัณฑิตในการประกอบอาชีพ๑๐.๒.๒ การทวนสอบจากผูใชบัณฑิต โดยการขอเขาสัมภาษณ และ/หรือการสงแบบสอบถามเพื่อประเมินความพึงพอใจในบัณฑิตที่จบการศึกษาและเขาทํางานในสถานพยาบาลนั้นๆ ในคาบระยะเวลาตางๆ๑๐.๒.๓ การประเมินตําแหนง และ/หรือความกาวหนาในสายงานของบัณฑิต๑๐.๒.๔ การประเมินจากสถาบันอุดมศึกษาอื่น โดยการสงแบบสอบถาม หรือสอบถามระดับความพึงพอใจในความรู ความพรอม และคุณสมบัติดานอื่นๆ ของบัณฑิตที่จบการศึกษาและเขาศึกษาเพื่อปริญญาที่สูงขึ้นในสถาบันอุดมศึกษานั้นๆ๑๐.๒.๕ การประเมินจากบัณฑิตที่ไปประกอบอาชีพ ในสวนของความพรอมและความรูจากสาขาวิชาเรียน ซึ่งกําหนดในหลักสูตร รวมทั้งเปดโอกาสใหเสนอขอคิดเห็นในการปรับหลักสูตรใหดียิ่งขึ้น๑๐.๒.๖ ความเห็นจากผูทรงคุณวุฒิภายนอกที่ประเมินหลักสูตรหรืออาจารยพิเศษ ตอความพรอมของนักศึกษาในการเรียนและคุณลักษณะอื่นๆ ที่เกี่ยวของกับกระบวนการเรียนรู และการพัฒนาองคความรูของนักศึกษา๑๐.๒.๗ ผลงานของนักศึกษาที่สามารถวัดเปนรูปธรรมได๑๐.๒.๗.๑ จํานวนรางวัลทางสังคม๑๐.๒.๗.๒ จํานวนกิจกรรมการกุศลเพื่อสังคมและประเทศชาติ๑๐.๒.๗.๓ จํานวนกิจกรรมอาสาสมัครในองคกรที่ทําประโยชนตอสังคม๑๐.๒.๘ กําหนดวิธีการทวนสอบรวมกัน เชน การสอบออก (Exit Exam) โดยใชขอสอบกลางซึ่งคณาจารยสถาบันการศึกษาตางๆ รวมกันจัดทํา


๑๑. คุณสมบัติผูเขาศึกษาและการเทียบโอนผลการเรียนรู๑๑.๑ คุณสมบัติผูเขาศึกษากําหนดใหสอดคลองกับเกณฑของการคัดเลือกเขาศึกษาสาขาแพทยศาสตร ตามขอบังคับหรือระเบียบของแตละสถาบันการศึกษา๑๑.๒ การเทียบโอนผลการเรียนรูใหเปนไปตามขอบังคับหรือระเบียบของแตละสถาบันการศึกษา และประกาศกระทรวงศึกษาธิการ๑๒. คณาจารยและบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน๑๒.๑ จํานวนอาจารยประจําใหใชอัตราสวน อาจารยประจํา : นักศึกษา = ๑ : ๔ เปนเกณฑเฉลี่ยสําหรับจํานวนอาจารยและนักศึกษาทุกชั้นปตลอดหลักสูตร สําหรับการเรียนการสอนบางสวนของหลักสูตรหรือบางรายวิชา ซึ่งตองการการสอนและการควบคุมดูแลอยางใกลชิด จะตองจัดใหมีจํานวนอาจารยผูสอนเพียงพอตอการเรียนการสอนในสวนนั้นๆ อยางเหมาะสม โดยกําหนดใหมีอาจารยประจําในแตละรายวิชาอยางนอย ๒คน เพื่อทําหนาที่รับผิดชอบในการบริหารจัดการเรียนการสอน กําหนดหัวขอ รายละเอียดของเนื้อหาวิธีการสอน และการประเมินผล ทั้งนี้ ใหอาจารยประจําเปนอาจารยประจํารายวิชาไดไมเกิน ๒ รายวิชา ณเวลาหนึ่งๆ เทานั้น๑๒.๒ คุณวุฒิอาจารยใหใชอัตราสวนปริญญาเอกหรือเทียบเทา : ปริญญาโทหรือเทียบเทา : ปริญญาตรี = ๔๐ : ๕๐ :๑๐ อัตราสวนนี้เปนเกณฑโดยเฉลี่ย สําหรับการเรียนการสอนบางสวนของหลักสูตรหรือบางรายวิชาซึ่งตองการการสอนและการควบคุมดูแลอยางใกลชิด จะตองจัดใหมีอาจารยผูมีคุณวุฒิเพียงพอตอการเรียนการสอนในสวนนั้นๆ อยางเหมาะสม๑๒.๓ บุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอนสถาบันการศึกษาจะตองจัดใหมีบุคลากรทางการศึกษา (ไดแก บุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอนหรือผูชวยสอน บุคลากรสนับสนุนการบริหารงานของสถาบันการศึกษาทั้งในดานงานบริหาร การเงินและบริการโสตทัศนูปกรณ) : นักศึกษา ไมนอยกวา ๑ : ๒๐ เพื่อสนับสนุนการบริหารหลักสูตรใหดําเนินไปอยางมีประสิทธิภาพ๑๓. ทรัพยากรการเรียนการสอนและการจัดการ๑๓.๑ ทรัพยากรการเรียนการสอน๑๓.๑.๑ มีสิ่งอํานวยความสะดวกดานกายภาพ หมายความรวมถึงหองบรรยาย หองเรียนกลุมยอยหองปฏิบัติการ หองสมุด อุปกรณทางเทคโนโลยีสารสนเทศ และอุปกรณนันทนาการ อยางเพียงพอกับจํานวนอาจารยและนักศึกษาเพื่อใหไดมั่นใจวาหลักสูตรมีการจัดการเรียนการสอนไดอยางเหมาะสม และมีการพัฒนาสภาพแวดลอมเพื่อการเรียนรูของนักศึกษา โดยควรไดรับการปรับปรุงการทําใหทันสมัยอยูเสมอ เพิ่มเติมสิ่งอํานวยความสะดวกใหสอดคลองกับพัฒนาการทางการศึกษา มีระบบและ


มาตรการรักษาความปลอดภัยสําหรับนักศึกษาและอาจารย และปองกันอันตรายที่อาจเกิดระหวางการฝกปฏิบัติงานของนักศึกษา ระหวางการเดินทางไปและกลับจากการฝกงานในแหลงฝกปฏิบัติ๑๓.๑.๒ ทรัพยากรเพื่อการฝกอบรมทางคลินิก สถาบันการศึกษามีการจัดประสบการณทางคลินิกอยางเหมาะสมและมีทรัพยากรที่จําเปนในการสอนรวมทั้งมีผูปวยและอุปกรณการฝกอบรมทางคลินิกอยางเพียงพอโดยสิ่งอํานวยความสะดวกเพื่อการฝกอบรมทางคลินิกหมายความรวมถึง โรงพยาบาล (ที่มีการรักษาแบบผสมผสานทั้งระดับปฐมภูมิ ทุติยภูมิ และตติยภูมิอยางเหมาะสม) มีการรักษาผูปวยฉุกเฉินคลินิกตรวจโรค ศูนยบริการปฐมภูมิ ศูนยบริการสาธารณสุข สถานบริการสาธารณสุขชุมชนอื่นๆ และหองปฏิบัติการฝกทักษะสิ่งอํานวยความสะดวกเพื่อการอบรมทางคลินิก ควรไดรับการประเมินและพัฒนาอยางสม่ําเสมอเพื่อใหมีความเหมาะสมและมีคุณภาพสอดคลองกับหลักสูตรฝกอบรมทางการแพทยโรงพยาบาลที่ใชในการศึกษาระดับคลินิก มี ๓ ระดับ โรงพยาบาลแตละแหงจะตองมีบุคลากรที่มีความรูความสามารถในจํานวนเพียงพอที่จะสอนและดูแลนักศึกษา การดูแลรักษาผูปวยมีคุณภาพ มาตรฐาน เพื่อเปนแบบอยางที่ถูกตองแกนักศึกษา รวมทั้งมีเครื่องมือในการตรวจวินิจฉัยและดูแลรักษาผูปวยตามมาตรฐานของระดับโรงพยาบาล ดังตอไปนี้(๑) โรงพยาบาลหลัก หรือ Teaching Hospital หมายถึง โรงพยาบาลซึ่งเปนสถานที่จัดการเรียนการสอนไมนอยกวากึ่งหนึ่งของเวลาที่เรียนในชั้นคลินิกทั้งหมด• จํานวนเตียงผูปวย ตองไมต่ํากวา ๔๐๐ เตียง• อัตราสวนนักศึกษา : จํานวนเตียงผูปวย ตองไมต่ํากวา ๑ : ๕ ตอชั้นป• อัตราสวนอาจารยแพทย : นักศึกษาคลินิก ตองไมต่ํากวา ๑ : ๒• ประเภทงานบริการ มีงานบริการทางดานการแพทยตางๆ อยางนอย ๑๔ สาขาไดแก๑) กุมารเวชศาสตร๒) จักษุวิทยา๓) จิตเวชศาสตร๔) นิติเวชศาสตร๕) พยาธิวิทยา๖) รังสีวิทยา๗) วิสัญญีวิทยา๘) เวชปฏิบัติทั่วไป / เวชศาสตรครอบครัว๙) เวชศาสตรชุมชน / เวชศาสตรปองกันและสังคม๑๐) ศัลยศาสตร๑๑) ศัลยศาสตรออรโธปดิกสและเวชศาสตรฟนฟู๑๒) สูติศาสตรและนรีเวชวิทยา


๑๓) โสต-ศอ-นาสิกวิทยา๑๔) อายุรศาสตรงานบริการสาขาตางๆ ดังกลาวขางตน มีการใหบริการดูแลรักษาผูปวยครบถวนทั้งการบริการผูปวยนอก การบริการผูปวยใน การบริบาลผูปวยหนัก (ICU) การบริการผูปวยอุบัติเหตุและฉุกเฉินสําหรับงานบริการทางหองปฏิบัติการ มีการใหบริการตลอด ๒๔ ชั่วโมง ตามความเหมาะสมสวนการบริการตรวจทางพยาธิวิทยา มีการใหบริการตรวจเนื้อศัลยกรรม การตรวจทางเซลลวิทยา การตรวจศพผูปวยที่เสียชีวิตในโรงพยาบาล (ไมรวมศพผูปวยทางนิติเวชศาสตร) ที่นําไปสูกิจกรรมเชิงวิชาการเชน Clinico – pathological conference หรือรูปแบบที่ใกลเคียงกัน เชน Morbidity and mortality conferenceอยางสม่ําเสมอ• อุปกรณและเครื่องมือการตรวจวินิจฉัยและการรักษาพยาบาล หนวยงานที่เกี่ยวของกับการรักษาพยาบาล จะตองมีอุปกรณและเครื่องมือการตรวจวินิจฉัยและการรักษาพยาบาลอยางนอยตามเกณฑมาตรฐานโรงพยาบาลศูนยของกระทรวงสาธารณสุข• กิจกรรมวิชาการ จะตองมีบรรยากาศทางวิชาการที่เหมาะสมกับการเปนสถาบันแพทยมีกิจกรรมวิชาการที่หลากหลาย เชน Journal club, Case conference เปนตน รวมทั้งมีการวิจัยตามสมควร• หองเวชภัณฑ มีการจัดระบบเวชภัณฑที่สมบูรณตามเกณฑมาตรฐานของกระทรวงสาธารณสุข และมีเวชภัณฑตามบัญชียาหลักแหงชาติ• ระบบเวชระเบียน มีระบบเวชระเบียนที่สามารถนํามาใชในการศึกษาและวิเคราะหปญหาทางการแพทยและสาธารณสุขได• หองสมุดหรือศูนยสารสนเทศ โรงพยาบาลหลักจะตองจัดใหมีการเขาถึงวารสารทางการแพทย และมีตําราที่จําเปนในทุกสาขาวิชา• ที่พักนักศึกษา โรงพยาบาลหลักจะตองจัดที่พักใหกับนักศึกษาอยางเพียงพอภายในหรือใกลโรงพยาบาล รวมทั้งสถานที่สรางเสริมสุขภาพ และนันทนาการ• การรับรองคุณภาพโรงพยาบาล โรงพยาบาลหลักจะตองผานการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล (Hospital accreditation) ตามมาตรฐานของสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล(องคการมหาชน)(๒) โรงพยาบาลสมทบ หรือ Affiliated Hospital หมายถึง โรงพยาบาลซึ่งเปนสถานที่จัดการเรียนการสอนไมเกินกวาหนึ่งในสามของเวลาที่เรียนในชั้นคลินิกทั้งหมดในกรณีที่โรงพยาบาลหลักมีจํานวนผูปวยในบางสาขาไมเพียงพอ อาจจัดใหมีโรงพยาบาลสมทบไดโดยใชเกณฑจํานวนอาจารยแพทย : เตียงผูปวย : นักศึกษา รวมทั้งการจัดประสบการณการเรียนรูและการประเมินผลในมาตรฐานเดียวกับโรงพยาบาลหลัก และโรงพยาบาลที่รับเปนโรงพยาบาลสมทบ จักตองกําหนดใหการศึกษาเปนภารกิจหลักอยางหนึ่ง


(๓) โรงพยาบาลชุมชน หรือ Community Hospital หมายถึง โรงพยาบาลซึ่งเปนสถานที่จัดการเรียนการสอนใหมีการฝกปฏิบัติงานในชุมชนสถาบันตองจัดเครือขายโรงพยาบาลชุมชนใหนักศึกษาไดรับประสบการณการปฏิบัติงานในชุมชนในลักษณะ community – based education อยางเพียงพอ โรงพยาบาลดังกลาวควรใหบริการแบบองครวม และไมแบงการบริการผูปวยเปนสาขาโรงพยาบาลชุมชนตองมีจํานวนผูปวยเพียงพอใหนักศึกษาไดศึกษา และฝกปฏิบัติภายใตการดูแลของอาจารยแพทย ตามเกณฑดังนี้• นักศึกษาชั้นปที่ ๔ และ ๕ ตองมีโอกาสดูแลผูปวยนอกอยางนอยปละ ๕๐ รายตอนักศึกษา ๑ คน และดูแลผูปวยใหมอยางนอยสัปดาหละ ๑-๒ รายตอนักศึกษา ๑ คน• นักศึกษาชั้นปที่ ๖ ตองมีโอกาสดูแลผูปวยนอกอยางนอยสัปดาหละ ๕ รายตอนักศึกษา ๑ คน และดูแลผูปวยใน อยางนอยวันละ ๑๐ เตียงตอนักศึกษา ๑ คน• สําหรับการทําหัตถการตางๆ นั้นตองมีจํานวนผูปวยเหมาะสม ใหนักศึกษาไดฝกปฏิบัติตาม (ราง) เกณฑมาตรฐานผูประกอบวิชาชีพเวชกรรม แพทยสภา พ.ศ. ...ทั้งนี้ การจัดเครือขายเพื่อรองรับ community – based education ใหรวมถึงการศึกษาในสถานที่ที่เกี่ยวของกับปญหาสุขภาพ เชน โรงเรียน โรงงาน โรงงานกําจัดขยะ สถานีอนามัย หมูบาน เปนตน๑๓.๑.๓ เทคโนโลยีสารสนเทศ ตองจัดใหมีระบบเครือขายสารสนเทศทั้งภายในและภายนอก การสื่อสารอื่นๆ ที่เกี่ยวของ และประสานกับบริการของหอสมุดในสถาบันทั้งนี้ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารควรนํามาใชเปนสวนหนึ่งเพื่อจัดการเรียนการสอน ใชเตรียมนักศึกษาใหพรอมเพื่อการศึกษาตอเนื่องทางการแพทย และการพัฒนาอาจารย๑๓.๑.๔ การวิจัย ตองมีนโยบายสงเสริมความเชื่อมโยงระหวางการวิจัยและการศึกษา ทั้งตองกําหนดใหทราบถึงสิ่งอํานวยความสะดวกเพื่อการทําวิจัย และหัวขอเรื่องงานวิจัยที่สถาบันใหความสําคัญ๑๓.๑.๕ ผูเชี่ยวชาญทางการศึกษา มีนโยบายการใชประโยชนจากผูเชี่ยวชาญทางการศึกษาในการวางแผนดานแพทยศาสตรศึกษาและการพัฒนาวิธีการสอนผูเชี่ยวชาญทางการศึกษา รวมถึงแพทยที่มีประสบการณทํางานวิจัยดานแพทยศาสตรศึกษา นักจิตวิทยาการศึกษา นักสังคมวิทยา เปนตน จะทํางานที่เกี่ยวของกับปญหาในกระบวนการ และปฏิบัติการดานแพทยศาสตรศึกษา งานวิจัยทางแพทยศาสตรศึกษา การศึกษาดานประสิทธิผลของวิธีการเรียนการสอน และบริบทวงกวางในเรื่องอื่นๆ ของสถาบัน ทั้งนี้ บุคลากรดังกลาวอาจมาจากหนวยงานทางการศึกษาของสถาบัน หรือจากสถาบันระดับประเทศหรือระดับนานาชาติอื่นก็ได๑๓.๑.๖ การแลกเปลี่ยนทางการศึกษา มีนโยบายดานการประสานงานรวมกับสถาบันการศึกษาอื่น และการถายโอนหนวยกิตการศึกษาระหวางสถาบัน


๑๓.๒ การจัดการ๑๓.๒.๑ มีผูรับผิดชอบในการบริหารจัดการทรัพยากรการเรียนการสอนโดยเฉพาะ๑๓.๒.๒ มีการวางแผนความตองการทรัพยากรการศึกษาทุกประเภทอยางตอเนื่อง๑๓.๒.๓ มีทรัพยากรการศึกษาทุกประเภทจํานวนเพียงพอ และอยูในสภาพพรอมใชตลอดเวลา๑๓.๒.๔ มีการประเมินคุณภาพ และปริมาณของทรัพยากรทุกประเภทรวมทั้งแหลงฝกอยางตอเนื่อง๑๓.๒.๕ มีการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษา และอาจารยเพื่อการปรับปรุงคุณภาพภายหลังสิ้นสุดการเรียน๑๔. แนวทางการพัฒนาคณาจารย๑๔.๑ การเตรียมการสําหรับอาจารยใหม๑๔.๑.๑ มีการปฐมนิเทศอาจารยใหมใหรูจักสถาบันการศึกษา ตลอดจนหลักสูตรของคณะหรือภาควิชา๑๔.๑.๒ ใหอาจารยไดเขาใจถึงระบบการบริหารการศึกษาของสถาบัน และเรื่องของการประกันคุณภาพการศึกษาที่สถาบันตองดําเนินการ และสวนที่อาจารยทุกคนตองปฏิบัติ๑๔.๒ การพัฒนาคณาจารย๑๔.๒.๑ การฝกอบรมเพื่อใหคณาจารยมีความรูความเขาใจในเรื่องแพทยศาสตรศึกษาและการใชกลยุทธตางๆ ในการสอนและกระบวนการวัดและประเมินผลนักศึกษา ไดแก(๑) การอบรมเกี่ยวกับการสอนทั่วไป การวัดและประเมินผลเบื้องตน(๒) วิธีการสอนแบบตางๆ โดยเฉพาะการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ(๓) การสรางแบบทดสอบตางๆ ตลอดจนการประเมินผลการเรียนรูที่สอดคลองกับหลักสูตร(๔) การใชคอมพิวเตอรในการจัดการเรียนการสอน การใชและผลิตสื่อการสอน(๕) หลักสูตรอื่นที่เปนการพัฒนาและเพิ่มศักยภาพในการจัดการเรียนการสอน๑๔.๒.๒ สนับสนุนใหอาจารยไดศึกษาตอ และการพัฒนาทางวิชาการ/วิชาชีพดานอื่นๆ(๑) สนับสนุนใหอาจารยไดศึกษาตอเพื่อเพิ่มคุณวุฒิ(๒) สนับสนุนใหอาจารยใหมไปอบรมหรือประชุมสัมมนาทั้งในวิชาชีพและวิชาการอื่นๆ(๓) สนับสนุนใหอาจารยจัดทําผลงานทางวิชาการเพื่อใหมีตําแหนงทางวิชาการสูงขึ้น(๔) สงเสริมใหอาจารยทําวิจัยทั้งการวิจัยในสาขาวิชาชีพ และการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนตลอดจนใหแรงจูงใจแกผูที่มีผลงานทางวิชาการ


๑๕. การประกันคุณภาพหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนสถาบันการศึกษาสาขาแพทยศาสตร ตองสามารถประกันคุณภาพหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนที่จะทําใหบัณฑิตมีคุณภาพอยางนอยตามมาตรฐานผลการเรียนรูที่กําหนดไวในมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรีสาขาแพทยศาสตร โดยมีตัวบงชี้หลัก ดังนี้๑๕.๑ อาจารยประจําหลักสูตรอยางนอยรอยละ ๘๐ มีสวนรวมในการประชุมเพื่อวางแผนติดตาม และทบทวนการดําเนินงานหลักสูตร ทุกปการศึกษา๑๕.๒ มีรายละเอียดของหลักสูตร ตามแบบ มคอ.๒ ที่สอดคลองกับมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาแพทยศาสตรในทุกประเด็นเปนอยางนอย๑๕.๓ มีรายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียดของประสบการณภาคสนาม ตามแบบ มคอ.๓และ มคอ.๔ กอนการเปดหลักสูตรครบทุกรายวิชา๑๕.๔ จัดทํารายงานผลการดําเนินการของรายวิชา และรายงานผลการดําเนินการของประสบการณภาคสนามตามแบบ มคอ.๕ และ มคอ.๖ ภายใน ๓๐ วัน หลังสิ้นสุดภาคการศึกษาที่เปดสอนใหครบทุกรายวิชา๑๕.๕ จัดทํารายงานผลการดําเนินการของหลักสูตรตามแบบ มคอ.๗ ภายใน ๖๐ วัน หลังสิ้นสุดปการศึกษา๑๕.๖ มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรูที่กําหนดใน มคอ.๓และมคอ.๔ อยางนอยรอยละ ๒๕ ของรายวิชาที่เปดสอนในแตละปการศึกษา๑๕.๗ มีการพัฒนา/ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธการสอน หรือการประเมินผลการเรียนรู จากผลการประเมินการดําเนินงานที่รายงานใน มคอ.๗ ปที่ผานมา๑๕.๘ อาจารยประจําทุกคนมีคุณสมบัติครบตามกําหนดในมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรีสาขาแพทยศาสตรเปนอยางนอย หรือสัดสวนของอาจารยประจํา ตองเปนไปตามกําหนดในมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาแพทยศาสตร๑๕.๙ อาจารยใหมทุกคนตองไดรับการปฐมนิเทศภายในระยะเวลา ๑ ป และผานการฝกอบรมดานแพทยศาสตรศึกษาอยางนอย ๑ ครั้ง ภายใน ๓ ป หลังจากเริ่มปฏิบัติหนาที่ตําแหนงอาจารย๑๕.๑๐ อาจารยประจําทุกคนไดรับการพัฒนาในดานวิชาการและวิชาชีพไมนอยกวา ๑๕ ชั่วโมงตอปการศึกษา๑๕.๑๑ บุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอนไดรับการพัฒนาตรงตามงานที่รับผิดชอบทุกคนในแตละปไมนอยกวาคนละ ๑๐ ชั่วโมงตอปการศึกษา๑๕.๑๒ ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปสุดทายหรือบัณฑิตใหมที่มีตอคุณภาพหลักสูตรคะแนนเฉลี่ยตั้งแต ๓.๕๐ ขึ้นไป จากคะแนนเต็ม ๕.๐๐๑๕.๑๓ ระดับความพึงพอใจของผูใชบัณฑิตที่มีตอบัณฑิตใหม คะแนนเฉลี่ยตั้งแต ๓.๕๐ ขึ้นไปจากคะแนนเต็ม ๕.๐๐๑๕.๑๔ ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาตอคุณภาพการสอนของอาจารยแพทย คะแนนเฉลี่ยตั้งแต ๓.๕๐ ขึ้นไป จากคะแนนเต็ม ๕.๐๐


๑๕.๑๕ ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาตอทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอน คะแนนเฉลี่ยตั้งแต ๓.๕๐ ขึ้นไป จากคะแนนเต็ม ๕.๐๐๑๖. การนํามาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรีสาขาแพทยศาสตรสูการปฏิบัติสถาบันอุดมศึกษาที่ประสงคจะเปดสอน หรือปรับปรุงหลักสูตรสาขาแพทยศาสตร ควรดําเนินการดังนี้๑๖.๑ พิจารณาความพรอมและศักยภาพของสถาบันในการบริหารจัดการการศึกษาตามหลักสูตรในหัวขอตางๆ ที่กําหนดในมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาแพทยศาสตร๑๖.๒ แตงตั้งคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรปริญญาตรีสาขาแพทยศาสตร ตามมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรีสาขาแพทยศาสตร ซึ่งประกอบดวย กรรมการอยางนอย ๕ คนโดยมีอาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตรอยางนอย ๒ คน ผูทรงคุณวุฒิหรือผูเชี่ยวชาญในสาขาแพทยศาสตร ซึ่งเปนบุคคลภายนอกอยางนอย ๒ คน และ ผูแทนแพทยสภาอยางนอย ๑ คน เพื่อดําเนินการพัฒนาหลักสูตรใหสอดคลองกับมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาแพทยศาสตร โดยมีหัวขอของหลักสูตรอยางนอยตามที่กําหนดไวในแบบ มคอ.๒ (รายละเอียดของหลักสูตร)๑๖.๓ ดําเนินการพัฒนา/ปรับปรุงหลักสูตรโดยพิจารณาโครงสรางหลักสูตรเนื้อหาสาระสําคัญและผลการเรียนรูตามที่กําหนดในมาตรฐานคุณวุฒิสาขาเปนหลัก สถาบันอาจเพิ่มเติมผลการเรียนรูเฉพาะของหลักสูตรใหเปนไปตามปรัชญาและวัตถุประสงคของหลักสูตรและคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงคที่แตกตางจากสถาบันอื่นโดยใหแสดงแผนที่การกระจายความรับผิดชอบตอมาตรฐานผลการเรียนรู จากหลักสูตรสูรายวิชา เพื่อใหเห็นวาแตละรายวิชาในหลักสูตรมีความรับผิดชอบหลักหรือความรับผิดชอบรองตอมาตรฐานผลการเรียนรูดานใด๑๖.๔ จัดทํารายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียดของประสบการณภาคสนามตามที่กําหนดไวในหลักสูตร โดยมีหัวขออยางนอยตามแบบ มคอ.๓ (รายละเอียดของรายวิชา) และแบบ มคอ.๔(รายละเอียดของประสบการณ ภาคสนาม) ตามลําดับ พรอมแสดงใหเห็นวา แตละรายวิชาจะทําให เกิดผลการเรียนรูที่คาดหวังในเรื่องใด สถาบันการศึกษาตองมอบหมายใหภาควิชา/สาขาวิชา จัดทํารายละเอียดของรายวิชาทุกรายวิชา รวมทั้งรายละเอียดของประสบการณภาคสนามใหเสร็จสมบูรณกอนการเปดสอน๑๖.๕ สถาบันอุดมศึกษาตองเสนอสภาสถาบัน อนุมัติรายละเอียดของหลักสูตร ซึ่งไดจัดทําอยางถูกตองสมบูรณแลวกอนเปดสอน โดยสภาสถาบัน ควรกําหนดระบบและกลไกของการจัดทําและอนุมัติรายละเอียดของหลักสูตรรายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียดของประสบการณภาคสนามใหชัดเจน๑๖.๖ สถาบันอุดมศึกษาตองเสนอรายละเอียดของหลักสูตรซึ่งสภาสถาบันการศึกษาอนุมัติใหเปดสอนแลว ใหสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษารับทราบภายใน ๓๐ วัน นับแตสภาสถาบันอนุมัติและใหแพทยสภาใหความเห็นชอบตามที่แพทยสภากําหนด๑๖.๗ เมื่อสภาสถาบันอนุมัติตามขอ ๑๖.๕ แลว ใหมอบหมายอาจารยผูสอนแตละรายวิชาดําเนินการจัดการเรียนการสอนตามกลยุทธการสอนและการประเมินผลที่กําหนดไวในรายละเอียดของ


หลักสูตรรายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียดของประสบการณภาคสนาม ใหบรรลุมาตรฐานผลการเรียนรูที่คาดหวังของสาขา๑๖.๘ เมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอนการประเมินผลและการทวนสอบผลการเรียนรูของแตละรายวิชาและประสบการณภาคสนามในแตละภาคการศึกษาแลว ใหอาจารยผูสอนจัดทํารายงานผลการดําเนินงานของรายวิชา ซึ่งรวมถึงการประเมินผล และการทวนสอบผลการเรียนในรายวิชาที่ตนรับผิดชอบพรอมปญหา๑๖.๙ เมื่อครบรอบหลักสูตร ใหจัดทํารายงานผลการดําเนินการของหลักสูตร โดยมีหัวขอและรายละเอียดอยางนอยตามแบบ มคอ.๗ (รายงานผลการดําเนินการของหลักสูตร) เชนเดียวกับการรายงานผลการดําเนินการของหลักสูตรแตละปการศึกษา และวิเคราะหประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการบริหารจัดการหลักสูตรในภาพรวมวา บัณฑิตบรรลุมาตรฐานผลการเรียนรูตามที่คาดหวังไวหรือไมรวมทั้งนําผลการวิเคราะหมาปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตร และ/หรือการดําเนินการของหลักสูตรตอไป


แผนภูมิแสดงการนํามาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชาสูการปฏิบัติกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติผลการเรียนรูที่คาดหวังเกณฑมาตรฐานหลักสูตรไมใช๑?เผยแพรหลักสูตรที่ดําเนินการไดมาตรฐานTQFสกอ.สถาบันอุดมศึกษาใชติดตามการดําเนินการตาม TQF๕ ปทุกปวางแผนพัฒนา + ปรับปรุง รายละเอียดของหลักสูตร เสนอ สภาสถาบัน(Programme Specification) อนุมัติรายงานประจําภาค/ประจําปการศึกษา(Semester/Annual Programme Report)รายงานผลดําเนินงานของรายวิชาและประสบการณภาคสนาม (ถามี)(Course & Field Experience Reports)มาตรฐานคุณวุฒิสาขาแพทยศาสตรบัณฑิตรายละเอียดของรายวิชาและประสบการณภาคสนาม (ถามี)(Course & Field ExperienceSpecifications)กระบวนการเรียนการสอน(ที่ทําใหบรรลุผลการเรียนรูที่คาดหวัง)เกณฑกําหนดชื่อปริญญาหลักเกณฑการเทียบโอนเกณฑ/แนวทางอื่นๆเสนอสกอ.รับทราบหลักสูตรและบันทึกไวในฐานขอมูลการวัดและประเมินผล(มุงเนนผลการเรียนรูของนักศึกษา/บัณฑิต)นักศึกษา/บัณฑิตไดรับการพัฒนาใหมีมาตรฐานผลการเรียนรูตามที่กําหนดไวในกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ(บัณฑิตมีคุณภาพเปนที่พึงพอใจของผูจางงานและสังคม)(POD Network)Teaching Unitการจัดสิ่งอํานวยความสะดวก สภาพแวดลอม๑กกอ. กําหนดหลักเกณฑการปรับปรุง


๑๗. การเผยแพรหลักสูตรที่มีคุณภาพและมาตรฐานตามมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรีสาขาแพทยศาสตร ซึ่งบันทึกในฐานขอมูลหลักสูตรเพื่อการเผยแพรเพื่อประโยชนตอการกํากับดูแลคุณภาพการจัดการศึกษาของคณะกรรมการการอุดมศึกษา การรับรองคุณวุฒิเพื่อกําหนดอัตราเงินเดือนในการเขารับราชการของคณะกรรมการขาราชการพลเรือน(ก.พ.) การรับรองคุณวุฒิเพื่อการศึกษาตอหรือทํางานในตางประเทศและเปนขอมูลสําหรับผูประกอบการสังคมและผูมีสวนไดสวนเสียจะสามารถตรวจสอบหลักสูตรที่มีคุณภาพและมาตรฐานไดโดยสะดวกใหสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาเผยแพรหลักสูตรที่มีคุณภาพและมาตรฐานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิฯซึ่งบันทึกในฐานขอมูลหลักสูตรเพื่อการเผยแพร (Thai Qualifications Register: TQR) เมื่อสถาบันไดเปดสอนไปแลวอยางนอยครึ่งระยะเวลาของหลักสูตรตามหลักเกณฑตอไปนี้๑๗.๑ เปนหลักสูตรที่ไดรับอนุมัติจากสภาสถาบันอุดมศึกษากอนเปดสอนและไดแจงสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษารับทราบ ภายใน ๓๐ วัน นับแตสภาสถาบันอุดมศึกษาอนุมัติหลักสูตรนั้นและแพทยสภาใหความเห็นชอบแลว๑๗.๒ ผลการประเมินคุณภาพภายในตามตัวบงชี้ที่กําหนดไว ในรายละเอียดของหลักสูตรซึ่งสอดคลองกับการประกันคุณภาพภายในจะตองมีคะแนนเฉลี่ยระดับดีขึ้นไปตอเนื่องกัน ๒ ปนับตั้งแตเปดสอนหลักสูตรที่ไดพัฒนาตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติและมาตรฐานคุณวุฒิสาขาแพทยศาสตร ซึ่งผลการประเมินคุณภาพจะตองเปนไปตามหลักเกณฑที่มาตรฐานคุณวุฒิสาขาแพทยศาสตรกําหนดจึงจะไดรับการเผยแพร๑๗.๓ หลักสูตรใดที่ไมไดรับการเผยแพรใหสถาบันอุดมศึกษาดําเนินการปรับปรุงตามเงื่อนไขที่คณะกรรมการการอุดมศึกษาจะกําหนดจากผลการประเมินตอไป๑๗.๔ กรณีหลักสูตรใดไดรับการเผยแพรแลว สถาบันอุดมศึกษาจะตองกํากับดูแลใหมีการรักษาคุณภาพใหมีมาตรฐานอยูเสมอ โดยผลการประเมินคุณภาพภายในตองเปนไปตามที่มาตรฐานคุณวุฒิสาขาแพทยศาสตรกําหนดทุกปหลังจากไดรับการเผยแพร หากตอมาปรากฏวาผลการประเมินคุณภาพหลักสูตรของสถาบันอุดมศึกษาใดไมเปนไปตามที่กําหนด ใหสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาเสนอคณะกรรมการการอุดมศึกษาเพื่อพิจารณาถอนการเผยแพรหลักสูตรนั้นจนกวาสถาบันอุดมศึกษานั้นจะไดมีการปรับปรุงตามเงื่อนไขของคณะกรรมการการอุดมศึกษา


๑๘. รายชื่อและหนวยงานของคณะกรรมการจัดทํามาตรฐานคุณวุฒิระดับการศึกษาปริญญาตรีสาขาแพทยศาสตรคณะกรรมการการจัดทํามาตรฐานคุณวุฒิระดับการศึกษาปริญญาตรี สาขาแพทยศาสตร ประกอบดวย(๑) ศาสตราจารยคลินิก นายแพทยธีรวัฒน กุลทนันทน ประธานคณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล(๒) ผูชวยศาสตราจารย นายแพทยมงคล เลาหเพ็ญแสง รองประธานคณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล(๓) รองศาสตราจารย ดร. แพทยหญิงนิศารัตน โอภาสเกียรติกุล กรรมการคณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล(๔) ศาสตราจารย แพทยหญิงจารุพิมพ สูงสวาง กรรมการคณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล(๕) รองศาสตราจารย นายแพทยวันชัย เดชสมฤทธิ์ฤทัย กรรมการคณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล(๖) รองศาสตราจารย นายแพทยสิงหเพ็ชร สุขสมปอง กรรมการคณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล(๗) ผูชวยศาสตราจารย ดร. นายแพทยเชิดศักดิ์ ไอรมณีรัตน กรรมการคณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล(๘) อาจารย นายแพทยสุประพัฒน สนใจพาณิชย กรรมการคณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล(๙) รองศาสตราจารย นายแพทยสุวัฒน เบญจพลพิทักษ กรรมการคณะแพทยศาสตรโรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล(๑๐) รองศาสตราจารย นายแพทยโศภณ นภาธร กรรมการคณะแพทยศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย(๑๑) อาจารย ดร.นายแพทยดนัย วังสตุรค กรรมการคณะแพทยศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย(๑๒) รองศาสตราจารย แพทยหญิงวัลลี สัตยาศัย กรรมการคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร(๑๓) ผูชวยศาสตราจารย นายแพทยพิศิษฐ วัฒนเรืองโกวิท กรรมการคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร(๑๔) รองศาสตราจารย แพทยหญิงสุปรียา วงษตระหงาน กรรมการคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม(๑๕) รองศาสตราจารย นายแพทยธนู หินทอง กรรมการคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม๑๙


(๑๖) อาจารย นายแพทยมาโนช โชคแจมใส กรรมการคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม(๑๗) รองศาสตราจารย ดร.จินตนา สัตยาศัย กรรมการคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน(๑๘) ผูชวยศาสตราจารย นายแพทยเทิดศักดิ์ ผลจันทร กรรมการคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร(๑๙) ศาสตราจารย นายแพทยสมพล พงศไทย กรรมการคณะแพทยศาสตร <strong>มหาวิทยาลัยบูรพา</strong>(๒๐) รองศาสตราจารย นายแพทยกิจประมุข ตันตยาภรณ กรรมการคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม(๒๑) ผูชวยศาสตราจารย นายแพทยสิทธิโชค อนันตเสรี กรรมการคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร(๒๒) รองศาสตราจารย นายแพทยอานุภาพ เลขะกุล กรรมการคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร(๒๓) รองศาสตราจารย แพทยหญิงทัศนีย เล็บนาค กรรมการวิทยาลัยแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยรังสิต(๒๔) ผูชวยศาสตราจารย นายแพทยเกษม เสรีพรเจริญกุล กรรมการวิทยาลัยแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยรังสิต(๒๕) อาจารย นายแพทยจิโรจน สูรพันธุ กรรมการคณะแพทยศาสตรวชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร(๒๖) รองศาสตราจารย พลตรีหญิง แพทยหญิงปรียาพันธ แสงอรุณ กรรมการวิทยาลัยแพทยศาสตรพระมงกุฎเกลา(๒๗) แพทยหญิงปาริชาติ วงศเสนา กรรมการวิทยาลัยแพทยศาสตรและการสาธารณสุข มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี(๒๘) ดร. นายแพทยปรัชญะพันธุ เพชรชวย กรรมการสํานักวิชาแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ(๒๙) ผูชวยศาสตราจารย แพทยหญิงสรญา แกวพิทูลย กรรมการสํานักวิชาแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี(๓๐) รองศาสตราจารย นายแพทยวันชัย บุพพันเหรัญ กรรมการคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ(๓๑) พลอากาศเอก นายแพทยอวยชัย เปลื้องประสิทธิ์ กรรมการคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร(๓๒) ผูชวยศาสตราจารย แพทยหญิงมยุรี วศินานุกร กรรมการสํานักวิชาแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ


(๓๓) รองศาสตราจารย แพทยหญิงนันทนา ศิริทรัพย กรรมการกลุมสถาบันแพทยศาสตรแหงประเทศไทย(๓๔) รองศาสตราจารย นายแพทยวิสูตร ฟองศิริไพบูลย กรรมการแพทยสภา(๓๕) ศาสตราจารย นายแพทยชัยรัตน ฉายากุล เลขานุการคณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล(๓๖) ศาสตราจารย นายแพทยอาวุธ ศรีศุกรีกลุมสถาบันแพทยศาสตรแหงประเทศไทย(๓๗) ศาสตราจารย แพทยหญิงบุญมี สถาปตยวงศกลุมสถาบันแพทยศาสตรแหงประเทศไทย(๓๘) ศาสตราจารย นายแพทยสมภพ ลิ้มพงศานุรักษคณะแพทยศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย(๓๙) รองศาสตราจารย นายแพทยวิบูลย ฤทธิทิศสํานักวิชาแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ(๔๐) อาจารย นายแพทยวีระเดช ถิระวัฒนคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร(๔๑) ผูชวยศาสตราจารย นายแพทยทวีลาภ ตั๊นสวัสดิ์คณะแพทยศาสตร <strong>มหาวิทยาลัยบูรพา</strong>(๔๒) ผูชวยศาสตราจารย นายแพทยวิโรจน วรรณภิระคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร(๔๓) ผูชวยศาสตราจารย นายแพทยวิศาล มหาสิทธิวัฒนคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒผูประสานงาน(๑) นางสาวพัชดาพรรณ อุดมเพ็ชรคณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล(๒) นางสาวปุณยนุช พินชูคณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล(๓) นางสาวรัชฎาภรณ นะมาเสคณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล(๔) นางจามรี ทองประวัติคณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล(๕) นางสาวกุมุทนาถ ยุทธวิสุทธิ์คณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล


๑๙. ภาคผนวก (ถามี)๑๙.๑ บรรณานุกรม- กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๕๒ (Thai Qualifications Frameworkfor Higher Education: TQF-HEd). สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา- รายงานการประชุมแพทยศาสตรศึกษาแหงชาติ ครั้งที่ ๘ การบริบาลสุขภาพโดยมุงเนนคนเปนศูนยกลาง People – Centered Health Care วันที่ ๒๐-๒๒ กรกฎาคม ๒๕๕๒- แนวปฏิบัติ ตามขอเสนอแนะของการประชุมแพทยศาสตรศึกษาแหงชาติ ครั้งที่ ๗ วันที่ ๙-๑๑เมษายน ๒๕๔๔- แพทยศาสตรศึกษาขั้นพื้นฐาน (ระดับปริญญาบัณฑิต) มาตรฐานสากลของสหพันธแพทยศาสตรศึกษาโลกเพื่อการพัฒนาคุณภาพ World Federation for Medical Education (WFME) Office :University of Copenhagen Denmark 2003- (ราง) เกณฑมาตรฐานผูประกอบวิชาชีพเวชกรรม แพทยสภา พ.ศ. ... แพทยสภา- (ราง) เกณฑวาดวยการเปดหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต พ.ศ. ... กลุมสถาบันแพทยศาสตรแหงประเทศไทย๑๙.๒ (ราง) เกณฑมาตรฐานผูประกอบวิชาชีพเวชกรรม แพทยสภา พ.ศ. ...


243เอกสารหมายเลข 14เกณฑ์มาตรฐานผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมของแพทยสภา


้เกณฑ์มาตรฐานผู ้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมของแพทยสภา พ.ศ. 2554ค าน าแพทยสภา ได้ก าหนดเกณฑ์มาตรฐานผู ้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมฉบับแรกเมื่อ พ.ศ. 2527 เพื่อผดุงไว้ซึ่งมาตรฐานของแพทยศาสตรบัณฑิต หลังจากนั้นได้มีการปรับปรุงเกณฑ์มาตรฐานฯ ใหม่อีกสองครั้งในปี พ.ศ. 2536 และ พ.ศ. 2545 กรรมการแพทยสภาพิจารณาเห็นว่าปัจจุบันปัญหาสุขภาพและสภาพการณ์ต่างๆ ของประเทศมีการเปลี่ยนแปลงไป ทั้งระบบบริการสุขภาพของประเทศ ความเจริญก้าวหน้าของเทคโนโลยีทางการแพทย์ การสื่อสาร ประชาชนมีความรู ้เรื่องสุขภาพมากขึ ้น รวมทั้งมีความสามารถในการหาข้อมูลทางด้านสุขภาพเพิ่มขึ ้น บัณฑิตแพทย์จึงควรมีความรู ้ความเข้าใจเกี่ยวกับความรู ้ใหม่ที่ทันสมัย รวมทั้งระบบบริการสุขภาพในปัจจุบันและแนวโน้มของการปฏิรูประบบบริการสุขภาพเพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาความรู ้ ทักษะ และเจตคติที่สอดคล้องกับบทบาทหน้าที่ของแพทย์ในระบบบริการสุขภาพในอนาคต คณะกรรมการแพทยสภาจึงเห็นสมควรให้ปรับปรุงเกณฑ์มาตรฐานผูประกอบวิชาชีพเวชกรรมอีกครั้งหนึ่ง โดยมีเป้ าหมายให้บัณฑิตแพทย์มีความรู ้ความสามารถและเจตคติในการดูแลรักษาและส่งเสริมสุขภาพระดับปฐมภูมิได้เป็นอย่างดี เพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบันและแนวโน้มของการปฏิรูประบบบริการสุขภาพของประเทศในอนาคตเกณฑ์มาตรฐานผู ้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2554 ได้ยก<strong>ร่าง</strong>ขึ ้นด้วยเป้ าประสงค์ที่จะตอบสนองปรัชญาการศึกษาแพทยศาสตร์ อันเป็นผลสืบเนื่องจากการประชุมแพทยศาสตรศึกษาแห่งชาติ ครั้งที่ 8 ที่มุ ่งเน้นการบริบาลสุขภาพโดยยึดคนเป็นศูนย์กลาง (peoplecentered health care) ซึ่งคณะอนุกรรมการปรับปรุงเกณฑ์มาตรฐานผู ้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม ได้รวบรวมข้อคิดเห็นจากสถาบันผลิตแพทย์ แพทย์ที่ปฏิบัติงานอยู ่ในปัจจุบัน ผู ้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง และเกณฑ์มาตรฐาน ฯ พ.ศ. 2545สาระส าคัญของการปรับปรุงเกณฑ์มาตรฐานฯ สรุปได้ดังนี ้1. ปรับปรุงคุณลักษณะที่พึงประสงค์และความรู ้ความสามารถทางวิชาชีพ ทั้งนี ้ได้ใช้แนวทางจากเกณฑ์มาตรฐานฯ พ.ศ. 2545 และ Institute of International Medical Education, AccreditationCouncil for Graduate Medical Education (ACGME) ประเทศสหรัฐอเมริกา และ General MedicalCouncil (GMC) ของประเทศอังกฤษ2. เน้นความส าคัญของการปฏิบัติต่อผู ้ป่ วยและญาติ ผู ้เกี่ยวข้องอย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื ้นฐานของค าประกาศสิทธิผู ้ป่ วย ทักษะและเจตคติในการติดต่อสื่อสาร การให้ค าปรึกษา และการสร้างสัมพันธภาพอันดีกับผู ้ป่ วย ญาติและผู ้ร่วมงาน รวมทั้งการปฏิบัติที่ถูกต้องตามจริยธรรมและกฎระเบียบต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการประกอบวิชาชีพเวชกรรม


3.เน้นความส าคัญของการสร้างเสริมสุขภาพ และระบบบริบาลสุขภาพ สุขภาพของบุคคล ชุมชนและประชาชน โดยยึดคนเป็นศูนย์กลาง การให้บริบาลผู ้ป่ วยแบบประคับประคอง (palliative care) การดูแลผู ้ป่ วยระยะท้าย ความรู ้เรื่องการประกันคุณภาพ รวมทั้งความปลอดภัยของผู ้ป่ วย (patient safety)การใช้ยาอย่างสมเหตุผล และเลือกใช้เทคโนโลยีทางการแพทย์อย่างมีประสิทธิภาพ เนื ้อหาได้อิงจากคณะท างานเรื่องการสร้างเสริมสุขภาพของกลุ ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทย4.ปรับปรุงแก้ไขเกณฑ์ความรู ้วิทยาศาสตร์การแพทย์พื ้นฐาน ในภาคผนวก ก ทั้งนี เนื ้ ้อหาส่วนหนึ่งของภาคผนวก ก ได้อิงจากเกณฑ์มาตรฐานฯความรู ้ความสามารถทางวิชาชีพของชั้นคลินิก มีการแบ่งกลุ ่มอาการและโรคเป็นกลุ ่มที่ต้องรู ้ ควรรู ้ เพื่อให้เห็นถึงระดับความส าคัญของแต่ละปัญหา สามารถน าไปประยุกต์ใช้ในชั้นคลินิกต่อไปได้ ส าหรับความรู ้ความสามารถทางวิชาชีพคลินิก ในภาคผนวก ข ทั้งหมวดที่1 หมวดที่ 2 และหมวดที่ 3 ทักษะการตรวจทางห้องปฏิบัติการและหัตถการทางคลินิก มีการปรับระดับความรู ้ความสามารถให้เหมาะสมกับปัญหาสุขภาพในปัจจุบันและแนวโน้มในอนาคต5. คณะอนุกรรมการพิจารณา(<strong>ร่าง</strong>) หลักสูตรการเรียนการสอนจริยธรรมนักศึกษาแพทย์ ของแพทยสภา เสนอว่าเนื่องจากเพียงความรู ้และทักษะทางการแพทย์นั้นอาจจะไม่เพียงพอส าหรับการด าเนินตนเป็นแพทย์ที่ดีได้ หากแต่จะต้องอยู ่ภายใต้การคิดไตร่ตรอง การตัดสินใจ และการประพฤติปฏิบัติอย่างมีจริยธรรมด้วย การมุ ่งหวังให้แพทย์ได้รับการควบคุมผ่านข้อบังคับแพทยสภาว่าด้วยจริยธรรมเพียงอย่างเดียวนั้นอาจเป็นไปได้หากแต่ยังไม่สมบูรณ์ เนื่องจากข้อบังคับดังกล่าวไม่สามารถบัญญัติให้ครอบคลุมในทุกกรณีได้ อีกทั้งยังเป็นการแก้ปัญหาที่ปลายเหตุ ด้วยเหตุนี ้ เกณฑ์มาตรฐานฯ ฉบับปรับปรุงนี ้จึงได้เพิ่มภาคผนวก ง ขึ ้น โดยเป็นส่วนที่เกี่ยวข้องกับประเด็นด้านจริยธรรมทางการแพทย์ เพื่อให้สถาบันผลิตแพทย์ได้เห็นความส าคัญและน าข้อมูลในภาคผนวกดังกล่าวไปประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับสถาบันของตน6. กฎหมายและระเบียบข้อบังคับที่เกี่ยวข้องกับการประกอบวิชาชีพเวชกรรม โดยอิงจากเกณฑ์มาตรฐานเดิมฉบับปี พ.ศ. 2545 และปรับเพิ่มเนื ้อหากฎหมายและระเบียบข้อบังคับที่เพิ่มขึ ้นใหม่ให้ทันสมัยเกณฑ์มาตรฐานผู ้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมนีเป็นข้อก ้ าหนดในการประเมินความรู ้ความสามารถส าหรับการขอขึ ้นทะเบียนและรับใบอนุญาตเป็นผู ้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมของแพทยสภา สถาบันผู ้ผลิตบัณฑิตแพทย์ควรก าหนดความรู ้ความสามารถทางวิชาชีพในหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิตให้สอดคล้องกับเกณฑ์มาตรฐานฯนี ้ส าหรับการเพิ่มพูนความช านาญทางวิชาชีพตลอดจนทักษะในการท าหัตถการต่างๆนั้น ให้บัณฑิตแพทย์ฝึกฝนในระหว่างที่ปฏิบัติงานในโครงการเพิ่มพูนทักษะในโรงพยาบาลที่แพทยสภาก าหนดเป็นเวลาอย่างน้อย1ปี โดยแพทยสภาสามารถตรวจสอบมาตรฐานการจัดการเรียนการสอน การฝึกอบรมและการประเมินผลของสถาบันผลิตบัณฑิตแพทย์ และสถาบันสมทบได้เป็นระยะตามที่เห็นสมควรเพื่อเป็นการรักษามาตรฐานการประกอบวิชาชีพเวชกรรมและให้ใช้ผลการประเมินเป็นเกณฑ์ในการพิจารณาต่ออายุใบอนุญาตประกอบวิชาชีพเวชกรรมครั้งที่หนึ่ง


เกณฑ์มาตรฐานผู ้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมของแพทยสภา พ.ศ. 2554ผู ้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมต้องมีคุณสมบัติของสมาชิกแพทยสภาตามเกณฑ์ที่ได้บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติวิชาชีพเวชกรรม พ.ศ.2525 หมวด 2 มาตรา 11 และพึงมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ และมีความรู ้ความสามารถทางวิชาชีพ (professional competencies) ดังต่อไปนี ้1.พฤตินิสัย เจตคติ คุณธรรม และจริยธรรมแห่งวิชาชีพ (Professional habits, attitudes, moral,and ethics) ได้แก่1.1 การรักษาเกียรติและธ ารงคุณค่าแห่งวิชาชีพ ผู ้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมพึงมีคุณสมบัติดังต่อไปนี ้ มีคุณธรรม และจริยธรรมที่เหมาะสมต่อวิชาชีพแพทย์ ซื่อสัตย์สุจริตต่อตนเองและวิชาชีพ เป็นที่ไว้วางใจ ของผู ้ป่ วย และสังคม มีบุคลิกภาพอันเป็นที่น่าศรัทธา ตรงต่อเวลาและรับผิดชอบต่อการนัดหมาย รับผิดชอบต่อผู ้ป่ วยและงานที่ได้รับมอบหมาย ท างานร่วมกับผู ้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ มุ ่งมั่นพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง1.2 การค านึงถึงผู ้ป่ วย (patient center) ค านึงถึงประโยชน์และความปลอดภัยของผู ้ป่ วยเป็นส าคัญ ให้ความจริงแก่ผู ้ป่ วย รักษาความลับ และเคารพในสิทธิของผู ้ป่ วย ปกป้ องและพิทักษ์สิทธิประโยชน์ของผู ้ป่ วย1.3 การคุ ้มครองและรับผิดชอบต่อสังคม ด ารงตนเป็นแบบอย่างและเป็นพลเมืองดีของสังคม แสดงเจตคติที่ดีต่อการให้บริการสุขภาพแบบองค์รวมแก่ประชาชนทุกระดับ เข้าใจความต้องการและข้อจ ากัด โดยไม่แบ่งแยกในบริบทของเชื ้อชาติ วัฒนธรรม ศาสนาอาชีพ อายุ และเพศ มีความมุ ่งมั่นในการพัฒนาให้บริการที่มีคุณภาพอย่างต่อเนื่อง2. ทักษะการสื ่อสารและการสร้างสัมพันธภาพ (Communication and interpersonal skills)ผู ้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมพึงตระหนักถึงความส าคัญ และมีความสามารถในการติดต่อสื่อสาร และสร้างสัมพันธภาพที่ดีกับผู ้ป่ วย ญาติผู ้ป่ วย ผู ้ร่วมงาน และผู ้เกี่ยวข้อง ดังต่อไปนี ้


