16.07.2015 Views

รายงานประจำปี 2553 - หน่วยงานอื่นๆ - มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

รายงานประจำปี 2553 - หน่วยงานอื่นๆ - มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

รายงานประจำปี 2553 - หน่วยงานอื่นๆ - มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

สารบัญนโยบายด้านการวิจัยเป้าหมายงานวิจัยพันธกิจด้านการวิจัย / ยุทธศาสตร์การวิจัย / หน้าที่หล้กด้านการวิจัยโครงสร้างงานบริหารงานวิจัย บริการวิชาการและวิเทศสัมพันธ์โครงสร้างการบริหาร งานบริหารงานวิจัย บริการวิชาการและวิเทศสัมพันธ์คณะทํางานด้านการวิจัยบุคลากรงานบริหารงานวิจัย บริการวิชาการและวิเทศสัมพันธ์งานวิจัย- โครงการวิจัยคณะเกษตรศาสตร์ ประจําปีงบประมาณ <strong>2553</strong>- รายได้จากโครงการวิจัย ปีงบประมาณ <strong>2553</strong>- รายละเอียดโครงการวิจัย ปีงบประมาณ <strong>2553</strong>- งานวิจัยและงานสร้างสรรค์ที่ตีพิมพ์เผยแพร่ ในระดับชาติ และระดับนานาชาติ- บทความวิจัยที่ได้รับการอ้างอิง (Citation) ใน refereed journal หรือในฐานข้อมูลระดับชาติหรือนานาชาติ- ผลงานวิจัยตีพิมพ์ในวารสารเกษตร ปี <strong>2553</strong>- งานวิจัยที่สะท้อนถึงการใช้ความรู้ในเชิงอัตลักษณ์ และสามารถแข่งขันได้- งานวิจัยที่สร้างความร่วมมือทางการวิจัยระหว่างประเทศ GMS- งานวิจัยและนวัตกรรมที่เกิดจากเครือข่ายความร่วมมือกับภาคการผลิต- งานวิจัยพื ้นฐานที่นําไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา- งานวิจัยที่ได้รับรางวัลระดับชาติ ในปีงบประมาณ <strong>2553</strong>- กิจกรรมส่งเสริมสนับสนุนงานวิจัยวิเทศสัมพันธ์- อาคันตุกะที่มาเยือนคณะเกษตรศาสตร์- ข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ- โครงการ/กิจกรรมวิชาการที่จัดร่วมกับหน่วยงานต่างประเทศ- ทุนเพื่อปฏิบัติงาน ณ ต่างประเทศ- นักศึกษาต่างชาติหน้า1113456817223141515355555657596869697275


วิจัยและพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ๆ เพื่อตอบสนองต่อการเรียนการสอน และก่อให้เกิดการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และประเทศชาติ3. ผลักดันงานวิจัยในลักษณะบูรณาการร่วมกับภาครัฐและเอกชนเพื่อสนองตอบความต้องการของสังคม4. จัดระบบบริหาร และการจัดการงานวิจัยอย่างบูรณาการให้เกิดมูลค่า คุณค่าและเกิดประสิทธิภาพสูงสุด1. สร้างทีมงานวิจัยที่แข็งแกร่งในระดับนานาชาติและสร้างคุณภาพของงานวิจัยให้เกิดความเข้มแข็งโดยความร่วมมือระหว่างอาจารย์กับบัณฑิตศึกษา2. สร้างประเด็นวิจัยบนฐานองค์ความรู้ที่เป็นอัตลักษณ์ และส่งเสริมการแข่งขันที่สอดคล้องกับนโยบายการขับเคลื่อนนวัตกรรมของประเทศเป็นหน่วยงานกลาง ในการให้บริการงานวิจัยบริการวิชาการ และวิเทศสัมพันธ์ เพื่อสนับสนุนงานวิจัยและงานการเรียนการสอนของคณะเกษตรศาสตร์ ตลอดจนบริการวิชาการ และถ่ายทอดเทคโนโลยีให้กับคณาจารย์ นักวิชาการนักศึกษา ของคณะเกษตรศาสตร์ มช. รวมถึง บุคคลภายนอกที่เกี่ยวข้องทั่วไป แบ่งออกเป็น 5 หน่วย ดังนี้- หน่วยบริการงานวิจัย- หน่วยพัฒนางานวิจัย- หน่วยส่งเสริมสนับสนุนนักวิจัย- หน่วยวิเทศสัมพันธ์- หน่วยจัดทําวารสารเกษตร2ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ <strong>2553</strong>


คณะเกษตรศาสตร์สํานักงานคณะงานบริหารงานวิจัย บริการวิชาการและวิเทศสัมพันธ์หน่วยบริการงานวิจัยหน่วยบริการวิชาการหน่วยวิเทศสัมพันธ์บริการวิจัยส่งเสริมพัฒนาโครงการวิจัย และนักวิจัยจัดทําวารสารบริการวิชาการและถ่ายทอดเทคโนโลยีบริการห้องปฏิบัติการกลางÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ <strong>2553</strong>3


คณบดีรศ. ธีระ วิสิทธิ์พานิชรองคณบดีฝ่ายวิจัยและวิเทศสัมพันธ์รศ.ดร. สัญชัย จตุรสิทธาผู้ช่วยคณบดีด้านกิจการนักศึกษานักศึกษาเก่าสัมพันธ์ และวิเทศสัมพันธ์อ.ดร.จิรวัฒน์ พัสระรองคณบดีฝ่ายบริการวิชาการ และประชาสัมพันธ์ผศ.ดร.โชค มิเกล็ดผู้ช่วยคณบดีฝ่ายบริการวิชาการและประชาสัมพันธ์อ.ดร.ธนะชัย พันธ์เกษมสุขเลขานุการสํานักงานคณะเกษตรศาสตร์นางฟองจันทร์ สุขสวัสดิ์ ณ อยุธยาหัวหน้างานบริหารงานวิจัย บริการวิชาการและวิเทศสัมพันธ์นางสาววิไลพร ธรรมตาหน่วยบริการงานวิจัยลาลิตยา นุ่มมีศรีหน่วยบริการวิชาการศศิรินทร์ อธิมาหน่วยวิเทศสัมพันธ์ภูษิตา คําฝั้นบริการวิจัย- ลาลิตยา นุ่มมีศรี- มานพ เปี้ยพรรณ์- ทวี จันทรมูล- สายฝน วงค์สุวรรณ *- นิตยา วงศ์ไชย *- นพวรรณ นุบุญมา *ส่งเสริมพัฒนาโครงการวิจัย และนักวิจัย- วิไลพร ธรรมตาจัดทําวารสาร- ธิดารัตน์ ดีวงศ์สายบริการวิชาการและถ่ายทอดเทคโนโลยี- ศศิรินทร์ อธิมา- ปราณี นันตา- น้ําฝน อุ่นจิโน- สุลิตา กันทะอุโมงค์- ขนิษฐา สิงห์อ้ายห้องปฏิบัติการกลาง- ดร.ชูชาติ สันธทรัพย์- ดร.กนกวรรณ ศรีงาม- วีระศักดิ์ ยาวิชัย- นฤเทพ เวชภิบาล* บุคลากรสังกัดงานคลังและพัสดุ ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติงาน ณ งานบริหารงานวิจัยฯ4ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ <strong>2553</strong>


รศ.ดร.สัญชัย จตุรสิทธารองคณบดีฝ่ายวิจัยและวิเทศสัมพันธ์ประธานคณะทํางานศ.ดร.เบญจวรรณ ฤกษ์เกษมคณะทํางานรศ.เพทาย พงษ์เพียจันทร์คณะทํางานรศ.ดร.ประสาทพร สมิตะมานคณะทํางานรศ.ดร.เบญจพรรณ เอกะสิงห์คณะทํางานรศ.ดร.ธวัชชัย รัตน์ชเลศคณะทํางานรศ.ดร.จริยา วิสิทธิ์พานิชคณะทํางานรศ.ศุภศักดิ ์ ลิมปิติคณะทํางานรศ.ดร.ศักดิ ์ดา จงแก้ววัฒนาคณะทํางานอ.ดร.ธนะชัย พันธ์เกษมสุขคณะทํางานรศ.ดร.โสระยา ร่วมรังษีคณะทํางานนางสาววิไลพร ธรรมตาคณะทํางานและเลขานุการนางลาลิตยา นุ่มมีศรีผู้ช่วยเลขานุการÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ <strong>2553</strong>5


รศ.ดร.สัญชัย จตุรสิทธารองคณบดีฝ่ายวิจัยและวิเทศสัมพันธ์นางสาววิไลพร ธรรมตาหัวหน้างานบริหารงานวิจัย บริการวิชาการและวิเทศสัมพันธ์หน่วยบริการวิจัยนางลาลิตยา นุ่มมีศรีธุรการ ประสานงานวิจัยนายมานพ เปี้ยพรรณ์พัฒนาฐานข้อมูลสารสนเทศการวิจัยนายทวี จันทรมูลบริการทั ่วไป6ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ <strong>2553</strong>


ในปี <strong>2553</strong> คณะเกษตรศาสตร์ ได้รับการจัดสรรงบประมาณจากแหล่งทุนต่าง ๆ เพื่อดําเนินการวิจัย จํานวน 148โครงการ งบประมาณรวม 70,467,542.35 บาทแหล่งทุน จํานวนโครงการ งบประมาณ*** ร้อยละ(งบประมาณ)ทุนวิจัยมหาวิทยาลัย 12 1,811,134.50 2.57ทุนวิจัยงบประมาณเงินรายได้คณะ ฯ และภาควิชา 11 312,930.00 0.44ทุนวิจัยงบประมาณแผ่นดิน* 8 15,170,123.22 21.53ทุนวิจัยจากแหล่งทุนอื่นๆ ในประเทศ** 100 39,604,490.46 56.20ทุนวิจัยต่างประเทศ 13 13,023,507.17 18.48ทุนวิจัยเอกชน 4 545,357.00 0.77รวม 148 70,467,542.35 100.00* เช่น กระทรวง กรม จังหวัด เป็นต้น** เช่น สกว.. สวทช.. วช. มูลนิธิโครงการหลวง สกอ. สสส. ฯลฯ*** งบประมาณโครงการ หารเฉลี่ยตามการปฏิบัติงานจริงของ อาจารย์ และบุคลากรที่ทํางานวิจัยหมายเหตุ : ข้อมูลจาก MIS ของคณะฯ ณ วันที่ 30 พฤศจิกายน <strong>2553</strong>กราฟแสดงสัดส่วนงบประมาณ <strong>2553</strong> จําแนกตามแหล่งทุนวิจัย8ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ <strong>2553</strong>


โครงการวิจัย ปีงบประมาณ <strong>2553</strong> จําแนกตามภาควิชา/ศูนย์/หน่วยงานภาควิชา/ศูนย์/หน่วยงาน จํานวนโครงการ งบประมาณ* ร้อยละ(งบประมาณ)ภาควิชากีฏวิทยาและโรคพืช 23 13,266,397.75 ภาควิชาพืชศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติ 55 32,138,080.90 ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตรและส่งเสริมเผยแพร่การเกษตร 17 5,425,600.58 ภาควิชาสัตวศาสตร์และสัตว์น้ํา 18 4,834,785.75 ศูนย์วิจัย สาธิตและฝึกอบรมการเกษตรแม่เหียะ 1 88,561.00 ศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตร 15 12,339,493.60 ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมที่สูง 14 1,680,696.76 สํานักงานคณะ 5 693,926.00 รวม 148 70,467,542.35 100* งบประมาณโครงการ หารเฉลี่ยตามการปฏิบัติงานจริงของ อาจารย์ และบุคลากรที่ทํางานวิจัย (ตามสังกัดหัวหน้าโครงการ)หมายเหตุ : ข้อมูลจาก MIS ของคณะฯ ณ วันที่ 30 พฤศจิกายน <strong>2553</strong>กราฟแสดงสัดส่วนงบประมาณ <strong>2553</strong> จําแนกตามภาควิชา/ศูนย์/หน่วยงานÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ <strong>2553</strong>9


กราฟแสดงการเปรียบเทียบจํานวนโครงการวิจัย ปีงบประมาณ 2549 -<strong>2553</strong>จํานวนโครงการปีงบประมาณกราฟแสดงการเปรียบเทียบงบประมาณโครงการวิจัย ปีงบประมาณ 2549 -<strong>2553</strong>จํานวนเงิน : บาทปีงบประมาณหมายเหตุ : ปีงบประมาณ <strong>2553</strong> งบประมาณโครงการ หารเฉลี่ยตามการปฏิบัติงานจริงของ อาจารย์ และบุคลากรที่ทํางานวิจัย10ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ <strong>2553</strong>


แผนภูมิแสดงการเปรียบเทียบงบประมาณโครงการวิจัยจําแนกตามแหล่งทุนปีงบประมาณ 2551 - <strong>2553</strong>จํานวนเงิน : ล้านบาทปีงบประมาณ* เช่น กระทรวง กรม จังหวัด เป็นต้น** เช่น สกว.. สวทช.. วช. มูลนิธิโครงการหลวง สกอ. สสส. ฯลฯหมายเหตุ : ปีงปบะรมาณ <strong>2553</strong> งบประมาณโครงการ หารเฉลี่ยตามการปฏิบัติงานจริงของ อาจารย์ และบุคลากรที่ทํางานวิจัยÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ <strong>2553</strong>11


กราฟแสดงจํานวนโครงการวิจัย จําแนกตามแหล่งทุนวิจัย ปีงบประมาณ 2549 - <strong>2553</strong>* เช่น กระทรวง กรม จังหวัด เป็นต้น** เช่น สกว.. สวทช.. วช. มูลนิธิโครงการหลวง สกอ. สสส. ฯลฯหมายเหตุ : ข้อมูลจาก MIS ของคณะฯ ณ วันที่ 30 พฤศจิกายน <strong>2553</strong>12ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ <strong>2553</strong>


กราฟแสดงงบประมาณโครงการวิจัย จําแนกตามแหล่งทุนวิจัย ปีงบประมาณ 2549 - <strong>2553</strong>* เช่น กระทรวง กรม จังหวัด เป็นต้น** เช่น สกว.. สวทช.. วช. มูลนิธิโครงการหลวง สกอ. สสส. ฯลฯหมายเหตุ : ปีงบประมาณ <strong>2553</strong> งบประมาณโครงการ หารเฉลี่ยตามการปฏิบัติงานจริงของ อาจารย์ และบุคลากรที่ทํางานวิจัยข้อมูลจาก MIS ของคณะฯ ณ วันที่ 30 พฤศจิกายน <strong>2553</strong>ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ <strong>2553</strong>13


แผนภูมิแสดงการเปรียบเทียบจํานวนโครงการวิจัย จําแนกตามภาควิชา/ศูนย์/หน่วยงาน ปีงบประมาณ 2551 - <strong>2553</strong>จํานวนโครงการปีงบประมาณแผนภูมิแสดงการเปรียบเทียบงบประมาณโครงการวิจัย จําแนกตามภาควิชา/ศูนย์/หน่วยงาน ปีงบประมาณ 2551 - <strong>2553</strong>จํานวนงิน : ล้านบาทปีงบประมาณหมายเหตุ : ปีงบประมาณ <strong>2553</strong> งบประมาณโครงการ หารเฉลี่ยตามการปฏิบัติงานจริงของ อาจารย์ และบุคลากรที่ทํางานวิจัย14ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ <strong>2553</strong>


กราฟแสดงจํานวนโครงการวิจัย จําแนกตามภาควิชา/ศูนย์/หน่วยงาน ปีงบประมาณ 2549 - <strong>2553</strong>ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ <strong>2553</strong>15


กราฟแสดงงบประมาณโครงการวิจัย จําแนกตามภาควิชา/ศูนย์/หน่วยงาน ปีงบประมาณ 2549 - <strong>2553</strong>16หมายเหตุ : ปีงบประมาณ <strong>2553</strong> งบประมาณโครงการ หารเฉลี่ยตามการปฏิบัติงานจริงของ อาจารย์ และบุคลากรที่ทํางานวิจัยÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ <strong>2553</strong>


ในปีงบประมาณ <strong>2553</strong> คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> จัดเก็บรายได้จากโครงการวิจัย รวมทั้งสิ้น4,257,267.08 บาท แบ่งเป็นส่วนของ<strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> จํานวน 1,204,890.55 ส่วนของคณะเกษตรศาสตร์ จํานวน1,528,480.09 บาท และส่วนของภาควิชา/ศูนย์ จํานวน 1,523,896.44 บาทภาควิชา/หน่วยงานOverheadCharge*พิเศษ ก.**รวม (บาท)<strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> 906,391.80 298,498.75 1,204,890.55คณะเกษตรศาสตร์ 1,239,267.08 289,213.01 1,528,480.09ภาควิชากีฏวิทยาและโรคพืช62,655.00 106,683.00 169,338.00- สาขาวิชากีฏวิทยา- สาขาวิชาโรคพืชภาควิชาพืชศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติ- สาขาวิชาพืชสวน- สาขาวิชาพืชไร่- สาขาวิชาปฐพีศาสตร์และอนุรักษศาสตร์ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตรและส่งเสริมเผยแพร่การเกษตร- สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์เกษตร- สาขาวิชาส่งเสริมและเผยแพร่การเกษตร34,530.0028,125.00488,957.1081,791.40365,690.7041,475.00207,749.3094,683.0012,000.00224,081.4051,700.0033,202.00139,179.4034,934.00129,213.0040,125.00713,038.50133,491.40398,892.70180,654.40242,683.30199,574.308,175.0034,934.00-234,508.308,175.00ภาควิชาสัตวศาสตร์และสัตว์น้ํา 131,925.00 - 131,925.00ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมที่สูง 5,100.00 - 5,100.00ศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตร 78,583.40 183,228.24 261,811.64ศูนย์วิจัย สาธิตและฝึกอบรมการเกษตรแม่เหียะ - - -รวมจํานวนเงินทั้งหมด 3,120,628.68 1,136,638.40 4,257,267.08* ค่าบริหารจัดการโครงการ (แหล่งทุนอื่นๆ)** ค่าบํารุงเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งทางวิชาการของสถาบัน (แหล่งทุน สกว.)ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ <strong>2553</strong>17


