13.07.2015 Views

ปัจจัยกำหนดอัตราส่วนราคาตลาดต่อราคาตามบัญช

ปัจจัยกำหนดอัตราส่วนราคาตลาดต่อราคาตามบัญช

ปัจจัยกำหนดอัตราส่วนราคาตลาดต่อราคาตามบัญช

SHOW MORE
SHOW LESS
  • No tags were found...

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

ปีที่ 33 ฉบับที่ 125 มกราคม-มีนาคม 2553<strong>ปัจจัยกำหนดอัตราส่วนราคาตลาดต่อราคาตามบัญช</strong>ี (P/B Ratio)และอัตราส่วนราคาตลาดต่อกำไร (P/E Ratio) ตามแนวคิดของ Residual Income Model* ABSTRACTดร.สมชาย สุภัทรกุลผู้ช่วยศาสตราจารย์ประจำภาควิชาการบัญชีคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ประสาธน์ จงเจริญกมลอาจารย์ประจำภาควิชาการบัญชีคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์his study aims at identifying the determinants of Price-to-Book Value (P/B) and Price-to-Earnings(P/E) ratios based on the Residual Income Model and providing empirical evidence for Thai listedfirms on the relationships between P/B and P/E ratios and their determinants. This study shows thatP/B ratio is a function of a level of future return on equity (FROE) while P/E ratio is a function of afuture earnings growth (FEG). In addition, our empirical results suggest that P/B ratio (P/E ratio) is positivelyassociated with future return on equity (future earnings growth) as expected.Download จาก..วารสารบริหารธุรกิจ* งานวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนจากคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ซึ่งคณะผู้วิจัยขอขอบพระคุณเป็นอย่างยิ่งมา ณ โอกาสนี้คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


<strong>ปัจจัยกำหนดอัตราส่วนราคาตลาดต่อราคาตามบัญช</strong>ี (P/B Ratio) และอัตราส่วนราคาตลาดต่อกำไร (P/E Ratio) ตามแนวคิดของ Residual Income Model วารสารบริหารธุรกิจบทคัดย่อานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยพื้นฐานที่กำหนดระดับสูงต่ำของอัตราส่วนราคาตลาดต่อราคาตามบัญชี(P/B Ratio) และอัตราส่วนราคาตลาดต่อกำไร (P/E Ratio) ของบริษัทในประเทศไทย ตามแนวคิดของ ResidualIncome Model รวมทั้งการทดสอบเชิงประจักษ์ (Empirical Test) เกี่ยวกับความสัมพันธ์ของ P/B Ratio และP/E Ratio กับปัจจัยพื้นฐานที่กำหนดระดับสูงต่ำของ P/B Ratio และ P/E Ratio โดยผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่าปัจจัยพื้นฐานที่ส่งผลต่อระดับสูงต่ำของ P/B Ratio ของบริษัท ได้แก่ ระดับของอัตราผลตอบแทนของผู้ถือหุ้นในอนาคต (FutureReturn on Equity หรือ FROE) ของบริษัท และปัจจัยพื้นฐานที่กำหนดระดับสูงต่ำของ P/E Ratio ได้แก่ อัตราการเติบโตของกำไรสุทธิในอนาคต (Future Earnings Growth หรือ FEG) ของบริษัท นอกจากนี้ การทดสอบความสัมพันธ์ระหว่าง P/B Ratio กับ FROE และความสัมพันธ์ระหว่าง P/E Ratio กับ FEGดำเนินการโดยการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยระหว่างกลุ่ม การวิเคราะห์สหสัมพันธ์ และการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ถดถอย โดยผลการศึกษาสนับสนุนสมมติฐานที่กล่าวว่าระดับสูงต่ำของ P/B Ratio และระดับของ FROE มีความสัมพันธ์กันในเชิงบวก และระดับสูงต่ำของ P/E Ratio และระดับของ FEG มีความสัมพันธ์กันในเชิงบวกเช่นกัน Download จาก..วารสารบริหารธุรกิจ

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!