2.1 หลักส าคัญของสื่อสาร2.1.1 ตระหนักถึงปัจจัยของคู ่สื่อสารที่อาจส่งผลต่อการสื่อสาร เช่น สภาพ<strong>ร่าง</strong>กาย จิตใจและอารมณ์ พฤติกรรม ภูมิหลัง อาทิ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ ภาษา วัฒนธรรมความเชื่อ รวมถึงบรรยากาศที่เอื ้อต่อการสื่อสาร2.1.2 สามารถสื่อสารด้วยภาษาพูด ภาษาเขียน และภาษาท่าทาง (non-verbalcommunication) ได้อย่างมีประสิทธิภาพและเหมาะสม2.1.3 มีทักษะในการรับรู ้ข้อมูลโดยผ่านวิธีการสื่อสารต่างๆ อย่างมีวิจารณญาณ2.1.4 สามารถให้ข้อมูล น าเสนอด้วยวาจา อภิปรายในที่ประชุม เขียนรายงานหรือบทความเชิงวิชาการได้อย่างมีประสิทธิภาพ2.1.5 สามารถสื่อสารทางโทรศัพท์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์และสื่อประเภทอื่น ได้อย่างเหมาะสม2.1.6 พึงมีทักษะในการโน้มน้าว ไกล่เกลี่ย และเจรจาต่อรอง2.2 การสื่อสารกับผู ้ป่ วย2.2.1 มีทักษะในการรับฟังปัญหา เข้าใจความรู ้ สึกและความวิตกกังวลของผู ้ป่ วย อีกทั้งสามารถตอบค าถาม อธิบาย ให้ค าปรึกษาและค าแนะน าอย่างเหมาะสม2.2.2 มีทักษะในการสัมภาษณ์และซักประวัติผู ้ป่ วย ใช้ศัพท์และภาษาที่ผู ้ป่ วยเข้าใจได้2.2.3 เปิ ดโอกาสให้ผู ้ป่ วยมีส่วนร่วมในการตัดสินใจได้อย่างเหมาะสม แสดงความเห็นอกเห็นใจ เอื ้ออาทร ให้ความมั่นใจ และให้ก าลังใจแก่ผู ้ป่ วย2.2.4 สามารถขอความยินยอมในการรักษาพยาบาลจากผู ้ป่ วย รวมทั้งสร้างความมั่นใจในเรื่องการคงความลับของผู ้ป่ วย2.2.5 มีทักษะการสื่อสารในสถานการณ์เฉพาะ เช่น การแจ้งข่าวร้าย การจัดการเมื่อเกิดข้อผิดพลาดขึ ้น การขอชันสูตรศพ หรือการขอรับบริจาคอวัยวะ เป็นต้น2.3 การสื่อสารกับผู ้ที่เกี่ยวข้อง2.3.1 สามารถสื่อสารกับผู ้ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ผู ้ร่วมงาน บุคลากรทางกฎหมาย สื่อมวลชนและสาธารณชน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น การรับค าสั่ง การบังคับบัญชา การเป็ นพยานศาล การให้สัมภาษณ์ เป็ นต้น โดยคงความสมดุลระหว่างการเปิ ดเผยข้อมูลกับการรักษาความลับของผู ้ป่ วย2.3.2 มีทักษะในการถ่ายทอดความรู ้ ทักษะ และประสบการณ์แก่ผู ้ที่เกี่ยวข้อง2.3.3 สามารถจัดท าบันทึกทางการแพทย์ ใบรับรองแพทย์ ใบส่งต่อผู ้ป่ วย และเอกสารทางการแพทย์อื่นๆ ได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม


3. ความรู ้พื้นฐานทางการแพทย์ (Scientific knowledge of medicine)3.1 มีความรู ้ความเข้าใจในวิทยาศาสตร์การแพทย์พื ้นฐาน (ภาคผนวก ก) ความรู ้ความสามารถทางวิชาชีพและทักษะทางคลินิก (ภาคผนวก ข) สามารถค้นคว้าความรู ้เพิ่มเติมจากแหล่งข้อมูลต่างๆ เพื่อน าไปประยุกต์ในการตรวจวินิจฉัยและบ าบัดรักษาผู ้ป่ วย ตลอดจนวางแผนการสร้างเสริมสุขภาพและป้ องกันการเจ็บป่ วยได้อย่างถูกต้องเหมาะสม3.2 มีความรู ้ความเข้าใจในเรื่องต่อไปนี ้3.2.1 การสร้างเสริมสุขภาพ ระบบบริบาลสุขภาพ (ภาคผนวก ค)3.2.2 งานสาธารณสุขมูลฐาน เวชศาสตร์ชุมชน และเวชศาสตร์ครอบครัวอาชีวเวชศาสตร์3.2.3 เศรษฐศาสตร์คลินิกที่เกี่ยวข้องและเหมาะสมในการท าเวชปฏิบัติ3.2.4 หลักการด้านระบาดวิทยา ชีวสถิติ เวชสารสนเทศ วิทยาการระบาดคลินิก และเวชศาสตร์เชิงประจักษ์3.2.5 เวชจริยศาสตร์ (ภาคผนวก ง) และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการประกอบวิชาชีพเวชกรรม (ภาคผนวก จ)3.2.6 ศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง3.2.6.1 หลักการบริหารงานด้านการแพทย์และสาธารณสุข3.2.6.2 ความรู ้พื ้นฐานทางสังคมศาสตร์ มานุษยวิทยา และพฤติกรรมศาสตร์ที่จ าเป็นส าหรับการเสริมสร้างเจตคติ และความเข้าใจต่อเพื่อนมนุษย์และสังคม3.2.6.3 ระบบคุณภาพ รวมเรื่องความปลอดภัยของผู ้ป่ วย (patient safety)4. การบริบาลผู ้ป่ วย (Patient care)มีความรู ้ความสามารถ ในการรวบรวมข้อมูล ก าหนดปัญหา ตั้งสมมติฐาน วางแผนการตรวจวินิจฉัย ให้การดูแลรักษาผู ้ป่ วยได้อย่างเหมาะสม ดังต่อไปนี ้4.1 การตรวจวินิจฉัย และดูแลรักษาผู ้ป่ วยทั่วไป ได้แก่4.1.1 สังเกตอากัปกิริยา ท่าทีของผู ้ป่ วยและญาติ4.1.2 ซักประวัติและตรวจ<strong>ร่าง</strong>กายผู ้ป่ วยได้อย่างครอบคลุมและเหมาะสม4.1.3 เลือกใช้วิธีการตรวจโดยเครื่องมือพื ้นฐาน เครื่องมือพิเศษ และการตรวจทางห้องปฏิบัติการต่างๆ โดยค านึงถึงความคุ ้มค่าและความเหมาะสม4.1.4 รวบรวมและแปลผล ข้อมูลจากประวัติ การตรวจ<strong>ร่าง</strong>กาย การตรวจทางห้องปฏิบัติกาและการตรวจพิเศษต่างๆ เพื่อน ามาตั้งสมมติฐาน วิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหาผู ้ป่ วย4.1.5 น าหลักของเวชศาสตร์เชิงประจักษ์ มาใช้เพื่อวินิจฉัย ดูแลรักษา รวมทั้งการพยากรณ์โรคของผู ้ป่ วยได้อย่างเหมาะสม


4.1.6 เลือกใช้มาตรการในการคัดกรอง ป้ องกัน การรักษา การรักษาแบบประคับประคอง การดูแลผู ้ป่ วยในระยะสุดท้าย ให้สอดคล้องกับระยะของการด าเนินโรค และทรัพยากรที่มีได้อย่างเหมาะสม4.1.7 เลือกใช้ยาได้อย่างสมเหตุผล ตามหลักเภสัชวิทยาคลินิกโดยค านึงถึงความปลอดภัยของผู ้ป่ วยเป็นส าคัญ4.1.8 ชี ้แจง ให้ข้อมูลเพื่อขอความยินยอมจากผู ้ป่ วยในการดูแลรักษา4.1.9 บันทึกเวชระเบียนอย่างเป็นระบบ ถูกต้อง และต่อเนื่อง โดยอาศัยแนวทางมาตรฐานสากล4.1.10 ปรึกษาผู ้มีความรู ้ความช านาญกว่า หรือส่งต่อผู ้ป่ วยไปรับการรักษาอย่างเหมาะสม4.1.11 ให้การบริบาลผู ้ป่ วยแบบองค์รวม4.1.12 ตระหนักถึงความส าคัญของการแพทย์แผนไทย และการแพทย์ทางเลือก โดค านึงถึงความเหมาะสมและข้อจ ากัดในการใช้4.1.13 ให้การดูแลรักษาแบบสหวิชาชีพ แก่ผู ้ป่ วยได้อย่างเหมาะสม4.1.14 ในกรณีฉุกเฉิน สามารถจัดล าดับความส าคัญ และให้การรักษาเบื ้องต้นได้อย่างทันท่วงที4.2 ทักษะการตรวจ การตรวจทางห้องปฏิบัติการ การท าหัตถการที่จ าเป็น (Technical andprocedural skills)มีความสามารถในการท าหัตถการและใช้เครื่องมือต่างๆในการตรวจวินิจฉัยและรักษาผู ้ป่ วย โดยสามารถอธิบายข้อบ่งชี ้ข้อห้าม ภาวะแทรกซ้อนในการตรวจ สภาพและเงื่อนไขที่เหมาะสม (condition tobe fulfilled) ขั้นตอนการตรวจ กระท าได้ด้วยตนเอง แปลผลได้อย่างถูกต้อง และเตรียมผู ้ป่ วยเพื่อการตรวจวินิจฉัยนั้นๆ ตามเกณฑ์ในหมวดที่ 3 ที่ระบุไว้ใน ภาคผนวก ข5. การสร้างเสริมสุขภาพ และระบบบริบาลสุขภาพ: สุขภาพของบุคคล ชุมชน และประชาชน(Health promotion and health care system: individual, community and population health)(ภาคผนวก ค)5.1 มีความรู ้ความเข้าใจเรื่อง การสร้างเสริมสุขภาพ ระบบบริบาลสุขภาพ ปัจจัยก าหนดสุขภาพการบริบาลสุขภาพแบบองค์รวม ความรู ้พื ้นฐานทางเศรษฐศาสตร์คลินิก ดัชนีชี ้วัดสุขภาพ ระบาดวิทยาหลักกฎหมายและข้อบังคับที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ5.2 ให้การดูแลสุขภาพรายบุคคล และประพฤติตนเป็นตัวอย่างที่ดีในการดูแลสุขภาพ5.3 ให้การบริบาลสุขภาพแบบเบ็ดเสร็จ (comprehensive care) ได้แก่ การประเมินสุขภาพ การ


คัดกรองปัจจัยเสี่ยง การสร้างเสริมสุขภาพ การป้ องกันความเจ็บป่ วย การตรวจวินิจฉัยปัญหาสุขภาพ การบ าบัดปัญหาสุขภาพ และการฟื ้นฟูสภาพ จากระดับบุคคล ครอบครัว และเชื่อมโยงไปสู ่ระดับชุมชนและสังคมสังคมสุขภาพ5.4 ประเมิน วิเคราะห์ และวางแผนพัฒนาการสร้างเสริมสุขภาพในชุมชน5.5 ให้การบริบาลสุขภาพโดยค านึงถึงความปลอดภัยและพิทักษ์สิทธิของผู ้ป่ วยเป็นส าคัญ5.6 ท างานเป็นส่วนหนึ่งของทีมสุขภาพ ในการสร้างเสริมสุขภาพของบุคคล ครอบครัว ชุมชนและ5.7 ท างานสร้างเสริมสุขภาพร่วมกับชุมชนได้อย่างเหมาะสม5.8 ตระหนักถึงความส าคัญของการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกต่อการสร้างเสริม6 การพัฒนาความรู ้ความสามารถทางวิชาชีพอย่างต่อเนื ่อง (Continuous professionaldevelopment) เพื่อธ ารงและพัฒนาความสามารถด้านความรู ้ ทักษะ เจตคติ และพฤติกรรม ในการประกอบวิชาชีพเวชกรรมให้มีมาตรฐาน ทันสมัย และตอบสนองต่อความต้องการของผู ้ป่ วย สังคม และความเปลี่ยนแปลง โดย6.1 ก าหนดความต้องการในการเรียนรู ้ของตนเอง ได้อย่างครอบคลุมทุกด้านที่จ าเป็น6.2 วางแผนและแสวงหาวิธีการสร้างและพัฒนาความรู ้ ทักษะ เจตคติ และพฤติกรรมที่เหมาะสม6.3 เข้าร่วมกิจกรรมเพื่อแสวงหาและแลกเปลี่ยนความรู ้ ฝึกทักษะ รวมทั้งพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องและสม ่าเสมอ6.4 ค้นคว้าหาข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่างๆ โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ รวมทั้งมีวิจารณญาณในการประเมินข้อมูล ด้วยหลักการของวิทยาการระบาดคลินิก และเวชศาสตร์เชิงประจักษ์6.5 ประยุกต์ความรู ้ เทคโนโลยี และทักษะใหม่ได้อย่างเหมาะสม6.6 ตระหนักถึงความส าคัญของการพัฒนาคุณภาพงาน รวมทั้งสามารถปฏิบัติได้อย่างสม ่าเสมอและต่อเนื่อง สร้างองค์ความรู ้ใหม่จากการปฏิบัติงานประจ าวัน และการจัดการความรู ้ได้ (knowledgemanagement)


ภาคผนวก ก วิทยาศาสตร์การแพทย์พื้นฐานB1 General PrinciplesB1.1 Biochemistry and molecular biologyB1.1.1 Structure, and function of proteinsB1.1.1.1 principles of protein structure and foldingB1.1.1.2 enzymes: kinetics, reaction mechanismsB1.1.1.3 structural and regulatory proteins: ligand binding, self-assemblyB1.1.1.4 regulatory propertiesB1.1.2 Gene expression: DNA structure, replication, and exchangeB1.1.2.1 DNA structure: single- and double-stranded DNA, stabilizing forces, supercoilingB1.1.2.2 gene structure and organization: chromosomes, centromere, telomereB1.1.2.3 DNA replication, mutation, repair, degradation, and inactivationB1.1.2.4 recombination, insertion sequences, transposonB1.1.2.5 mechanisms of genetic exchange, including transformation, transduction,conjugation, crossover, recombination, linkageB1.1.3 Gene expression: transcription, including defectsB1.1.3.1 transcription of DNA into RNA, enzymatic reactions, RNA, RNA degradationB1.1.3.2 regulation: cis-regulatory elements, transcription factors, enhancers, promoters,silencers, repressants, splicingB1.1.4 Gene expression: translation, including defectsB1.1.4.1 the genetic codeB1.1.4.2 structure and function of tRNAB1.1.4.3 structure and function of ribosomesB1.1.4.4 protein synthesisB1.1.4.5 regulation of translationB1.1.4.6 post-translational modifications, including phosphorylation, addition ofcarbohydrate unitsB1.1.4.7 protein degradationB1.1.5 Principles of molecular technologyB1.1.5.1 analysis of DNA: sequencing, restriction analysis, PCR, amplification, hybridizationB1.1.5.2 plasmids and bacteriophagesB1.1.5.3 gene cloningB1.1.5.4 recombinant DNA technology and applicationB1.1.6 Energy metabolism, including metabolic sequences, regulationB1.1.6.1 generation of energy from carbohydrates, fatty acids, and essential amino acids;glycolysis, pentose phosphate pathway, tricarboxylic acid cycle, ketogenesis,


electron transport and oxidative phosphorylation, glycogenolysisB1.1.6.2 storage of energy: gluconeogenesis, glycogenesis, fatty acid and triglyceridesynthesisB1.1.6.3 thermodynamics: free energy, chemical equilibria and group transfer potential,energetics of ATP and other high-energy compoundsB1.1.6.4 generation, expenditure, and storage of energy at the whole-body levelB1.1.6.5 protein-calorie balanceB1.1.7 Metabolic pathways of small molecules and associated diseasesB1.1.7.1 biosynthesis and degradation of carbohydrateB1.1.7.2 biosynthesis and degradation of amino acids (e.g., phenylketonuria,homocystinuria, maple syrup urine diseases)B1.1.7.3 biosynthesis and degradation of purine and pyrimidine nucleotides (e.g., gout,Lesch-Nyhan syndrome)B1.1.7.4 biosynthesis and degradation of lipids (e.g., dyslipidemias, carnitine deficiency)B1.1.7.5 biosynthesis and degradation of porphyrins (e.g., porphyria)B1.1.7.6 biosynthesis and degradation of alcohols and other small moleculesB1.1.8 Biosynthesis and degradation of other macromolecules and associated abnormalities,complex carbohydrates (e.g., lysosomal storage disease), glycoproteins, and proteoglycans(e.g., type II glycogen storage disease)B1.1.9 Nutrients, vitamins, minerals and trace elementsB1.1.9.1 functions of nutrients , including essential, trans-fatty acids, cholesterolB1.1.9.2 vitamins: structures of vitamins and derivatives of medical important, absorption,storage and excretion, functions, food sources and requirementsB1.1.9.3 mineral and trace element requirementsB1.1.9.4 assessment of nutritional status across the life span, including calories, protein,essential nutrients, hypoalimentationB1.2 Biology of cellsB1.2.1 Structure and function of cell components (e.g., endoplasmic reticulum, Golgi complex,mitochondria, lysosome, peroxisome, endosome, centriole, microtubule, ribosome,polysome, plasma membrane, cytosol, cilia, nucleus, cytoskeleton)B1.2.2 Signal transduction (including basic principles, receptors and channels, secondmessengers, signal transduction pathways)B1.2.3 Cell-cell and cell-matrix adhesionB1.2.4 Cell motilityB1.2.5 Intracellular sorting (e.g., trafficking, endocytosis)B1.2.6 Cellular homeostasis (e.g., turnover, pH maintenance, proteasome, ions, soluble proteins)B1.2.7 Cell cycle (e.g., mitosis, meiosis, structure of spindle apparatus, cell cycle regulation)


B1.2.8 Structure and function of basic tissue components (including epithelial cells, connectivetissue cells, muscle cells, nerve cells, and extracellular matrix)B1.2.9 Intracellular accumulations (e.g., pigments, fats, proteins, carbohydrates, minerals,Inclusions, vacuoles)B1.2.10 Adaptive cell response to injury (e.g., hypertrophy and metaplasia)B1.2.11 Mechanisms of cell injury and necrosis, including free radical mediated cell injuryB1.2.12 ApoptosisB1.3 Human development and geneticsB1.3.1 Embryogenesis: basic programmed gene expression, and developmental regulation of geneexpression for medical studentB1.3.2 Principles of pedigree analysis, including inheritance patterns, occurrence and recurrencerisk determinationB1.3.3 Population genetics: Hardy-Weinberg law, founder effects, mutation-selection equilibriumB1.4 Normal immune responsesB1.4.1 Innate immunityB1.4.2 Production and function of granulocytes, natural killer cells, macrophagesB1.4.3 Production and function of T lymphocytes, T-lymphocyte receptorsB1.4.4 Production and function of B lymphocytes and plasma cells, immunoglobulin andantibodies, structure and biologic propertiesB1.4.5 Antigenicity and immunogenicity, antigen presentation, cell activation and regulation,tolerance and clonal deletionB1.4.6 Immunologic mediators: chemistry, function, molecular biology,complement pathways, cytokines, chemokinesB1.4.7 Immunogenetics: MHC structure and function, erythrocyte antigens, transplantationB1.4.8 Immunizations, protective immunityB1.5 Pathogenesis, pathophysiology, basic pathological process and laboratory investigationB1.5.1 Acute and chronic inflammationB1.5.1.1 acute inflammation and mediator systemsB1.5.1.2 bactericidal mechanisms and tissue injuryB1.5.1.3 clinical manifestations (e.g., pain, leukocytosis, fever, leukemoid reaction, andchills)B1.5.1.4 chronic inflammationB1.5.2 Tissue renewal, regeneration and repairB1.5.2.1 control of normal cell proliferation and tissue growth (e.g., stem cell, tissueproliferative activity)B1.5.2.2 mechanism of tissue and organ regenerationB1.5.2.3 healing by repair, scar formation and fibrosis


B1.5.3 Hemodynamic disorders, thromboembolic disease and shockB1.5.3.1 edemaB1.5.3.2 hyperemia and congestionB1.5.3.3 hemorrhageB1.5.3.4 hemostasis and thrombosisB1.5.3.5 embolism (e.g., pulmonary, air, fat, bone marrow, amniotic embolism, systemicthromboembolism)B1.5.3.6 infarctionB1.5.3.7 shockB1.5.4 Genetic disordersB1.5.4.1 gene and human diseases (e.g., mutations)B1.5.4.2 congenital abnormalities: principles, patterns of anomalies, dysmorphogenesisB1.5.4.3 genetic mechanisms: chromosomal abnormalities, Mendelian inheritance, complexmultigenic disorders, single gene disorders with nonclassic inheritanceB1.5.4.3 clinical genetics, including genetic testing, prenatal diagnosis, newborn screening,genetic counseling/ethics, gene therapyB1.5.5 Diseases of the immune systemB1.5.5.1 immunodeficiencyB1.5.5.1.1 primary ImmunodeficiencyB1.5.5.1.1.1 combined immunodeficiency disease (e.g., SCID)B1.5.5.1.1.2 T cell deficiency (e.g., DiGeorge syndrome)B1.5.5.1.1.3 B cell deficiency (e.g., congenital agammaglobulinemia)B1.5.5.1.1.4 phagocyte deficiency (e.g., chronic granulomatousdisease)B1.5.5.1.1.5 complement deficiencyB1.5.5.1.2 secondary Immunodeficiency (e.g., infection, radiation, splenectomy,malnutrition etc.)B1.5.5.2 immunologically mediated disordersB1.5.5.2.1 hypersensitivity types I–IVB1.5.5.2.2 autoimmune disordersB1.5.5.2.3 transplantation and graft rejection including graft VS host reactionB1.5.5.3 tumor immunologyB1.5.5.4 laboratory investigation investigation (e.g., ELISA, complement fixation RIA,agglutination)B1.5.5.5 principle of immunotherapyB1.5.6 NeoplasiaB1.5.6.1 classification, histologic diagnosis


B1.5.6.2 grading and staging of neoplasmsB1.5.6.3 cell biology, biochemistry, and molecular biology of neoplastic cells: transformation,oncogenes, oncogenesis, altered cell differentiation, and proliferationB1.5.6.4 molecular basis of multistep carcinogenesisB1.5.6.4 carcinogenic agents (e.g., chemical, radiation, and microbial agents)B1.5.6.5 invasion and metastasisB1.5.6.6 host defense against tumorsB1.5.6.7 paraneoplastic manifestations of cancerB1.5.6.8 cancer epidemiology and preventionB1.5.7 Infectious diseasesB1.5.7.1 microbial classificationB1.5.7.2 bacteria and bacterial diseasesB1.5.7.2.1 structure and compositionB1.5.7.2.2 metabolism, physiology, and regulationB1.5.7.2.3 geneticsB1.5.7.2.4 nature and mechanisms of action of virulence factorsB1.5.7.2.5 pathophysiology of infectionB1.5.7.2.6 epidemiology and ecologyB1.5.7.2.7 principles of cultivation, assay, and laboratory diagnosisB1.5.7.2.8 bacterial infection not classified in the system; melioidosis, leptospirosis,diphtheria, typhus fever (scrub typhus, murine typhus), pertussis,anthrax, meningococcemiaB1.5.7.3 viruses and viral diseasesB1.5.7.3.1 physical and chemical propertiesB1.5.7.3.2 replicationB1.5.7.3.3 geneticsB1.5.7.3.4 principles of cultivation, assay, and laboratory diagnosisB1.5.7.3.5 molecular basis of pathogenesisB1.5.7.3.6 pathophysiology of infectionB1.5.7.3.7 latent and persistent infectionsB1.5.7.3.8 epidemiologyB1.5.7.3.9 oncogenic virusesB1.5.7.3.10 viral diseases not classified in the system; Dengue hemorrhagicfever & Chikungunya fever, varicella, zoster, herpes simplex infectionviral exanthemata (measles, rubella, erythema infectiosum,exanthema subitum, hand foot mouth diseases), mumps, infectiousmononucleosis, cytomegaloviral infection


B1.5.7.4 fungi and fungal infectionsB1.5.7.4.1 structure, physiology, cultivation, and laboratory diagnosisB1.5.7.4.2 pathogenesis and epidemiologyB1.5.7.4.3 fungi and fungal infections not classified in the system; systemicmycoses (candidiasis, cryptococcosis, aspergillosis, penicillosis,mucormycosis)B1.5.7.5 parasites and parasitic diseasesB1.5.7.5.1 structure, physiology, life cycles, and laboratory diagnosisB1.5.7.5.2 pathogenesis and epidemiologyB1.5.7.5.3 parasitic diseases not classified in the system; tissue parasitic diseases(trichinosis, cysticercosis, gnathostomiasis, pneumocystosis,angiostrongyliasis, filariasis) toxoplasmosis, opisthorchiasis,paragonimiasis, schistosomiasis, malaria)B1.5.7.6 principles of sterilization and pure culture techniqueB1.5.8 Environmental and nutritional diseasesB1.5.8.1 adaptation to environmental extremes, including occupational exposuresB1.5.8.1.1 physical and associated disorders (e.g., mechanical trauma, radiation,decreased atmospheric pressure, thermal injuries, electrical injury, highaltitudesickness, increased water pressure)B1.5.8.1.2 chemical poisoning and therapy (e.g., agricultural hazards, biologicalvenom and toxins, heavy metal, gases, vapors, smoke inhalation,agricultural hazards, volatile organic solvents, principles of poisoning andtherapy)B1.5.8.2 nutritional disordersB1.5.8.2.1 protein-calorie malnutritionB1.5.8.2.2 vitamin deficiencies and toxicitiesB1.5.8.2.3 mineral and trace element deficiencies and toxicitiesB1.5.8.2.4 eating disorders (e.g., obesity, bulimia, anorexia)B1.5.8.2.5 alternative diets and nutritional supplementsB1.5.9 Principles of specimen collections and laboratory interpretationsB1.5.9.1 complete blood count; hemoglobin, hematocrit, white blood count, plateletcount, red cell indices, blood smear: differential white blood cell count, redcell morphology, platelet estimate and morphologyB1.5.9.2 reticulocyte countB1.5.9.3 hemoglobin typingB1.5.9.4 inclusion bodies, Heinz bodiesB1.5.9.5 venous clotting time, clot retraction, clot lysis