กราฟแสดงสัดส่วนการจัดเก็บเงินรายได้จากโครงการวิจัยประจําปีงบประมาณ <strong>2553</strong>กราฟแสดงแสดงสัดส่วนรายได้จากโครงการวิจัยประจําปีงบประมาณ <strong>2553</strong> จําแนกตามสาขาวิชา/ศูนย์18ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ <strong>2553</strong>


แผนภูมิแสดงแผนและผลของจํานวนโครงการวิจัยที ่จัดเก็บค่าบริหารโครงการวิจัย ประจําปีงบประมาณ <strong>2553</strong>จํานวนโครงการแผนภูมิแสดงแผนและผลของจํานวนเงินรายได้ที ่จัดเก็บค่าบริหารโครงการวิจัย ประจําปีงบประมาณ <strong>2553</strong>จํานวนเงิน (บาท)ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ <strong>2553</strong>19


แผนภูมิแสดงการเปรียบเทียบรายได้โครงการวิจัยของคณะเกษตรศาสตร์ (รวมภาควิชา/ศูนย์/หน่วยงาน) ปีงบประมาณ 2549 - <strong>2553</strong>แผนภูมิแสดงการเปรียบเทียบรายได้โครงการวิจัย ของคณะเกษตรศาสตร์จําแนกตาม สาขาวิชา/ศูนย์/หน่วยงาน ปีงบประมาณ 2549 - <strong>2553</strong>จํานวนเงิน (บาท)20ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ <strong>2553</strong>


กราฟแสดงข้อมูลรายได้จากการจัดเก็บเงินโครงการวิจัยจําแนกตาม ภาควิชา/ศูนย์/หน่วยงาน ปีงบประมาณ 2549 - <strong>2553</strong>ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ <strong>2553</strong>21


โครงการ จํานวนโครงการ แล้วเสร็จ ยังไม่แล้วเสร็จโครงการวิจัยใหม่* 72 35 37โครงการวิจัยเดิม 75 63 12รวม 147* 98 49* อนุมัติในปีงบประมาณ <strong>2553</strong> (มีทั้งชื่อเรื่องใหม่ และชื่อเรื่องเดิมที่อนุมัติเป็นปีๆ)** จํานวนโครงการวิจัยไม่นับซ้ํา (ถ้านับซ้ําจะมีโครงการทั้งหมด 148 โครงการ เนื่องจากมี 1 โครงการที่ได้รับ 2 แหล่งทุน)หมายเหตุ : ข้อมูลจาก MIS ของคณะฯ ณ วันที่ 30 พฤศจิกายน <strong>2553</strong>กราฟแสดงข้อมูลจํานวนโครงการวิจัยที ่ดําเนินการ ปีงบประมาณ 2550 - <strong>2553</strong>22ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ <strong>2553</strong>


์โครงการวิจัยใหม่ที่ดําเนินการในปีงบประมาณ<strong>2553</strong> จํานวน 72 โครงการ ดังนี้1.1 โครงการวิจัยใหม่ที ่แล้วเสร็จ จํานวน 35 โครงการ1. กนกวรรณ ศรีงาม, สุรัติวดี ภาคอุทัย.การศึกษาเชิงลึกองค์ประกอบทางเคมี และกลุ่มสารสําคัญที ่มีคุณค่าทางอาหารโภชนาการ เภสัชวิทยา และพิษวิทยาของพืชท้องถิ่นบนพื้นที่สูงที่มีศักยภาพ (โครงการวิจัยรวบรวมองค์ความรู ้และพัฒนาจากความหลากหลายทางชีวภาพ และภูมิปัญญาท้องถิ่นบนพื้นที่สูง).2. เกวลิน คุณาศักดากุล. การวิจัยและพัฒนาชีวภัณฑ์คลุกเมล็ดเพื ่อควบคุมโรคในระยะกล้าของพริกกะเหรี ่ยงกะหล่ ําปลี และมะเขือเทศ (โครงการวิจัยและพัฒนาปัจจัยการผลิตชีวภาพเพื่อทดแทนสารเคมีเกษตรบนพื้นที่สูง).3. จิราพร ตยุติวุฒิกุล, สุภาพรรณ ไกรฤกษ์,เสาวดี ศรีฟ้า. ศูนย์ประสานงานวิจัยเพื ่อชุมชน <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> ประจําปี <strong>2553</strong>.4. จิราพร ตยุติวุฒิกุล, อภิวัฒน์ ธีรวุฒิกุลรักษ์.การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์กับดักฟีโรโมนเพื่อควบคุมหนอนใยผักในการปลูกพืชตระกูลกะหล่ําบนพื้นที่สูง(โครงการวิจัยและพัฒนาปัจจัยการผลิตชีวภาพเพื่อทดแทนสารเคมีเกษตรบนพื้นที่สูง).5. ชวลิต กอสัมพันธ์, กนกวรรณ ศรีงาม, ถาวรสุภาวงศ์, นิธิ ไทยสันทัด, ประเสริฐ คําออน, วราพงษ์ บุญมา,ศุภมิตร เมฆฉาย. ความหลากหลายของชาพื ้นเมืองบนพื ้นที ่สูงในภาคเหนือของประเทศไทย ลักษณะการรวบรวมพันธุและจําแนกสายพันธุ ์โดยวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมีและดีเอ็นเอ (ปีที ่ 2).6. ชวลิต กอสัมพันธ์, ถาวร สุภาวงศ์, นิธิไทยสันทัด, ประเสริฐ คําออน, วราพงษ์ บุญมา. การจัดการแปลงแบบประณีตเพื่อเพิ่มผลผลิตต่อต้นและพัฒนาคุณภาพผลผลิตกาแฟอราบิก้า ปีที่ 2.7. ชวลิต กอสัมพันธ์, ประเสริฐ คําออน, วราพงษ์บุญมา, ถาวร สุภาวงค์. การเร่งการเจริญเติบโตของต้นกล้ากาแฟอราบีก้าในเรือนเพาะชํา.8. ชาญชัย แสงชโยสวัสดิ ์, ประภัสสร พันธ์สมพงษ์.การจัดทําฐานข้อมูลสถานภาพการใช้ทรัพยากรบนพื ้นที ่สูงในพื ้นที ่โครงการหลวงและพื ้นที ่โครงการขยายผลโครงการหลวง.9. ชาญชัย แสงชโยสวัสดิ ์. การพัฒนาฐานข้อมูลผลผลิตลําไยในระบบการจัดการน้ ําต่าง ๆ เพื ่อสนับสนุนการตัดสินใจการผลิต.10. โชค มิเกล็ด. การใช้ถั ่วอาหารสัตว์ที ่ปลูกภายใต้สวนไม้ผลสําหรับใช้เลี้ยงสัตว์เพื่อลดการใช้อาหารข้น.11. ณัฐา โพธาภรณ์, วีระพันธ์ กันแก้ว, อัญชัญ ชมพูพวง.การคัดเลือกและปรับปรุงพันธุ์บร็อคโคลี่ (Brassica oleracea L. var.italica Plenck) เพื ่อผลิตต้นอ่อน (sprouts) ที ่มีสาร sulforaphamesprout production) ปีที่ 1.12. ดนัย บุณยเกียรติ, ชัยพิชิต เชื้อเมืองพาน, นพพลจันทร์หอม, พิชญา บุญประสม. โครงการวิจัยเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวพืชผักของโครงการหลวง.13. ดนัย บุณยเกียรติ. การใช้สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชและสารแต่งอาหารสําหรับการยืดอายุการปักแจกันดอกไม้.14. ดนัย บุณยเกียรติ. ผลของบรรยากาศที ่มีออกซิเจนสูงและถุงแอคทีฟต่อคุณภาพทางกายภาพและเคมีของผลสตรอเบอรี่พระราชทาน 60.15. ดนัย บุณยเกียรติ. อายุการวางจําหน่ายและกิจกรรมของสารต้านอนุมูลอิสระในพืชผักสมุนไพรโครงการหลวง.16. ดนัย บุณยเกียรติ. อายุการวางจําหน่ายและส่วนประกอบทางเคมีของผักบางชนิดที่บรรจุในบรรจุภัณฑ์แอคทีฟ.17. นริศ ยิ้มแย้ม, สิทธิชัย ลอดแก้ว. ความหลากหลายของเชื้อไมโคไรซ่าที่อาศัยร่วมกับต้นกาแฟที่พบได้ในแหล่งปลูกกาแฟของพื้นที่ภาคเหนือตอนบน.18. นริศ ยิ้มแย้ม. การอนุรักษ์และการใช้ประโยชน์เชื้อข้าวพื้นเมืองไทยของเกษตรกรที่ปลูกในเขตพื้นที่โครงการหลวง.ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ <strong>2553</strong>23


์19. ประเสริฐ คําออน, ชวลิต กอสัมพันธ์, ถาวรสุภาวงศ์, นิธิ ไทยสันทัด, วราพงษ์ บุญมา. การจัดทําDescription ของพันธุ ์กาแฟอราบิก้า และคัดเลือกสายพันธุที่มีความเหมาะสมต่อการปลูกในแต่ละระบบปลูกบนพื้นที่สูงในภาคเหนือของประเทศไทย ปีที่ 2.20. พิชัย คงพิทักษ์, เกษมสันต์ บางประเสริฐ,จริยา ฉัตรคํา, เฉลิมขวัญ ฉิมวัย, นครินทร์ ดํารงภคสกุล,สรยุทธ ชยปญฺโญ, พัชรี กวนใจ, รัชนีวรรณ กําจัด,สิริวรรณ ใจเกษม, อยุธ ไชยยอง. การวิจัยและพัฒนาผู้นําเยาวชนเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงเพื่อเสริมศักยภาพชุมชนในภาคเหนือตอนบน.21. เยาวลักษณ์ จันทร์บาง. การจัดการมอดเจาะผลกาแฟในกาแฟอราบิก้าแบบผสมผสานในพื ้นที ่ภาคเหนือปีที่ 2.22. วราพงษ์ บุญมา, ชวลิต กอสัมพันธ์,ประเสริฐ คําออน, ถาวร สุภาวงค์. การจัดการแปลงปลูกกาแฟอราบิก้าโดยการใช้ปุ๋ยชีวภาพทดแทนการใช้ปุ๋ยเคมีเพื่อคุณภาพของกาแฟและความปลอดภัยของผู้บริโภค.23. ศิวาพร ธรรมดี. อิทธิพลของระดับความเข้มข้นของธาตุอาหารที่มีต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของแตงกวาญี่ปุ่นในระบบวัสดุปลูกไร้ดิน.24. สงวนศักดิ ์ ธนาพรพูนพงษ์, ระพีพงษ์ ยาวิลาศ,สาววรากร ราชคม. การพัฒนาส่วนผสมของสารสกัดจากพืชเพื่อการควบคุมเชื้อราสาเหตุโรคเมล็ดพันธุ์ข้าวโพดเมล็ดพันธุ์ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์.25. สงวนศักดิ์ ธนาพรพูนพงษ์, รุ่งทิวาวิญญายอง, หลิน ชิง หยู. การเพิ่มอายุการเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ข้าวโพดด้วยโพลีเอทธีลีนไกลคอล.26. สัญชัย จตุรสิทธา, โชค มิเกล็ด, ธีระ วิสิทธิ ์พานิช.คุณภาพซากและเนื ้อกระต่ายที ่ผลิตโดยมูลนิธิโครงการหลวง.27. สุชน ตั้งทวีวิพัฒน์. การใช้กากสบู่ดําจากขบวนการผลิตไอโอดีเซลเป็นแหล่งโปรตีนและพลังงานในอาหารสัตว์ปีกและสุกร.28. สุรินทร์ นิลสําราญจิต. ผลของต้นตอและวิธีการเปลี่ยนยอดพันธุ์ต่อการเติบโตของมะเดื่อฝรั่ง (ปีที่ 3).29. แสงทิวา สุริยงค์, ณัฐศักดิ์ กฤติกาเมษ, สุชาดาเวียรศิลป์. โครงการวิจัยและพัฒนาวิธีการเก็บรักษาเมล็ดพันธุ ์เฮมพ์(ภายใต้โครงการวิจัยและพัฒนาการปลูกเฮมพ์และการแปรรูป).30. โสระยา ร่วมรังษี, จํานงค์ อุทัยบุตร. การทําลายการพักตัวของปทุมมา.31. โสระยา ร่วมรังษี. การทดสอบพื้นที่ผลิตแซนเดอร์-โซเนีย(ปีที่ 2).32. โสระยา ร่วมรังสี. เทคโนโลยีการผลิตว่านสี ่ทิศ ปีที ่ 3.33. อดิศร กระแสชัย. การนําพืชจากประเทศออสเตรเลียมาศึกษาเพื่อพัฒนาเป็นไม้ตัดใบของมูลนิธิโครงการหลวง.34. อรวรรณ ฉัตรสีรุ้ง. การวิจัยและพัฒนาวัสดุเพาะชีวภาพ วัสดุปลูกอินทรีย์ และปุ๋ยชีวินทรีย์อัดเม็ด (ภายใต้โครงการวิจัยและพัฒนาปัจจัยการผลิตชีวภาพเพื่อทดแทนสารเคมีเกษตรบนพื้นที่สูง).35. อังสนา อัครพิศาล. การวิจัยและพัฒนาชีวภัณฑ์ควบคุมโรคทางดินของพริกกะเหรี ่ยงและมะเขือเทศ (โครงการวิจัยและพัฒนาปัจจัยการผลิตชีวภาพเพื่อทดแทนสารเคมีเกษตรบนพื้นที่สูง).1.2 โครงการวิจัยใหม่ที่ยังไม่แล้วเสร็จ จํานวน 37 โครงการ1. กนกวรรณ ศรีงาม, ดรุณี นาพรหม, ชูชาติ สันธทรัพย์.การพัฒนาวิธีการสกัดและตรวจวัดปริมาณฮอร์โมนพืชในน้ําหมักชีวภาพ โดยเทคนิคโครมาโตกราฟีของเหลวแบบสมรรถะสูงและเทคนิคอิมมูโนแอสเส.2. กมล งามสมสุข, ธัญญรัตน์ พรหมภิชัย, วิโรจน์เรืองสะอาด. โครงการประเมินผลการดําเนินงานโครงการขยายผลโครงการหลวงเพื่อการพัฒนาพื้นที ่สูงอย่างยั่งยืน.3. กมล งามสมสุข, ธัญญรัตน์ พรหมภิชัย, วิโรจน์เรืองสะอาด. โครงการศึกษาสภาวะเศรษฐกิจและสังคมของเกษตรกรในพื้นที่โครงการหลวง ปี พ.ศ. 2551/2552.4. กุศล ทองงาม, จตุรงค์ พวงมณี. การประเมินศักยภาพพันธุ์ข้าวด้วยเทคโนโลยีทางเลือกในระบบข้าวอินทรีย์.5. จริยา วิสิทธิ์พานิช, เกวลิน คุณาศักดากุล, ประนอมใจอ้าย, อัญชัญ ชมพูพวง. การจัดการปลูกพริกพิโรธที ่เหมาะสมสําหรับเกษตรกรในภาคเหนือ: จังหวัดแพร่ และจังหวัดเชียงใหม่ (ภายใต้โครงการพัฒนาระบบการปลูกพริกพิโรธ (พริกที่เผ็ดที่สุดในโลก)เชิงการค้าในสภาพแวดล้อมที่แตกต่างกัน).24ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ <strong>2553</strong>