B1.5.9.6 coagulation studyB1.5.9.7 bleeding timeB1.5.9.8 erythrocyte sedimentation rateB1.5.9.9 malarial parasite; thick and thin filmB1.5.9.10 ABO blood group, Rh and cross matchingB1.5.9.11 urinalysisB1.5.9.12 stool examination, stool occult bloodB1.5.9.13 Gram staining, acid fast stainingB1.5.9.14 KOH smear, Tzanck’s smear, wet preparationB1.5.9.15 body fluid analysis (e.g., CSF, pleural)B1.5.9.16 cytologyB1.5.9.17 culture from clinical specimensB1.5.9.18 antimicrobial susceptibility testB1.5.9.19 endocrinologic studies: plasma glucose, HbA1C, oral glucose tolerance test(OGTT), postprandial GTT, thyroid function test, serum cortisolB1.5.9.20 liver profileB1.5.9.21 kidney profileB1.5.9.22 lipid profileB1.5.9.23 cardiac enzymesB1.5.9.24 tumor markersB1.5.9.25 HIV testingB1.5.9.26 serologic studiesB1.5.9.27 arterial blood gas analysisB1.5.9.28 electrocardiographyB1.5.9.29 spirometry, peak expiratory flow rate measurementB1.6 Gender, ethnic, and behavioral considerations affecting disease treatment and prevention,including psychosocial, cultural, occupational, and environmentalB1.6.1 Progression through the life cycle, including birth through senescenceB1.6.1.1 normal growth and development through each periodB1.6.1.2 psychosocial development of infancy, toddlers, preschool, school age,adolescence, young adults, middle age, menopause, aging male and oldageB1.6.1.3 cognitive, language, motor skills, social and interpersonal developmentB1.6.1.4 sexual development (e.g., puberty, menopause)B1.6.1.5 influence of developmental stage on physician/patient interviewB1.6.1.6 changes related to pregnancyB1.6.1.7 personality development


B1.6.1.8 physical performance across lifespanB1.6.1.9 sex and genderB1.6.1.9.1 gender equity, gender equality, gender discrimination andsocial construction of genderB1.6.1.9.2 man and masculinityB1.6.1.9.3 gender and health (link between gender and health)B1.6.1.9.4 social determinants of health: genderB1.6.1.9.5 gender analysis, gender bias in medical education and inhealth care settingB1.6.1.9.6 human rightsB1.6.1.9.7 gender sensitivityB1.6.2 Psychologic and social factors influencing patient behaviorB1.6.2.1 personality traits or coping style, including coping mechanismsB1.6.2.2 psychodynamic and behavioral factors, related past experienceB1.6.2.3 family and cultural factors, including socioeconomic status, ethnicity, and genderB1.6.2.4 adaptive and maladaptive behavioral responses to stress and illness (e.g., drugseekingbehavior, sleep deprivation)B1.6.2.5 interactions between the patient and the physician or the health care system (e.g.,patient transfer)B1.6.2.6 patient adherence, including general and adolescentB1.6.3 Patient interviewing, consultation, and interactions with the familyB1.6.3.1 establishing and maintaining rapportB1.6.3.2 data gatheringB1.6.3.3 approaches to patient education including patient’s understanding aboutthe health problems, purpose of therapy, proper use of drugs, adherenceto therapy and signs of major adverse drug effectsB1.6.3.4 enticing patients to make lifestyle changesB1.6.3.5 communicating bad newsB1.6.3.6 “difficult” interviews (e.g., anxious or angry patients)B1.6.3.7 multicultural ethnic characteristicsB1.6.4 Medical ethics, jurisprudence, and professional behavior * (สอนเรียงตามล าดับ)B1.6.4.1 principles of medical ethicsB1.6.4.2 doctor-patient relationshipB1.6.4.3 codes of conduct and etiquetteB1.6.4.4 human rightsB1.6.4.5 patient autonomyB1.6.4.6 equity and social justice


B1.6.4.7 relationship with the pharmaceutical industryB1.6.4.8 professionalismB1.6.4.9 ethical dilemmas facing medical studentsB1.6.4.10 principles of research ethics and research publicationB1.6.4.11 ethical aspects of geneticsB1.6.4.12 ethics of public health and health promotion (การท าตนเป็ นแบบอย่างของสร้างเสริมสุขภาพ)B1.6.5 Health schemes, national drug policiesB1.6.6 Organization and cost of health care deliveryB1.6.7 Concept and utilization of national essential drug list (NEDL)B1.7 Multisystem processesB1.7.1 Temperature regulationB1.7.2 Fluid, electrolyte, and acid-base balance and disorders (e.g., water excess,dehydration, acidosis, alkalosis, hyponatremia, hypernatremia, hypokalemia,hyperkalemia, hypocalcemia, hypercalcemia)B1.7.3 Exercise physiologyB1.7.4 Sleep health and sleep physiologyB1.8 General pharmacologyB1.8.1 Pharmacodynamic and pharmacokinetic processesB1.8.1.1 pharmacokinetics: absorption and bioavailability, distribution, metabolism,excretion, dose, method of administration and dosage intervalsB1.8.1.2 pharmacodynamics, mechanisms of drug action, structure-activityrelationships, receptors,signal transductionB1.8.1.3 concentration- and dose-effect relationships (e.g., efficacy, potency), typesand actions of agonists and antagonistsB1.8.1.4 individual factors or special populations altering pharmacokinetics andpharmacodynamics (e.g., age, pregnancy, gender, disease, tolerance,compliance, body weight, metabolic proficiency, pharmacogenetics)B1.8.1.5 adverse drug effects including contraindication, warning, precautions, sideeffects, drug interactions, overdose and toxicityB1.8.1.6 regulatory issues (e.g., drug development, approval scheduling)B1.8.1.7 pharmacoeconomicsB1.8.1.8 phamarcovigilance (e.g., ADR reporting system)B1.8.1.9 concept of rational drug prescriptionB1.8.2 General properties of autacoids, including peptides and analogs, biogenic amines,prostanoids and their inhibitors, and smooth muscle/endothelial autacoidsB1.8.3 General principles of autonomic pharmacology


B1.8.4 General properties of antimicrobials, antiparasitic agents including mechanisms of actionand resistanceB1.8.5 General properties of antineoplastic agents and immunosuppressants, including drugeffects on rapidly dividing mammalian cellsB1.9 Quantitative methodsB1.9.1 BiostatisticsB1.9.1.1 statistical concepts in medical practiceB1.9.1.2 quantitative and qualitative dataB1.9.1.3 types of variablesB1.9.1.4 frequency distributionsB1.9.1.5 measures of central tendencyB1.9.1.6 measures of dispersionB1.9.1.7 disease frequency, rates, riskB1.9.1.8 statistical inferenceB1.9.1.9 hypothesis generation, hypothesis testing,B1.9.1.10 the alpha level and p value,B1.9.1.11 type I error and type II errorB1.9.2 Research MethodologyB1.9.2.1 appraisal and application of medical literatureB1.9.2.2 foreground and background question, PICOB1.9.2.3 sources and hierarchy of evidenceB1.9.2.4 research designB1.9.2.5 study population, sampling, sample sizeB1.9.2.6 sample allocation, concealmentB1.9.2.7 outcome assessmentB1.9.2.8 test of statistical significance, clinical importantB1.9.2.9 confidence intervalsB1.9.2.10 internal validity, external validity, reliabilityB1.9.2.11 impact (size of effect)B1.9.2.12 applicabilityB1.9.2.13 patient values, patient circumstanceB1.9.2.14 chance, bias, confounderB1.9.2.15 relative risk, odds ratioB1.9.2.16 sensitivity, specificity, predictive value, likelihood ratio, ROC curveB1.9.2.17 complianceB1.9.2.18 co-intervention, contaminationB1.9.2.19 intention to treat, per-protocol analysis


B1.9.2.20 target (ultimate), surrogate (intermediate, substitute), outcomes (endpoints)B1.9.2.21 relative risk reduction, absolute risk reduction, NNTB1.9.2.22 cause and effect associationB2 Hematopoietic and Lymphoreticular SystemsB2.1 มีความรู ้เรื ่องภาวะปกติของระบบโลหิตวิทยา ดังต่อไปนี้B2.1.1 Embryonic development, fetal maturation, and perinatal changesB2.1.2 Organ structure and function (bone marrow, lymph node, thymus, spleen)B2.1.3 Cell/tissue structure and functionB2.1.3.1 production and function of erythrocytes, hemoglobin, O 2 and CO 2 transport,transport proteinsB2.1.3.2 production and function of leukocytes and the lymphoreticular systemB2.1.3.3 production and function of plateletsB2.1.3.4 production and function of coagulation, fibrinolytic factors and natural inhibitorsB2.1.4. Repair, regeneration, and changes associated with stage of lifeB2.2 มีความรู ้เรื ่องสาเหตุ พยาธิก าเนิด พยาธิสรีรวิทยา และพยาธิสภาพ ตลอดจนหลักการวินิจฉัยสาเหตุของการเกิดโรค กลุ ่มอาการและภาวะผิดปกติทางระบบโลหิตวิทยา ดังต่อไปนี้B2.2.1 Infectious, inflammatory, and immunologic disordersB2.2.2B2.2.3B2.2.1.1 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ต้องรู ้(1) lymphoid hyperplasia(2) incompatible blood transfusionNeoplastic disorders and tumor-like conditionsB2.2.1.1 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ต้องรู ้Metabolic and regulatory disordersB2.2.3.1 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ต้องรู ้(1) nutritional deficiency anemias (iron,folate, B12)(2) hereditary hemolytic anemia(thalassemia, G-6-PD deficiency)B2.2.1.2 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ควรรู ้(1) autoimmune hemolytic anemia(2) idiopathic thrombocytopenic purpura(3) immune deficiency states(4) allergic purpura (Henoch-Schönleinpurpura)B2.2.1.2 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ควรรู ้(1) lymphoma(2) leukemia(3) multiple myeloma(4) myeloproliferative disordersB2.2.3.2 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ควรรู ้(1) acquired hemolytic anemia (paroxysmalnocturnal hematuria)(2) hereditary hemolytic anemia(hemoglobinopathy, hereditaryspherocytosis)


B2.2.4Vascular disordersB2.2.4.1 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ต้องรู ้(3) cytopenia (aplastic anemia,agranulocytosis)(4) bleeding secondary to coagulationdisorder (hemophilia, acquiredprothrombin complex deficiency orvitamin K deficiency, consumptivecoagulopathy)(5) bleeding secondary to platelet disorder(von Willebrand diseases, acquiredplatelet dysfunction with eosinophilia)B2.2.4.2 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ควรรู ้(1) deep vein thrombosis่ม่มต่อไปนี้B2.3 มีความรู ้เรื ่องหลักการรักษาและหลักการใช้ยา โดยเฉพาะยาในบัญชียาหลักแห่งชาติของโรค กลุอาการและภาวะผิดปกติในข้อ B2.2 และรวมถึงยาในกลุB2.3.1 Whole blood and blood productsB2.3.2 Drugs used in nutritional, hypoplastic, hemolytic and renal anemia (anemia of chronic renalfailure)B2.3.3 Drugs used in bone marrow transplantationB2.3.4 Anticoagulants, antiplatelet drugs, fibrinolytic drugs and hemostaticsB2.4 ตระหนักถึงความส าคัญของพฤติกรรมสุขภาพ เพศ วัย เชื้อชาติ อาชีพ เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมและสิ ่งแวดล้อม ตลอดจนปัจจัยอื ่นๆ ที ่มีผลกระทบต่อการบ าบัดรักษา ฟื้นฟูสภาพ สร้างเสริมสุขภาพและป้ องกันโรค กลุ ่มอาการและภาวะผิดปกติในข้อ B2.2 ซึ ่งรวมถึงB2.4.1 Emotional and behavioral factors (e.g., barefoot, diet, depression)B2.4.2 Influence on person, family, and society (e.g., childhood leukemia)B2.4.2 Occupational and other environmental risk factors (e.g., benzene, lead,)B2.4.3 Gender and ethnic factors (hill tribe, herbal treatment)B 3 Central and Peripheral Nervous SystemsB3.1 มีความรู ้เรื ่องภาวะปกติของระบบประสาท ดังต่อไปนี้B3.1.1 Embryonic development, fetal maturation, and perinatal changes, including neural tubederivatives, cerebral ventricles, neural crest derivativesB3.1.2 Organ structure and functionB3.1.2.1 spinal cord, including gross anatomy, blood supply, and spinal reflexesB3.1.2.2 brain stem, including cranial nerves and nuclei, reticular formation, anatomy,and blood supplyB3.1.2.3 brain, including gross anatomy and blood supply; cognition, language,


memory; hypothalamic function; limbic system and emotional behavior;circadian rhythms and sleep; control of eye movementB3.1.2.4 sensory systems, including proprioception, pain, itching, vision, hearing, balance,taste, and olfactionB3.1.2.5 motor systems, including brain and spinal cord, basal ganglia and cerebellumB3.1.2. 6 autonomic nervous systemB3.1.2.7 peripheral nerveB3.1.3 Cell/tissue structure and functionB3.1.3.1 axonal transportB3.1.3.2 excitable properties of neurons, axons and dendrites, including channelssynthesis, storage, release, reuptake, and degradation of neurotransmittersand neuromodulatorsB3.1.3.3 pre- and postsynaptic receptor interactions, trophic and growth factorsbrain metabolismB3.1.3.4 glia, myelinB3.1.3. 5 brain homeostasis; blood-brain barrier, cerebrospinal fluid formation and flow,choroid plexusB3.1.4 Repair, regeneration, and changes associated with stage of lifeB3.2 มีความรู ้เรื ่อง สาเหตุ พยาธิก าเนิด พยาธิสรีรวิทยา พยาธิสภาพ ตลอดจนหลักการวินิจฉัยสาเหตุของการเกิดโรค กลุ ่มอาการ หรือภาวะผิดปกติทางระบบประสาทดังต่อไปนี้B3.2.1 Hereditary, congenital and structural disordersB3.2.1.1 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ต้องรู ้B3.2.2 Infectious, inflammatory, and immunologic disordersB3.2.2.1 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ต้องรู ้(1) poliomyelitis(2) meningitis(3) encephalitis and myelitis(4) rabies(5) tetanus(6) facial nerve paralysis (Bell’s palsy)(7) acute flaccid paralysis(8) autoimmune disorders (e.g., Wegenergranulomatosis, Goodpasturesyndrome)B3.2.1.2 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ควรรู ้(1) encephalocoele, hydrocephalusB3.2.2.2 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ควรรู ้(1) brain abscess(2) meningococcemia(3) myasthenia gravis(4) polyneuropathies (Guillain-Barresyndrome)(5) trigeminal neuralgia


B3.2.3 Traumatic and mechanical disordersB3.2.3.1 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ต้องรู ้(1) coma(2) convulsion(3) acute increased intracranial pressure(4) intracrainal bleedingB3.2.4 Neoplastic disorders and tumor-like conditionsB3.2.4.1 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ต้องรู ้B3.2.5 Metabolic and regulatory disordersB3.2.5.1 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ต้องรู ้B3.2.3.2 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ควรรู ้(1) head and neck injury(2) spinal cord and peripheral nerveinjury(3) peripheral nerve entrapment(carpal tunnel syndrome, cubitaltunnel syndrome)(4) hydrocephalusB3.2.4.2 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ควรรู ้(1) benign and malignant neoplasmof brainB3.2.5.2 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ควรรู ้(1) periodic paralysis (1) Reye’s syndrome(2) myopathy(3) delirium(4) cerebral palsyB3.2.6 Vascular and circulatory disordersB3.2.6.1 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ต้องรู ้B3.2.7 Degenerative disordersB3.2.7.1 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ต้องรู ้B3.2.8 Paroxysmal disordersB3.2.8.1 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ต้องรู ้B3.2.6.2 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ควรรู ้(1) cerebrovascular diseases(intracerebral hemorrhage,cerebral infarction, subarachnoidhemorrhage)B3.2.7.2 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ควรรู ้(1) Parkinsonism(2) Alzheimer’s disease(3) polyneuropathies (systemicdiseases, drugs, chemical,alcohol)(4) peripheral neuropathyB3.2.8.2 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ควรรู ้


(1) epilepsy(2) tension headache(3) migraine headache(4) pain syndromesB3.2.9 Psychopathologic disorders process and their evaluationB3.2.9.1 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ต้องรู ้(1) acute psychosis, delirium(2) hyperventilation syndrome(3) severe depression(4) suicide attempt(5) panic attack(6) reaction to severe stress(7) rape(8) mental & behavioral disorders due toalcohol, drugs and substances(9) depressive disorder, panic disorder,generalized anxiety disorders(10) physical and sexual abuse of children,adults, and elders(1) sleep disorders includingnarcolepsy, restless legssyndrome/periodic limbmovement, circadian rhythmdisorders, parasomniasB3.2.9.2 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ควรรู ้(1) organic mental disorders(dementia, brain damage,systemic diseases, alcohol &substance induced, organicamnestic syndrome, delirium)(2) neurotic disorders (phobia,obscessive-compulsivedisorders, dissociative orconversion disorder)(3) somatoform disorders(4) behavioral and emotionaldisorders in childhood andadolescence (conduct disorder,tic disorder, enuresis, feedingdisorder, nail biting, thumbsucking, attention deficitdisorders)(5) schizophrenia(6) mood (affective) disorders; manicepisode, bipolar affectivedisorder(7) behavioral syndromes associatedwith physiological dysfunctionand physical factors (eatingdisorder, sleep disorder, sexualdysfunction, post-partumpsychosis)(8) disorders of adult personality andbehavior (aggressive, antisocial,compulsive, hysterical,


B3.2.10 Disorder of special senses: EarB3.2.10.1 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ต้องรู ้(1) myringitis(2) acute otitis externa(3) acute otitis media(4) impacted cerumen(5) foreign body through orificeB3.2.11 Disorder of special senses: EyeB3.2.11.1 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ต้องรู ้(1) eye injury and foreign body on externaleye(2) hyphema(3) acute corneal abrasion and ulcer(4) acute glaucoma(5) hordeolum and chalazion(6) conjunctivitis(7) pingueculaobscessive-compulsive,paranoid)(9) mental retardation(10) disorders of psychologicaldevelopment (speech andlanguage disorder, disorder ofscholastic skills, motor functiondisorder, autism)B3.2.10.2 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ควรรู ้(1) nasal polyps(2) perforation of tympanicmembrane(3) chronic otitis media(4) mastoiditis, cholesteatoma(5) perichondritis of the pinna(6) conductive and sensorineuralhearing loss(7) disorders of vestibular functionand vertiginous syndrome(Meniere ‘s syndrome, vertigo)(8) benign and malignant neoplasmof larynx, nasopharynx;nasopharyngeal carcinoma,carcinoma of larynxB3.2.11.2 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ควรรู ้(1) disorders of ocular muscles,refraction and accommodation(strabismus, amblyopia, myopia,presbyopia, hypermetropia,astigmatism)(2) dacryostenosis, dacryocystitis(3) pterygium(4) keratitis, corneal ulcer(5) uveitis(6) cataract


(7) glaucoma(8) retinopathy(9) benign and malignant neoplasmof eyeB3.3 มีความรู ้เรื ่องหลักการรักษาและหลักการใช้ยา โดยเฉพาะยาในบัญชียาหลักแห่งชาติของโรค กลุ ่มอาการและภาวะผิดปกติในข้อ B3.2 และรวมถึงยาในกลุ ่มต่อไปนี้B3.3.1 Hypnotics and anxiolyticsB3.3.2 Drugs used in psychoses and related disorders (antipsychotic drugs and antimanicdrugs)B3.3.3 Antidepressant drugsB3.3.4 Central nervous system stimulantsB3.3.5 Drugs used in nausea, vertigo and vestibular disordersB3.3.6 Analgesics and antipyretics including opioid analgesics, drugs for neuropathic painand antimigraine drugs)B3.3.7 AntiepilepticsB3.3.8 Drugs used in movement disordersB3.3.9 Drugs used in substance dependenceB3.3.10 Drugs used in neuromuscular disorders (drugs enhancing neuromuscular transmission,skeletal muscle relaxants)B3.3.11 Eye preparationsB3.3.11.1 anti-infective preparationsB3.3.11.2 corticosteroids and other anti-inflammatory preparationsB3.3.11.3 mydriatics and cycloplegicsB3.3.11.4 drugs for treatment of glaucomaB3.3.11.5 local anestheticsB3.3.12 Drugs acting on the earB3.4 ตระหนักถึงความส าคัญของพฤติกรรมสุขภาพ เพศ วัย เชื้อชาติ อาชีพ เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมและสิ ่งแวดล้อม ตลอดจนปัจจัยอื ่นๆ ที ่มีผลกระทบต่อการบ าบัดรักษา ฟื้นฟูสภาพ สร้างเสริมสุขภาพและป้ องกันโรค/กลุ ่มอาการ/ภาวะในข้อ B3.2 ซึ ่งรวมถึงB3.4.1 Emotional and behavioral factors (e.g., drug abuse, dementia, sleep deprivation, accidentprevention, pets)B3.4.2 Influence on person, family, and society (e.g., developmental disabilities, dementia,generation reversal, nutrition, seizures, sleep disorders)B3.4.3 Occupational and other environmental risk factors (e.g., boxing, carbon monoxideexposure)B3.4.4 Gender and ethnic factors


B4 Skin and Related Connective TissueB4.1 มีความรู ้เรื ่องภาวะปกติของผิวหนังและเนื้อเยื ่อเกี ่ยวพันที ่เกี ่ยวข้อง ดังต่อไปนี้B4.1.1 Embryonic development, fetal maturation, and perinatal changesB4.1.2 Organ structure and functionB4.1.3 Cell/tissue structure and function, including barrier functions, thermal regulation,eccrine functionB4.1.4 Repair, regeneration, and changes associated with stage of life or ethnicity (e.g., senilepurpura, male pattern baldness, postmenopausal hair changes)B4.1.5 Skin defense mechanisms and normal floraB4.2. มีความรู ้เรื ่องสาเหตุ พยาธิก าเนิด พยาธิสรีรวิทยา พยาธิสภาพ ตลอดจนหลักการวินิจฉัยสาเหตุของการเกิดโรค กลุ ่มอาการ หรือภาวะผิดปกติทางผิวหนังและเนื้อเยื ่อเกี ่ยวพันที ่เกี ่ยวข้อง ดังต่อไปนี้B4.2.1 Infectious, inflammatory, and immunologic disorders้B4.2.1.1 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ต้องรู(1) acne, impetigo, cellulitis, abscess,(2) wart (verrucae)(3) superficial mycoses (tinea, pityriasisversicolor, candidosis)(4) scabiasis, pediculosis(5) urticaria, eczema, dermatitis, alopeciaB4.2.2 Traumatic and mechanical disordersB4.2.2.1กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ต้องรู ้(1) ulcers(2) bites, stings(3) woundB4.2.3 Neoplastic disorders and tumor-like conditionsB4.2.3.1 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ต้องรู ้(1) cyst(2) benign neoplasm of skin and relatedB4.2.1.2 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ควรรู ้(1) staphylococcal scalded skinsyndrome (SSSS), carbuncle,gangrene(2) leprosy(3) bullous dermatoses (pemphigus,pemphigoid)(4) papulosquamous disorders(psoriasis, pityriasis rosea, lichenplanus)(5) erythema multiforme, erythemanodosum, Steven-Johnson’ssyndrome, toxic epidermal necrolysis(6) discoid lupus erythematosus(7) sclerodermaB4.2.2.2 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ควรรู ้้B4.2.3.2 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ควรรู(1) hemangiomas(2) malignant neoplasm of skin and


connective tissueB4.2.4 Vascular disordersB4.2.4.1 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ต้องรู ้related connective tissueB4.2.4.2 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ควรรู ้(1) vasculitis (1) Raynaud’s diseaseB4.2.5 Others้B4.2.5.1 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ต้องรู(1) corn(2) scar, keloid,(3) dyshidrosis, miliaria(4) freckles, melasma, vitiligoB4.2.5.2 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ควรรู ้B4.3 มีความรู ้เรื ่องหลักการรักษาและหลักการใช้ยา โดยเฉพาะยาในบัญชียาหลักแห่งชาติของโรค กลุ ่มอาการและภาวะผิดปกติในข้อ B4.2 และรวมถึงยาในกลุ ่มต่อไปนี้B4.3.1 Anti-infective skin preparationsB4.3.2 Emollient and barrier preparationsB4.3.3 Topical antipruriticsB4.3.4 Topical corticosteroidsB4.3.5 Other preparations for psoriasisB4.3.6 Preparations for warts and callusesB4.4 ตระหนักถึงความส าคัญของพฤติกรรมสุขภาพ เพศ วัย เชื้อชาติ อาชีพ เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมและสิ ่งแวดล้อม ตลอดจนปัจจัยอื ่นๆ ที ่มีผลกระทบต่อการบ าบัดรักษา ฟื้นฟูสภาพ สร้างเสริมสุขภาพและป้ องกันโรค/กลุ ่มอาการ/ภาวะในข้อ B4.2 รวมถึงB4.4.1 Emotional and behavioral factors (e.g., sun exposure, acne)B4.2.2 Influence on person, family, and society (e.g., psoriasis)B4.4.3 Occupational and other environmental risk factorsB4.4.4 Gender and ethnic factors (e.g., keloid)B5 Musculoskeletal System and Connective TissueB5.1 มีความรู ้เรื ่องภาวะปกติของระบบกระดูก กล้ามเนื้อ และเนื้อเยื ่อเกี ่ยวพัน ดังต่อไปนี้B5.1.1 Embryonic development, fetal maturation, and perinatal changesB5.1.2 Organ structure and functionB5.1.3 Cell/tissue structure and functionB5.1.3.1 biology of bones, joints, tendons, skeletal muscleB5.1.3.2 exercise and physical conditioningB5.1.4 Repair, regeneration, and changes associated with stage of lifeB5.2 มีความรู ้เรื ่อง สาเหตุ พยาธิก าเนิด พยาธิสรีรวิทยา พยาธิสภาพ ตลอดจนหลักการวินิจฉัยสาเหตุของการเกิดโรค กลุ ่มอาการ หรือภาวะผิดปกติทางระบบกระดูก กล้ามเนื้อ และเนื้อเยื ่อเกี ่ยวพัน ดังต่อไปนี้


B5.2.1 Hereditary, congenital and structural disordersB5.2.1.1 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ต้องรู ้้B5.2.1.2 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ควรรู(1) clubfoot(2) congenital hip dislocationB5.2.2 Infectious, inflammatory, and immunologic disordersB5.2.2.1 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ต้องรู ้(1) osteomyelitis,(2) pyomyositis(3) tendinitis (de Quervain disease,bursitis, synovitis, fasciitis,myofascial pain syndrome)(4) costochondritis(5) reactive arthropathy(6) infective arthritisB5.2.3 Traumatic and mechanical disordersB5.2.3.1 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ต้องรู ้(1) sprains, strains, fractures,dislocations(2) compartment syndromeB5.2.4 Neoplastic disorders and tumor-like conditionsB5.2.4.1 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ต้องรู ้B5.2.5 Metabolic and regulatory disordersB5.2.5.1 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ต้องรู ้B5.2.2.2 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ควรรู ้(1) osteonecrosis(2) spondylitis(3) rheumatoid arthritis(4) juvenile arthritis(5) spondyloarthropathy(6) inflammatory myositis(7) necrotizing fasciitisB5.2.3.2 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ควรรู ้B5.2.4.2 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ควรรู ้(1) benign and malignant neoplasmof bone and soft tissueB5.2.5.2 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ควรรู ้(1) crystal arthropathy (gout, pseudogout) (2) muscular dystrophyB5.2.6 Vascular disordersB5.2.6.1 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ต้องรู ้B5.2.7 Systemic disorders affecting the musculoskeletal SystemB5.2.7.1 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ต้องรู ้B5.2.6.2 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ควรรู ้(1) vasculitis syndrome (Kawasaki’sdisease, polyarteritis nodosa, druginduced)B5.2.7.2 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ควรรู ้(1) systemic lupus erythematosus


B5.2.8 OthersB5.2.8.1 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ต้องรู ้B5.2.8.2 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ควรรู ้(1) osteoarthritis (1) spondylolithiasis and discsyndrome(2) osteoporosis(3) abnormal curvature of the spineB5.3 มีความรู ้เรื ่องหลักการรักษาและหลักการใช้ยา โดยเฉพาะยาในบัญชียาหลักแห่งชาติของโรค กลุ ่มอาการและภาวะผิดปกติในข้อ B5.2 และรวมถึงยาในกลุ ่มต่อไปนี้B5.3.1 Non-steroidal anti-inflammatory drugsB5.3.2 Disease-modifying antirheumatic drugsB5.3.3 Drugs for treatment of gout and hyperuricemiaB5.3.4 Drugs for relief of soft tissue inflammation (rubifacients)B5.4 ตระหนักถึงความส าคัญของพฤติกรรมสุขภาพ เพศ วัย เชื้อชาติ อาชีพ เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมและสิ ่งแวดล้อม ตลอดจนปัจจัยอื ่นๆ ที ่มีผลกระทบต่อการบ าบัดรักษา ฟื้นฟูสภาพ สร้างเสริมสุขภาพและป้ องกันโรค/กลุ ่มอาการ/ภาวะในข้อ B5.2 ซึ ่งรวมถึงB5.4.1 Emotional and behavioral factors (e.g., diet, exercise, seat belts, helmets)B5.4.2 Influence on person, family, and society (e.g., osteoporosis, fractures in elderly,alcohol abuse and fractures)B5.4.3 Occupational and other environmental risk factors (e.g., athletes, musicians)B5.4.4 Gender and ethnic factors (e.g., bone mass)B 6 Respiratory SystemB6.1 มีความรู ้เรื ่องภาวะปกติของระบบหายใจ ดังต่อไปนี้B6.1.1 Embryonic development, fetal maturation, and perinatal changesB6.1.2 Organ structure and functionB6.1.2.1 airways, including mechanics and regulation of breathingB6.1.2.2 lung parenchyma, including ventilation, perfusion, gas exchangeB6.1.2.3 pleuraB6.1.2.4 nasopharynx and sinusesB6.1.3 Cell/tissue structure and function, including surfactant formation, alveolar structureB6.1.4 Repair, regeneration, and changes associated with stage of lifeB6.1.5 Pulmonary defense mechanisms and normal floraB6.2 มีความรู ้เรื ่อง สาเหตุ พยาธิก าเนิด พยาธิสรีรวิทยา พยาธิสภาพ ตลอดจนหลักการวินิจฉัยสาเหตุของการเกิดโรค กลุ ่มอาการ หรือภาวะผิดปกติทางระบบหายใจดังต่อไปนี้B6.2.1 Hereditary, congenital and structural disordersB6.2.1.1 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ต้องรู ้B6.2.1.2 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ควรรู ้(1) cleft lip and palate(2) laryngomalacia


B6.2.2 Infectious, inflammatory, and immunologic disordersB6.2.2.1 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ต้องรู ้(1) influenza(2) upper respiratory infections(nasopharyngitis, sinusitis, pharyngitis,tonsillitis, laryngitis, tracheitis, croup)(3) lower respiratory tract infections andpleura and their complications (bronchitis,bronchiolitis, pneumonia, lung abscess,bronchiectasis)(4) tuberculosis(5) pleurisy(6) allergic rhinitis(7) asthma(8) autoimmune disorders (e.g., Wegenergranulomatosis, Goodpasture syndrome)B6.2.3 Traumatic and mechanical disordersB6.2.3.1 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ต้องรู ้(1) chest injury(2) foreign body aspiration(3) pneumothorax(4) hemothorax(5) atelectasisB6.2.4 Neoplastic disorders and tumor-like conditionsB6.2.4.1 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ต้องรู ้B6.2.5 Metabolic, regulatory disorders(3) tracheoesophageal fistula(4) diaphragmatic hernia(5) pre-auricular sinus, sinus, cystand fistula of branchial cleft(6) thyroglossal duct cystB6.2.2.2 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ควรรู ้(1) avian flu, SARS(2) peritonsillar abscess , deepneck infection(3) retropharyngeal abscess(4) pyothorax (empyemathoracis)(5) chronic infectious diseases of thelower respiratory tract endemicfungal infections,Nocardia/Actinomyces(6) occupational lung diseases(7) acute and chronic alveolar injury(e.g., acute respiratory distresssyndrome, chlorine gas/smokeinhalation)(8) obstructive pulmonary disease(chronic bronchitis, emphysema)(9) restrictive pulmonary diseaseB6.2.3.2 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ควรรู ้(1) sleep-disordered breathingB6.2.4.2 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ควรรู ้(1) benign and malignant neoplasmof upper and lower respiratorytracts


B6.2.5.1 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ต้องรู ้(1) respiratory failure(2) hyperventilation syndrome(3) respiratory obstruction, suffocation(4) asphyxia of the newborn(5) fetal distress(6) hypoventilation, disorders of gasexchange, ventilation-perfusion imbalanceB6.2.6 Vascular and circulatory disordersB6.2.6.1 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ต้องรู ้B6.2.5.2 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ควรรู ้(1) neonatal respiratory distresssyndrome(2) bronchopulmonary dysplasiaB6.2.6.2 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ควรรู ้(1) pulmonary edema, pleural effusion (1) pulmonary embolism(2) pulmonary hypertensionB6.3 มีความรู ้เรื ่องหลักการรักษาและหลักการใช้ยา โดยเฉพาะยาในบัญชียาหลักแห่งชาติของโรค กลุ ่มอาการและภาวะผิดปกติในข้อ B6.2 และรวมถึงยาในกลุ ่มต่อไปนี้B6.3.1 Bronchodilators (adrenoceptor agonists, compound antimuscarinic bronchodilators andtheophylline)B6.3.2 Inhaled corticosteroidsB6.3.3 Leukotriene receptor antagonistsB6.3.4 AntihistaminesB6.3.5 Pulmonary surfactantsB6.3.6 Cough preparations (cough suppressants, mucolytics, expectorant and demulcent coughpreparations)B6.3.7 Systemic and topical nasal decongestantsB6.3.8 Other respiratory preparations (aromatic ammonia spirit)B6.3.10 Drugs used in nasal allergyB6.3.11 Antituberculous drugsB6.4 ตระหนักถึงความส าคัญของพฤติกรรมสุขภาพ เพศ วัย เชื้อชาติ อาชีพ เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมและสิ ่งแวดล้อม ตลอดจนปัจจัยอื ่นๆ ที ่มีผลกระทบต่อการบ าบัดรักษา ฟื้นฟูสภาพ สร้างเสริมสุขภาพและป้ องกันโรค/กลุ ่มอาการ/ภาวะในข้อ B6.2 ซึ ่งรวมถึงB6.4.1 Emotional and behavioral factors (e.g., smoking, substance abuse, pets, and allergies)B6.4.2 Influence on person, family, and society (e.g., tuberculosis, asthma, chronic obstructivepulmonary disease, school issues, protective parents, family smoking)B6.4.3 Occupational and other environmental risk factors (occupational lung diseases)B6.4.4 Gender and ethnic factors (e.g., lung cancer)B7 Cardiovascular SystemB7.1 มีความรู ้เรื ่องภาวะปกติของระบบหัวใจหลอดเลือด ดังต่อไปนี้


B7.1.1 Embryonic development, fetal maturation, and perinatal changesB7.1.2 Organ structure and functionB7.1.2.1 chambers, valvesB7.1.2.2 cardiac cycle, mechanics, heart sounds, cardiac conductionB7.1.2.3 hemodynamics, including systemic, pulmonary, coronary, and blood volumeB7.1.2.4 circulation in specific vascular bedsB7.1.3 Cell/tissue structure and functionB7.1.3.1 heart muscle, metabolism, oxygen consumption, biochemistry, and secretory function(e.g., atrial natriuretic peptide)B7.1.3.2 endothelium and secretory function, vascular smooth muscle, microcirculation, andlymph flowB7.1.3.3 mechanisms of atherosclerosisB7.1.3.4 neural and hormonal regulation of the heart, blood vessels, and blood volume, includingresponses to change in posture, exercise, and tissue metabolismB7.1.4 Repair, regeneration, and changes associated with stage of lifeB7.2 มีความรู ้เรื ่องสาเหตุ พยาธิก าเนิด พยาธิสรีรวิทยา พยาธิสภาพ ตลอดจนหลักการวินิจฉัยสาเหตุของการเกิดโรค กลุ ่มอาการและภาวะผิดปกติทางระบบหัวใจหลอดเลือด ดังต่อไปนี้B7.2.1 Hereditary, Congenital and structural disordersB7.2.1.1 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ต้องรู ้B7.2.2 Infectious, inflammatory, and immunologic disordersB7.2.2.1 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ต้องรู ้B7.2.1.2 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ควรรู ้(1) congenital malformation of heartB7.2.2.2 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ควรรู ้(1) acute rheumatic fever (1) infective endocarditis(2) myocarditis(3) pericarditisB7.2.3 Traumatic and mechanical disorders้้B7.2.3.1 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ต้องรู(1) anoxic spell(2) cardiac tamponade(3) superior vena cava obstructionB7.2.4 Metabolic and regulatory disordersB7.2.4.1 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ต้องรู(1) hypertension(2) malignant hypertension(3) acute coronary syndrome(4) heart failureB7.2.3.2 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ควรรู ้(1) valvular heart diseases (mitral, aorticvalve)B7.2.4.2 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ควรรู ้(1) hypertensive disorder in pregnancy(2) ischemic heart diseases (anginapectoris, myocardial infarction)(3) common cardiac arrhythmias


(5) syncope(6) cardiac arrest(7) shock : hypovolemia, cardiogenicB7.2.5 Vascular disordersB7.2.5.1 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ต้องรู ้- atrial fibrillation- supraventricular tachycardia- premature ventricular contraction- premature atrial contraction- ventricular tachycardia- ventricular fibrillation- heart blockB7.2.5.2 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ควรรู ้(1) aortic aneurysm and dissection(2) varicose veins of lower extremity(3) peripheral vascular occlusive diseaseB7.3 มีความรู ้เรื ่องหลักการรักษาและหลักการใช้ยา โดยเฉพาะยาในบัญชียาหลักแห่งชาติของโรค กลุ ่มอาการและภาวะผิดปกติในข้อ B7.2 และรวมถึงยาในกลุ ่มต่อไปนี้B7.3.1 Positive inotropic drugsB7.3.2 DiureticsB7.3.3 Anti-arrhythmic drugsB7.3.4 Beta-adrenoceptor blocking drugsB7.3.5 Drugs affecting the renin-angiotensin system and some other antihypertensive drugs(vasodilator antihypertensive drugs, centrally acting antihypertensive drugs, alphaadrenoceptorblocking drugs, angiotensin-converting enzyme inhibitors, angiotensin-IIreceptor antagonists)B7.3.6 Nitrates, calcium-channel blockers and other vasodilatorsB7.3.7 Inotropic sympathomimetics, vasoconstrictor sympathomimetics and drugs used incardiopulmonary resuscitationB7.4 ตระหนักถึงความส าคัญของพฤติกรรมสุขภาพ เพศ วัย เชื้อชาติ อาชีพ เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมและสิ ่งแวดล้อม ตลอดจนปัจจัยอื ่นๆ ที ่มีผลกระทบต่อการบ าบัดรักษา ฟื้นฟูสภาพ สร้างเสริมสุขภาพและป้ องกันโรค กลุ ่มอาการและภาวะผิดปกติในข้อ B7.2 ซึ ่งรวมถึงB7.4.1 Emotional and behavioral factors (e.g., diet, obesity, exercise, smoking, alcohol, stress)B7.4.2 Influence on person, family and society (e.g., lifestyle modification)B7.4.3 Occupational and other environmental risk factors (e.g., stress)B7.4.4 Gender and ethnic factors (e.g., hypertension)B8 Gastrointestinal SystemB8.1 มีความรู ้เรื ่องภาวะปกติของระบบทางเดินอาหาร ดังต่อไปนี้B8.1.1 Embryonic development, fetal maturation, and perinatal changes


B8.1.2 Organ structure and function function, including alimentary canal, liver and biliary system,salivary glands and exocrine pancreas, motility, and digestion and absorptionB8.1.3 Cell/tissue structure and functionB8.1.3.1 endocrine and neural regulatory functions, including GI hormonesB8.1.3.2 salivary, gastrointestinal, pancreatic, hepatic secretory products, including enzymes,proteins, bile salts, and processesB8.1.3.3 synthetic and metabolic functions of hepatocytesB8.1.4 Repair, regeneration, and changes associated with stage of lifeB8.1.5 Gastrointestinal defense mechanisms and normal floraB8.2 มีความรู ้เรื ่องสาเหตุ พยาธิก าเนิด พยาธิสรีรวิทยา พยาธิสภาพ ตลอดจนหลักการวินิจฉัยสาเหตุของการเกิดโรค กลุ ่มอาการ และภาวะผิดปกติทางระบบทางเดินอาหาร ดังต่อไปนี้B8.2.1 Hereditary, congenital and structural disordersB8.2.1.1 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ต้องรู ้B8.2.2 Infectious, inflammatory, and immunologic disordersB8.2.2.1 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ต้องรู ้(1) gastroenteritis (cholera, shigellosis,salmonellosis, E.coli, Campylobactersp, Clostridium difficile, virus,amoebiasis , giardiasis,cryptosporidiosis, isosporosis,microsporidiosis, food-borneintoxication)(2) typhoid and paratyphoid fever(3) intestinal parasites (ascariasis,hookworm infestation, enterobiasis,trichuriasis, strongyloidiasis,taeniasis, capillariasis)(4) acute appendicitis(5) oral ulcer (aphthous ulcer, stomatitis,้B8.2.1.2 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ควรรู(1) disorders of tooth development &eruption(2) hernia (inguinal, umbilical)(4) tracheo-esophageal fistula(5) diaphragmatic hernia(6) Hirschprung diseases, imperforateanus, volvulus(7) omphalocoele, gastroschisisB8.2.2.2 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ควรรู ้(1) dental caries, gingivitis andperiodontal diseases(2) gastroenteritis in compromised host(cryptosporidiosis, isosporosis,microsporidiosis)(3) chronic diarrhea(4) necrotizing enterocolitis(5) peritonitis(6) chronic viral hepatitis(7) cholecystitis, cholangitis(8) perianal abscess


glossitis, thrush)(6) peptic ulcer, gastritis(7) dyspepsia, esophagitis(8) acute pancreatitis(9) acute viral hepatitis(10) alcoholic liver disease(11) liver abscess(12 ) cirrhosisB8.2.3 Traumatic and mechanical disordersB8.2.3.1 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ต้องรู ้(1) anal fissure(2) gastro-esophageal refluxB8.2.4 Neoplastic disorders and tumor-like conditionsB8.2.4.1 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ต้องรู ้B8.2.5 Metabolic and regulatory disordersB8.2.5.1 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ต้องรู ้(1) irritable bowel syndrome (1) cholelithiasis(2) hepatic failureB8.2.6 Vascular disorders้B8.2.6.1 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ต้องรู(1) hemorrhoids(2) gastrointestinal hemorrhageB8.2.3.2 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ควรรู ้(1) intestinal obstruction(2) abdominal injury(3) infantile hypertrophic pyloric stenosis(4) fistula in anoB8.2.4.2 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ควรรู ้(1) benign and malignant neoplasm oforal cavity, esophagus, stomach,colon, liver and biliary tract, pancreasB8.2.5.2 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ควรรู ้B8.2.6.2 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ควรรู ้B8.3 มีความรู ้เรื ่องหลักการรักษาและหลักการใช้ยา โดยเฉพาะยาในบัญชียาหลักแห่งชาติของโรค กลุ ่มอาการและภาวะผิดปกติในข้อ B8.2 และรวมถึงยาในกลุ ่มต่อไปนี้B8.3.1 Antacids and other drugs for dyspepsiaB8.3.2 Antispasmodics and other drugs altering gut motilityB8.3.3 Ulcer-healing drugs and drugs used in variceal bleedingB8.3.4 Drugs used in acute diarrheaB8.3.5 Drugs used in chronic bowel disordersB8.3.6 LaxativesB8.3.7 Local preparations for anal and rectal disorders


B8.3.8 Drugs affecting intestinal secretionsB8.3.9 Drugs used in treatment of oral ulcerB8.4 ตระหนักถึงความส าคัญของพฤติกรรมสุขภาพ เพศ วัย เชื้อชาติ อาชีพ เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมและสิ ่งแวดล้อม ตลอดจนปัจจัยอื ่นๆ ที ่มีผลกระทบต่อการบ าบัดรักษา ฟื้นฟูสภาพ สร้างเสริมสุขภาพและป้ องกันโรค กลุ ่มอาการและภาวะผิดปกติในข้อ B8.2 ซึ ่งรวมถึงB8.4.1 Emotional and behavioral factors (e.g., peptic ulcer, encopresis, Monday morning stomach)B8.4.2 Influence on person, family, and society (e.g., inflammatory bowel disease, irritable boweldisease, pancreatitis and alcohol, chronic laxative abuse)B8.4.3 Occupational and other environmental risk factorsB8.4.4 Gender and ethnic factors (e.g., diets)B9 Renal/Urinary SystemB9.1 มีความรู ้เรื ่องภาวะปกติของไตและระบบปัสสาวะดังต่อไปนี้B9.1.1 Embryonic development, fetal maturation, and perinatal changesB9.1.2 Organ structure and functionB9.1.2.1 kidneys, ureters, bladder, urethraB9.1.2.2 glomerular filtration and hemodynamicsB9.1.2.3 tubular reabsorption and secretion, including transport processes andproteinsB9.1.2.4 urinary concentration and dilutionB9.1.2.5 renal mechanisms in acid-base balanceB9.1.2.6 renal mechanisms in body fluid homeostasisB9.1.2.7 micturitionB9.1.3 Cell/tissue structure and function including renal metabolism and oxygen consumption,hormones produced by or acting on the kidneyB9.1.4 Repair, regeneration, and changes associated with stage of lifeB9.2 มีความรู ้เรื ่องสาเหตุ พยาธิก าเนิด พยาธิสรีรวิทยา พยาธิสภาพ ตลอดจนหลักการวินิจฉัยหาสาเหตุของการเกิดโรค กลุ ่มอาการและภาวะผิดปกติทางไตและระบบปัสสาวะดังต่อไปนี้B9.2.1 Hereditary, congenital and structural disordersB9.2.1.1 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ต้องรู ้B9.2.2 Infectious, inflammatory, and immunologic disordersB9.2.2.1 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ต้องรู ้(1) pyelonephritis(2) cystitis, urtethritis(3) acute glomerulonephritis(4) nephrotic syndromeB9.2.1.2 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ควรรู ้(1) polycystic kidneyB9.2.2.2 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ควรรู ้(1) chronic glomerulonephritis(2) interstitial nephritis


B9.2.3 Traumatic and mechanical disordersB9.2.3.1 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ต้องรู ้(1) acute urinary retention(2) urethral syndrome (e.g., urethralstricture)B9.2.3.2 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ควรรู ้(1) obstructive & reflux uropathy(2) urolithiasis(3) genitourinary tract injuryB9.2.4 Neoplastic disorders and tumor-like conditionB9.2.4.1 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ต้องรู ้B9.2.5 Metabolic and regulatory disordersB9.2.5.1 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ต้องรู ้(1) anuria/oliguria(2) hyperkalemiaB9.2.6 Vascular disordersB9.2.6.1 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ต้องรู ้B9.2.7 Systemic disorders affecting the Renal/Urinary systemB9.2.7.1 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ต้องรู ้B9.2.4.2 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ควรรู ้(1) benign and malignant neoplasm ofkidney and urinary bladderB9.2.5.2 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ควรรู ้(1) renal tubular acidosis(2) renal failureB9.2.6.2 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ควรรู ้(1) renal artery stenosisB9.2.7.2 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ควรรู ้(1) diabetic nephropathy(2) lupus nephritisB9.3 มีความรู ้เรื ่องหลักการรักษาและหลักการใช้ยา โดยเฉพาะยาในบัญชียาหลักแห่งชาติของโรค กลุ ่มอาการและภาวะผิดปกติในข้อ B9.2 และรวมถึงยาในกลุ ่มต่อไปนี้B9.3.1 DiureticsB9.3.2 Drugs and fluids used to treat volume, electrolyte, and acid-base disordersB9.3.3 Drugs for benign prostatic hyperplasiaB9.3.4 Drugs for urinary frequency, enuresis and incontinenceB9.4 ตระหนักถึงความส าคัญของพฤติกรรมสุขภาพ เพศ วัย เชื้อชาติ อาชีพ เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมและสิ ่งแวดล้อม ตลอดจนปัจจัยอื ่นๆ ที ่มีผลกระทบต่อการบ าบัดรักษา ฟื้นฟูสภาพ สร้างเสริมสุขภาพและป้ องกันโรค กลุ ่มอาการและภาวะผิดปกติในข้อ B9.2 ซึ ่งรวมถึงB9.4.1 Emotional and behavioral factors (e.g., drug-induced interstitial nephritis, diet)B9.4.2 Influence on person, family, and society (e.g., hemodialysis, living related kidney donation,transplants)B9.4.3 Occupational and other environmental risk factors (e.g., heavy metals)B9.4.4 Gender and ethnic factors (e.g., disease progression, urinary tract infections)


B10 Reproductive System and Perinatal PeriodB10.1 มีความรู ้เรื ่องภาวะปกติของระบบสืบพันธุ ์และภาวะปกติในระยะปริก าเนิดดังต่อไปนี้B10.1.1 Embryonic development, fetal growth and development, and perinatal changesB10.1.2 Organ structure and functionB10.1.2.1 female structure, including breastB10.1.2.2 female function - menstrual cycle, puberty, menopauseB10.1.2.3 male structureB10.1.2.4 male function - spermatogenesis, pubertyB10.1.2.5 intercourse, orgasmB10.1.2.6 pregnancy, including labor and delivery, the puerperium, lactation, gestationaluterus, placentaB10.1.3 Cell/tissue structure and function including hypothalamic-pituitary-gonadal axis, sex steroids,and gestational hormonesB10.1.4 Reproductive system defense mechanisms and normal floraB10.1.5 Repair, regeneration, and changes associated with stage of lifeB10.2 มีความรู ้เรื ่องสาเหตุ พยาธิก าเนิด พยาธิสรีรวิทยา พยาธิสภาพ ตลอดจนหลักการวินิจฉัยสาเหตุของการเกิดโรค กลุ ่มอาการและภาวะผิดปกติทางระบบสืบพันธุ ์และระยะปริก าเนิดดังต่อไปนี้B10.2.1 Hereditary, congenital and structural disordersB10.2.2B10.2.1.1 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ต้องรู ้Infectious, inflammatory, and immunologic disordersB10.2.2.1 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ต้องรู ้(1) sexually transmitted disease (syphilis,gonococcal infection, chancroid, nonspecificurethritis, condylomaacuminata, lymphogranulomavenerum, trichomoniasis)(2) Bartholinitis & abscess, Bartholin cyst(3) vulvovaginitis(4) cervicitis(5) pelvic inflammatory disease(endometritis, salpingitis, oophoritis,B10.2.1.2 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ควรรู ้ )(1) imperforate hymen(2) hypospadias(3) undescended testis(4) ambiguous genitaliaB10.2.2.2 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ควรรู ้(1) tubo-ovarian abscess(2) Intrauterine and perinatalinfections (rubella, syphilis,gonococcal infection, tetanusneonatorum, sepsis, HIV,chlamydial infection)


tubo-ovarian abscess)(6) orchitis and epididymitis(7) urethritis(8) phimosis and paraphimosis(9) mastitis, breast abscess(10) perinatal infections (hepatitis B virus)B10.2.3 Traumatic and mechanical disordersB10.2.3.1 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ต้องรู ้(1) stress incontinence(2) foreign bodyB10.2.4B10.2.5B10.2.6Neoplastic disorders and tumor-like conditionB10.2.4.1 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ต้องรู ้(1) hyperplasia of prostate(2) cervical polypB10.2.3.2 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ควรรู ้(1) hydrocoele of testis,spermatocoele(2) torsion of testis(3) female genital prolapse(cystocoele, rectocoele, prolapseuterus)(4) fistula involving female genitaltractsB10.2.4.2 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ควรรู ้(1) hydatidiform mole(2) choriocarcinoma(3) benign and malignant neoplasmof breast, vulva, uterus, cervix,ovary, placenta, prostate glandand testes้้Metabolic and regulatory disordersB10.2.5.1 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ต้องรู B10.2.5.2 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ควรรู(1) menstrual disorders(2) menopausal syndrome(3) abnormal uterine or vaginal bleeding(1) endometriosisDisorders relating to pregnancy, the puerperium, and the post partum periodB10.2.7.1 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ต้องรู ้(1) abortion(2) hyperemesis gravidarum(3) breast infection associated withchildbirthB10.2.7.2 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ควรรู ้(1) ectopic pregnancy(2) multiple gestation(3) hypertensive disorder inpregnancy