6. ฉันทลักษณ์ ติยายน, ศิวาพร ธรรมดี.การสํารวจประชากรว่านจูงนางในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติขุนแม่กวง (โครงการสนับสนุนทุนนักวิจัยใหม่ (วท.)ประจําปี 2552).7. ชนนิกานต์ แก้วเทพ, พิกุลทอง เทพลิขิตกุล.การบริหารงบประมาณตามหลักสูตรหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง กรณีศึกษา คณะเกษตรศาสตร์ และคณะวิทยาศาสตร์<strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> (ในปี <strong>2553</strong>).8. ชโรชีนีย์ ชัยมินทร์, ประภาพันธ์ พลายจันทร์,เกรียงไกร ชัยมินทร์. การวิเคราะห์การอ้างอิงผลงานวิชาการที ่ตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติและการพัฒนาระบบฐานข้อมูลผลงานวิชาการคณะเกษตรศาสตร์<strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong>.9. ชวลิต กอสัมพันธ์, นิธิ ไทยสันทัด, เยาวลักษณ์จันทร์บาง, วราพงษ์ บุญมา. การใช้ผลิตภัณฑ์และสารสกัดจากพืชท้องถิ่นเพื่อป้องกันกําจัดมอดเจาะผลกาแฟ.10. ชัยวัฒน์ โตอนันต์. ความหลากหลายของสายพันธุ์และความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมของเชื้อราแป้งที่พบในเขตภาคเหนือของไทย.11. โชค มิเกล็ด, จิรวัฒน์ พัสระ, ณัฐพล จงกสิกิจ,วิสูตร ศิริณุพงษานันท์, สัญชัย จตุรสิทธา. การใช้กากมันสําปะหลังแห้งเหลือทิ้งจากการผลิตทานอลเป็นอาหารเสริมเพื่อลดต้นทุนการเลี้ยงโคขุน.12. ทรงเชาว์ อินสมพันธ์, ธัญญา คันธา.การพัฒนาพันธุ ์ และการเพิ ่มศักยภาพในการผลิตข้าวโพดหวาน.13. ทรงเชาว์ อินสมพันธ์, ธัญญา คันธา.การพัฒนาพันธุ์และการเพิ่มศักยภาพในการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์.14. ทรงเชาว์ อินสมพันธ์, สมศักดิ์ จีรัตน์.การศึกษาความเป็นไปได้ของพืชดูดของแข็งละลายได้ในน้ําเสียโรงงานดองพืชของระบบบ่อบําบัดแบบพึงประดิษฐ์.15. ทรงเชาว์ อินสมพันธ์, สุรพล เศรษฐบุตร.โครงการวิเคราะห์ข้อมูลปัจจัยคุณภาพและเกณฑ์ความปลอดภัยสําหรับถั่วเหลืองเมล็ด และกากถั่วเหลือง.16. ทัพไท หน่อสุวรรณ, กุหลาบ อุตสุข, จตุรงค์พวงมณี, จรูญ จักรมุณี, สิทธิชัย ลอดแก้ว. การจัดการไนโตรเจนโดยใช้โสนออัฟริกันในระยะเวลาสร้างส่วนสืบพันธุ์ในระบบการผลิตข้าวอินทรีย์.17. ทัพไท หน่อสุวรรณ, จตุรงค์ พวงมณี, ระพีพงศ์เกษตรสุนทร, กุหลาบ อุตสุข, แววจันทร์ พงค์จันตา. การเปรียบเทียบวิธีควบคุมกําจัดแมลงศัตรูถั่วเหลืองฝักสดโดย วิธีกล และวิธีใช้สารเคมีตามระบบ GAP (Good Agricultural Practice).18. ธนะชัย พันธ์เกษมสุข, ธีรนุช เจริญกิจ, นพพลเล็กสวัสดิ์, บุณรดา ไชยกันทา, พัชรินทร์ ปลุกเสก. โครงการพัฒนาฐานข้อมูลการเกษตรลําไยเชิงลึก.19. นริศ ยิ้มแย้ม, สิทธิชัย ลอดแก้ว, อุทุมพร ไชยวงษ์.ภูมิปัญญาท้องถิ่นและการใช้ประโยชน์จากความหลากหลายของพืชในระบบไร่หมุนเวียนของเกษตรกรเผ่ากะเหรี่ยงเขตอําเภอสบเมยจังหวัดแม่ฮ่องสอน.20. นิธิ ไทยสันทัด, ชวลิต กอสัมพันธ์. การใช้เชื ้อจุลินทรีย์ป้องกันกําจัดมอดเจาะผลกาแฟ.21. บุศรา ลิ้มนิรันดร์กุล, พฤกษ์ ยิบมันตะสิริ. นวัตกรรมทางเกษตรที่สนับสนุนระบบผลิตข้าวอินทรีย์ของเกษตรกรรายย่อยภาคเหนือ.22. เบญจพรรณ เอกะสิงห์, พนมศักดิ์ พรหมบุรมย์.การพัฒนาตัวชี้วัดของการพัฒนาด้านเศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมบนพื้นที่สูง ระยะที่ 1.23. เบญจพรรณ เอกะสิงห์, เมธี เอกะสิงห์. ระบบสนับสนุนการตัดสินใจจัดสรรที่ดินเชิงพื้นที่เพื่อการเกษตร.24. พรชัย เหลืองอาภาพงศ์, ธนียา เจติยานุกรกุล,ธีระพงษ์ เสาวภาคย์, เอกสิทธิ์ รอดอยู่. โครงการศึกษาความเป็นไปได้ของการปลูกพืชน้ํามันและพัฒนารูปแบบการผลิตพลังงานจากพืชแบบครบวงจรในพื้นที่ตัวอย่างเขตภาคเหนือ ระยะที่ 1(เพิ่มเติม).25. พัชนี สุวรรณวิศลกิจ. แนวทางการใช้ประโยชน์จากเยื่อหุ้มเมล็ดที่เป็นสิ่งเหลือทิ้งจากการผลิตกาแฟคั่ว.26. พิทยา สรวมศิริ, กนกวรรณ ศรีงาม, กานต์ คงบรรทัด,เกวลิน คุณาศักดากุล, จิราพร กุลสาริน, ชวนพิศ บุญชิตสิริกุล,ชูชาติ สันธทรัพย์, ดรุณี นาพรหม, ธนะชัย พันธ์เกษมสุข, พรชัยเหลืองอาภาพงศ์, เยาวลักษณ์ จันทร์บาง, สมบัติ ศรีชูวงศ์, ไสวบูรณพานิชพันธุ์, อรวรรณ ฉัตรสีรุ้ง, อังสนา อัครพิศาล, อําพรรณพรมศิริ. โครงการพัฒนาคุณภาพด้านการผลิตและการตลาด เพื ่อการส่งออกสับปะรดผลสดไทยไปยังประเทศญี่ปุ่น ภายใต้สิทธิประโยชน์ทางการค้า ตามข้อตกลงเขตการค้าเสรีไทย-ญี่ปุ่น (JTEPA).ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ <strong>2553</strong>25


2627. พิทยา สรวมศิริ, J.N. Wiinsche, SybilleNeidhart, กนกวรรณ ศรีงาม, ติณณา เจิรญกิจ, พาวินมะโนชัย. การพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยีการจัดการสวนไม้ผลในระบบปลูกชิดบนพื้นที่สูง : กรณีศึกษาการผลิตลําไย ลิ้นจี่ และมะม่วงนอกฤดู (ปีที่ 1).28. เพทาย พงษ์เพียจันทร์, ไพฑูรย์ รอดวินิจ,รุจ ศิริสัญลักษณ์, วิศรา ไชยสาลี. การพัฒนาระบบการเลี ้ยงโคฟรีบราห์สําหรับเกษตรกรรายย่อยในเขตภาคเหนือ:กรณีศึกษาสวนแสงประทีป อําเภอเวียงสา จังหวัดน่าน.29. เพทาย พงษ์เพียจันทร์, อภิรักษ์ เพียรมงคล,อํานวย เลี้ยวธารากุล. โครงการพัฒนาเทคโนโลยีผลิตน้ําเชื้อโคนมแยกเพศเพื่อใช้ในการผสมเทียม.30. เยาวลักษณ์ จันทร์บาง, จิราพร ตยุติวุฒิกุล,มาลี ตั ้งระเบียบ. การวิจัยและพัฒนาชีวภัณฑ์กําจัดแมลงหวี่ขาวจากเชื้อ Paecilomyces tenuipes สําหรับการปลูกมะเขือเทศและพริกกระเหรี ่ยงบนพื ้นที ่สูง (โครงการวิจัยและพัฒนาปัจจัยการผลิตชีวภาพเพื่อทดแทนสารเคมีเกษตรบนพื้นที่สูง).31. เยาวลักษณ์ จันทร์บาง, ชวลิต กอสัมพันธ์,ประเสริฐ คําออน. ชีววิทยาของมอดเจาะผลกาแฟและพืชอาศัยอื่นๆ.32. รุจ ศิริสัญลักษณ์, ลักษมี วรชัย. โครงการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนาทรัพย์สินทางภูมิปัญญาและทรัพยากรธรรมชาติของชุมชนบนพื้นที่สูง.33. สมศักดิ์ จีรัตน์, อําพรรณ พรมศิริ. การผลิตปุ๋ยหมักจากวัสดุปลูกเหลือใช้และเศษผักโดยใช้เชื้อจุลินทรีย์ที่ย่อยสลายเซลลูโลสที่มีความสามารถสูงในการต่อต้านเชื้อสาเหตุโรคพืชและใช้ประโยชน์เพื่อลดการเกิดโรคสําหรับการผลิตไหลสตรอเบอรี่.34. สัญชัย จตุรสิทธา, อภิรักษ์ เพียรมงคล,อํานวย เลี้ยวธารากุล. คุณภาพเนื้อ กลิ่น และรสชาติของไก่ประดู่ห่างดําเชียงใหม่ 1.35. สุชน ตั้งทวีวิพัฒน์, บุญล้อม ชีวะอิสระกุล,สุพรรณ ปัญญาฟู, องอาจ ส่องสี. การพัฒนาประสิทธิภาพการผลิตก๊าซชีวภาพจากมูลสัตว์สําหรับใช้ในครัวเรือนของเกษตรกร ต.สันปูเลย อ. ดอยสะเก็ด จ.เชียงใหม่.ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ <strong>2553</strong>36. แสงทิวา สุริยงค์, กนกวรรณ ศรีงาม, ดําเนิน ดาละดี.ผลของกระบวนการแช่และกระบวนการงอกต่อปริมาณสารแกมมาอะมิโนบิวเทอริกเอซิด แอนไทไซยานิน และคุณสมบัติการต้านอนุมูลอิสระในเมล็ดข้าวก่ําพันธุ์พื้นเมือง.37. อารี วิบูลย์พงศ์, ทรงศักดิ์ ศรีบุญจิตต์, เยาวเรศเชาวนพูนผล. ประสิทธิภาพตลาดเกษตรและกําไรต่อเกษตรกร:การส่งผ่านราคาที่สมมาตรของสินค้าเกษตรที่สําคัญของประเทศไทย.โครงการวิจัยเดิมที่ดําเนินการต่อเนื่องในปีงบประมาณ<strong>2553</strong> จํานวน 75 โครงการ ดังนี้1.1 โครงการวิจัยเดิมที ่ดําเนินการแล้วเสร็จ จํานวน 63 โครงการ1. Christoph Knorr, เกศินี เกตุพยัคฆ์. การศึกษายีนBAX ในสุกรเพื่อใช้เป็นยีนบ่งชี้ของโรคไส้เลื่อนที่สะดือและอัณฑะ.2. Kongpanh Kanyavong, เบญจวรรณ ฤกษ์เกษม.Global Zinc Fertilizer.3. Maria Lodovica Gullino, มาลี ตั้งระเบียบ, พัชรินทร์ครุฑเมือง. Tackling Biosecurity between Europe and Asia:innovative detection, containment and control tools ofInvasive Alien Species potentially affecting food productionand trade.4. กฐิน ศรีมงคล, พิชัย คําเกิด, เวช เต๋จ๊ะ, สมพรชุนห์ลือชานนท์. การวิเคราะห์ความสามารถในการผลิตและความยั่งยืนของระบบนิเวศเกษตรบนพื้นที ่สูง : กรณีศึกษาพื้นที่ของศูนย์พัฒนาโครงการหลวงแกน้อย.


5. กมล งามสมสุข. โครงการวิเคราะห์ต้นทุนการผลิตใบยาเวอร์ยิเนียในภาคเหนือ.6. เกศินี เกตุพยัคฆ์. การวิเคราะห์ความหลากหลายทางพันธุกรรมของสุกรไทยพื้นเมืองในเขตภาคเหนือโดยใช้ไมโครแซทเทิลไลท์และไมโตคอนเดรียดีเอ็นเอ.7. เกศินี เกตุพยัคฆ์. การแสดงออกของยีน Mx1และคุณสมบัติในการต้านไวรัสในสุกรไทยพื้นเมือง.8. เกศินี เกตุพยัคฆ์. ลักษณะทางพันธุกรรมและการตอบสนองทางสรีระวิทยาต่อสภาพอากาศร้อนของโคไทยพื้นเมือง.9. จตุรงค์ พวงมณี, กุศล ทองงาม. การพัฒนาระบบการผลิตผักปลอดสารพิษที่เสริมสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและการเข้าถึงอาหารปลอดภัยในชุมชน.10. จามจุรี โสตถิกุล, ฉันทนา สุวรรณธาดา,พรรัตน์ ศิริคํา, สุริยา ตาเที่ยง. การเก็บรักษาเชื้อพันธุ์กล้วยไม้ป่าบางชนิดในสภาพปลอดเชื้อ.11. จิรวรรณ กิจชัยเจริญ, เบญจพรรณ เอกะสิงห์.Rice Landscape Management for Raising WaterProductivity, Conserving Resources, and ImprovingLivelihoods in Upper Catchments of the Mekongand Red River Basins.12. ฉันทลักษณ์ ติยายน, ศิวาพร ธรรมดี,จามจุรี โสตถิกุล, รณณรงค์ อินทุภูติ. การพักตัวและการออกดอกของว่านจูงนาง.13. ชนนิกานต์ แก้วเทพ, พิกุลทอง เทพลิขิตกุล.กลยุทธ์ในการแสวงหาเงินรายได้คณะเกษตรศาสตร์<strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong>.14. ชวนพิศ บุญชิตสิริกุล, ณัฐสุดา บรรเลงสวรรค์.การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากเชื้อแอคติโนมัยซีสเพื่อควบคุมโรคใบจุด และโคนเน่าของพริกกะเหรี่ยงและมะเขือเทศ(ภายใต้ชุดโครงการวิจัยและพัฒนาปัจจัยการผลิตชีวภาพเพื่อทดแทนสารเคมีเกษตรบนพื้นที่สูง).15. ชวนพิศ บุญชิตสิริกุล. การเคลือบเมล็ดข้าวโพดด้วยเชื ้อรา Trichoderma spp. และการตรวจสอบเชื้อราที่เคลือบบนต้นกล้าโดย PCR base technique.16. ชวลิต กอสัมพันธ์, ถาวร สุภาวงศ์, นิธิ ไทยสันทัด,ประเสริฐ คําออน, เยาวลักษณ์ จันทร์บาง, วราพงษ์ บุญมา,สมจิตร อยู ่เป็นสุข. การขยายผลงานป้องกันกําจัดมอดเจาะผลกาแฟอราบิก้าแบบผสมผสานและบูรณาการสู่เกษตรกร.17. ชาตรี สิทธิกุล, จิราพร ตยุติวุฒิกุล, ชูชาติ สันธทรัพย์,อังสนา อัครพิศาล, อิทธิสุนทร นันทกิจ. การพัฒนาระบบการปลูกพริกหวานในโรงเรือนเพื่อให้ได้ผลผลิตคุณภาพสูงและปลอดภัย.18. ชินกฤต สุวรรณคีรี, ใจศิลป์ ก้อนใจ, ชินวรพิริยพงศ์พิทักษ์, สมศักดิ์ จีรัตน์. โครงการประสิทธิภาพของปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพผลิตผลจากโรงงานผลิตปุ๋ยหมักปุ๋ยอินทรีย์จากของเหลือใช้และการพัฒนาคุณภาพเพื่อเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรในพื้นที่ศูนย์การขยะมูลฝอยรวมแบบครบวงจร ตําบลป่าป้อง อําเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่.19. ณัฐพล จงกสิกิจ. การศึกษาลักษณะของโคพื้นเมือง.20. ณัฐา โพธาภรณ์. การพัฒนาพันธุ ์กล้วยไม้กลุ ่มนางอั ้วเพื่อการส่งออก.21. ดนัย บุณยเกียรติ, ชัยพิชิต เชื้อเมืองพาน, นพพลจันทร์หอม, พิชญา บุญประสม. การวิจัยและพัฒนาการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวพืชผักและสมุนไพรอินทรีย์เพื่อการส่งออก (ภายใต้โครงการวิจัยและพัฒนากระบวนการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวพืชผักผลไม้ และสมุนไพร).22. ดนัย บุณยเกียรติ, ชัยพิชิต เชื้อเมืองพาน, พิชญาบุญประสม. การประยุกต์เทคโนโลยีการลดอุณภูมิแบบสูญญากาศเพื ่อการส่งออกพืชผักและสมุนไพรของโครงการหลวง (ภายใต้โครงการวิจัยและพัฒนากระบวนการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวพืชผักผลไม้และสมุนไพร).23. ดรุณี นาพรหม, Martin Hegle, J-N. Wunsche,กนกวรรณ ศรีงาม, พาวิน มะโนชัย. การเปลี่ยนแปลงปริมาณฮอร์โมนในช่วงก่อนการออกดอกนอกฤดูของลําไยและลิ้นจี่ ปีที่ 3(ภายใต้ชุดโครงการ การใช้ดินและพัฒนาชนบทบนพื้นที่สูงอย่างยั่งยืนระยะที่ 3).24. ดุษฎี ณ ลําปาง, รําไพพรรณ อภิชาตพงศ์ชัย,วรทัศน์ อินทรัคคัมพร, สุรพล เศรษฐบุตร. สภาพเศรษฐกิจและสังคมของเกษตรกรในนิคมการเกษตรพืชอาหารและพืชพลังงานทดแทน ตําบลคณฑี อําเภอเมือง จังหวัดกําแพงเพชร.25. ดุษฎี ณ ลําปาง, รําไพพรรณ อภิชาตพงศ์ชัย,วรทัศน์ อินทรัคคัมพร. ความสามารถในการพัฒนาด้านการเกษตรขององค์การบริหารส่วนตําบล/เทศบาลตําบลในจังหวัดเชียงใหม่.ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ <strong>2553</strong>27


2826. ถาวร อ่อนประไพ, ชาญชัย แสงชโยสวัสดิ์.การจ้างนําเข้าข้อมูลการใช้ประโยชน์ที่ดินเชิงพื้นที่รายแปลง มาตราส่วน 1: 4,000.27. ถาวร อ่อนประไพ, ชูชาติ สันธทรัพย์.การจัดการทรัพยากรดินและน้ําที่เหมาะสมสําหรับการผลิตส้มเปลือกล่อน (สายน้ําผึ้ง).28. ถาวร อ่อนประไพ. การพัฒนาระบบฐานข้อมูลเชิงพื้นที่ด้วยการมีส่วนร่วมของชุมชนเพื่อกําหนดแนวทางแก้ไขปัญหาสิทธิที่ดินทํากินแผนพัฒนาชุมชนและการจัดการทรัพยากรป่าไม้ จังหวัดแม่ฮ่องสอน.29. ธนะชัย พันธ์เกษมสุข, กนกธร วงศ์กิติ,บรรจง ปานดี, วรพงษ์ คําลือ, เวช เต๋จ๊ะ, สราวุธ ศรีวรรณา,สาวิตรี ทิวงศ์. โครงการวิจัยและพัฒนาการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวเสาวรสรับประทานสด.30. นริศ ยิ้มแย้ม, จตุรงค์ พวงมณี, สิทธิชัยลอดแก้ว. พันธุ์พืชพื้นเมืองที่ปลูกร่วมในแปลงข้าวไร่ในระบบไร่หมุนเวียน.31. เบญจพรรณ เอกะสิงห์, กุศล ทองงาม,จิรวรรณ กิจชัยเจริญ, ชาญชัย แสงชโยสวัสดิ์. การจัดการที่ดินเพื่อใช้ประโยชน์ทางการเกษตรให้เหมาะสมกับหลายวัตถุประสงค์.32. เบญจวรรณ ฤกษ์เกษม, กนก ฤกษ์เกษม,นริศ ยิ้มแย้ม, ศันสนีย์ จําจด, สิทธิชัย ลอดแก้ว. ความหลากหลายในระบบเกษตรเพื่อการจัดการและอนุรักษ์พันธุ์ข้าวพื้นเมืองในบริเวณศูนย์กลางความหลากหลาย.33. เบญจวรรณ ฤกษ์เกษม. การประเมินและคัดเลือกข้าวพันธุ์พื้นเมือง “เหมยนอง” ที่มีความทนทานต่อแมลงบั่วสําหรับชุมชนที่สูง.34. ประสาทพร สมิตะมาน, ปัทมา ศิริธัญญา.โครงการความหลากหลายทางชีวภาพของเชื ้อ Exserohilumturcicrm และการประเมินระดับความต้านทางของพันธุ์ข้าวโพดต่อโรคใบไหม้แผลใหญ่ ปีที่ 2.35. พรชัย เหลืองอาภาพงศ์, ธีระพงษ์ เสาวภาคย์.โครงการพัฒนาสร้างเครื่องชุดเครื่องจักรสําหรับกระบวนการผลิตชีวมวลอัดแท่ง.ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ <strong>2553</strong>36. พรชัย เหลืองอาภาพงศ์. โครงการศึกษาความเป็นไปได้ของการปลูกพืชน้ํามันและพัฒนารูปแบบการผลิตพลังงานจากพืชครบวงจรในพื้นที่ตัวอย่างเขตภาคเหนือ ปีที่ 5.37. พรรัตน์ ศิริคํา, ฉันทนา สุวรรณธาดา, ฉันทลักษณ์ติยายน, รณรงค์ อินทุภูติ. การศึกษาลักษณะทางโมเลกุลของกล้วยไม้ดินบางชนิด.38. พรรัตน์ ศิริคํา, ฉันทนา สุวรรณธาดา, รงณรงค์อินทุภูติ, สุริยา ตาเที ่ยง. การศึกษาเซลล์พันธุศาสตร์ ของกล้วยไม้ป่าในป่าสงวนแห่งชาติ ขุนแม่กวง.39. พรสุข ชัยสุข. การทดสอบสารสกัดของดาวเรืองในการควบคุมไส้เดือนฝอยรากปมมะเขือเทศ.40. พัชนี สุวรรณวิศลกิจ. สถานการณ์การเกิดราสนิมในพื้นที่ปลูกกาแฟอราบิก้าในภาคเหนือของประเทศไทย.41. พิทยา สรวมศิริ, J-N. Wunsche, Sybille Neidhart,กนกวรรณ ศรีงาม, ติณณา เจริญกิจ, พาวิน มะโนชัย. โครงการสรีรวิทยาของไม้ผลและการพัฒนาต้นแบบการผลิตผลไม้นอกฤดูบนพื้นที่สูง จ. เชียงใหม่ ภายใต้เงื่อนไขระยะปลูกชิด : กรณีศึกษาลําไย ลิ้นจี่ และม่วง ปีที่ 2.42. พิทยา สรวมศิริ, กนกวรรณ ศรีงาม, กานต์ คงบรรทัด,เกวลิน คุณาศักดากุล, จิราพร ตยุติวุฒิกุล, ฉันทลักษณ์ ติยายน,ชวนพิศ บุญชิตสิริกุล, ชูชาติ สันธทรัพย์, โชคชัย ไชยมงคล, ณัฐาโพธาภรณ์, ดรุณี นาพรหม, ธนะชัย พันธ์เกษมสุข, พรชัย เหลือง-อาภาพงศ์, เยาวลักษณ์ จันทร์บาง, วิลาวัลย์ คําปวน, สมบัติ ศรีชูวงศ์,โสระยา ร่วมรังษี, อรวรรณ ฉัตรสีรุ้ง, อังสนา อัครพิศาล. โครงการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของกลุ่มเกษตรกรผู้ปลูกส้มสายน้ําผึ้ง จังหวัดเชียงใหม่ ที่ไม่สามารถปรับตัวจากผลกระทบของการเปิดเสรีทางการค้า.43. เพทาย พงษ์เพียจันทร์, ศุภมิตร เมฆฉาย, จุรีย์รัตน์สําเร็จประสงค์, อุดม ช่างสุพรรณ. การเพิ่มจํานวนลูกโคนมเพศเมียในเขตจังหวัดเชียงใหม่-ลําพูน โดยการผสมเทียมด้วยน้ําเชื้อที่ผ่านการคัดเพศ.44. มณีฉัตร นิกรพันธุ ์, โชคชัย ไชยมงคล, ณัฐา โพธาภรณ์,ดนัย บุณยเกียรติ. การศึกษาความเสถียรและความสามารถเข้ากันได้ของพันธุ์พริกรักษาตัวผู้เป็นหมัน.45. มัตติกา พนมธรนิจกุล, ชูชาติ สันธทรัพย์, ศิวะพงศ์นฤบาล. การปรับปรุงวิธีต้านการชะกร่อนและการเก็บเกี ่ยวน้ ําในดินโดยการปลูกพืชเชิงแถบอนุรักษ์เพื่อเพิ่มการผลิตพืชผสมในระบบ


เกษตรน้ําฝนอย่างยั่งยืนบนพื้นที่ลาดชัด ปีที่ 2 (ภายใต้โครงการ เรื่อง การใช้ที่ดินและการพัฒนาชนบทบนพื้นที่สูงอย่างยั่งยืน ระยะที่ 3).46. เยาวลักษณ์ จันทร์บาง, กัลยา บุญสง่า,ไสว บูรณพานิชพันธุ์. การสํารวจแมลงศัตรูข้าวโพดในดินในประเทศไทย.47. รําไพพรรณ อภิชาตพงศ์ชัย, ดุษฎี ณ ลําปาง,วรทัศน์ อินทรัคคัมพร, สุรพล เศรษฐบุตร. การบริหารจัดการศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชนในเขตภาคเหนือ.48. รําไพพรรณ อภิชาตพงศ์ชัย, ดุษฎี ณ ลําปาง,วรทัศน์ อินทรัคคัมพร, สุรพล เศรษฐบุตร. ความรู้ความเข้าใจและการปฏิบัติของเกษตรกรผู้ผ่านการฝึกอบรมจากศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชนในภาคเหนือ.49. รําไพพรรณ อภิชาตพงศ์ชัย, ดุษฎี ณ ลําปาง,วรทัศน์ อินทรัคคัมพร. คุณภาพกระบวนการถ่ายทอดความรู้ของศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านตามความเห็นของเกษตรกรผู้ผ่านการฝึกอบรม.50. วรทัศน์ อินทรัคคัมพร, Geeta BhatraiBastakoti, จุฑาทิพย์ เฉลิมผล. นวัตกรรมชีวภาพกับการผลิตผักในภาคเหนือของประเทศไทย : กรณีศึกษาปัจจัยด้านเพศที่มีผลต่อกลุ่มเกษตรกรที่มีรายได้ต่ํา.51. วรทัศน์ อินทรัคคัมพร, ดุษฎี ณ ลําปาง,รําไพพรรณ อภิชาตพงศ์ชัย, สุรพล เศรษฐบุตร. คุณภาพกระบวนการถ่ายทอดความรู้ของศูนย์เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านตามความคิดเห็นของเกษตรกรอาสาผู้ผ่านการฝึกอบรม.52. วรทัศน์ อินทรัคคัมพร, ดุษฎี ณ ลําปาง,สุรพล เศรษฐบุตร. การจัดการแผนพัฒนาชุมชนร่วมสร้างในเขตปฏิรูปที่ดินของภาคเหนือ.53. วราภรณ์ ประกอบ. การระบุชนิดไมโตคอน-เดรียล ดีเอ็นเอ แฮพโพไทป์ของเชื้อ Phytophthorainfestans ที่พบในประเทศไทย.54. ศรัณย์ อารยะรังสฤษฎ์, ลักษมี วรชัย.โครงการศึกษาเชิงยุทธศาสตร์ในการแก้ไขปัญหาความยากจนของชาวเขา.55. ศิวาพร ธรรมดี. การใช้สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชในการพัฒนาคุณภาพผลการแก่ของผลและคุณภาพหลังการเก็บเกี่ยวของมะม่วง.56. ศุภมิตร เมฆฉาย, ชูศักดิ์ ประภาสวัสดิ์, ทวีศิลป์จีนด้วง, ธีระชัย ช่อไม้, พัชรินทร์ ครุฑเมือง, อํานวย เลี้ยวธารากุล.การพัฒนาเครื่องหมายโมเลกุลเพื่อบ่งชี้ลักษณะของไก่ประดู่หางดํา.57. ศุภมิตร เมฆฉาย, พัชรินทร์ ครุฑเมือง, สิริวดี ชมเดช.โครงการปรับปรุงพันธุ์ของลักษณะจํานวนลูกต่อครอกในสุกรสายพันธุ์ทางการค้าโดยใช้เครื่องหมายโมเลกุลดีเอ็นเอ.58. ศุภมิตร เมฆฉาย, พัชรินทร์ ครุฑเมือง. การค้นหาและพัฒนาเครื่องหมายโมเลกุลดีเอ็นเอสําหรับบ่งชี้ลักษณะไขมันแทรกในกล้ามเนื้อของสุกรสายพันธุ์ทางการค้า.59. ศุภศักดิ์ ลิมปิติ. การบริหารจัดการสนับสนุนทุนวิจัยเพื่อท้องถิ่นในการทําวิทยานิพนธ์/การค้นคว้าอิสระของนักศึกษาปริญญาโท (CBMAG) ปี 2552 ระยะที่ 2.60. สรัญยา วัลยะเสวี. การศึกษาพันธุกรรมของเชื้อราColletotrichum spp. ที่ทนทานต่อสารป้องกันกําจัดเชื้อราคาร์เบนดาซิมในพริก.61. สุชาดา เวียรศิลป์. ประสิทธิภาพของสารกําจัดศัตรูพืชชีวภาพในเทคโนโลยีการเคลือบเมล็ด.62. สุนทร คํายอง, ตฤน เสรเมธากุล. ความหลากหลายของชนิดพันธุ์พืชและระบบนิเวศป่าไม้กับการสะสมคาร์บอนเพื่อการท่องเที่ยวเชิงนิเวศในวนอุทยานไม้กลายเป็นหิน อําเภอบ้านตากจังหวัดตาก.63. อรวรรณ ฉัตรสีรุ้ง, เกวลิน คุณาศักดากุล, ชูชาติสันธทรัพย์. การคัดกรองปัจจัยการผลิตอินทรีย์-ชีวภาพเพื่อผลิตชาคุณภาพสูง.ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ <strong>2553</strong>29


1.2 โครงการวิจัยเดิมที่ดําเนินการยังไม่แล้วเสร็จจํานวน 12 โครงการ1. จริยา วิสิทธิ์พานิช, คําปัน นพพันธุ์, ชาตรีสิทธิกุล, ชูชาติ สันธทรัพย์, อิทธิสุนทร นันทกิจ. การพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตกล้วยไข่คุณภาพเพื่อการส่งออก.2. จามจุรี โสตถิกุล, ฉันทนา สุวรรณธาดา,รณรงค์ อินทุภูติ. การศึกษาการขยายพันธุ์กล้วยไม้ป่าในสภาพปลอดเชื้อ.3. จามจุรี โสตถิกุล, ฉันทลักษณ์ ติยายน,รณรงค์ อินทุภูติ. การปรับปรุงพันธุ์กล้วยไม้ป่าในสภาพปลอดเชื้อ.4. ชัยวัฒน์ โตอนันต์, แจ่มจันทร์ มีบุญ.Diversity, distribution and genetic variation ofMycosphaerella and its anamorphs in Thailand.5. ชัยวัฒน์ โตอนันต์, สรารัตน์ มนต์ขลัง.การศึกษาความสัมพันธ์ทางพันธุกรรมของเชื้อราแป้งในไทรป์ Phyllactineae (คปก.).6. ทรงเชาว์ อินสมพันธ์, แสงทิวา สุริยงค์.การผลิตพืชไร่ ภายใต้การจัดการแบบฐานอินทรีย์.7. เบญจวรรณ ฤกษ์เกษม. ข้าวไทยสู้โลกร้อน.8. พิทยา สรวมศิริ, กนกวรรณ ศรีงาม, กานต์ คงบรรทัด,เกวลิน คุณาศักดากุล, จํานงค์ อุทัยบุตร,จิราพร ตยุติวุฒิกุล,ชวนพิศ บุญชิตสิริกุล, ชูชาติ สันธทรัพย์, ดรุณี นาพรหม, ธนะชัยพันธ์เกษมสุข, พรชัย เหลืองอาภาพงศ์, เยาวลักษณ์ จันทร์บาง,วิลาวัลย์ คําปวน, สมบัติ ศรีชูวงศ์, ไสว บูรณพานิชพันธุ์, อรวรรณฉัตรสีรุ้ง, อังสนา อัครพิศาล, อําพรรณ พรมศิริ. โครงการพัฒนาคุณภาพและเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันด้านการตลาดสินค้าลิ้นจี่ของเกษตรกรผู้ปลูกลิ้นจี่ เพื่อรองรับผลกระทบจากการเปิดเสรีทางการค้า.9. วิชชา สะอาดสุด. Integrated Supply Chain Managementof Exotic Fruits from the ASEAN Region.10. สุรีรัตน์ ลัคนาวิเชียร. การจัดการลุ่มน้ําอย่างมีส่วนร่วม อําเภอสะเมิง จังหวัดเชียงใหม่.11. อรรถชัย จินตะเวช. Climate Change in SoutheastAsia and Assessment on Impact, Vulnerability andAdaptation on Rice Production and Water Resource.12. อารี วิบูลย์พงศ์, กาญจนา โชคถาวร, ทรงศักดิ์ศรีบุญจิตต์, เยาวเรศ เชาวนพูนผล. โครงการเครื่องมือการเรียนรู้และนโยบายเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนในพื้นที่ 21 จังหวัด.30ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ <strong>2553</strong>


งานวิจัยและงานสร้างสรรค์ที่ตีพิมพ์ เผยแพร่ในระดับชาติ จํานวน 78 เรื่อง ดังนี้1. Leng Layhout, เบญจวรรณ ฤกษ์เกษม,ศันสนีย์ จําจด. ความหลากหลายทางพันธุกรรมของข้าวป่าในประเทศกัมพูชา. สัมมนาวิชาการบัณฑิตศึกษาเกษตรศาสตร์ครั้งที่ 6. 12-13 มีนาคม 2552 คณะเกษตรศาสตร์<strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> : หน้า 35-40.2. เกวลิน คุณาศักดากุล, ประไพพิศ สุวิทย์ชยานนท์.การพัฒนาผลิตภัณฑ์คลุกเมล็ดจากเชื้อแอคติโนมัย-เอนโดไฟท์ เพื่อควบคุมโรคในระยะกล้าของพริกกะเหรี่ยงกะหล่ําปลี และมะเขือเทศ. สัมมนาสรุปผลการดําเนินงานวิจัยของสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง. 29-30 กันยายน2552 ณ โรงแรมอิมพีเรียลแม่ปิง อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่. หน้า 63-66.3. เกียรติศักดิ์ เกิดสุข, วีรเทพ พงษ์ประเสริฐ,ไสว บูรณพานิชพันธุ์, จิราพร ตยุติวุฒิกุล. ผลกระทบของสารฆ่าแมลงบางชนิดต่อดักแด้แตนเบียนไข่ Trichogrammaconfusum Viggiani. วารสารเกษตร. 25(3) ตุลาคม 2552หน้า 257-266.4. เทวินทร์ แก้วเมืองมูล, ชาญชัย แสงชโยสวัสดิ ์.อิทธิพลของการเกษตรต่อปริมาณน้ําในพื้นที่ลุ่มน้ําแม่ทาโดยใช้แบบจําลอง SWAT. การประชุมวิชาการระบบเกษตร-แห่งชาติ ครั้งที่ 5. 2-4 กรกฎาคม 2552. ณโรงแรมอุบลอินเตอร์เนชั่นแนล. จ. อุบลราชธานี หน้า 356-364.5. เบญจพรรณ เอกะสิงห์, อังคณา ราชนิยม-ปัทมาพร, ปันธิยะ นนทพร, จําปาวัน, จงรักษ์ มูลเฟย.ผลของการใช้โปรแกรมร่วมตัดสินใจ (รตส) ในการหาทางเลือกที่เหมาะสมในการเกษตรในลุ่มน้ําแม่ทา จ. ลําพูน.การประชุมวิชาการระบบเกษตรแห่งชาติ ครั้งที่ 5. 2-4กรกฎาคม 2552. ณ โรงแรมอุบลอินเตอร์เนชั่นแนล.จ. อุบลราชธานี หน้า 395-405.6. เยาวลักษณ์ จันทร์บาง, พัชรินทร์ ครุฑเมือง,วารุณี ศิริจรจารุ. การพัฒนาผลิตภัณฑ์ของจุลินทรีย์สาเหตุโรคแมลง Metarhizuium anisopliae เพื่อควบคุมหนอนกระทู้ผักและหนอนใยผัก. สัมมนาสรุปผลการดําเนินงานวิจัยของสถาบันวิจัยและพัฒนาพื ้นที ่สูง. 29-30 กันยายน 2552 ณ โรงแรมอิมพีเรียลแม่ปิง อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่. หน้า 74-77.7. โสภา จอมอิ ่น, ชาญณรงค์ ดวงสะอาด, พิทยา สรวมศิริ,อังสนา อัครพิศาล. การแยกและจําแนกไส้เดือนฝอยในสวนส้มอําเภอแม่ริม และอําเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่. วารสารเกษตร.25(1) กุมภาพันธ์ 2552 หน้า 9-14.8. โสภา จอมอิ่น, อังสนา อัครพิศาล, ชาตรี สิทธิกุล,ชาญณรงค์ ดวงสะอาด. ประสิทธิภาพของเชื้อราไตรโคเดอร์มาที่รวบรวมได้จากจังหวัดเชียงใหม่ ในการควบคุมเชื้อรา Sclerotiumrolfsii. วารสารเกษตร. 25(1) กุมภาพันธ์ 2552 หน้า 21-30.9. โสระยา ร่วมรังษี, รําจวน กิจค้า, ชบา นุติประพันธ์.ผลของไนโตรเจนและโพแทสเซียมต่อการเจริญเติบโตของว่านนางคุ้ม. วารสารเกษตร. 25(1) กุมภาพันธ์ 2552 หน้า 41-46.10. โสระยา ร่วมรังษี, หทัย กฤษดาวาณิชย์, รําจวน กิจค้า,ปริยาภรณ์ แก่นสาร, ธีรพล พรสวัสดิ ์ชัย. ผลของไนโตรเจน ฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมต่อการเจริญเติบโตของแกลดิโอลัส. วารสารเกษตร.25(1) กุมภาพันธ์ 2552 หน้า 31-40.11 กมลพันธ์ เกิดมั ่น, จิรวรรณ กิจชัยเจริญ. แผนการเพาะปลูกพืชที ่เหมาะสมในระดับฟาร์ม ภายใต้ความเสี ่ยง อ.แม่ใจ จ.พะเยา.สัมมนาวิชาการบัณฑิตศึกษาเกษตรศาสตร์ ครั ้งที ่ 6. 12-13 มีนาคม2552 คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> : หน้า 131-138.12. กรรณิการ์ บัวลอย, เยาวลักษณ์ จันทร์บาง, วิเชียรเฮงสวัสดิ์, เทิดชัย เวียรศิลป์, ณัฐศักดิ์ กฤติกาเมษ. การใช้คลื่นความถี่วิทยุในการควบคุมมอดแป้งในอาหารสัตว์. สัมมนาวิชาการบัณฑิตศึกษาเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 6. 12-13 มีนาคม 2552คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> : หน้า 91-96.13. กฤษณา สุเมธะ, เยาวลักษณ์ จันทร์บาง, วิเชียรเฮงสวัสดิ์, เทิดชัย เวียรศิลป์, ณัฐศักดิ์ กฤติกาเมษ. ผลของการใช้คลื่นความถี่วิทยุต่อมอดหัวป้อมและคุณภาพของข้าวสารพันธุ์ขาวดอกมะลิ 105. สัมมนาวิชาการบัณฑิตศึกษาเกษตรศาสตร์ครั้งที่ 6.12-13 มีนาคม 2552 คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong>: หน้า 97-104.ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ <strong>2553</strong>31