(4) disorders of breast and lactationassociated with childbirth(5) uterine rupture(4) septic abortion(5) dead fetus in utero(6) antepartum hemorrhage(placenta previa, abruptionplacentae)(7) chorio-amnionitis(8) postpartum hemorrhage(10) amniotic fluid aspiration(11) puerperal infectionB10.2.7 Disorders in the perinatal periodB10.2.8.1 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ต้องรู ้ B10.2.8.2 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ควรรู ้(1) perinatal jaundice (1) respiratory distress in newbornB10.3 มีความรู ้เรื ่องหลักการรักษาและหลักการใช้ยา โดยเฉพาะยาในบัญชียาหลักแห่งชาติของโรค กลุ ่มอาการและภาวะผิดปกติในข้อ B10.2 และรวมถึงยาในกลุ ่มต่อไปนี้B10.3.1 Prostaglandins, prostaglandin antagonists and oxytocicsB10.3.2 Myometrial relaxantsB10.3.4 ContraceptivesB10.3.5 Other methods of contraception (e.g., condoms)B10.3.6 Estrogen, progestogen replacement and treatment of menopauseB10.3.9 Stimulators and inhibitors of lactationB10.3.10 Male sex hormonesB10.4 ตระหนักถึงความส าคัญของพฤติกรรมสุขภาพ เพศ วัย เชื้อชาติ อาชีพ เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมและสิ ่งแวดล้อม ตลอดจนปัจจัยอื ่นๆ ที ่มีผลกระทบต่อการบ าบัดรักษา ฟื้นฟูสภาพ สร้างเสริมสุขภาพและป้ องกันโรค กลุ ่มอาการและภาวะผิดปกติในข้อ B10.2 ซึ ่งรวมถึงB10.4.1 Emotional and behavioral factors (e.g., sexually transmitted diseases)B10.4.2 Influence on person, family, and society (e.g., infertility)B10.4.3 Occupational and other environmental risk factors (e.g., radiation)B10.4.4 Family planning and pregnancy (e.g., unwanted)B10.4.5 Gender identity, sexual orientation, sexuality, libidoB10.4.6 Effects of traumatic stress syndrome, violence, rape, child abuseB11 Endocrine SystemB11.1 มีความรู ้เรื ่องภาวะปกติของระบบต่อมไร้ท่อดังต่อไปนี ้B11.1.1 Embryonic development, fetal maturation, and perinatal changesB11.1.2 Organ structure and functionB11.1.2.1. hypothalamus, posterior and anterior pituitary gland


B11.1.2.2. thyroid glandB11.1.2.3. parathyroid glandsB11.1.2.4. adrenal cortex, adrenal medullaB11.1.2.5. pancreatic isletsB11.1.2.6. ovary and testisB11.1.2.7. adipose tissueB11.1.3 Cell/tissue structure and function, including hormone synthesis, secretion,action, and metabolismB11.1.3.1 peptide hormonesB11.1.3.2 steroid hormones, including vitamin DB11.1.3.3 thyroid hormonesB11.1.3.4 catecholamine hormonesB11.1.3.5 renin-angiotensin systemB11.1.4 Repair, regeneration, and changes associated with stage of lifeB11.2 มีความรู ้เรื ่อง สาเหตุ พยาธิก าเนิด พยาธิสรีรวิทยา พยาธิสภาพ ตลอดจนหลักการวินิจฉัยสาเหตุของการเกิดโรค กลุ ่มอาการ หรือภาวะผิดปกติทางระบบต่อมไร้ท่อ ดังต่อไปนี้B11.2.1 Hereditary, congenital and structural disordersB11.2.1.1 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ต้องรู ้B11.2.2 Infectious, inflammatory, and immunologic disordersB11.2.2.1 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ต้องรู ้(1) thyrotoxicosis (Graves’ disease)(2) toxic adenomaB11.2.3. Neoplastic disorders and tumor-like conditionsB11.2.3.1 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ต้องรู ้B11.2.4 Metabolic and regulatory disordersB11.2.4.1 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ต้องรู ้(1) diabetes mellitus, hyperglycemiccrisis(2) hypoglycemia(3) thyroid disorders; goiter, iodinedeficiency, hypothyroidism(4) metabolic syndrome(5) thyroid crisis or stormB11.2.1.2 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ควรรู ้(1) ectopic thyroidB11.2.2.2 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ควรรู ้(1) thyroiditisB11.2.3.2 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ควรรู ้(1) benign and malignant neoplasmof endocrine glandB11.2.4.2 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ควรรู ้(1) pituitary, hypothalamus,parathyroid,pancreatic islet disorders,adrenaldisorders)(2) Cushing’s syndrome(3) Addison’s disease, pituitarygland


B11.2.5 idiopathic disordersB11.2.5.1 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ต้องรู ้B11.2.6 OthersB11.2.6.1 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ต้องรู ้(1) disorders of lipoprotein metabolismand lipidemiadisorders, diabetes insipidus,parathyroid gland disorders(4) cerebral salt wasting(5) syndrome of inappropriatesecretion of antidiuretic hormone(SIADH)B11.2.5.2 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ควรรู ้(1) hirsutismB11.2.6.2 กลุ ่มโรคและกลุ ่มอาการที่ควรรู ้B11.3 มีความรู ้เรื ่องหลักการรักษาและหลักการใช้ยา โดยเฉพาะยาในบัญชียาหลักแห่งชาติของโรค กลุ ่มอาการและภาวะผิดปกติในข้อ B11.2 และรวมถึงยาในกลุ ่มต่อไปนี้B11.3.1 Drugs used in diabetes (insulins and oral antidiabetic drugs)B11.3.2 Thyroid hormones and antithyroid drugsB11.3.3 CorticosteroidsB11.3.4 Hypothalamic and pituitary hormones (including posterior pituitary hormones antagonists)B11.3.5 Drugs affecting bone metabolismB11.3.6 Other endocrine drugs (bromocriptine, other dopaminergic drugs and drugs affectinggonadotrophins)B11.3.7 Lipid lowering agentsB11.4 ตระหนักถึงความส าคัญของพฤติกรรมสุขภาพ เพศ วัย เชื้อชาติ อาชีพ เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมแลสิ ่งแวดล้อม ตลอดจนปัจจัยอื ่นๆ ที ่มีผลกระทบต่อการบ าบัดรักษา ฟื้นฟูสภาพ สร้างเสริมสุขภาพและป้ องกันโรค/กลุ ่มอาการ/ภาวะในข้อ B11.2 ซึ ่งรวมถึงB11.4.1 Emotional and behavioral factors (e.g., compliance in diabetes mellitus, factitious use ofinsulin psychogenic polydipsia)B11.4.2 Influence on person, family, and societyB11.4.3 Occupational and other environmental risk factors (e.g., radiation exposure, iodinedeficiency)B11.4.4 Gender and ethnic factors


ภาคผนวก ข ความรู ้ความสามารถทางวิชาชีพและทักษะทางคลินิกผู ้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมต้องมีความรู ้ความสามารถในการแก้ไขปัญหาทางสุขภาพทั่วๆ ไปของผู ้ป่ วยและประชาชนได้เหมาะสม หมวดความรู ้ความสามารถทางวิชาชีพและและทักษะทางคลินิก แบ่งออกเป็น 3 หมวดดังนี ้คือหมวดที ่ 1. ภาวะปกติและหลักการดูแลทั ่วไป (Normal conditions and general principlesof care)หมวดที ่ 2. ภาวะผิดปกติจ าแนกตามระบบอวัยวะ (Individual organ systems or types ofdisorders)หมวดที ่ 3. ทักษะการตรวจ การตรวจทางห้องปฏิบัติการและการท าหัตถการ (Technicaland procedural skills)หมวดที ่ 1. ภาวะปกติและหลักการดูแลทั ่วไปผู ้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมต้องมีความรู ้ความสามารถในการประเมินสุขภาพ และการบริบาลสุขภาพทั่วๆ ไปของผู ้ป่ วยและประชาชนได้เหมาะสม กล่าวคือ1.1 มีความรู ้ความสามารถในเรื ่องการสร้างเสริมสุขภาพ และระบบบริบาลสุขภาพ ในสุขภาพของบุคคล ชุมชนและประชาชน (ภาคผนวกที ่ ค)1.2 สามารถรวบรวมข้อมูล และประเมินปัญหาสุขภาพของบุคคล ครอบครัวและ ชุมชนในความรับผิดชอบได้ โดยใช้วิธีทางวิทยาการระบาดพื้นฐานดังนี้1.2.1 Measures of health, illness and disease frequency1.2.1.1 prevalence and incidence1.2.1.2 adjusted (standardized) rates1.2.1.2.1 mortality rates (direct and indirect methods)1.2.1.2.2 morbidity rates1.2.1.3 demographic life tables1.2.1.4 the population pyramid1.2.1.5 vital statistics1.2.2 Determining causation1.2.2.1 cause-effect relationship1.2.2.2 measures of association1.2.2.2.1 relative risk1.2.2.2.2 odds ratio1.2.2.2.3 incidence rate ratio1.2.2.2.4 hazard ratio


1.2.2.3 research designs for determining causation1.2.2.3.1 cohort study1.2.2.3.2 case-control study1.2.2.3.3 cross-sectional study1.2.3 Evaluating the accuracy of screening and diagnostic tests1.2.3.1 sensitivity, specificity, likelihood ratio1.2.3.2 receiver operating characteristic (ROC) curves1.2.3.3 pre-test and post-test probability1.2.3.4 evaluation of study method1.2.4 Therapeutic trials1.2.4.1 evaluation of therapeutic efficacy1.2.4.1.1 relative risk reduction/increase1.2.4.1.2 absolute risk reduction/increase1.2.4.1.3 number needed to treat1.2.4.1.4 number needed to harm1.2.4.2 research designs for therapeutic trials1.2.4.2.1 randomized controlled trial1.2.4.2.2 non-randomized controlled trial1.2.4.3 analysis methods1.2.4.3.1 intention to treat analysis1.2.4.3.2 Per-protocol analysis1.2.5 Systematic reviews1.2.5.1 identifying and selecting studies1.2.5.2 quality of evidence assessments1.2.5.3 combining the findings of independent studies1.2.5.4 variation between study findings1.2.5.5 summarizing and interpreting results1.2.6 Economic evaluation of health care services1.2.6.1 measurement of costs1.2.6.2 outcomes assessment1.2.6.2.1 disability-Adjusted-Life Year (DALY)1.2.6.2.2 quality-adjusted life-year (QALY)1.2.6.3 research designs for therapeutic trials


1.2.6.3.1 cost-effectiveness analysis1.2.6.3.2 cost-utility analysis1.2.6.3.3 cost-benefit analysis1.2.6.4 decision making in health care policy1.2.7 Ethics in research1.2.7.1 ethical theory and principles1.2.7.2 balancing the benefits and harms of participation in research1.2.7.3 ethical issues in study design1.2.7.4 informed consent in research1.2.7.5 institutional review boards1.2.7.6 selection of research participants1.2.8 Research methodology1.2.8.1 study design and methodology1.2.8.1.1 clinical trials, community trials1.2.8.1.2 cohort, case-control, cross-sectional, case series,surveys,1.2.8.1.3 ecological study1.2.8.1.4 advantages and disadvantages of different designs1.2.8.2 subject eligibility and sampling1.2.8.2.1 sample size1.2.8.2.2 randomization, self-selection, systematic assignment1.2.8.3 outcome assessment; primary outcome, secondary outcome1.2.8.4 bias : selection, misclassification, confounding1.2.8.5 statistical inference1.2.8.5.1 hypothesis generation, hypothesis testing, andtest statistics1.2.8.5.2 validity: internal/ external validity1.2.8.5.3 statistical significance and type I error1.2.8.5.4 statistical power and type II error1.2.8.5.6 confidence interval1.2.9 Evidence-based medicine1.2.9.1 asking focused questions: translation of uncertainty to an


answerable question1.2.9.2 finding the evidence: systematic retrieval of best evidenceavailable1.2.9.3 critical appraisal: testing evidence for validity, clinical relevance,and applicability1.2.9.4 making a decision: application of results in practice1.2.9.5 evaluating performance: auditing evidence-based decisions1.3 สามารถประเมินสุขภาพ และให้ค าแนะน าที ่เหมาะสมเพื ่อความมีสุขภาพดี แก่บุคคลตามวัยและสภาวะต่างๆ ตั้งแต่ทารกในครรภ์ ทารกแรกเกิด วัยก่อนเข้าเรียน วัยเรียน วัยรุ ่น วัยหนุ ่มสาว ผู ้ใหญ่ หญิงมีครรภ์ วัยสูงอายุ ผู ้พิการและผู ้ทุพพลภาพ1.3.1 Fetus1.3.1.1 fetal growth and development1.3.2 Infancy and childhood1.3.2.1 infant feeding and breast-feeding1.3.2.2 normal physical growth and development1.3.2.3 cognitive and psychosocial development1.3.2.4 infant-parent and child-parent interaction1.3.2.5 changing child-parent relationships1.3.2.6 physician-child-parent communication1.3.2.7 well-baby care, well child care including breastfeedingguidance1.3.3 Adolescence1.3.3.1 sexuality1.3.3.2 individualization and identity1.3.3.3 physical and psychosocial change of puberty1.3.3.4 adolescent health care1.3.4 Adulthood1.3.4.1 normal physical and mental development and function1.3.4.2 stress management1.3.4.3 pregnancy1.3.4.4 lactating mother1.3.4.5 male and female climacteric


่1.3.4.6 menopause1.3.5 Senescence1.3.5.1 physical and mental changes associated with aging1.3.5.2 emotional, social, and cultural adaptations1.3.5.3 death and dying1.3.6 Disability1.3.6.1 physical and mental changes associated with disability1.4 เชื ่อมโยงความสัมพันธ์ของสุขภาพบุคคลกับสุขภาพครอบครัว ประเมินพัฒนาการและปัญหาสุขภาพของครอบครัว รวมทั้ง ให้ค าปรึกษาและดูแลปัญหาสุขภาพเบื้องต้นแก่ผู ้ป่ วยและครอบครัวได้1.5 สามารถตรวจสุขภาพ ตรวจคัดกรองโรค และออกความเห็นหรือหนังสือรับรองความเห็นได้อย่างเหมาะสม ( ICD 10 ข้อ XXI FACTORS INFLUENCING HEALTHSTATUS AND CONTACT WITH HEALTH SERVICES: Z00 - Z99)1.5.1 Person without complaint or reported diagnosis1.5.2 Examination and encounter for administrative purposes1.5.3 Routine general health check-up1.5.4 Special screening examination for diseases and disorders1.5.5 Carriers of infectious diseases1.5.6 Contact with and exposure to communicable diseases1.5.7 Immunization1.5.8 Contraceptive management1.6. สามารถตรวจและให้ความเห็นหรือท าหนังสือรับรองเกี ่ยวกับผู ้ป่ วย ผู ้พิการและทุพพลภาพ ผู ้เสียหาย ผู ้ต้องหา หรือจ าเลย ตามความที ่กฏหมายก าหนดให้พนักงานสอบสวนองค์กร หรือศาลในกิจการต่างๆได้ เช่น หนังสือรับรองสุขภาพ หนังสือรับรองความพิการทุพพลภาพ หนังสือรับรองการตาย การเป็ นพยานต่อพนักงานสอบสวนและศาล (ภาคผนวก จ)1.7.สามารถชันสูตรพลิกศพ เก็บวัตถุพยานจากศพ ร่วมกับพนักงานสอบสวน ตามทีกฏหมายก าหนดได้ สามารถออกรายงานการชันสูตรพลิกศพ ให้ถ้อยค าเป็ นพยานในชั้นสอบสวนและชั้นศาลได้ (ภาคผนวก จ)1.8.สามารถระบุปัญหา วิเคราะห์ และให้แนวทางปฏิบัติเชิงเวชจริยศาสตร์ (ภาคผนวก ง)และกฎหมายที ่เกี ่ยวข้อง (ภาคผนวก จ)


้หมวดที ่ 2. ภาวะผิดปกติจ าแนกตามระบบอวัยวะ ( Individual organ systems or types ofdisorders)ในหมวดนี ้ได้ระบุเนื ้อหาโดยจ าแนกตาม International classification of diseases (ICD 10) ผูประกอบวิชาชีพเวชกรรมต้องมีความรู ้ความสามารถในการป้ องกันปัญหาสุขภาพ การสร้างเสริมสุขภาพการฟื ้นฟูสภาพ และให้การรักษาต่อเนื่องทั้งในระดับบุคคล ครอบครัว และชุมชน โดยตระหนักถึงผลกระทบของเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมต่อการเจ็บป่ วยและการรักษาความรู ้ความสามารถดังกล่าวจ าแนกตามโรคหรือกลุ ่มอาการ/ภาวะได้เป็น 3 กลุ ่มดังนี ้กลุ ่มที่ 1 โรค/กลุ ่มอาการ/ภาวะฉุกเฉินที่ต้องรู ้กลไกการเกิดโรค สามารถให้การวินิจฉัยเบื ้องต้นและให้การบ าบัดโรคฯ การรักษาผู ้ป่ วยได้อย่างทันท่วงทีตามความเหมาะสมของสถานการณ์ รู ้ข้อจ ากัดของตนเอง และปรึกษาผู ้เชี่ยวชาญหรือผู ้มีประสบการณ์มากกว่าได้อย่างเหมาะสมกลุ ่มที่ 2 โรค/กลุ ่มอาการ/ภาวะที่ต้องรู ้กลไกการเกิดโรค สามารถให้การวินิจฉัย ให้การบ าบัดโรคฯการรักษาผู ้ป่ วย ได้ด้วยตนเอง รวมทั้งการฟื ้นฟูสภาพ การสร้างเสริมสุขภาพ และการป้ องกันโรค ในกรณีที่โรครุนแรง หรือซับซ้อนเกินความสามารถ ให้พิจารณาแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าและส่งผู ้ป่ วยต่อไปยังผู ้เชี่ยวชาญกลุ ่มที่ 3 โรค/กลุ ่มอาการ/ภาวะที่ต้องรู ้กลไกการเกิดโรค สามารถให้การวินิจฉัยแยกโรค และรู ้หลักในการดูแลรักษาผู ้ป่ วย การฟื ้นฟูสภาพ การสร้างเสริมสุขภาพ และการป้ องกันโรค แก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าตัดสินใจส่งผู ้ป่ วยต่อไปยังผู ้เชี่ยวชาญ2.1 อาการ / ปัญหาส าคัญ (ICD10 ข้อ XVIII, R00 - R69)ผู ้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมต้องมีความรู ้เกี่ยวกับพยาธิก าเนิด พยาธิสรีรวิทยา สามารถวินิจฉัยแยกโรคและปฏิบัติรักษาผู ้ป่ วยเบื ้องต้น ได้เหมาะสมส าหรับอาการส าคัญ ดังต่อไปนี ้2.1.1 ไข้2.1.2 อ่อนเพลีย ไม่มีแรง2.1.3 ปวดศีรษะ มึนศีรษะ เวียนศีรษะ หน้ามืด เป็นลม2.1.4 ภาวะผิดรูป2.1.5 การเจริญเติบโตไม่สมวัย2.1.6 การเดินผิดปรกติ2.1.7 น ้าหนักเพิ่มขึ ้น น ้าหนักตัวลดลง2.1.8 อุบัติเหตุ สัตว์กัดต่อย2.1.9 ปวดฟัน เลือดออกตามไรฟัน2.1.10 ปวดท้อง แน่นท้อง ท้องอืด2.1.11 ตาเหลือง ตัวเหลือง2.1.12 เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน อาเจียนเป็นเลือด


2.1.13 สะอึก ส าลัก กลืนล าบาก2.1.14 ท้องเดิน ท้องผูก อุจจาระเป็นเลือด อุจจาระด า2.1.15 ก้อนในท้อง2.1.16 กล้ามเนื ้ออ่อนแรง ชัก สั่น กระตุก ชา ซึม ไม่รู ้สติ2.1.17 ปวดหลัง ปวดคอ ปวดเมื่อยตามกล้ามเนื ้อ ปวดกระดูก ปวดข้อ ปวดแขน ปวดขา2.1.18 ข้อฝื ดตึง ข้อติด2.1.19 เจ็บคอ คัดจมูก น ้ามูกไหล จาม เลือดก าเดาออก2.1.20 ไอ ไอเป็นเลือด หอบเหนื่อย หายใจขัด หายใจไม่อิ่ม เจ็บหน้าอก ใจสั่น เขียวคล ้า2.1.21 นอนกรน2.1.22 บวม ปัสสาวะล าบาก ปัสสาวะแสบขัด ปัสสาวะบ่อย ปัสสาวะสีผิดปกติ กลั้นปัสสาวะไม่ได้2.1.23 ปัสสาวะออกน้อย ปัสสาวะไม่ออก2.1.24 ปัสสาวะมีเลือดปน ปัสสาวะเป็นกรวดทราย ปัสสาวะเป็นฟอง2.1.25 หนองจากท่อปัสสาวะ2.1.26 แผลบริเวณอวัยวะเพศ2.1.27 ผื่น คัน แผล ฝี สิว ผิวหนังเปลี่ยนสี ผมร่วง2.1.28 ก้อนที่คอ ก้อนใต้ผิวหนัง ก้อนที่เต้านม2.1.29 ซีด ต่อมน ้าเหลืองโต2.1.30 จ ้าเลือด จุดเลือดออก เลือดออกง่าย2.1.31 ตกขาว คันช่องคลอด2.1.32 ตั้งครรภ์ แท้งบุตร ไม่อยากมีบุตร มีบุตรยาก2.1.33 เลือดออกทางช่องคลอด2.1.34 ประจ าเดือนผิดปกติ ปวดประจ าเดือน2.1.35 คลอดก่อนก าหนด เกินก าหนด2.1.36 เคืองตา ตาแดง ปวดตา ตาแห้ง มองเห็นไม่ชัด ตาบอด ตาโปน ตาเหล่ เห็นภาพซ้อน2.1.37 หูอื ้อ การได้ยินลดลง มีเสียงในหู หนองไหลจากหู2.1.38 หงุดหงิด คลุ ้มคลั่ง ประสาทหลอน มีความคิดหลงผิด นอนไม่หลับ เครียด วิตกกังวล ซึมเศร้า ติดสารเสพติด พยายามฆ่าตัวตาย ท าร้ายตัวเอง2.1.39 การล่วงละเมิด การล่วงละเมิดทางเพศ และการทารุณกรรม


2.2 โรค/ภาวะ/กลุ ่มอาการฉุกเฉิน (รวมทุกระบบ) (ICD10 ข้อ XVIII, R00 - R69)กลุ ่มที ่ 1 โรค/กลุ ่มอาการ/ภาวะฉุกเฉินที่ต้องรู ้กลไกการเกิดโรค สามารถให้การวินิจฉัยเบื ้องต้นและให้การบ าบัดโรคฯ การรักษาผู ้ป่ วย ได้อย่างทันท่วงทีตามความเหมาะสมของสถานการณ์ รู ้ข้อจ ากัดของตนเองและปรึกษาผู ้เชี่ยวชาญหรือผู ้มีประสบการณ์มากกว่า ได้อย่างเหมาะสม2.2.1 Cardiac arrest2.2.2 Pulmonary edema2.2.3 Malignant hypertension2.2.4 Shock; hypovolemic, anaphylactic, septic, cardiogenic2.2.5 Ruptured and threatening ruptured dissecting aneurysm2.2.6 Acute coronary syndrome2.2.7 Cardiac tamponade2.2.8 Anoxic spell2.2.9 Respiratory failure2.2.10 Respiratory obstruction, suffocation2.2.11 Acute exacerbation of asthma2.2.12 Pneumothorax2.2.13 Superior vena cava obstruction2.2.14 Hyperglycemic crisis2.2.15 Hypoglycemia2.2.16 Disseminated intravascular clotting2.2.17 Acute hemolytic crisis2.2.18 Incompatible blood transfusion2.2.19 Acute psychosis, delirium, aggression (violence)2.2.20 Hyperventilation syndrome2.2.21 Severe depression2.2.22 Suicide attempt2.2.23 Panic attack2.2.24 Reaction to severe stress2.2.25 Acute corneal abrasion and ulcer2.2.26 Acute glaucoma2.2.27 Anuria/oliguria2.2.28 Acute urinary retention


2.2.29 Hyperkalemia2.2.30 Obstructed labor2.2.31 Threatened uterine rupture2.2.32 Eclampsia2.2.33 Prolapsed umbilical cord2.2.34 Rape2.2.35 Coma2.2.36 Syncope2.2.37 Convulsion2.2.38 Acute increased intracranial pressure2.2.39 Asphyxia of the newborn2.2.40 Fetal distress2.2.41 Acute abdomen2.2.42 Serious bleeding; massive bleeding; gastrointestinal, intracranialbleeding, hyphema, antepartum and postpartum hemorrhage2.2.43 Acute poisoning; drugs, food, chemicals, substances2.2.44 Bites & stings2.2.45 Injury /accident; head & neck injury, fracture, dislocation, body and limbinjuries, compartment syndrome, falls, serious injury, electrical injury,burns, inhalation injuries, near-drowning & submersion2.3 โรคตามระบบกลุ ่มที่ 2 โรค/กลุ ่มอาการ/ภาวะที่ต้องรู ้กลไกการเกิดโรค สามารถให้การวินิจฉัย ให้การบ าบัดโรคฯการรักษาผู ้ป่ วย ได้ด้วยตนเอง รวมทั้งการฟื ้นฟูสภาพ การสร้างเสริมสุขภาพ และการป้ องกันโรค ในกรณีที่โรครุนแรง หรือซับซ้อนเกินความสามารถ ให้พิจารณาแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าและส่งผู ้ป่ วยต่อไปยังผู ้เชี่ยวชาญกลุ ่มที่ 3 โรค/กลุ ่มอาการ/ภาวะที่ต้องรู ้กลไกการเกิดโรค สามารถให้การวินิจฉัยแยกโรค และรู ้หลักในการดูแลรักษาผู ้ป่ วย การฟื ้นฟูสภาพ การสร้างเสริมสุขภาพ และการป้ องกันโรค แก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าตัดสินใจส่งผู ้ป่ วยต่อไปยังผู ้เชี่ยวชาญ2.3.1 INFECTIOUS AND PARASITIC DISEASES (ICD10, ข้อ I A00-B99)2.3.1.1 กลุ ่มที ่ 22.3.1.2 กลุ ่มที ่ 3(1) gastroenteritis (e.g., cholera, shigellosis, (1) systemic mycoses (e.g., candidiasis,salmonellosis, E.coli, virus, Campylobactercryptococcosis, aspergillosis, penicillosis,sp.,Clostridium difficile, amoebiasis, giardiasis, mucormycosis)


food-borne intoxication)(2) typhoid and paratyphoid fever(3) intestinal parasites (e.g., ascariasis, hookworminfestation, enterobiasis, trichuriasis,strongyloidiasis, taeniasis, capillariasis)(4) tuberculosis(5) melioidosis(6) leptospirosis(7) tetanus(8) diphtheria(9) septicemia(10) sexually transmitted disease (e.g., syphilis,gonococcal infection, chancroid, non-specificurethritis, condyloma acuminata,lymphogranuloma venerum, trichomoniasis)(11) typhus fever (scrub typhus, murine typhus)(12) poliomyelitis(13) rabies(14) Dengue hemorrhagic fever & Chikungunyafever(15) varicella, zoster(16) herpes simplex infection(17) viral exanthemata (e.g., measles, rubella,erythema infectiosum, exanthema subitum,hand foot mouth diseases)(18) acute viral hepatitis(19) mumps(20) infectious mononucleosis(21) superficial mycoses (e.g., tinea, pityriasisversicolor, candidosis)(22) malaria(23) whooping cough(24) ectoparasitic diseases : scabiasis, pediculosis(25) human immunodeficiency virus (HIV)infections including acquired immunedeficiencysyndrome (AIDS)(2) tissue parasitic diseases (e.g., trichinosis,cysticercosis, gnathostomiasis,pneumocystosis, angiostrongyliasis,filariasis, toxoplasmosis, opisthorchiasis,paragonimiasis, schistosomiasis)(3) leprosy, yaws(4) cytomegalovirus infection(5) anthrax(6) gas gangrene(7) gastroenteritis in compromised host (e.g.,isosporosis, microsporidiosis,cryptospirodiosis)(8) chronic viral hepatitis(9) meningococcemia, streptococcus suissepticemia