3214. กัลยาณี ชัยชนะ, ประสาทพร สมิตะมาน,มณีฉัตร นิกรพันธุ์. การปรับปรุงพันธุ์ต้านทานโรคไวรัสใบหงิกเหลืองของมะเขือเทศ. วารสารเกษตร. 25(3)ตุลาคม 2552 หน้า 219-228.15. กิตติศักดิ์ เรือนมา, พิชญา บุญประสม,ดนัย บุณยเกียรติ. ผลของการลดอุณหภูมิโดยวิธีผ่านอากาศเย็นต่อคุณภาพหลังการเก็บเกี่ยวของผลสตรอเบอรี่พันธุ์พระราชทาน 72. วารสารเกษตร. 25(1) กุมภาพันธ์2552 หน้า 85-94.16. คณิตา ทองเจริญ, วีรเทพ พงษ์ประเสริฐ,ไสว บูรณพานิชพันธุ์, จิราพร ตยุติวุฒิกุล. ประสิทธิภาพของสารฆ่าแมลงบางชนิดที่มีต่อหนอนใยผักในเขตภาคเหนือตอนล่างของประเทศไทย. วารสารเกษตร. 25(3)ตุลาคม 2552 หน้า 245-256.17. จงรักษ์ พันธ์ไชยศรี, ธวัชชัย รัตน์เลศ,พฤกษ์ ยิบมันตะสิริ, รุ่งทิพย์ อุทุมพันธ์. ความเสี่ยงเชิงชีวภาพในระบบการผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์และการจัดการความเสี่ยงของเกษตรกรในจังหวัดพะเยา.วารสารเกษตร.25(2) มิถุนายน 2552 หน้า 155-162.18. จามจุรี โสตถิกุล, ดาวใจ เปราะนาค.ผลของบราสสิโนสเตอรอยด์ต่อการขยายพันธุ์เอื้องดอกมะขามในสภาพปลอดเชื้อ. วารสารเกษตร. 25(1)กุมภาพันธ์ 2552 หน้า 15-20.19. จิราพร ตยุติวุฒิกุล, มาลี ตั้งระเบียบ,เยาวลักษณ์ จันทร์บาง. การคัดเลือกเชื้อราปฏิปักษ์ที่มีประสิทธิภาพควบคุมแมลงหวี่ขาวในการปลูกมะเขือเทศและพริกกะเหรี่ยงบนพื้นที่สูง. สัมมนาสรุปผลการดําเนินงานวิจัยของสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง. 29-30กันยายน 2552 ณ โรงแรมอิมพีเรียลแม่ปิง อําเภอเมืองจังหวัดเชียงใหม่. หน้า 78-81.20. จุฑามาศ ปินทุกาศ, กมล งามสมสุข.ปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับการผลิตผักปลอดสารพิษของเกษตรกรในตําบลช่อแล อําเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่.สัมมนาวิชาการ บัณฑิตศึกษาเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 6.12-13 มีนาคม 2552 คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> : หน้า 171-178.ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ <strong>2553</strong>21. ชวนพิศ บุญชิตสิริกุล, ณัฐสุดา บรรเลงสวรรค์.การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากเชื้อแอคติโนมัยซีสเพื่อควบคุมโรคใบจุดและโคนเน่าของพริกกะเหรี่ยงและมะเขือเทศ. สัมมนาสรุปผลการดําเนินงานวิจัยของสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง. 29-30กันยายน 2552 ณ โรงแรมอิมพีเรียลแม่ปิง อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่. หน้า 71-73.22. ชิงตี้ วรเดช, ศันสนีย์ จําจด, เบญจวรรณ ฤกษ์เกษม.การประเมินหาพันธุ์ข้าวที่ทนต่อเหล็กเป็นพิษ. สัมมนาวิชาการบัณฑิตศึกษาเกษตรศาสตร์ครั้งที่ 6. 12-13 มีนาคม 2552คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> : หน้า 7-10.23. ชิต อินปรา, ณัฐา โพธาภรณ์. ผลของอุณหภูมิและระยะเวลาเก็บรักษาต่อเปอร์เซ็นต์ความมีชีวิตของกลุ่มเรณูของเอื ้องแซะหอม เอื ้องสายหลวง เอื ้องน้ ําครั ่งสายสั ้น และเอื ้องนางลม.วารสารเกษตร. 25(2) มิถุนายน 2552 หน้า 101-108.24. ชิษณุชา บุดดาบุญ, อรรถชัย จินตะเวช. ผลกระทบของสภาวะโลกร้อนต่อการผลิตข้าวในพื้นที่ลุ่มแม่น้ําชี-มูล.วารสารวิจัย มข. 14(7) 2552 หน้า 611-625.25. ซกขา โล, บุศรา ลิ้มนิรันทร์กุล, ธวัชชัย รัตน์ชเลศ.แนวทางโรงเรียนเกษตรกรในกระบวนการส่งเสริมการสื่อสารการเรียนรู้ในการผลิตพืชผักประเทศกัมพูชา. สัมมนาวิชาการบัณฑิตศึกษาเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 6. 12-13 มีนาคม 2552คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong>: หน้า 163-170.26. ณัฐพงษ์ นวลดี, สรัญยา ณ ลําปาง. การสํารวจเชื้อราในกลุ่ม Cercospora ที่ต้านทานต่อสารคาร์เบนดาซิมจากพืชต่าง ๆ ในจังหวัดเชียงใหม่ และการควบคุมโดยใช้เชื้อแอคติโนมัยซีสจากดิน. สัมมนาวิชาการบัณฑิตศึกษาเกษตรศาสตร์ครั้งที่ 6. 12-13 มีนาคม 2552 คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> : หน้า 259-264.27. ดนัย บุณยเกียรติ. การจัดการหลังการเก็บเกี่ยวพืชผัก ผลไม้ และสมุนไพรอินทรีย์ เพื่อการส่งออก. สัมมนาสรุปผลการดําเนินงานวิจัยของสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง. 29-30กันยายน 2552 ณ โรงแรมอิมพีเรียลแม่ปิง อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่. หน้า 170-171.28. ดนัย บุณยเกียรติ. การประยุกต์เทคโนโลยีการลดอุณหภูมิแบบสุญญากาศเพื่อการส่งออกพืชผักและสมุนไพรของโครงการหลวง. สัมมนา สรุปผลการดําเนินงานวิจัยของสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง. 29-30 กันยายน 2552 ณ โรงแรมอิมพีเรียลแม่ปิง อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่. หน้า 172-174.


29. พรประพา คงตระกูล, สรัญยา ณ ลําปาง.ตรวจสอบความต้านทางต่อสารป้องกันกําจัดเชื้อราคาร์-เบนดาซิมของเชื้อรา Colletotrichum spp. สาเหตุโรคแอนแทรดโนสของมะม่วงพันธุ์น้ําดอกไม้โดยวิธี culturetest. สัมมนาวิชาการบัณฑิตศึกษาเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 6.12-13 มีนาคม 2552 คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> : หน้า 77-84.30. ถาวร อ่อนประไพ, เมธี เอกะสิงห์, เบญจพรรณเอกะสิงห์, ชาญชัย แสงชโยสวัสดิ์, วรวีรุกรณ์ วีระจิตต์,เทวินทร์ แก้วเมืองมูล.การประเมินสถานภาพลุ่มน้ําย่อยกรณีศึกษา; ลุ่มน้ําแม่ทา จ.เชียงใหม่ - จ.ลําพูน.การประชุมวิชาการระบบเกษตรแห่งชาติ ครั้งที่ 5. 2-4กรกฎาคม 2552. ณ โรงแรมอุบลอินเตอร์เนชั่นแนล.จ. อุบลราชธานี หน้า 386-394.31. ทาร์นิเทวี วิจายาเรทนาม, เบญจพรรณเอกะสิงห์. การประเมินความมั่นคงทางเศรษฐกิจของครัวเรือนยากจนในชนบทเมืองอัมพารา ประเทศศรีลังกา.สัมมนาวิชาการบัณฑิตศึกษาเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 6. 12-13 มีนาคม 2552 คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> : หน้า 147-152.32. ทาริกา สุทธสม, วีณัน บัณฑิตย์, ธวัชชัยรัตน์ชเลศ. การศึกษาลักษณะทางสัณฐานของมะม่วงเขียงมรกตสายต้นคัด. วารสารเกษตร. 25(3) ตุลาคม 2552หน้า 201-210.33. ธนะชัย พันธ์เกษมสุข, สาวิตรี ทิวงศ์,กนกธร วงศ์กิติ, บรรจง ปานดี, วรพงษ์ คําลือ, สราวุธศรีวรรณา, เวช เต๋จ๊ะ. การวิจัยและพัฒนาการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวเสาวรสหวาน. สัมมนาสรุปผลการดําเนินงานวิจัยของสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง. 29-30กันยายน 2552 ณ โรงแรมอิมพีเรียลแม่ปิง อําเภอเมืองจังหวัดเชียงใหม่. หน้า 175-178.34. ธวัชชัย รัตน์ชเลศ, รุ่งทิพย์ อุทุมพันธ์,บุศรา ลิ้มนิรันดร์กุล, พฤกษ์ ยิบมันตะสิริ. การจัดการความรู้ชุมชนเพื่อพัฒนาระบบการผลิตมะม่วงคุณภาพเพื่อการส่งออก: 1. การแลกเปลี่ยนเรียนรู้. การประชุมวิชาการระบบเกษตรแห่งชาติ ครั้งที่ 5. 2-4 กรกฎาคม 2552.ณ โรงแรมอุบลอินเตอร์เนชั่นแนล. จ. อุบลราชธานี หน้า80-87.35. ธีรวุธ ปัทมาศ, สุรินทร์ นิลสําราญจิต. ผลของการควั่นกิ่งต่อการแตกตา ปริมาณไนโตรเจน และคาร์โบไฮเดรตที่ไม่ใช่โครงสร้างในกิ่งของกีวีฟรุต. สัมมนาวิชาการบัณฑิตศึกษาเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 6. 12-13 มีนาคม 2552 คณะเกษตรศาสตร์<strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> : หน้า 63-70.36. ธีรวุธ ปัทมาศ, สุรินทร์ นิลสําราญจิต. ผลของการควั่นกิ่งและไฮโดรเจนไซยานาไมด์ต่อการแตกตาของกีวีฟรุตพันธุ์Bruno (Actinidia deliciosa C.F. Liang et. A.R. Ferguson).วารสารเกษตร. 25(3) ตุลาคม 2552 หน้า 191-200.37. นพปฎล ชูสมุทร, โชค มิเกล็ด, ณัฐพล จงกสิกิจ,ศุภฤกษ์ นาคกิตเศรษฐ, วิชิต สนลอย, ขนิษฐา ติคํา. ผลของการเลี้ยงแม่กระบือรีดนมพันธุ์เมซานาด้วยต้นข้าวโพดฝักอ่อนและหญ้าเนเปียร์ต่อปริมาณและคุณภาพน้ํานม. สัมมนาวิชาการบัณฑิตศึกษาเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 6. 12-13 มีนาคม 2552คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> : หน้า 237-242.38. นิสสา หวานเสนาะ, ธวัชชัย รัตน์เลศ. ประสิทธิผลของเอทธิฟอนเพื่อชักนําการหลุดร่วงของช่อดอกมะม่วงน้ําดอกไม้.วารสารเกษตร. 25(2) มิถุนายน 2552 หน้า 115-124.39. บุศรา ลิ ้มนิรันดร์กุล, พฤกษ์ ยิบมันตะสิริ, ช่อผกาม่วงสุข. การจัดการความหลากหลายชีวภาพทางเกษตรในภูมิเวศน์นาลุ ่มโดยเกษตรกรในจังหวัดพะเยา. วารสารเกษตร. 25(3) ตุลาคม2552 หน้า 267-278.40. บุศรา ลิ ้มนิรันดร์กุล, พฤกษ์ ยิบมันตะสิริ, ยุภาพรศิริบัติ. นวัตกรรมชุมชนท้องถิ่นและการจัดการระดับองค์กรในการเชื่อมโยงการผลิตและการตลาด:กรณีศึกษาธุรกิจเกษตรชายแดนไทย-ลาว. การประชุมวิชาการระบบเกษตรแห่งชาติ ครั้งที่ 5.2-4 กรกฎาคม 2552. ณโรงแรมอุบลอินเตอร์เนชั่นแนล.จ. อุบลราชธานี หน้า 266-274.41. บุศรา ลิ้มนิรันดร์กุล, มาณิชรา ทองน้อย, พฤกษ์ยิบมันตะสิริ, ยุภาพร ศิริบัติ. การเปลี่ยนกระบวนทัศน์ในกลุ่มสตรีเพื ่อการขับเคลื ่อนเกษตรอินทรีย์. ประชุมวิชาการระบบเกษตรแห่งชาติครั้งที่ 5. 2-4 กรกฎาคม 2552. ณโรงแรมอุบลอินเตอร์เนชั่นแนล.จ. อุบลราชธานี หน้า.485-490.42. ประทุมพร ขอดแก้ว, ณัฐา โพธาภรณ์. การถ่ายทอดลักษณะเกสรเพศผู้เป็นหมันของดอกดาวเรืองที่ไม่มีกลีบดอก.วารสารเกษตร. 25(2) มิถุนายน 2552 หน้า 95-100.ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ <strong>2553</strong>33