2.3.2 NEOPLASM (ICD10, ข้อ II C00-D48)2.3.2.1 กลุ ่มที ่ 22.3.2.2 กลุ ่มที ่ 3(1) benign neoplasm of skin and subcutaneous (1) benign and malignant neoplasm of oraltissuecavity, larynx, nasopharynx, eyes,esophagus, stomach, colon, liver andbiliary tract, pancreas, lungs, bone andsoft tissue, breast, vulva, uterus,cervix,ovary, placenta, prostate gland,testes, kidney, urinary bladder, brain,thyroid gland, lymph node, hemopoieticsystem (leukemia,multiple myeloma)(2) malignant neoplasm of skin andsubcutaneous tissue2.3.3 DISEASES OF BLOOD & BLOOD FORMING ORGANS AND DISORDERS INVOLVINGTHE IMMUNE MECHANISM (ICD 10, ข้อ III D50 -D89)2.3.3.1 กลุ ่มที ่ 22.3.3.2 กลุ ่มที ่ 3(1) nutritional deficiency anemias (e.g., iron folate, (1) hemolytic anemias (e.g., autoimmuneB12)hemolytic anemia, paroxysmal nocturnal(2) thalassemiahemoglobinuria)(3) G6PD deficiency(2) coagulation defects (e.g., hemophilia,consumptive coagulopathy, acquiredprothrombin complex deficiency)(3) agranulocytosis(4) aplastic anemia(5) idiopathic thrombocytopenic purpura(6) immune deficiency states(7) acquired platelet dysfunction witheosinophilia(8) allergic purpura (Henoch Schonleinpurpura)2.3.4 ENDOCRINE, NUTRITIONAL, AND METABOLIC DISEASE (ICD 10, ข้อIV E00 - E90)2.3.4.1 กลุ ่มที ่ 22.3.4.2 กลุ ่มที ่ 3(1) goiter(2) iodine deficiency(3) thyrotoxicosis(4) thyroid crisis or storm(5) hypothyroidism(1) thyroiditis(2) Cushing’s syndrome(3) other hormonal disorders (e.g.,Addison’sdisease, pituitary glanddisorders, diabetes insipidus, parathyroid


(6) diabetes mellitus(7) protein-energy malnutrition(8) vitamin deficiency (A, B, C, D, E, K)(9) disorders of lipoprotein metabolism andlipidemia(10) obesity(11) metabolic syndrome(12) disorders of fluid, electrolytes, and acid-basebalance (e.g., acidosis, alkalosis,hyponatremia, hypernatremia, hypokalemia,hyperkalemia, hypocalcemia, hypercalcemia)gland disorders)(4) cerebral salt wasting(5) syndrome of inappropriate secretion ofantidiuretic hormone2.3.5 MENTAL& BEHAVIORAL DISORDERS (ICD10, ข้อ V F00 - F99)2.3.5.1 กลุ ่มที ่ 22.3.5.2 กลุ ่มที ่ 3(1) mental & behavioral disorders due to alcohol, (1) organic mental disorders (e.g., dementia,drugs and substancesbrain damage, systemic diseases, alcohol(2) depressive disorder, panic disorder,& substance induced, organic amnesticgeneralized anxiety disorderssyndrome, delirium)(2) neurotic disorders (e.g., phobia,obscessive-compulsive disoreders,dissociative or conversion disorder)(3) somatoform disorders(4) behavioral and emotional disorders inchildhood and adolescence (e.g.,conduct disorder, tic disorder, enuresis,feeding disorder, nail biting, thumbsucking, attention deficit disorders)(5) schizophrenia(6) mood (affective) disorders : manicepisode, bipolar affective disorders(7) behavioral syndromes associated withphysiological dysfunction and physicalfactors (e.g., eating disorder, sleepdisorder, sexual dysfunction, post-partumpsychosis)(8) disorders of adult personality andbehavior (e.g., aggressive, antisocial,compulsive, hysterical, obscessive-


compulsive, paranoid)(9) mental retardation(10) disorders of psychological development(e.g., speech and language disorder,disorder of scholastic skills, motorfunction disorder, pervasive disorder)2.3.6 DISORDERS OF THE NERVOUS SYSTEM (ICD10, ข้อVI G00 - G99)2.3.6.1 กลุ ่มที ่ 22.3.6.2 กลุ ่มที ่ 3(1) meningitis(2) tension headache(3) encephalitis & myelitis(4) periodic paralysis(5) acute flaccid paralysis(6) epilepsy(7) migraine(8) facial nerve paralysis (Bell’s palsy)(1) brain abscess(2) peripheral nerve entrapment (e.g., carpaltunnel syndrome, cubital tunnelsyndrome)(3) myasthenia gravis(4) myopathy(5) hemiplegia, paraplegia, tetraplegia(6) Reye's syndrome(7) hydrocephalus(8) cerebral palsy(9) parkinsonism(10) Alzheimer’s diseases(11) polyneuropathies (e.g., systemicdiseases, drugs, chemical, alcohol)(12) polyneuropathies (Guillain-Barresyndrome)(13) trigeminal neuralgia2.3.7 DISORDERS OF THE EYE AND ADNEXA (ICD 10, ข้อ VII H00 - H59)2.3.7.1 กลุ ่มที ่ 22.3.7.2 กลุ ่มที ่ 3(1) hordeolum and chalazion(1) disorders of ocular muscles, refraction &(2) conjunctivitisaccommodation (e.g., strabismus,(3) pingueculaamblyopia, myopia, presbyopia,hypermetropia, astigmatism)(2) dacryostenosis, dacryocystitis(3) pterygium(4) keratitis, corneal ulcer(5) uveitis(6) cataract


(7) glaucoma(8) retinopathy2.3.8 DISORDERS OF THE EAR & MASTOID PROCESS (ICD 10,ข้อ VIII H60 - H95)2.3.8.1 กลุ ่มที ่ 22.3.8.2 กลุ ่มที ่ 3(1) myringitis(2) acute otitis externa(3) acute otitis media(4) impacted cerumen(1) perforation of tympanic membrane(2) chronic otitis media(3) mastoiditis, cholesteatoma(4) perichondritis of the pinna(5) conductive and sensorineural hearingloss(6) disorders of vestibular function andvertiginous syndrome(Meniere ‘ssyndrome, vertigo)2.3.9 DISORDERS OF THE CIRCULATORY SYSTEM (ICD10, ข้อ IX I 00 – I 99)2.3.9.1 กลุ ่มที ่ 22.3.9.2 กลุ ่มที ่ 3(1) acute rheumatic fever(1) valvular heart diseases (mitral, aortic(2) hypertensionvalve)(3) heart failure(2) ischemic heart diseases (e.g., angina(4) hemorrhoidspectoris, myocardial infarction)(3) common cardiac arrhythmias (e.g., atrialfibrillation, supraventricular tachycardia,premature ventricular contraction,premature atrial contraction, ventriculartachycardia, ventricular fibrillation, heartblock)(4) pulmonary embolism(5) infective endocarditis(6) pericarditis, myocarditis(7) varicose veins of lower extremities(8) cerebrovascular diseases (e.g.,intracerebral hemorrhage, cerebralinfarction, subarachnoid hemorrhage)(9) deep vein thrombosis(10) aortic aneurysm and dissection(11) peripheral arterial occlusive disease


2.3.10 DISORDERS OF THE RESPIRATORY SYSTEM (ICD 10,ข้อ X J00-J99)2.3.10.1 กลุ ่มที ่ 22.3.10.2 กลุ ่มที ่ 3(1) influenza(1) avian flu, SARS(2) allergic rhinitis(2) peritonsillar abscess, deep neck infection(3) asthma(3) pyothorax (empyema thoracis)(4) upper respiratory infections (nasopharyngitis, (4) respiratory failuresinusitis, pharyngitis, tonsillitis, laryngitis, (5) acute respiratory distress syndrometracheitis, croup)(6) nasal polyp(5) lower respiratory infections (bronchitis, (7) occupational lung diseasesbronchiolitis, pneumonia, lung abscess, (8) chronic obstructive lung diseasesbronchiectasis)(chronic bronchitis, emphysema)(6) pneumothorax(9) sleep-disordered breathing(7) pleurisy, pleural effusion(8) atelectasis2.3.11 DISORDERS OF THE DIGESTIVE SYSTEM (ICD10,ข้อ XI K00-K93)2.3.11.1 กลุ ่มที ่ 22.3.11.2 กลุ ่มที ่ 3(1) oral ulcer (e.g., aphthous ulcer, stomatitis,glossitis, thrush)(2) peptic ulcer, gastritis(3) dyspepsia, esophagitis(4) gastro-esophageal reflux(5) irritable bowel syndrome(6) anal fissure(7) alcoholic liver disease(8) cirrhosis(9) liver abscess(10) acute pancreatitis(11) gastrointestinal hemorrhage(12) acute appendicitis(1) disorders of tooth development & eruption(2) dental caries, gingivitis & periodontaldiseases(3) hernia (inguinal, umbilical)(4) cholelithiasis, cholecystitis, cholangitis(5) infantile hypertrophic pyloric stenosis(6) intestinal obstruction(7) fistula in ano(8) perianal abscess(9) peritonitis(10) chronic diarrhea(11) hepatic failure2.3.12 DISORDERS OF SKIN&SUBCUTANEOUS TISSUE (ICD10,ข้อ XII L00-L99)2.3.12.1 กลุ ่มที ่ 22.3.12.2 กลุ ่มที ่ 3(1) impetigo(1) bullous dermatoses (e.g., pemphigus,(2) lymphadenitispemphigoid)(3) cellulitis(2) papulosquamous disorders (e,g,(4) abscesspsoriasis, pityriasis rosea, lichen planus)(5) dermatitis and eczema(3) erythema multiforme, erythema nodosum,(6) urticariaSteven-Johnson’s syndrome, toxic


(7) acne(8) dyshidrosis, miliaria(9) corn, keloid, scar(10) wart(11) ulcer(12) cystepidermal necrolysis(4) staphylococcal scalded skin syndrome(5) discoid lupus erythematosus(6) sclerodema2.3.13 DISORDERS OF THE MUSCULOSKELETAL SYSTEM AND CONNECTIVE TISSUE (ICD 10,ข้อ XIII M00 - M99)2.3.13.1 กลุ ่มที ่ 22.3.13.2 กลุ ่มที ่ 3(1) osteomyelitis(1) rheumatoid arthritis(2) pyomyositis(2) juvenile arthritis(3) infective arthritis(3) osteonecrosis(4) tendinitis (e.g., de Quervain disease, bursitis, (4) spondyloarthropathysynovitis, fasciitis, myofascial pain syndrome) (5) spondylolithiasis and disc syndrome(5) costochondritis(6) spondylitis(6) crystal arthropathy (gout, pseudogout)(7) osteoporosis(7) osteoarthritis(8) abnormal curvature of the spine(9) systemic lupus erythematosus(10) inflammatory myositis(11) necrotizing fasciitis(12) vasculitis syndrome (e.g., Kawasaki’sdisease, polyarthritis nodosa, druginduced)2.3.14 DISORDERS OF THE GENITO- URINARY SYSTEM (ICD 10, ข้อ XIV N00 - N99)2.3.14.1 กลุ ่มที ่ 22.3.14.2 กลุ ่มที ่ 3(1) cystitis, urtethritis(1) chronic glomerulonephritis(2) urethral syndrome(2) interstitial nephritis(3) orchitis and epididymitis(3) renal tubular acidosis(4) hyperplasia of prostate(4) obstructive & reflux uropathy(5) phimosis / paraphimosis(5) renal failure(6) mastitis(6) hydrocele of testis(7) Bartholinitis & abscess, Bartholin cyst(7) urolithiasis(8) cervical polyp(8) endometriosis(9) vulvovaginitis(9) imperforate hymen(10) cervicitis(10) female genital prolapse (e.g.,cystocoele,(11) pelvic inflammatory disease (e.g.,endometritis, rectocoele, prolapse uterus)salpingitis, oophoritis, tubo-ovarian abscess) (11) fistula involving female genital tracts


(12) menstrual disorders(12) tubo-ovarian abscess(13) abnormal uterine or vaginal bleeding(14) menopausal syndrome(15) acute glomerulonephritis(16) nephrotic syndrome(17) pyelonephritis(18) stress incontinence2.3.15 PREGNANCY, CHILDBIRTH, AND THE PUERPERIUM (ICD 10,ข้อ XV O00 - O99)2.3.15.1 กลุ ่มที ่ 22.3.15.2 กลุ ่มที ่ 3(1) breast infection associated with childbirth (1) umbilical cord complication (e.g.,(2) disorders of breast and lactation associated prolapse cord, vasa previa)with childbirth(2) prolonged labor(3) low risk pregnancy(3) shoulder dystocia(4) abortion(4) ectopic pregnancy(5) hyperemesis gravidarum(5) multiple gestation(6) normal delivery(6) dead fetus in utero(7) trauma to birth canal during delivery(7) missed abortion(8) septic abortion(9) hydatidiform mole(10) pregnancy with medical complications(11) antepartum hemorrhage (e.g., placentaprevia, abruption placentae)(12) hypertensive disorder in pregnancy(13) malposition & malpresentation of the fetus(14) premature (prelabour) rupture ofmembranes, chorio-amnionitis(15) prolonged pregnancy(16) puerperal infection2.3.16 CERTAIN CONDITIONS ORIGINATING IN THE PERINATAL PERIO (ICD 10,ข้อ XVI P00 -P95)2.3.16.1 กลุ ่มที ่ 22.3.16.2 กลุ ่มที ่ 3(1) birth asphyxia(2) transitory metabolic disorders(e.g.,hypoglycemia, hypocalcemia,hypothermia, dehydration)(3) feeding problems of newborn(4) birth trauma(1) slow fetal growth and fetal malnutrition(2) prematurity, low birth weight, pre-terminfant(3) post-term infant(4) respiratory distress in newborn(5) intrauterine and perinatal infections


(5) perinatal infections (hepatitis B virus)(6) perinatal jaundice(e.g.,rubella, syphilis, gonococcalinfection, tetanus neonatorum, sepsis,HIV, chlamydial infection)2.3.17 CONGENITAL MALFORMATIONS, DEFORMATIONS AND CHROMOSOMALABNORMALITIES (ICD 10, ข้อ XVII Q00 - Q99)2.3.17.1 กลุ ่มที ่ 22.3.17.2 กลุ ่มที ่ 3(1) encephalocoele, hydrocephalus(2) pre-auricular sinus, sinus, fistula and(3) cyst of branchial cleft(4) congenital malformation of heart(5) cleft lip, cleft palate(6) thyroglossal duct cyst(7) laryngomalacia(8) tracheo-esophageal fistula(9) diaphragmatic hernia(10) Hirschprung disease, imperforate anus,volvulus(11) omphalocoele, gastroschisis(12) hypospadias, undescended testis(13) ambiguous genitalia(14) chromosomal abnormalities (e.g.,Down’ssyndrome, trisomy18, trisomy13)(15) clubfoot(16) congenital hip dislocation2.3.18 INJURY, POISONING AND CONSEQUENCES OF EXTERNAL CAUSES (ICD 10,ข้อ XIXS00 - T98)2.3.18.1 กลุ ่มที ่ 22.3.18.2 กลุ ่มที ่ 3(1) wound(1) chest injury(2) compartment syndrome(2) abdominal injury(3) eye injury and foreign body on external eye (3) genitourinary tract injury(4) animal bites and stings(4) head injury(5) toxic effects of contact with venomous animals (5) spinal cord and peripheral nerve injury(6) fracture(7) dislocations(8) muscle & tendon injuries (sprains & strains)(9) foreign body through orifices(10) burns


(11) corrosions, heat stroke, electrical injury(12) near-drowning(13) poisoning & intoxication by drugs, substances,toxins(14) maltreatment syndrome (e.g.,child abuse,sexual abuse, battered child)2.3.19 EXTERNAL CAUSES OF MORBIDITY & MORTALITY (ICD 10, ข้อ XX V01 - Y98)2.3.19.1 กลุ ่มที ่ 22.3.19.2 กลุ ่มที ่ 3(1) nosocomial conditions(2) transport accidents(3) falls(4) exposure to smoke, fire and flames,electrocution(5) exposure to biological hazard(6) exposure to forces of nature (e.g., natural heator cold, sunlight, victim of lightning, victim ofearthquake, victim of flood)(7) intention self-harm e.g., crashing of motorvehicle, hanging and suffocation, handgundischarge(8) problems related to life-style e.g., tobacco use,alcohol and biological substance use, lack ofphysical exercise(9) drugs, medicaments and biologicalsubstances causing adverse effects intherapeutic use(10) medical devices associated with adverseincidents in diagnostic and therapeutic use(11) work-related conditions(12) environmental-pollution-related conditionsหมวดที ่ 3 ทักษะการตรวจ การตรวจทางห้องปฏิบัติการ การท าหัตถการที ่จ าเป็ น (Technicaland procedural skills)มีความสามารถในการท าหัตถการและใช้เครื่องมือต่างๆในการตรวจวินิจฉัยและรักษาผู ้ป่ วย โดยอธิบาย ข้อบ่งชี ้ข้อห้าม ภาวะแทรกซ้อนในการตรวจ สภาพและเงื่อนไขที่เหมาะสม ขั้นตอนการตรวจ


สามารถท าได้ด้วยตนเอง และแปลผลได้อย่างถูกต้อง และเตรียมผู ้ป่ วยเพื่อการตรวจวินิจฉัยนั้นๆ ตามเกณฑ์ที่ระบุไว้3.1 การตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ มีความสามารถในการใช้เครื่องมต่างๆในการตรวจวินิจฉัย โดยอธิบาย ข้อบ่งชี ้ข้อห้าม ภาวะแทรกซ้อนในการตรวจ สภาพและเงื่อนไขที่เหมาะสม ขั้นตอนการตรวจ สามารถท าได้ด้วยตนเอง และแปลผลได้ถูกต้อง3.1.1 Hematocrit3.1.2 Blood smear: differential white blood cell count, red cell morphology,platelet estimate and morphology3.1.3 Malarial parasite3.1.4 ABO blood group, Rh and cross matching3.1.5 Urine analysis3.1.6 Body fluid analysis, e.g., CSF, pleural3.1.7 Stool examination, stool occult blood3.1.8 Gram staining, acid fast staining3.1.9 KOH smear, Tzanck’s smear, wet preparation3.1.10 Tuberculin skin test3.1.11 Venous clotting time, clot retraction, clot lysis3.1.12 Electrocardiography3.1.13 Growth and development assessment3.1.14 Electronic fetal heart rate monitoring3.2 การตรวจทางรังสีวิทยา สามารถอธิบายขั้นตอนการตรวจ และประเมิน ข้อบ่งชี ้ ข้อห้าม สภาพและเงื่อนไขที่เหมาะสม เตรียมผู ้ป่ วยส าหรับการตรวจ และแปลผลการตรวจได้ถูกต้อง3.2.1 Chest x-ray3.2.2 Plain abdomen3.2.3 Plain KUB3.2.4 Skull and sinuses3.2.5 Bones and joints3.2.6 Lateral soft tissue of neck3.3 การตรวจอื ่น ๆ สามารถบอกข้อบ่งชี ้ ข้อห้าม สภาพและเงื่อนไขที่เหมาะสม เตรียมผู ้ป่ วยส าหรับการตรวจ และหรือเก็บตัวอย่างตรวจ และแปลผลรายงานการตรวจได้ด้วยตนเองถูกต้อง3.3.1 Hemoglobin, white blood cell count, platelet count3.3.2 Red cell indices


3.3.3 Reticulocyte count3.3.4 Inclusion bodies, Heinz bodies3.3.5 Hemoglobin typing3.3.6 Erythrocyte sedimentation rate3.3.7 Coagulation study3.3.8 Bleeding time3.3.9 Culture from clinical specimens3.3.10 Antimicrobial susceptibility testing3.3.11 Cytology3.3.12 Endocrinologic studies: plasma glucose, HbA1C, Oral glucose tolerancetest (OGTT), postprandial GTT, thyroid function test, serum cortisol3.3.13 Liver profile3.3.14 Kidney profile3.3.15 Lipid profile3.3.16 Forensic and toxicology trace evidence3.3.17 HIV testing3.3.18 Serologic studies3.3.19 Arterial blood gas analysis3.3.20 Spirometry, peak expiratory flow rate measurement3.3.21 Audiometry3.3.22 Computerized axial tomography scan3.3.23 Magnetic resonance imaging3.3.24 Mammography3.3.25 Radionuclide study3.3.26 Barium contrast GI studies3.3.27 Intravascular contrast studies: arterial and venous studies3.3.28 Echocardiography3.3.29 Cardiac enzymes3.3.30 Tumor markers3.3.31 Bone mineral density


3.4 การท าหัตถการที ่จ าเป็ นหรือมีส่วนช่วยในการแก้ปัญหาสุขภาพโดยแบ่งระดับหัตถการดังต่อไปนี้ระดับที ่ 1 หมายถึง หัตถการพื ้นฐานทางคลินิกเมื่อจบแพทยศาสตรบัณฑิต สามารถอธิบายขั้นตอนการกระท า ภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะเกิดได้ถูกต้อง ตรวจและประเมิน ข้อบ่งชี ้ ข้อห้าม สภาพและเงื่อนไขที่เหมาะสม สามารถท าได้ด้วยตนเองวินิจฉัยและดูแลบ าบัดภาวะแทรกซ้อนได้ระดับที ่ 2 หมายถึง หัตถการที่มีความซับซ้อนกว่าหัตถการพื ้นฐาน มีความส าคัญต่อการรักษาผู ้ป่ วยเมื่อจบแพทยศาสตรบัณฑิต สามารถอธิบายขั้นตอนการกระท า ภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะเกิดได้ถูกต้อง ตรวจและประเมิน ข้อบ่งชี ้ ข้อห้าม สภาพและเงื่อนไขที่เหมาะสม สามารถท าภายใต้การแนะน าได้ถูกต้อง และเมื่อผ่านการเพิ่มพูนทักษะแล้ว สามารถท าได้ด้วยตนเอง วินิจฉัยและดูแลบ าบัดภาวะแทรกซ้อนได้ระดับที ่ 3 หมายถึง หัตถการที่มีความซับซ้อน และอาจท าในกรณีที่จ าเป็นเมื่อจบแพทยศาสตรบัณฑิต สามารถอธิบายขั้นตอนการกระท า ภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะเกิด ข้อบ่งชี ้ ข้อห้าม สภาพและเงื่อนไขที่เหมาะสม ได้ถูกต้อง เคยช่วยท า และเมื่อผ่านการเพิ่มพูนทักษะสามารถท าได้ภายใต้การแนะน า วินิจฉัย ดูแลบ าบัดภาวะแทรกซ้อนภายใต้การแนะน าได้ถูกต้องระดับที ่ 4 หมายถึง หัตถการที่มีความซับซ้อน และ/หรือ อาจเกิดอันตราย จ าเป็นต้องอาศัยการฝึกฝนเมื่อจบแพทยศาสตรบัณฑิต สามารถอธิบายขั้นตอนการกระท า ภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะเกิด ข้อบ่งชี ้ ข้อห้าม สภาพและเงื่อนไขที่เหมาะสม ได้ถูกต้อง สามารถให้ค าแนะน า ปรึกษาแก่ผู ้ป่ วยได้ถูกต้อง และเมื่อผ่านการเพิ่มพูนทักษะ เคยเห็นหรือเคยช่วย


ล าดับที ่หัตถการ1 Advanced cardio-pulmonary resuscitation99.60 Cardiopulmonary resuscitation, not otherwise specified99.62 Other electric countershock of heart99.63 Closed chest cardiac massage93.93 Nonmechanical methods of resuscitation2 Aerosol bronchodilator therapy93.94 Respiratory medication administered by nebulizer ∕ระดับหัตถการ1 2 3 4∕3 Amniotomy73.09 Other artificial rupture of membranes, artificial rupture of membranes at time ofdelivery∕4 Anterior nasal packing21.01 Control of epistaxis by anterior nasal packing ∕5 Arterial puncture38.98 Other puncture of artery ∕6 Aspiration of skin, subcutaneous tissue and bursa (elbow and ankle)86.01 Aspiration of skin and subcutaneous tissue83.94 Aspiration of bursa∕7 Biopsy of skin, superficial mass86.11 Biopsy of skin and subcutaneous tissue ∕8 Blood and blood component transfusion99.0x Transfusion of blood and blood components99.03 Other transfusion of whole blood99.04 Transfusion of packed cells99.05 Transfusion of platelets99.06 Transfusion of coagulation factors99.07 Transfusion of other serum∕9 Breathing exercise93.18 Breathing exercise ∕


ล าดับที ่หัตถการระดับหัตถการ1 2 3 410 Capillary puncture38.99 Other puncture of vein, phlebotomy ∕11 Cervical biopsy67.12 Other cervical biopsy, punch biopsy of cervix NOS ∕12 Debridement of wound86.22 Excisional debridement of wound, infection, or burn∕86.28 Nonexcisional debridement of wound, infection or burn13 Endotracheal intubation96.04 Insertion of endotracheal tube ∕14 Episiotomy73.6 Episiotomy, Episiotomy with subsequent episiorrhaphy15 Excision of benign tumor and cyst of skin and subcutaneous tissue86.3 Other local excision or destruction of lesion or tissue of skin and subcutaneoustissue16 External splinting93.54 Application of splint∕∕∕17 First aid management of injured patient ∕18 Gastric gavage96.35 Gastric gavage ∕19 Gastric irrigation96.34 Other irrigation of (naso-)gastric tube ∕20 Gastric lavage96.33 Gastric lavage ∕21 Incision and drainage86.04 Other incision with drainage of skin and subcutaneous tissue ∕


ล าดับที ่หัตถการระดับหัตถการ1 2 3 422 Injection: intradermal, subcutaneous, intramuscular, intravenous99.1x Injection or infusion of therapeutic or prophylactic substance99.2x Injection or infusion of other therapeutic or prophylactic substance99.3x Prophylactic vaccination and inoculation against certain bacterial diseases99.4x Prophylactic vaccination and inoculation against certain viral diseases99.5x Other vaccination and inoculation23 Insertion and removal of intrauterine device69.7 Insertion of intrauterine contraceptive device97.71 Removal of intrauterine contraceptive device∕∕24 Intravenous fluid infusion99.18 Injection or infusion of electrolytes ∕25 Joint aspiration, knee81.91 Arthrocentesis, joint aspiration ∕26 Local infiltration and digital nerve block04.81 Injection of anesthetic into peripheral nerve for analgesia ∕27 Lumbar puncture03.31 Spinal tap ∕28 Marsupialization of Bartholin cyst71.23 Marsupialization of Bartholin's gland (cyst) ∕29 Measurement of central venous pressure89.62 Central venous pressure monitoring ∕30 Nasogastric intubation96.07 Insertion of other (naso-)gastric tube31 Normal labor73.59 Other manually assisted delivery, assisted spontaneous delivery, Crede ∕maneuver32 Oxygen therapy93.96 Other oxygen enrichment, oxygen therapy ∕∕


ล าดับที ่หัตถการ33 PAP smear91.46 Papanicolaou smear ∕34 Phototherapy99.83 Other phototherapy, phototherapy of the newborn ∕35 Polypectomy (cervical)67.39 Other excision or destruction of lesion or tissue of cervix ∕36 Postural drainage93.99 Other respiratory procedures, postural drainage ∕37 Removal of foreign body from vagina in adult98.17 Removal of intraluminal foreign body from vagina without incision ∕38 Skin traction93.46 Other skin traction of limbs ∕39 Stomal care97.04 Replacement of tube or enterostomy device of large intestine ∕ระดับหัตถการ1 2 3 440 Strengthening and stretching exercise93.1x Physical therapy exercises93.27 Stretching of muscle or tendon∕41 Stump bandaging93.56 Application of pressure dressing ∕42 Suturing and desuturing86.59 Closure of skin and subcutaneous tissue of other sites ∕43 Umbilical vein catheterization38.92 Umbilical vein catheterization ∕44 Urethral catheterization57.94 Insertion of indwelling urinary catheter ∕


ล าดับที ่หัตถการระดับหัตถการ1 2 3 445 Venesection38.94 Venous cutdown ∕46 Venipuncture38.99 Other puncture of vein, phlebotomy ∕47 Wound dressing86.28 Nonexcisional debridement of wound, infection or burn96.59 Other irrigation of wound, wound cleaning NOS∕48 Abdominal paracentesis54.91 Percutaneous abdominal drainage, paracentesis ∕49 Basic mechanical ventilation96.7x Other continuous mechanical ventilation ∕50 Cervical dilatation and uterine curettage69.0x Dilation and curettage of uterus ∕51 Contraceptive drug implantation and removal99.23 Subdermal implantation of progesterone ∕52 Incision and curettage (external hordeolum)08.09 Other incision of eyelid, incision of hordeolum53 Intercostal drainage34.04 Insertion of intercostal catheter for drainage, chest tube ∕54 Manual vacuum aspiration69.5x Aspiration curettage of uterus ∕∕55 Neonatal resuscitation and transportation99.60 Cardiopulmonary resuscitation, not otherwise specified99.63 Closed chest cardiac massage93.93 Nonmechanical methods of resuscitation56 Perineorrhaphy75.69 Repair of other current obstetric laceration71.71 Suture of laceration of vulva or perineum∕∕


ล าดับที ่หัตถการระดับหัตถการ1 2 3 457 Plaster of Paris technique∕93.53 Application of other cast58 Pleural paracentesis34.91 Thoracentesis ∕59 Removal of foreign body from conjunctiva98.22 Removal of embedded foreign body from eyelid or conjunctiva without incision ∕60 Removal of foreign body from ear98.11 Removal of intraluminal foreign body from ear without incision ∕61 Removal of foreign body from nose98.12 Removal of intraluminal foreign body from nose without incision ∕62 Removal of foreign body from throat98.13 Removal of intraluminal foreign body from pharynx without∕Incision63 Removal of foreign body from vagina in child98.17 Removal of intraluminal foreign body from vagina without incision ∕64 Removal of nail, nail bed, or nail fold86.23 Removal of nail, nail bed, or nail fold65 Skeletal traction93.43 Intermittent skeletal traction93.44 Other skeletal traction66 Tubal ligation & resection66.32 Other bilateral ligation and division of fallopian tubes, pomeroy operation67 Amniotomy73.01 Induction of labor by artificial rupture of membranesExcludes: artificial rupture of membranes after onset of labor∕∕∕∕68 Appendectomy47.09 Other appendectomy ∕


ล าดับที ่หัตถการระดับหัตถการ1 2 3 469 Bone marrow aspiration41.38 Other diagnostic procedures on bone marrow ∕70 Breech assistance72.52 Other partial (assisted) breech extraction ∕71 Circumcision64.0 Circumcision ∕72 Closed reduction of simple fractures79.0x Closed reduction of fracture without internal fixation ∕73 General anaesthesia for uncomplicated patient for simple surgery ∕74 Joint aspiration, other81.91 Arthrocentesis, joint aspiration ∕75 Low transverse caesarean section74.1 Low cervical cesarean section ∕76 Manual removal of placenta75.4 Manual removal of retained placenta ∕77 Needle biopsy of breast85.11 Closed [percutaneous] [needle] biopsy of breast ∕78 Peritoneal lavage54.25 Peritoneal lavage ∕79 Posterior nasal packing21.02 Control of epistaxis by posterior (and anterior) packing ∕80 Reduction of simple dislocations79.7x Closed reduction of dislocation ∕81 Removal of embedded foreign body from cornea without incision98.21 Removal of superficial foreign body from eye without incision ∕


ล าดับที ่หัตถการระดับหัตถการ1 2 3 482 Repair of extensor tendon of hand82.45 Other suture of other tendon of hand ∕83 Salpingectomy66.62 Salpingectomy with removal of tubal pregnancy ∕84 Suprapubic tap57.11 Percutaneous aspiration of bladder ∕85 Tracheostomy31.1 Temporary tracheostomy, Tracheotomy for assistance in breathing ∕86 Ultrasonography, abdomen in traumatic condition88.76 Diagnostic ultrasound of abdomen and retroperitoneum ∕87 Ultrasonography, gravid uterus88.78 Diagnostic ultrasound of gravid uterus ∕88 Vacuum extraction72.7x Vacuum extraction ∕89 Cervical spine and pelvic traction93.21 Manual and mechanical traction ∕90 Low forceps extraction72.1 Low forceps operation with episiotomy ∕91 Peritoneal dialysis54.98 Peritoneal dialysis ∕92 Pleural biopsy34.24 Pleural biopsy ∕93 Spinal anaesthesia03.91 Injection of anesthetic into spinal canal for analgesia ∕94 Vasectomy63.70 Male sterilization procedure, not otherwise specified ∕


ภาคผนวก ค สุขภาพและการสร้างเสริมสุขภาพผู ้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมพึงต้องมีความรู ้ความเข้าใจเกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพ และระบบบริบาลสุขภาพ ทั้งระดับบุคคล ชุมชน และประชาชน รวมทั้งกฎหมายและข้อบังคับที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ มีทักษะในการสื่อสารระหว่างกลุ ่มต่างๆเรื่องสุขภาพ และบูรณาการความรู ้ด้านสร้างเสริมสุขภาพ โดยค านึงสภาพแวดล้อมและบริบทแวดล้อม เกิดความตระหนักรู ้และมีจิตส านึกเรื่องสุขภาพ และการเพิ่มศักยภาพในการดูแลตนเองของประชาชน ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี สามารถเป็นต้นแบบในเรื่องสร้างเสริมสุขภาพดังนี ้1. แนวความคิดพื้นฐาน (Fundamental concepts of health promotion)1.1. ปรัชญาด้าน “สุขภาพ” ( Philosophy of health)1.1.1. กรอบค านิยามใหม่ของสุขภาพ1.1.2. แนวคิดของการสร้างเสริมสุขภาพในอดีต ปัจจุบัน และอนาคต1.1.3. ความแตกต่างระหว่างการสร้างเสริมสุขภาพ (health promotion) และการป้ องกันโรค (disease prevention)1.1.4. ความเชื่อมโยงของสุขภาพระดับต่างๆ ตั้งแต่สุขภาพระดับบุคคล(individualhealth) ระดับครอบครัว(family heath) ระดับชุมชน(community health) จนถึงระดับประชากร(population health)1.2. หลักการของการสร้างเสริมสุขภาพ (Principles of health promotion)1.2.1. ธรรมชาติของโรคและความเจ็บป่ วย (Natural history of disease and illness)และการป้ องกันระดับปฐมภูมิ ทุติยภูมิ และตติยภูมิ จตุรภูมิ (primary,secondary, tertiary and quarternary prevention)1.2.2. ค าจ ากัดความ หลักการ และกลยุทธ์ของการสร้างเสริมสุขภาพ (Definition,principles and strategies of health promotion)1.3. ความสัมพันธ์ระหว่าง การสร้างเสริมสุขภาพ, การป้ องกันโรค, การให้สุขศึกษาและการคุ ้มครอง/ปกป้ องสุขภาพ ( Contextual relation among health promotion, diseaseprevention, health education and health protection)1.4. ปัจจัยก าหนดสุขภาวะ( Health determinants) : ปัจจัยด้านปัจเจกบุคคล ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม และปัจจัยด้านระบบบริการสุขภาพ (Individual, environment, health caredelivery system)2. การประเมินสภาวะสุขภาพ โดยใช้วิธีการทางระบาดวิทยา ตัววัดสุขภาวะ และพฤติกรรมสุขภาพ และ การให้ค าแนะน าเพื ่อปรับเปลี ่ยนให้มีวิถีชีวิตที ่มีสุขภาพดี (Measurement ofhealth status, health behavior, healthy lifestyles)


3. การให้สุขศึกษา (Health education)3.1. รูปแบบต่างๆและประสิทธิภาพ (Models, approaches and its effectiveness)3.2. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความรับรู ้ด้านสุขภาพและการเจ็บป่ วย (Factors which influencethe perception of health and illness)3.3. พัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมสุขภาพส่วนบุคคล (Development andchange of individual health behavior)3.4. เวชศาสตร์การกีฬาเบื ้องต้น: ลักษณะการออกก าลังกายแบบต่างๆ ผลของสภาวะแวดล้อม อาหาร ยา และโรคที่มีผลต่อการออกก าลังกายในรูปแบบต่างๆ การออกก าลังกายในผู ้สูงอายุ เด็ก และสตรี ลักษณะของการบาดเจ็บจากการเล่นกีฬา ผลกระทบที่เกิดจากการบาดเจ็บรวมทั้งเข้าใจแนวทางการรักษาการบาดเจ็บและการฟื ้นฟูสภาพ4. ระบบบริบาลสุขภาพของประเทศไทย(Thai health care system)4.1. ความแตกต่างและความส าคัญของเวชปฏิบัติแบบต่างๆในระบบนิเวศของการบริการทางการแพทย์ (ecology of medical care ) ได้แก่ การบริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ และตติยภูมิ(primary, secondary and tertiary care) รวมทั้งระบบการส่งต่อ (referral system)4.2. สาธารณสุขมูลฐาน (Primary health care) ซึ่งเน้นถึง การดูแลสุขภาพตนเอง การเข้าถึงบริการสุขภาพอย่างเท่าเทียมกันและการมีส่วนร่วมของชุมชนในการดูแลสุขภาพตนเอง4.3. ระบบสุขภาพแห่งชาติ (National health system)4.4. ระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (National health security system)4.5. ระบบบริการสุขภาพ (Health services system) ซึ่งประกอบด้วย4.5.1. โครงสร้างของการบริการ (Structure of health care) และความสัมพันธ์ของเวชปฏิบัติระดับต่างๆในระบบบริการทางการแพทย์4.5.2. การให้บริการ (Health care delivery)4.5.2.1. การป้ องกันและควบคุมโรคในชุมชน (preventive health services anddisease control in community)4.5.2.2. การให้สุขศึกษาและการสื่อสารสุขภาพ (health education/healthcommunication)4.5.2.3. การดูแลรักษา ป้ องกัน สร้างเสริมสุขภาพ และฟื ้นฟูสภาพที่สถานพยาบาล (comprehensive care at health service setting)รวมถึง การควบคุมโรคติดเชื ้อ (infectious disease control) การสร้างเสริมภูมิคุ ้มกันโรค (immunization) การส่งเสริมโภชนาการ การอนามัยแม่และเด็ก การส่งเสริมและการเลี ้ยงลูกด้วยนมแม่ การวางแผนครอบครัว การป้ องกันการบาดเจ็บ (injury prevention)


4.5.2.4. การบริบาลสุขภาพที่บ้าน (home health care) ที่โรงเรียน (schoolhealth care) และจากการประกอบอาชีพ (occupational health care)การอนามัยสิ่งแวดล้อม (environmental health) การบริบาลแบบประคับประคอง (palliative care) การจัดการโรคหรือความเจ็บป่ วยที่มีความรุนแรงและหายนะ (catastrophic illness)4.5.3. การจัดการด้านสุขภาพ (Health management )4.5.3.1. ระบบการปรึกษาระหว่างวิชาชีพ (consultative services)4.5.3.2. การประเมินผลระบบบริการสุขภาพ (evaluation of health servicesystem)4.5.3.3. ระบบส ารวจและประเมินสภาวะสุขภาพในชุมชน (health surveys andassessment)4.5.3.4. ระบบการเฝ้ าระวังและรายงานโรค (disease surveillance andreporting systems)4.5.3.5. หลักการเกี่ยวกับความปลอดภัยของผู ้ป่ วย (patient safety)4.5.4. แหล่งทรัพยากรด้านสุขภาพ (Resources in health) :บุคลากร( man) , วัสดุอุปกรณ์ (material), เทคโนโลยีด้านการแพทย์ (medical technology)4.5.5. การจัดการการเงินด้านสุขภาพ (Health finance)5. ความรู ้พื้นฐานทางเศรษฐศาสตร์คลินิกและเศรษฐศาสตร์สาธารณสุข (Clinical economicsand health economics) ที ่น ามาใช้ตัดสินใจ6. กลยุทธ์ด้านสร้างเสริมสุขภาพในเรื ่องการสร้างความเข้มแข็ง/การเสริมพลังทั้งในระดับบุคคลและสังคม การพิทักษ์ประโยชน์ การสื ่อสารด้านสุขภาพและนโยบายสาธารณสุข (Strategiesin health promotion : empowerment at individual and social level, advocacy, healthcommunication, public health policy)7. แนวทางการสร้างเสริมสุขภาพแบ่งตามกลุ ่มต่างๆ (Approaches of health promotion)7.1. กลุ ่มประชากร (population group) ได้แก่ อายุ( age), เพศ( gender), อาชีพ(occupation) , ความเสี่ยง (risk), ชนิดของโรคเรื ้อรัง (chronic illness), กลุ ่มผู ้พิการและทุพพลภาพ(handicap and disability)เป็นต้น7.2. หัวข้อสุขภาพ (health issues) ได้แก่ อาหาร (nutrition), การออกก าลังกาย (exercise),สุขภาพจิต (mental), เกี่ยวกับการเจริญพันธุ ์ (reproductive), การใช้สารเสพติด(substance use) เป็นต้น7.3. แหล่งที่ตั้ง (settings) ได้แก่ ครอบครัว(healthy family), โรงเรียน( health promotingschool),สถานที่ท างาน ( health promoting workplace) , ชุมชน (health promotingcommunity ), โรงเรียนแพทย์ (health promoting medical school), เมือง (healthy city)


8. กฎหมายและข้อบังคับเกี ่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพ ( Law and regulation on healthpromotion) ภาคผนวก จ ข้อ 129. บทบาทของการแพทย์แบบเติมเต็มและการแพทย์ทางเลือกที ่มีผลต่อสุขภาพ(Complementary and Alternative Medicine)10. บทบาทของสหวิชาชีพและสหสาขา(multi-professions and multidisciplinary)ในการสร้างเสริมสุขภาพ11. นโยบายการส่งเสริมสุขภาพในระดับภูมิภาคและองค์กรระหว่างประเทศ (Regional andInternational health promotion policy)


ภาคผนวก ง เวชจริยศาสตร์ผู ้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมต้องมีความรู ้ ความเข้าใจเรื่องเวชจริยศาสตร์ สามารถระบุปัญหาวิเคราะห์ และให้แนวทางปฏิบัติเชิงเวชจริยศาสตร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง(ภาคผนวก จ) ดังนี ้1. Principles of medical ethics2. Doctor-patient relationship3. Patient autonomy4. Confidentiality5. Truth telling/disclosure6. Informed consent7. End of life decisions8. Patient rights9. Equity and social justice10. Codes of conduct and etiquette11. Professionalism12. Medical negligence13. Professional misconduct14. Disclosure of medical error15. Ethical dilemmas facing medical students16. Relationship with the pharmaceutical industry17. Issues related to the privatization of health care18. Ethical issues related to reproductive health19. Ethical aspects of treating patients with HIV/AIDS20. Ethical aspects of genetics21. Ethics of transplantation/organ donation22. Ethical aspects of treating the mentally ill23. Ethical issues in treating children24. Resource allocation in the health care system25. Ethics of public health and health promotion26. Ethical issues of dealing with other systems of medicine27. Principles of research ethics and research publication28. Any other specific regional clinical situations


ภาคผนวก จผู ้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมต้องมีความรู ้ความสามารถ และประกอบวิชาชีพเวชกรรมได้ถูกต้องตามกฎหมาย และระเบียบข้อบังคับต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง กล่าวคือ1. มีความรู ้ความเข้าใจในสาระส าคัญของกฎหมายทั่วไป ได้แก่1.1. ความหมายและที่มาของกฎหมาย วิวัฒนาการของกฎหมาย ประเภทและศักดิ ์ของกฎหมายไทย รวมทั้งภาษิตกฎหมายที่ส าคัญ1.2. ความจ าเป็นที่ต้องรู ้กฎหมาย (ปอ. 1 ม. 2 64)1.3. การใช้กฎหมาย การตีความและการอุดช่องว่างในกฎหมาย (ปอ. ม.2, ปพพ. 3 ม.4)1.4. ขอบเขตที่กฎหมายใช้บังคับ (ปอ. ม.4)2. มีความรู ้ความเข้าใจในบทบัญญัติทั่วไปตามประมวลกฎหมายอาญา ได้แก่2.1. นิยามศัพท์ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ โดยทุจริต ใช้ก าลังประทุษร้าย อาวุธ เอกสาร (ม.1)2.2. โทษทางอาญา (ม.18) วิธีการเพื่อความปลอดภัย (ม.50)2.3. ความรับผิดทางอาญาจากการกระท าโดยเจตนา ไม่เจตนา หรือโดยประมาท (ม.59) ส าคัญผิด (ม.61-62) การรับโทษหนักขึ ้นต้องเกิดจากผลธรรมดา (ม.63)2.4. เหตุยกเว้นโทษเนื่องจากวิกลจริต (ม.65) มึนเมา (ม.66) การกระท าความผิดด้วยความจ าเป็น (ม.67) และเหตุบรรเทาโทษ (ม.78)2.5. การพยายามกระท าความผิด (ม.80-82)2.6. ตัวการและผู ้สนับสนุน (ม.83-88)2.7. อายุความ (ม.95-96)2.8. บทบัญญัติที่ใช้แก่ความผิดลหุโทษ (ม.102-106)3. ประกอบวิชาชีพเวชกรรมได้ถูกต้อง และ/หรือไม่เป็นความผิดตามประมวลกฎหมายอาญาในเรื่องต่อไปนี ้3.1. การแสดงตนเป็นเจ้าพนักงาน (ม.145)3.2. ความผิดต่อต าแหน่งหน้าที่ (ม.148-150, 157-159, 161-162)3.3. ความผิดเกี่ยวกับเอกสาร (ม.264-265, 268-269)3.4. ความผิดเกี่ยวกับเพศ (ม.276-281)3.5. ความผิดต่อชีวิต (ม.288, 290-291)3.6. ความผิดต่อ<strong>ร่าง</strong>กาย (ม.295, 297, 300, 390)


3.7. ความผิดฐานท าให้แท้งลูก (ม.301-305) ประกอบข้อบังคับแพทยสภาว่าด้วยหลักเกณฑ์การปฏิบัติเกี่ยวกับการยุติการตั้งครรภ์ทางการแพทย์3.8. ความผิดฐานทอดทิ ้งเด็ก คนป่ วย หรือคนชรา (ม.307-308, 373)3.9. ความผิดต่อเสรีภาพ (ม.309-310)3.10. การไม่ช่วยผู ้ตกอยู ่ในภยันตรายแห่งชีวิต (ม.374)3.11. ความผิดฐานเปิ ดเผยความลับ (ม.323) ประกอบพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ (ม.15, 24-25)3.12. ความผิดฐานหมิ่นประมาท (ม.326)4. มีความรู ้ความเข้าใจในหลักการของกฎหมายแพ่ง ที่เกี่ยวข้องกับการประกอบวิชาชีพเวชกรรมได้แก่4.1. สภาพบุคคล (ม.15) นิติบุคคล (ม.65)4.2. ความสามารถของบุคคล ได้แก่ ผู ้เยาว์ บุคคลวิกลจริต คนไร้ความสามารถ และคนเสมือนไร้ความสามารถ (ม.19-25, 28-30, 32, 34)4.3. นิติกรรม (ม.149-153) โมฆะกรรม โมฆียะกรรม (ม.172-173, 175-176) และการแสดงเจตนาอันเป็นโมฆะ หรือโมฆียะ (ม.154, 156-157, 159, 162, 164, 167)4.4. การก่อให้เกิดสัญญา การตีความ และผลแห่งสัญญาที่ท าความตกลงไว้ล่วงหน้าเพื่อยกเว้นความรับผิดอันเกิดจากความประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง (ม.368, 373)4.5. ความรับผิดเพื่อละเมิด (ม.420, 425-426, 432) ค่าสินไหมทดแทนเพื่อละเมิด (ม.438, 443-446) นิรโทษกรรม (ม.449) ประกอบพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่(ม.5-8)4.6. เอกเทศสัญญาที่เกี่ยวข้องกับการประกอบวิชาชีพเวชกรรม (ม.587-592, 607)4.7. บทบาทของแพทย์ที่เกี่ยวข้องกับการสมรส ได้แก่ เงื่อนไขแห่งการสมรส (ม.1449, 1453)ความสัมพันธ์ระหว่างสามีภรรยามาตรา (ม.1462-1464) การสิ ้นสุดแห่งการสมรส (ม.1501,1516)4.8. บทบาทของแพทย์ที่เกี่ยวข้องกับความสัมพันธ์ระหว่างบิดา มารดา กับบุตร (ม.1545, 1555)4.9. บทบาทของแพทย์ที่เกี่ยวข้องกับการเรื่องมรดก ได้แก่ การเป็นทายาท (ม.1604) พินัยกรรม(ม.1654, 1656, 1665, 1668, 1704)5. ปฏิบัติหน้าที่ตามที่กฎหมายก าหนด ได้แก่5.1. การท าหน้าที่ภายใต้อ านาจพนักงานสอบสวนในการรวบรวมหลักฐาน (ปวอ. 4 ม.132)


5.2. การชันสูตรพลิกศพ (ปวอ. ม.148-156) ประกอบพระราชบัญญัติว่าด้วยการมอบหมายให้เจ้าหน้าที่ไปร่วมชันสูตรพลิกศพตามมาตรา 148 (3) (4) และ (5) แห่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา พ.ศ. 25505.3. ความผิดต่อเจ้าพนักงานในการยุติธรรม (ปอ. ม.168-171, 177-179)5.4. การมาศาลของพยานและการซักถามพยาน (ปวพ. 5 ม.106, 109-114, 116-119, 121)5.5. การรายงานคนเกิดและคนตาย ตามพระราชบัญญัติทะเบียนราษฎร6. มีความรู ้ความเข้าใจในรัฐธรรมนูญ ส่วนที่ส่งเสริมการแพทย์และการสาธารณสุขของประเทศได้แก่ บททั่วไป (หมวด 1) สิทธิในการได้รับบริการสาธารณสุขและสวัสดิการจากรัฐ (หมวด 3 ส่วนที่ 9)แนวนโยบายด้านการสาธารณสุข (หมวด 5 ส่วนที่ 4 ม.80) และประกอบวิชาชีพเวชกรรมโดยตระหนักถึงค าประกาศสิทธิของผู ้ป่ วย หลักเกณฑ์ว่าด้วยสิทธิเด็ก สิทธิของผู ้พิการหรือทุพพลภาพ และสิทธิมนุษยชน7. มีความรู ้ความเข้าใจและประกอบวิชาชีพเวชกรรมได้อย่างถูกต้องตามพระราชบัญญัติวิชาชีพเวชกรรม ข้อบังคับแพทยสภาว่าด้วยการรักษาจริยธรรมแห่งวิชาชีพเวชกรรม ประกาศแพทยสภาเรื่องเกณฑ์การวินิจฉัยสมองตาย แนวทางการบันทึกเวชระเบียนส าหรับแพทย์ตามมติที่ประชุมคณะกรรมการแพทยสภา รวมถึงข้อบังคับหรือประกาศอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง8. มีความรู ้ความเข้าใจและประกอบวิชาชีพเวชกรรมได้ถูกต้องตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ และพระราชบัญญัติโรคพิษสุนัขบ้า ในส่วนที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ การรายงานโรค การควบคุมและป้ องกันโรค9. มีความรู ้ความเข้าใจและประกอบวิชาชีพเวชกรรมได้ถูกต้องตามพระราชบัญญัติยาพระราชบัญญัติเครื่องมือแพทย์ พระราชบัญญัติอาหาร พระราชบัญญัติเครื่องส าอาง พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พระราชบัญญัติวัตถุที่ออกฤทธิ์ต่อจิตและประสาท พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย และพระราชบัญญัติเชื ้อโรคและพิษจากสัตว์ ในส่วนที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ประเภท การผลิต การน าเข้า การขึ ้นทะเบียน การจ าหน่าย การมีไว้ในครอบครอง การส่งออก และการน าผ่าน10. มีความรู ้ความเข้าใจและประกอบวิชาชีพเวชกรรมได้ถูกต้องตามพระราชบัญญัติสาธารณสุข พระราชบัญญัติสถานพยาบาล พระราชบัญญัติคุ ้มครองเด็ก และกฎหมายผู ้บริโภค ในส่วนที่เกี่ยวข้อง11. มีความรู ้ความเข้าใจในหลักการของกฎหมายควบคุมการประกอบวิชาชีพอื่นที่เกี่ยวข้องกับการประกอบวิชาชีพเวชกรรม ได้แก่ พระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์พระราชบัญญัติวิชาชีพเภสัชกรรม พระราชบัญญัติวิชาชีพทันตกรรม พระราชบัญญัติวิชาชีพเทคนิคการแพทย์ พระราชบัญญัติวิชาชีพกายภาพบ าบัด พระราชบัญญัติการประกอบโรคศิลปะ ในส่วนของความหมาย ค าจ ากัดความ ข้อจ ากัดและเงื่อนไขในการประกอบวิชาชีพ


12. มีความรู ้ความเข้าใจและประกอบวิชาชีพเวชกรรมได้ถูกต้องตามพระราชบัญญัติประกันสังคม พระราชบัญญัติคุ ้มครองผู ้ประสบภัยจากรถ พระราชบัญญัติการจราจรทางบกพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ และพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ ในส่วนที่เกี่ยวข้องและกฎบัตรที่ส าคัญได้แก่ Ottawa Charter และ Bangkok Charter13. ประกอบวิชาชีพเวชกรรมโดยยึดแนวทางสากล ได้แก่ Hippocratic Oath, InternationalCodes of Medical Ethics และ Declaration of Geneva อย่างเคร่งครัด1ประมวลกฎหมายอาญา2มาตรา3ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์4ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา5ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง


324เอกสารหมายเลข 15หนังสือแจ้งผลการพิจารณาหลักสูตรจากแพทยสภา

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!