3443. ประชาลัด ขุนสี, เบญจพรรณ เอกะสิงห์.ผลประโยชน์ ต้นทุน และข้อจํากัดในการยอมรับระบบเกษตรแบบผสมผสานมียางพาราเป็นหลักที่แขวงอุดมไซสาธาณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว. สัมมนาวิชาการบัณฑิตศึกษาเกษตรศาสตร์ครั้งที่ 6. 12-13 มีนาคม2552 คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> : หน้า155-162.44. ปรินทร์ บ้วนกียาพันธุ์, โชค มิเกล็ด,เทิดชัย เวียรศิลป์, ขนิษฐา ติคํา. การใช้ประโยชน์จากการทําทุ่งหญ้าถั่วผสมแบบปลูกสลับเป็นแถบในการเลี้ยงโครีดนม. สัมมนาวิชาการบัณฑิตศึกษาเกษตรศาสตร์ครั้งที่ 6. 12-13 มีนาคม 2552 คณะเกษตรศาสตร์<strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> : หน้า 231-236.45. ปัทมาพร ปันทิยะ, เบญจพรรณ เอกะสิงห์.การประเมินมูลค่าความเต็มใจจ่ายของเกษตรกรเพื่อสนับสนุนการก่อตั้งกองทุนเหมืองฝายของชุมชนในลุ่มน้ําแม่ทา จังหวัดเชียงใหม่ และลําพูน. สัมมนาวิชาการบัณฑิตศึกษาเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 6. 12-13 มีนาคม2552 คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> : หน้า115-122.46. ปิยะพงศ์ ภูมิประพัทธ์, เบญจพรรณ เอกะสิงห์.การประเมินมูลค่าความเต็มใจจ่ายเพื่อโครงการแก้มลิงทุ่งทะเลหลวง จังหวัดสุโขทัย. สัมมนาวิชาการบัณฑิตศึกษาเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 6. 12-13 มีนาคม 2552คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> : หน้า 105-114.47. พนมวัน บุญช่วย, สิงตี้ วรเดช, ศันสนีย์จําจด, เบญจวรรณ ฤกษ์เกษม. ผลของเหล็กเป็นพิษในข้าว. สัมมนาวิชาการบัณฑิตศึกษาเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 6.12-13 มีนาคม 2552 คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> : หน้า 1-6.48. พลากร สํารีราษฎร์, สุชาดา เวียรศิลป์,ณัฐศักดิ์ กฤติกาเมษ, Dieter von Hörsten, WolfgangLücke, สงวนศักดิ์ ธนาพรพูนพงษ์. การปรับปรุงคุณภาพหลังการเก็บเกี่ยวของข้าวปทุมธานี 1 ด้วยคลื่นความถี่วิทยุ. สัมมนาทางวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 7. 19-20 สิงหาคม 2552 ณโรงแรม อ่าวนางวิลล่ารีสอร์ท อําเภอเมือง จังหวัดกระบี่.ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ <strong>2553</strong>49. พิชญ์สินี ปินตารินทร์, โสระยา ร่วมรังษี, จํานงค์อุทัยบุตร. ผลของระยะตัดดอกและกรด 5-ซัลโฟซาลิซิลิก ต่ออายุการปักแจกันของดอกปทุมมาพันธุ์เชียงใหม่สีชมพู. สัมมนาทางวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 7. 19-20สิงหาคม 2552 ณ โรงแรม อ่าวนางวิลล่ารีสอร์ท อําเภอเมืองจังหวัดกระบี่.50. พิชญ์สินี ปินตารินทร์, โสระยา ร่วมรังษี, จํานงค์อุทัยบุตร. ผลของระยะตัดดอกและกรด 5-ซัลโฟซาลิซิลิก ต่ออายุการปักแจกันของดอกปทุมมาพันธุ์เชียงใหม่สีชมพู. สัมมนาทางวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 7. 19-20สิงหาคม 2552 ณ โรงแรม อ่าวนางวิลล่ารีสอร์ท อําเภอเมืองจังหวัดกระบี่.51. พิชญา บุญประสม, ดนัย บุณยเกียรติ. กระบวนการลดอุณหภูมิโหระพาโดยใช้ระบบสุญญากาศ. สัมมนาทางวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 7. 19-20 สิงหาคม2552 ณ โรงแรม อ่าวนางวิลล่ารีสอร์ท อําเภอเมือง จังหวัดกระบี่.52. พิทยา สรวมศิริ, กรรณิกา ศรีลัย, ขวัญฤทัย คําฝาเชื ้อ.การวิจัยแบบมีส่วนร่วมเพื่อทดสอบวิธีการปรับปรุงคุณภาพผลิตภัณฑ์ปรุงรสจากเฮาะทีในระดับชุมชน. สัมมนาสรุปผลการดําเนินงานวิจัยของสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง. 29-30กันยายน 2552 ณ โรงแรมอิมพีเรียลแม่ปิง อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ . หน้า 46-52.53. พิทยา สรวมศิริ, กรรณิกา ศรีลัย, ฉัตรสุดาเผือกใจแผ้ว. การประยุกต์ใช้ปัจจัยการผลิตชีวภาพเพื่อลดการใช้สารเคมีเกษตรในการควบคุมโรคแมลงในการเพาะปลูกพืชตระกูลกะหล่ํา มะเขือเทศและพริกกะเหรี่ยงบนพื้นที่สูง. สัมมนาสรุปผลการดําเนินงานวิจัยของสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง. 29-30กันยายน 2552 ณ โรงแรมอิมพีเรียลแม่ปิง อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่. หน้า 60-62.54. ภาวินี จันทร์วิจิตร, ธวัชชัย รัตน์เลศ, นันทรัตน์ศุภกําเนิด. การใช้ความสมดุลธาตุอาหารเพื่อปรับปรุงผลผลิตและคุณภาพของส้มสายน้ําผึ้ง: 3. ผลของพัฒนาการของผลต่อความเข้มข้นของธาตุอาหารในใบ. วารสารเกษตร. 25(2) มิถุนายน2552 หน้า 109-114.55. ภาวินี จันทร์วิจิตร, ธวัชชัย รัตน์เลศ, นันทรัตน์ศุภกําเนิด. การใช้ความสมดุลธาตุอาหารเพื ่อปรับปรุงผลผลิตและคุณภาพของส้มสายน้ ําผึ ้ง: 4. ผลของอายุกิ ่งต่อความเข้มข้นของธาตุอาหารในกิ ่ง. วารสารเกษตร. 25(3) ตุลาคม 2552 หน้า 185-190.


5. Ekasingh B. Special issue on simulationand modelling in the Asia-Pacific region Preface.ENVIRONMENTAL MODELLING & SOFTWARE.Vol. 24, Issue: 12, Special Issue: Sp. Iss. SI,P. 1353-1353, DEC 2009.6. Ekasingh B., Ngamsomsuke K. Searchingfor simplified farmers’ crop choice models for integratedwatershed management in Thailand: Adata mining approach. ENVIRONMENTAL MOD-ELLING & SOFTWARE. Vol. 24, Issue: 12, SpecialIssue: Sp. Iss. SI, P. 1373-1380, DEC 2009.7. Inkha S., Boonyakiat D., Srichuwong S.Effect of heat treatment on green mold infectionin tangerine fruit cv. Sai Num Pung. Chiang MaiUniversity Journal of Natural Sciences. Vol. 8,Issue 1, P. 85-93 January 2009.8. Innok S., Chunleuchanon S., Boonkerd N.,Teaumroong N. Cyanobacterial akinete inductionand its application as biofertilizer for ricecultivation. JOURNAL OF APPLIED PHYCOLOGY.Vol. 21, Issue: 6, P. 737-744, DEC 2009.9. Jaturasitha S., Khiaosa-ard R.,Pongpiachan P., Kreuzer M. Early deposition ofn-3 fatty acids from tuna oil in lean and adiposetissue of fattening pigs is mainly permanent.Journal of Animal Science. Vol. 87, Issue: 2,P. 693-703, FEB 2009.10. Jaturasitha S., Norkeaw R., Vearasilp T.,Wicke M., Kreuzer M. Carcass and meat qualityof Thai native cattle fattened on Guinea grass(Panicum maxima) or Guinea grass-legume(Stylosanthes guianensis) pastures. Meat Science.Vol. 81, Issue: 1, P. 155-162, JAN 2009.11. Jaturasitha S., Petra, N. SanghuaypraiM. Wicke M. Kreuzer. Effect of roughage:concentrate ratio on fatty acid composition ofthe Longissimus dorsi of mature buffaloes.Proceding of the conference on Von der Billigmarke zurSpezialitaet : Beitrag der Tierenaehrung in derLebelproduktion. May 5th 2009 Zurich, SwitzerlandP. 90-93.12. Kanokwan Sringarm, Supwadee Boonturn,Daruni Naphrom. Determianation of effective planthormones in liquid biofertilizer. CMU-KU SYMPOSIUM2009. September 22-23, 2009. The Imperial Mae PingHotel, Chiang Mai. P.50-53.13. Khambualai O., Yamauchi K., TangtaweewipatS., Cheva-Isarakul B. Growth performance and intestinalhistology in broiler chickens fed with dietary chitosan.BRITISH POULTRY SCIENCE. Vol. 50, Issue: 5, P. 592-597, 2009.14. Konsaeng S., Dell B., Rerkasem B. Boronmobility in peanut (Arachis hypogaea L.). Plant and Soil.P. 1-9. 2009.15. Krasaechai A., Yu L.D., Sirisawad T.,Phornsawatchai T., Bundithya W., Taya U., nuntalabhochaiS., Vilaithong T. Low-energy ion beam modification ofhorticultural plants for induction of mutation. Surface &Coatings Technology. Vol. 203 Issue 17/18, P. 2525-2530, Jun 2009.16. Monyda Cheach, Dumnern karladee, AmpanBhromsiri. Situation of soybean cultivation in the rubbertree Plantation in Cambodia and preliminary study ofnative soybean root nodule bacteria from thisecosystem. CMU-KU SYMPOSIUM 2009. September22-23, 2009. The Imperial Mae Ping Hotel, Chiang Mai.P.36-45.17. Nateewattana J., Trichaiyaporn S., SaouyM., Nateewattana J., Thavornyutikarn P., Pengchai P.,Choonluchanon S. Monitoring of arsenic in aquaticplants, water, and sediment of wastewater treatmentponds at the Mae Moh Lignite power plant, Thailand.Environ Monit Assess. May 20 2009.ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ <strong>2553</strong>37


3818. Nattapong Nuandee, PornprapaKongtragoul, Wassamon Boonying, Iman Hidayat,Yoko Miyamoto, Chikako Miyake, Yuriko Izumi,kazuya Akimitsu, Sarunya Nalumpang. Geneticanalysis of β-tublin grne fragments fromcarbendacim-resistant Cercospora lactucae-sativaeon lettuce. CMU-KU SYMPOSIUM 2009.September 22-23, 2009. The Imperial Mae PingHotel, Chiang Mai. P.80-84.19. Nikornpun M., Sukwiwat K., ChaimokolC., Payakhapaab A., Boonyakiat D. Morphologicaldescriptors and male sterility in the genetic diversityof chillies (Capsicum annuum L.). Actahorticulturae. Vol. 809, P. 201-208, JAN 2009.20. Niruntrayakul S., Rerkasem B.,Jamjod S. Crossability between cultivated rice(Oryza sativa) and common wild rice (O. rufipogon)and characterization of F-1 and F-2 populations.SCIENCEASIA. Vol. 35, Issue: 2, P. 161-169, JUN2009.21. Osono T., Ishii Y., Takeda H.,Seramethakun T., Khamyong S., To-Anun C.,Hirose D., Tokumasu S., Kakishima M. Fungalsuccession and lignin decomposition on Shoreaobutsa leaves in a tropical seasonal forest innorthern Thailand. FUNGAL DIVERSITY. Vol. 36,P. 101-119, MAY 31 2009.22. Peoples M. B., Brockwell J., HerridgeD. F., Rochester I. J., Alves B. J. R., Urquiaga S.,Boddey R. M., Dakora F. D., Bhattarai S., MaskeyS. L., Sampet C., Rerkasem B., Khan D. F.,Hauggaard-Nielsen H., Jensen E. S. The contributionsof nitrogen-fixing crop legumes to theproductivity of agricultural systems. SYMBIOSIS.Vol. 48, Issue: 1-3, P. 1-17, 2009.ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ <strong>2553</strong>23. Pingintha N., Leclerc M.Y., Beasley Jr., ZhangG., Senthong C., Rowland D. Hysteresis response ofdaytime net ecosystem CO2 exchange during a drought.Biogeosciences Discussions. Vol. 6, Issue 6, P. 10707-10735, 2009.24. Piyapat Trisonthi, Pittaya Sruamsiri, NarumolThongwai. Sermsakul Pojankarun, Surutwadee Pak-uthai,Hirotoshi Tamura, Atsushi Yamagami, katsumi Umano.Volatiles of Litsea cubeba, Possibility as biopesticide andmulti-functional additives. CMU-KU SYMPOSIUM 2009.September 22-23, 2009. The Imperial Mae Ping Hotel,Chiang Mai. P.21-25.25. Pornprapa Kongtragoul. Yoko Miyamoto,Chikako Miyake, Yuriko Izumi, kazuya Akimitsu, SarunyaNalumpang. Detection of carbendazim-resistantColletorichum gloeosporioides causing mango anthracnosedisease. CMU-KU SYMPOSIUM 2009. September22-23, 2009. The Imperial Mae Ping Hotel, Chiang Mai.P. 9-15.26. Potchanasin P., Sringarm K., Naphrom D.,Bangerth KF. Floral induction in longan (Dimocarpuslongan, Lour.) trees IV. The essentiality of mature leavesfor potassium chlorate induced floral induction andassociated hormonal changes. SCIENTIA HORTICULTURAE.Vol. 122, Issue: 2, P. 312-317, SEP 17 2009.27. Potchanasin P., Sringarm K., Sruamsiri P.,Bangerth KF. Floral induction (FI) in longan (Dimocarpuslongan, Lour.) trees: Part I. Low temperature andpotassium chlorate effects on FI and hormonal changesexerted in terminal buds and sub-apical tissue.SCIENTIA HORTICULTURAE. Vol. 122, Issue: 2, P. 288-294, SEP 17 2009.28. Prakob W., Jaimasit P., Nguen-Hom J.,Silapapongpri S., Thanunchai J. and Chaisuk P. BiologicalControl of Lettuce Root-Knot Disease by the use ofPseudomonas aeruginosa, Bacillus subtilis and Paecilomyceslilacinus. Journal of Agricultural Technology. Vol. 5 Issue1, P. 179-191. 2009.


29. Prom-u-thai C., Glahn RP., ChengZQ., Fukai S., Rerkasem B., Huang LB. The bioavailabilityof iron fortified in whole grain parboiledrice. Food Chemistry. Vol. 112 Issue: 4 P. 982-986, FEB 15 2009.30. Prom-u-thai C., Rerkasem B., FukaiS., Huang LB. Iron fortification and parboiled ricequality: appearance, cooking quality andsensory attributes. JOURNAL OF THE SCIENCEOF FOOD AND AGRICULTURE. Vol. 89, Issue: 15,P. 2565-2571, DEC 2009.31. Pusadee T., Jamjod S., Chiang YC.,Rerkasem B., Schaal BA. Genetic structure andisolation by distance in a landrace of Thai rice.PROCEEDINGS OF THE NATIONAL ACADEMY OFSCIENCES OF THE UNITED STATES OF AMERICA.Vol. 106, Issue: 33, P. 13880-13885, AUG 182009.32. Rahman S., Wiboonpongse A.,Sriboonchitta S., Chaovanapoonphol Y. ProductionEfficiency of Jasmine Rice Producers in Northernand North-eastern Thailand. Journal of AgriculturalEconomics. Vol. 60, Issue: 2, P. 419-435, JUN2009.33. Rahman S., Wiboonpongse A.,Sriboonchitta S., Chaovanapoonphol Y. ProductionEfficiency of Jasmine Rice Producers in Northernand North-eastern Thailand. Journal of agriculturaleconomics. Vol. 60, Issue: 2, P. 419-435, JUN2009.34. Rerkasem K., Yimyam N., RerkasemB. Land use transformation in the mountainousmainland Southeast Asia region and the role ofindigenous knowledge and skills in forestmanagement. Forest ecology and management.Vol. 257, Issue: 10, P. 2035-2043, APR 302009.35. Roongruangsri W., Rattanapanone N.,Boonyakiat D. Evaluation of a polyethylene-candelillacoating for tangerine fruit cv. Sai Num Pung. Chiang MaiUniversity Journal of Natural Sciences. Vol. 8, Issue P.67-76, January 2009.36. Samranpong C., Ekasingh B., Ekasingh M.Economic land evaluation for agricultural resource managementin Northern Thailand. ENVIRONMENTAL MOD-ELLING & SOFTWARE. Vol. 24 Issue: 12, Special Issue:Sp. Iss. SI, P. 1381-1390, DEC 2009.37. Saritnum O., Sruamsiri P., Minami M.,Matsushima KI., Nemoto K. GENETIC RELATIONSHIPOF GALANGAL (Alpinia galanga Willd.) IN THAILAND BYRAPID ANALYSIS. SABRAO JOURNAL OF BREEDING ANDGENETICS. Vol. 41, Issue: 1, P. 69-76. JUN 2009.38. Sringarm K., Potchanasin P., Naphrom D.,Bangerth KF. Floral induction (FI) in longan (Dimocarpuslongan, Lour.) trees. III: Effect of shading the trees onpotassium chlorate induced FI and resulting hormonalchanges in leaves and shoots. SCIENTIA HORTICULTURAE.Vol. 122, Issue: 2, P. 301-311, SEP 17 2009.39. Sringarm K., Potchanasin P., Sruamsiri P.,Bangerth KF. Floral induction (FI) in longan (Dimocarpuslongan, Lour.) trees-The possible participation ofendogenous hormones II. Low temperature and potassiumchlorate effects on hormone concentrations in andtheir export out of leaves. SCIENTIA HORTICULTURAE.Vol. 122, Issue: 2, P. 295-300, SEP 17 2009.40. Suppadit T., Jaturasitha S., Selasat W.,Norkeaw R., Poungsuk P., Pripwai N. Effect of dietarydried milky sludge on productive performance and eggquality in laying Japanese quails. Animal science journal.Vol. 80, Issue: 3, P. 310-315, JUN 2009.41. Teltathum T., Mekchay S. Proteome Changesin Thai Indigenous Chicken Muscle during Growth Period.INTERNATIONAL JOURNAL OF BIOLOGICAL SCIENCES.Vol. 5, Issue. 7, P. 679-685, 2009.ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ <strong>2553</strong>39


42. Thanchai Pankasemsuk. Ellagic acidin longan cv. Daw. CMU-KU SYMPOSIUM 2009.September 22-23, 2009. The Imperial Mae PingHotel, Chiang Mai. P.31-35.43. Thobunluepop P., Pan-In W., PawelzikE., Vearasilp S. The perspective effects ofvarious seed coating substances on rice seedvariety khao dawk mali 105 storability II: Thecase study of chemical and biochemical propert.Pakistan Journal of Biological Sciences. Vol. 12,Issue 7, P. 574-581, 2009.44. Tuda M., Wu LH., Tateishi Y.,Niyomdham C., Buranapanichpan S., Morimoto K.,Wu WJ., Wang CP., Chen ZQ., Zhu HY., ZhangYC., Murugan K., Chou LY., Johnson CD. A novelhost shift and invaded range of a seed predator,Acanthoscelides macrophthalmus (Coleoptera:Chrysomelidae: Bruchinae), of an invasive weed,Leucaena leucocephala. Entomological Science.Vol. 12, Issue: 1, P. 1-8 MAR 2009.45. Wassamon Boonying, Yoko Miyamoto,Chikako Miyake, Yuriko Izumi, Kazuya Akimitsu, SarunyaNalumpang. Detection β-tubulin gene of carbendazimresistantColletotrichum spp. Causing chilli anthracnose.CMU-KU SYMPOSIUM 2009. September 22-23, 2009.The Imperial Mae Ping Hotel, Chiang Mai. P.85-89.46. Wulandari NF., To-Anun C., Hyde KD., DuongLM., de Gruyter J., Meffert JP., Groenewald JZ., Crous PW.Phyllosticta citriasiana sp nov., the cause of Citrus tanspot of Citrus maxima in Asia. FUNGAL DIVERSITY. Vol.34, P. 23-39, JAN 31 2009.47. Yaowaluk Chanbang,Bantoone Warrit,Chawalit Korsamphan, Warapong Boonma, PrasertKhamon, Nithi Thaisantad, Sombat Srichuwong, ThawornSupawong, Pishayapa Thongmalai. Using multiple funneltrap in combinations with CMU-C1 lure for thesurveillance of coffee berry borer. CMU-KU SYMPOSIUM2009. September 22-23, 2009. The Imperial Mae PingHotel, Chiang Mai. P.16-20.หมายเหตุ : ข้อมูลตามปีปฏิทิน 2552 (นับเฉพาะอาจารย์) ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน <strong>2553</strong>40ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ <strong>2553</strong>


ชื่อบทความวิจัยชื่อวารสารที่ลงตีพิมพ์ชื่อผู้ร่วมหลักและผู้ร่วมรองชื่อ refereedjournal/ ชื่อฐานข้อมูลระดับชาติหรือนานาชาติที่นําไปอ้างอิง1. Ecological factors associated with pest statusin Callosobruchus (Coleoptera : Bruchidae):high host specificity of non-pests to Cajaninae(Fabaceae)2. Evolutionary diversification of the bean beetlegenus Callosobruchus (Coleoptera : Bruchidae):traits associated with stored-product peststatus3. When insects help to resolve plant phylogeny:evidence for a paraphyletic genus Acacia fromthe systematics and host-plant range of theirseed-predators4. Hull characteristics as related tosusceptibility of different varieties of rough riceto Rhyzopertha dominica (F.) (Coleoptera :Bostrichidae)5. Efficacy of diatomaceous earth and methoprene,alone and in combination, against Rhyzoperthadominica (F.) (Coleoptera : Bostrichidae) in roughriceJOURNAL OFSTORED PRODUCTSRESEARCHVolume: 41 Issue:1 Pages: 31-45Published: 2005MOLECULARECOLOGYVolume: 15 Issue:12 Pages: 3541-3551 Published:OCT 2006ZOOLOGICASCRIPTAVolume: 36 Issue: 2Pages: 143-152Published: MAR2007JOURNAL OFSTORED PRODUCTSRESEARCHVolume: 44 Issue: 3Pages: 205-212Published: 2008JOURNAL OFSTORED PRODUCTSRESEARCHVolume: 43 Issue: 4Pages: 396-401Published: 2007Tuda M, Chou LY,Niyomdham C,Buranapanichpan S,Tateishi Y.Tuda, M., Ronn, J.,Buranapanichpan S .,Wasano N.,Arnqvist G.Kergoat GJ.,Silvain JF.,Buranapanichpan S.,Tuda M.Chanbang Y.,Arthur FH.,Wilde GE.,Throne JE.Chanbang Y.,Arthur FH.,Wilde GE.,Throne JE.ISI Web ofScience(อ้างอิง 4 ครั้ง)ISI Web ofScience(อ้างอิง 5 ครั้ง)ISI Web ofScience(อ้างอิง 1 ครั้ง)ISI Web ofScience(อ้างอิง 3 ครั้ง)ISI Web ofScience(อ้างอิง 1 ครั้ง)ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ <strong>2553</strong>41


ชื่อบทความวิจัยชื่อวารสารที่ลงตีพิมพ์ชื่อผู้ร่วมหลักและผู้ร่วมรองชื่อ refereedjournal/ ชื ่อฐานข้อมูลระดับชาติหรือนานาชาติที่นําไปอ้างอิง6. Arbuscular mycorrhizal fungi in the rhizosphereof Macaranga denticulata Muell. Arg.,and their effect on the host plantAGROFORESTRYSYSTEMSVolume: 60 Issue: 3Pages: 239-246Published: 2004Youpensuk S,Lumyong S,Dell B, Rerkasem BISI Web ofScience(อ้างอิง 1 ครั้ง)7. Fallow enrichment with pada (Macarangadenticulata (Bl.) Muell. Arg.) trees in rotationalshifting cultivation in northern Thailand8. Morphological and physiological responses ofrice (Oryza sativa) to limited phosphorus supplyin aerated and stagnant solution culture9. Nitrogen fertilizer increases seed protein andmilling quality of rice10. Genetic control of boron efficiency in wheat(Triticum aestivum L.)11. Iron (Fe) bioavailability and the distribution ofanti-Fe nutrition biochemicals in the unpolished,and bran fraction of five rice gei polished grainriotypes12. Agrodiversity lessons in mountain landmanagementAGROFORESTRYSYSTEMSVolume: 57 Issue: 2Pages: 79-86Published: FEB 2003ANNALS OF BOTANYVolume: 98 Issue: 5Pages: 995-1004Published: NOV2006CEREAL CHEMISTRYVolume: 82 Issue: 5Pages: 588-593Published: SEP-OCT2005EUPHYTICAVolume: 135 Issue: 1Pages: 21-27Published: 2004JOURNAL OF THESCIENCE OF FOODAND AGRICULTUREVolume: 86 Issue: 8Pages: 1209-1215Published: JUN2006MOUNTAINRESEARCH ANDDEVELOPMENTVolume: 22 Issue: 1Pages: 4-9Published: FEB 2002Yimyam N,Rerkasem K,Rerkasem B.Insalud N.,Bell RW.,Colmer TD.,Rerkasem B.Leesawatwong M,Jamjod S, Kuo J,Dell B, Rerkasem B.Jamjod S,Niruntrayagul S,Rerkasem B.Prom-U-Thai C,Huang LB, Glahn RP,Welch RM, Fukai S,Rerkasem B.Rerkasem K, YimvamN,Korsamphan C,Thong-Ngam C,Rerkasem B.ISI Web ofScience(อ้างอิง 2 ครั้ง)ISI Web ofScience(อ้างอิง 2 ครั้ง)ISI Web ofScience(อ้างอิง 2 ครั้ง)ISI Web ofScience(อ้างอิง 1 ครั้ง)ISI Web ofScience(อ้างอิง 2 ครั้ง)ISI Web ofScience(อ้างอิง 1 ครั้ง)42ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ <strong>2553</strong>


ชื่อบทความวิจัยชื่อวารสารที่ลงตีพิมพ์ชื่อผู้ร่วมหลักและผู้ร่วมรองชื่อ refereedjournal/ ชื ่อฐานข้อมูลระดับชาติหรือนานาชาติที่นําไปอ้างอิง13. A survey of woody tropical species for boronretranslocation14. Effects of drying methods and storage timeon the aroma and milling quality of rice (Oryzasativa L.) cv. Khao Dawk Mali 10515. Non-uniformity of grain characteristics andmilling quality of california rice (Oryza sativa L.)of different maturitiesPLANT PRODUCTIONSCIENCEVolume: 8 Issue: 3Special Issue: Sp.Iss. SI Pages: 338-341 Published: JUL2005FOOD CHEMISTRYVolume: 87 Issue: 3Pages: 407-414Published: SEP2004JOURNAL OFAGRONOMY ANDCROP SCIENCEVolume: 188Issue: 3Pages: 161-167Published: JUN2002Konsaeng S, Dell B,Rerkasem B.Wongpornchai S,Dumri K,JongkaewwattanaS,Sirri B.JongkaewwattanaS,Geng S.ISI Web ofScience(อ้างอิง 3 ครั้ง)ISI Web ofScience(อ้างอิง 6 ครั้ง)ISI Web ofScience(อ้างอิง 1 ครั้ง)16. Inter-relationships amongst grain characteristics,grain-filling parameters and rice (Oryzasativa L.) milling qualitJOURNAL OFAGRONOMY ANDCROP SCIENCEVolume: 187Issue: 4Pages: 223-229Published: DEC2001JongkaewwattanaS,Geng S.ISI Web ofScience(อ้างอิง 1 ครั้ง)ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ <strong>2553</strong>43


44ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ <strong>2553</strong>ชื่อบทความวิจัย17. Retention of iodine in fortified parboiled riceand its pasting characteristics during storage18. Low-energy ion bearn-induced mutation inThai jasmine rice - (Oryza sativa L. cv. KDML105)19. Year around off season flower inductionin longan (Dimocarpus longan, Lour.) trees byKClO3 applications: potentials and problems20. Accumulation of all-trans-beta-caroteneand its 9-cis and 13-cis stereoisomers duringpostharvest ripening of nine Thai mango cultivars21. Characterization of the Arabidopsis metallothioneingene family: tissue-specific expressionand induction during senescence and in responseto copper22. Utility of 1-methylcyclopropene as a papayapostharvest treatmentชื่อวารสารที่ลงตีพิมพ์JOURNAL OF FOODBIOCHEMISTRYVolume: 31 Issue: 2Pages: 217-229Published: APR2007SURFACE &COATINGSTECHNOLOGYVolume: 201Issue: 19-20Pages: 8024-8028Published: AUG 52007SCIENTIAHORTICULTURAEVolume: 104 Issue: 4Pages: 379-390Published: MAY 152005JOURNAL OFAGRICULTURALAND FOODCHEMISTRYVolume: 53 Issue: 12Pages: 4827-4835Published: JUN 152005NEW PHYTOLOGISTVolume: 159 Issue: 2Pages: 369-381Published: AUG2003POSTHARVESTBIOLOGY ANDTECHNOLOGYVolume: 44 Issue: 1Pages: 55-62Published: APR2007ชื่อผู้ร่วมหลักและผู้ร่วมรองTulyathan V.,Laokuldilok T.,Jongkaewwattana S.Phanchaisri B.,Chandet R.,Yu LD.,Vilaithong T.,Jamjod S.,Anuntalabhochai S.Manochai P,Sruamsiri P,Wiriya-alongkorn W,Naphrom D,Hegele M,Bangerth F.Vasquez-CaicedoAL, Sruamsiri P,Carle R, Neidhart S.Guo WJ,Bundithya W,Goldsbrough PB.Manenoi A.,Bayogan ERV.,Thumdee S.,Paull RE.ชื่อ refereedjournal/ ชื ่อฐานข้อมูลระดับชาติหรือนานาชาติที่นําไปอ้างอิงISI Web ofScience(อ้างอิง 1 ครั้ง)ISI Web ofScience(อ้างอิง 1 ครั้ง)ISI Web ofScience(อ้างอิง 9 ครั้ง)ISI Web ofScience(อ้างอิง 1 ครั้ง)ISI Web ofScience(อ้างอิง 13ครั้ง)ISI Web ofScience(อ้างอิง 5 ครั้ง)


ชื่อบทความวิจัย23. Determination of the uptake and utilization ofnitrogen in Curcuma alismatifolia Gagnep. usingN-15 isotope24. Assessment of genetic diversity in Thaiisolates of pyricularia grisea by randomamplification of polymorphic DNA25. Gene expression during oosporogenesis inheterothallic and homothallic Phytophthora26. Overexpression of citrus polygalacturonaseinhibitingprotein in citrus black rot pathogenAlternaria citri27. A data mining approach to simulatingfarmers’ crop choices for integrated waterresources management28. Successes and failures to embed socioeconomicdimensions in integrated natural resourcemanagement modeling: Lessons from Thailandชื่อวารสารที่ลงตีพิมพ์SOIL SCIENCE ANDPLANT NUTRITIONVolume: 52 Issue: 2Pages: 221-225Published: APR2006JOURNAL OFPHYTOPATHOLOGYVolume: 156Issue: 4Pages: 196-204Published: APR2008FUNGAL GENETICSAND BIOLOGYVolume: 44 Issue: 8Pages: 726-739Published: AUG2007JOURNAL OFPLANT PHYSIOLOGYVolume: 164Issue: 5Pages: 527-535Published: MAY2007JOURNAL OFENVIRONMENTALMANAGEMENTVolume: 77 Issue: 4Pages: 315-325Published: DEC2005MATHEMATICSAND COMPUTERSIN SIMULATIONVolume: 78Issue: 2-3Pages: 137-145Published: JUL 2008ชื่อผู้ร่วมหลักและผู้ร่วมรองRuamrungsri S,Ohtake N,Sueyoshi K,Ohyama TSirithunya P.,Sreewongchai T.,Sriprakhon S.,Toojinda T.,Pimpisithavorn S.,Kosawang C.,Smitamana P.Prakob W.,Judelson HS.Katoh H.,Nalumpang S.,Yamamoto H.,Akimitsu K.Ekasingh B,Ngamsomsuke K,Letcher RA,Spate JEkasingh B.,Letcher RA.ชื่อ refereedjournal/ ชื ่อฐานข้อมูลระดับชาติหรือนานาชาติที่นําไปอ้างอิงISI Web ofScience(อ้างอิง 1 ครั้ง)ISI Web ofScience(อ้างอิง 1 ครั้ง)ISI Web ofScience(อ้างอิง 3 ครั้ง)ISI Web ofScience(อ้างอิง 1 ครั้ง)ISI Web ofScience(อ้างอิง 4 ครั้ง)ISI Web ofScience(อ้างอิง 2 ครั้ง)ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ <strong>2553</strong>45


46ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ <strong>2553</strong>ชื่อบทความวิจัย29. Participatory computer simulation to supportcollective decision-making: Potential and limits ofstakeholder involvement30. Estimation of variance components forproduction and fertility traits in Northern Thaidairy cattle to define optimal breeding strategies31. Influence of crude xylanase from Aspergillusniger FAS128 on the in vitro digestibility andproduction performance of piglets32. Effects of tropical climate on reproduction ofcross- and purebred Friesian cattle in northernThailand33. Polymorphic sites in exon 15 and 30 of theporcine C3 gene34. Molecular characterization of the pig C3 geneand its association with complement activityชื่อวารสารที่ลงตีพิมพ์LAND USE POLICYVolume: 25 Issue: 4Pages: 498-509Published: OCT2008ARCHIV FURTIERZUCHT-ARCHIVES OF ANIMAL BREEDINGVolume: 48 Issue: 3Pages: 233-246Published: 2005ANIMAL FEEDSCIENCE ANDTECHNOLOGYVolume: 140Issue: 1-2Pages: 125-138Published: JAN 12008ASIAN-AUSTRALASIANJOURNAL OFANIMAL SCIENCESVolume: 16 Issue: 7Pages: 952-961Published: JUL2003ANIMAL GENETICSVolume: 32 Issue: 1Pages: 46-47Published: FEB 2001MMUNOGENETICSVolume: 54Issue: 10Pages: 714-724Published: JAN2003ชื่อผู้ร่วมหลักและผู้ร่วมรองBecu N.,Neef A.,Schreinemachers P.,Sangkapitux C.Konig S,Chongkasikit N,Langholz HJ.Tapingkae W.,Yachai M.,Visessanguan W.,Pongtanya P.,Pongpiachan P.Pongpiachan P,Rodtian P,Ota K.Wimmers K,Mekchay S,Ponsuksili S,Hardge T, Yerle M,Schellander KWimmers K,Mekchay S,Schellander K,Ponsuksili S.ชื่อ refereedjournal/ ชื ่อฐานข้อมูลระดับชาติหรือนานาชาติที่นําไปอ้างอิงISI Web ofScience(อ้างอิง 2 ครั้ง)ISI Web ofScience(อ้างอิง 1 ครั้ง)ISI Web ofScience(อ้างอิง 1 ครั้ง)ISI Web ofScience(อ้างอิง 1 ครั้ง)ISI Web ofScience(อ้างอิง 1 ครั้ง)ISI Web ofScience(อ้างอิง 1 ครั้ง)


ชื่อบทความวิจัย35. Quantification of DNA binding, uptake,transmission and expression in bovine spermmediated gene transfer by RT-PCR: Effect oftransfection reagent and DNA architecture36. Enrichment of pork with omega-3 fatty acidsby tuna oil supplements: Effects on performanceas well as sensory, nutritional and processingproperties of pork37. Reducing toughness of beef from Bos indicusdraught steers by injection of calcium chloride:Effect of concentration and time postmortem38. Differences in carcass and meat characteristicsbetween chicken indigenous to northernThailand (Black-Boned and Thai native) andimported extensive breeds (Bresse and RhodeIsland Red)39. Molecular characterization of the porcinetestis-specific phosphoglycerate kinase 2 (PGK2)gene and its association with male fertility40. Iron-fortified parboiled rice - A novel solutionto high iron density in rice-based dietsชื่อวารสารที่ลงตีพิมพ์THERIOGENOLOGYVolume: 67 Issue: 6Pages: 1097-1107Published: APR 12007ASIAN-AUSTRAL-ASIAN JOURNAL OFANIMAL SCIENCESVolume: 15 Issue: 11Pages: 1622-1633Published: NOV 2002MEAT SCIENCEVolume: 68 Issue: 1Pages: 61-69Published: SEP2004POULTRY SCIENCEVolume: 87 Issue: 1Pages: 160-169Published: JAN2008MAMMALIANGENOMEVolume: 15 Issue: 12Pages: 996-1006Published: DEC2004Food ChemistryVolume 110, Issue 2September 2008,Pages 390-398ชื่อผู้ร่วมหลักและผู้ร่วมรองHoelker M.,Mekchay S.,Schneider H.,Bracket BG.,Tesfaye D.,Jennen D.,Tholen E.,Gilles M.,Rings F.,Griese J.,Schellander K.Jaturasitha S,WudthithumkanapornY,Rurksasen P,Kreuzer MJaturasitha S,Thirawong P,Leangwunta V,Kreuzer M.Jaturasitha S.,Srikanchai T.,Kreuzer M.,Wicke M.Chen KF,Knorr C, Moser G,Gatphayak K,Brenig B.Prom-u-thaia C.,Fukaia S.,Godwin ID.,Rerkasemb B.Huangc L.ชื่อ refereedjournal/ ชื ่อฐานข้อมูลระดับชาติหรือนานาชาติที่นําไปอ้างอิงISI Web ofScience(อ้างอิง 3 ครั้ง)ISI Web ofScience(อ้างอิง 1 ครั้ง)ISI Web ofScience(อ้างอิง 1 ครั้ง)ISI Web ofScience(อ้างอิง 3 ครั้ง)ISI Web ofScience(อ้างอิง 2 ครั้ง)ISI Web ofScience(อ้างอิง 2 ครั้ง)ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ <strong>2553</strong>47


ชื่อบทความวิจัย41. Species composition and vegetationstructure of an upper montane forest at thesummit of Mt. Doi Inthanon, Thailand42. Effect of grain morphology on degree ofmilling and iron loss in rice43. Variation of grain iron content in a localupland rice germplasm from the village of HuaiTee Cha in northern Thailandชื่อวารสารที่ลงตีพิมพ์NORDIC JOURNALOF BOTANYVolume: 23 Issue: 1Pages: 83-97Published: 2004CEREAL CHEMISTRYVolume: 84 Issue: 4Pages: 384-388Published: JUL-AUG2007EUPHYTICAVolume: 158Issue: 1-2Pages: 27-34Published: NOV200744. Boron deficiency in wheat: a review FIELD CROPSRESEARCHVolume: 89Issue: 2-3Pages: 173-186Published: OCT 8200445. Effects of arbuscular mycorrhizal fungi ona fallow enriching tree (Macaranga denticulata)FUNGAL DIVERSITYVolume: 18Pages: 189-199Published: FEB 1200546. Transforming subsistence cropping in Asia PLANT PRODUCTIONSCIENCEVolume: 8 Issue: 3Special Issue: Sp.Iss. SI Pages: 275-287 Published: JUL2005ชื่อผู้ร่วมหลักและผู้ร่วมรองKhamyong S,Lykke AM,Seramethakun D,Barfod AS.Prom-u-thai C.,Sanchai C.,Rerkasem B.,Jamjod S.,Fukai S.,Godwin ID.,Huang L.Pintasen S.,Prom-u-thai C.,Jamjod S.,Yimyam N.,Rerkasem B.Rerkasem B,Jamjod S.Youpensuk S,Rerkasem B, Dell B,Lumyong SRerkasem B.ชื่อ refereedjournal/ ชื่อฐานข้อมูลระดับชาติหรือนานาชาติที่นําไปอ้างอิงISI Web ofScience(อ้างอิง 1 ครั้ง)ISI Web ofScience(อ้างอิง 2 ครั้ง)ISI Web ofScience(อ้างอิง 1 ครั้ง)ISI Web ofScience(อ้างอิง 2 ครั้ง)ISI Web ofScience(อ้างอิง 1 ครั้ง)ISI Web ofScience(อ้างอิง 1 ครั้ง)48ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ <strong>2553</strong>


ชื่อบทความวิจัย47. Flowering in langan (Dimocarpus longan l.)induced by hormonal changes following KClO3application48. Yield and Quality of Pectins Extractable fromthe Peels of Thai Mango Cultivars Depending onFruit Ripenessชื่อวารสารที่ลงตีพิมพ์EUROPEANJOURNAL OFHORTICULTURALSCIENCEVolume: 73 Issue: 2Pages: 49-54Published: APR2008JOURNAL OFAGRICULTURALAND FOODCHEMISTRYVolume: 56Issue: 22Pages: 10727-10738 Published:NOV 26 2008ชื่อผู้ร่วมหลักและผู้ร่วมรองgele M.,Manochai P.,Naphrom D.,Sruamsiri P.,Wunsche J.Suparat S.,Nagel A.,Sruamsiri P.,Carle R.,Neidhart S.ชื่อ refereedjournal/ ชื่อฐานข้อมูลระดับชาติหรือนานาชาติที่นําไปอ้างอิงISI Web ofScience(อ้างอิง 1 ครั้ง)ISI Web ofScience(อ้างอิง 1 ครั้ง)49. Control of Rhyzopertha dominica in storedrough rice through a combination of diatomaceousearth and varietal resistanceINSECT SCIENCEVolume: 15 Issue: 5Pages: 455-460Published: OCT2008Chanbang Y.,Arthur FH.,Wilde GE.,Throne JE.ISI Web ofScience(อ้างอิง 1 ครั้ง)50. Methodology for assessing rice varieties forresistance to the lesser grain borer, RhyzoperthadominicaJOURNAL OFINSECT SCIENCEVolume: 8 ArticleNumber: 16Published: FEB 282008Chanbang Y.,Arthur FH.,Wilde GE.,Throne JE .,Subramanyam BH.ISI Web ofScience(อ้างอิง 1 ครั้ง)51. Fungal succession and lignin decompositionon Shorea obutsa leaves in a tropical seasonalforest in northern ThailandFUNGAL DIVERSITYVolume: 36Pages: 101-119Published: MAY 312009Osono T.,Ishii Y., Takeda H.,Seramethakun T.,Khamyong S.,To-Anun C.,Hirose D.,Tokumasu S.,Kakishima M.ISI Web ofScience(อ้างอิง 1 ครั้ง)ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ <strong>2553</strong>49


ชื่อบทความวิจัย52. The bioavailability of iron fortified in wholegrain parboiled rice53. Phylogeny and distribution of extra-slowgrowingBradyrhizobium japonicum harboringhigh copy numbers of RS alpha, RS beta andIS163154. Increasing the slaughter weight of boars:Effects on performance and pork quality55. Effects of dietary chitosan diets on growthperformance in broiler chickens56. Phyllosticta citriasiana sp nov., the cause ofCitrus tan spot of Citrus maxima in Asia57. Species of Mycosphaerella and relatedanamorphs on Eucalyptus leaves from Thailandชื่อวารสารที่ลงตีพิมพ์Food ChemistryVolume: 112Issue: 4Pages: 982-986Published: FEB 152009FEMS MICROBIOLOGYECOLOGYVolume: 44 Issue: 2Pages: 191-202Published: MAY 152003JOURNAL OFAPPLIED ANIMALRESEARCHVolume: 30 Issue: 1Pages: 19-24Published: SEP 2006JOURNAL OFPOULTRY SCIENCEVolume: 45 Issue: 3Pages: 206-209Published: JUL2008FUNGAL DIVERSITYFUNGAL DIVERSITYVolume: 34Pages: 23-39Published: JAN 312009PERSOONIAVolume: 21Pages: 77-91Published: DEC2008ชื่อผู้ร่วมหลักและผู้ร่วมรองProm-u-thai,Chanakan; Glahn,Raymond P.; Cheng,Zhiqiang; Fukai, Shu;Rerkasem, Benjavan;Huang, Longbin.Sameshima R,Isawa T,Sadowsky MJ,Hamada T,Kasai H,Shutsrirung A,Mitsui H,Minamisawa KJaturasitha S.,Pichitpantapong S.,Leangwunta V.,Khiaosa-Ard R.,Suppadit T.,Kreuzer M.Khambualai O.,Yamauchi KE.,Tangtaweewipat S.,Cheva-Isarakul B.Wulandari NF.,To-Anun C.,Hyde KD.,Duong LM.,de Gruyter J.,Meffert JP.,Groenewald JZ.,Crous PW.Cheewangkoon R.,Crous PW.,Hyde KD.,Groenewald JZ.,To-Anan C.ชื่อ refereedjournal/ ชื่อฐานข้อมูลระดับชาติหรือนานาชาติที่นําไปอ้างอิงISI Web ofScience(อ้างอิง 1 ครั้ง)ISI Web ofScience(อ้างอิง 3 ครั้ง)ISI Web ofScience(อ้างอิง 1 ครั้ง)ISI Web ofScience(อ้างอิง 1 ครั้ง)ISI Web ofScience(อ้างอิง 1 ครั้ง)ISI Web ofScience(อ้างอิง 9 ครั้ง)50ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ <strong>2553</strong>


ชื่อบทความวิจัย58. Phylogenetic relationships of Polyporus andmorphologically allied generaชื่อวารสารที่ลงตีพิมพ์MYCOLOGIAVolume: 100Issue: 4Pages: 603-615Published: JUL-AUG2008ชื่อผู้ร่วมหลักและผู้ร่วมรองSotome K.,Hattori T.,Ota Y.,To-Anun C.,Salleh B.,Kakishima M.ชื่อ refereedjournal/ ชื่อฐานข้อมูลระดับชาติหรือนานาชาติที่นําไปอ้างอิงISI Web ofScience(อ้างอิง 2 ครั้ง)59. Studies on Cercospora and allied genera innorthern ThailandFUNGAL DIVERSITYVolume: 26 Issue: 1Pages: 257-270Part: Part 1Published: JUL 202007Nakashima C.,Meeboon J.,Motohashi K.,To-anun C.ISI Web ofScience(อ้างอิง 2 ครั้ง)หมายเหตุ : ข้อมูลตามปีปฏิทิน 2552 (นับเฉพาะอาจารย์) ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน <strong>2553</strong>ปีที ่ 26 ฉบับที ่ 1 กุมภาพันธ์ <strong>2553</strong>1. ผลของอุณหภูมิและระยะเวลาการเก็บรักษาต่อคุณภาพดอกของว่านสี่ทิศพันธุ์ซูซาน. วรายุทธ วงค์อิ่น, โสระยาร่วมรังษี. หน้า 1-6.2. ผลของการให้ไฟคั่นช่วงกลางคืนร่วมกับการใช้สารควบคุมการเจริญเติบโตต่อการเจริญและปริมาณกรดแอบไซสิคในการผลิตปทุมมานอกฤดู. ภาณุพล หงษ์ภักดี, โสระยา ร่วมรังษี. หน้า 7-14.3. ผลของสารโคลชิซินต่ออัตราการรอดชีวิต ลักษณะทางสรีรวิทยาและสัณฐานวิทยาของหน้าวัวพันธุ ์ Micky Mouse.อัญญาณี จันทร์ภักดี, สมปอง เตชะโต. หน้า 15-25.4. ผลของโคลชิซินต่อการเติบโตของโปรโตคอร์มเอื้องดินใบหมาก. วีรภัทรา ทิพย์วารี, ณัฐา โพธาภรณ.์ หน้า 27-34.5. ผลของฤดูกาลต่อความหลากหลายของราเอนโดไฟท์ในรากกล้วยไม้สกุลว่านจูงนาง. จักรพงศ์ จันทวงศ์, ณัฐา โพธาภรณ์,อรวรรณ ฉัตรสีรุ้ง. หน้า 35-42.6. ผลของความยาววันและกรดจิบเบอเรลลิกต่อปริมาณธาตุอาหารและการออกดอกนอกฤดูของกล้วยไม้ช้างกระ. กัณนิกาบรรยาย, โสระยา ร่วมรังษี, ณัฐา โพธาภรณ์. หน้า 43 - 50.7. การปรับปรุงพันธุ์พริกลูกผสมโดยใช้ลักษณะเกสรเพศผู้เป็นหมัน. ศกลวรรณ อรัณยะนาค, มณีฉัตร นิกรพันธุ์.หน้า 51-58.8. การตอบสนองต่อแคลเซียมและโบรอนในถั่วเหลืองฝักสด. สุพรรณี ปัญญาจีน, ทรงเชาว์ อินสมพันธ์, ดําเนิน กาละดี.หน้า 59-68.ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ <strong>2553</strong>51


์9. ผลของสารเคลือบผิวต่อคุณภาพหลังการเก็บเกี ่ยวของส้มพันธุ ์สายน้ ําผึ ้ง. กฤติพงษ์ ไพบูลย์สมบัติ, ธนะชัย พันธ์เกษมสุข.หน้า 69-78.10. ความดีเด่นของผลผลิตและลักษณะอื ่นที ่เกี ่ยวข้องในข้าวลูกผสมชั ่วที ่ 1 ระหว่างข้าวพันธุ ์ดีของไทยกับข้าวสายพันธุเกสรเพศผู ้เป็นหมันแบบไวต่ออุณหภูมิ. เทพสุดา รุ ่งรัตน์, สุทัศน์ จุลศรีไกวัล, ดําเนิน กาละดี, ม.ล. อโณทัย ชุมสาย. หน้า 79-84.11. ผลของการเคลือบเมล็ดด้วยน้ํามันหอมระเหยต่อเชื้อราที่ติดมากับเมล็ดพันธุ์ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์. ปิยฉัตร อัครนุชาต,สุภามาศ ช่างแต่ง, ปิติพงษ์ โตบันลือภพ, สุชาดา เวียรศิลป์, สงวนศักดิ ์ ธนาพรพูนพงษ์. หน้า 85-92.ปีที ่ 26 ฉบับที ่ 2 มิถุนายน <strong>2553</strong>12. ผลของคลื่นความถี่วิทยุต่อคุณภาพการสีของข้าว. พลากร สํารีราษฎร์, สุชาดา เวียรศิลป,์ ณัฐศักดิ์ กฤติกาเมษ,Dieter von Hörsten, Wolfgang Lücke, สงวนศักดิ์ ธนาพรพูนพงษ์. หน้า 101-106.13. การชักนําโซมาติคเอมบริโอในหญ้าแฝกพันธุ์สงขลา 3 (Vetiveria zizanioides Nash). ลัดดาวัลย์ มูสิกะปาละ,สมปอง เตชะโต. หน้า 107-118.14. Yield and Rotenone Content in Derris Root as Affected by Plant Age and Growing Conditions.อรุณ โสตถิกุล, พิทยา สรวมศิริ. หน้า 119-126.15. อิทธิพลของการเพิ่มแสงไฟคั่นช่วงกลางคืนต่ออัตราการสังเคราะห์แสงของปทุมมา. พัชรี สิริตระกูลศักดิ์, สาวิตร มีจุ้ย,โสระยา ร่วมรังษี. หน้า 127-135.16. การรวบรวมและจําแนกสายพันธุ์เห็ดหอมที่เพาะเป็นการค้าด้วยเครื่องหมายโมเลกุลอาร์เอพีดี. เรือนแก้ว ประพฤติ,ปรีชา รัตนัง. หน้า 137-145.17. ผลของระดับแคลเซียมและแมกนีเซียมต่อการเจริญเติบโตของคะน้าจีนที ่ปลูกด้วยระบบไฮโดรโพนิกส์. สุภกิจ ไชยพุฒ,โสระยา ร่วมรังษี. หน้า 147-155.18. ผลของระดับแคลเซียมและแมกนีเซียมต่อการเจริญเติบโตของแวนดาสันทรายบลู. ชมัยพร อนุวงศ์, โสระยา ร่วมรังษี.หน้า 157-162.19. ความผันแปรทางพันธุกรรมของยีน MC5R ต่ออัตราการเจริญเติบโตในไก่พื้นเมือง (ประดู่หางดํา). วิทย์ธพงษ์ เปี้ยวงค์,ปุณเรศวร์ รัตนประดิษฐ์, สัญชัย จตุรสิทธา. หน้า 163-172.20. ผลผลิตไข่และต้นทุนการผลิตลูกของไก่พื้นเมืองประดู่หางดําเชียงใหม่ 1 ที่เลี้ยงในกรงตับ. อํานวย เลี้ยวธารากุล,ชาตรี ประทุม, ศิริพันธ์ โมราถบ. หน้า 173-178.21. สภาวะทางโภชนาการและค่าโลหิตวิทยาในฤดูกาลต่าง ๆ ของม้าแกลบในจังหวัดลําปาง. สุนทร วิทยาคุณ, เจริญ แสงดี,นิรันดร กองเงิน, ปิยมาสฐ์ ตัณฑ์เจริญรัตน์. หน้า 179-188.ปีที ่ 26 ฉบับที ่ 3 ตุลาคม <strong>2553</strong>22. วงจรชีวิตของ Meloidogyne incognita ในพริกพันธุ์ต้านทานและพันธุ์อ่อนแอ. วราลักษณิ์ สุปิณะ, นุชนารถตั ้งจิตสมคิด, วราภรณ์ ประกอบ. หน้า 189-194.23. การจําแนกไส้เดือนฝอยรากปม Meloidogyne spp. บางไอโซเลทของไทย โดยเทคนิค PCR. ธนากร จันทร์มาลี,วราภรณ์ ประกอบ. หน้า 195-202.52ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ <strong>2553</strong>


24. ลักษณะของเชื้อรา Colletotrichum gloeosporioides ที่ต้านทานสารคาร์เบนดาซิม. พรประพา คงตระกูล,สรัญยา ณ ลําปาง. หน้า 203-212.25. ประสิทธิภาพของน้ ําส้มควันไม้จากต้นยูคาลิปตัสและสะเดาในการควบคุมเชื ้อรา Colletotrichum gloeosporioides.วิลาสินี แสงนาค, สรัญยา ณ ลําปาง. หน้า 213-222.26. ชีววิทยาและความสามารถในการห้ําของมวนตาโต (Geocoris ochropterus Fieber). อรพรรณ เกินอาษา,กิตติยา สุขเสน, อทิติยา แก้วประดิษฐ์, วิวัฒน์ เสือสะอาด. หน้า 223-230.27. อัตราพันธุกรรมและสหสัมพันธ์ของลักษณะทางการเกษตรในปาล์มน้ ํามันลูกผสมเทเนอรา. วศะพงศ์ เอกสมทราเมษฐ์,ธีระ เอกสมทราเมษฐ์. หน้า 231-239.28. ผลของน้ําท่วมขังในระยะการเจริญพันธุ์ต่อการเติบโตและผลผลิตของถั่วเหลือง. สุภชัย วรรณมณี, จักรี เส้นทอง.หน้า 241-249.29. ผลของการขาดน้ ําในระยะการเจริญพันธุ ์ต่อการเติบโตและผลผลิตของถั ่วเหลือง. อาทิตยา ยอดใจ, จักรี เส้นทอง.หน้า 251-260.30. ผลของการขาดธาตุอาหารพืชต่อการเติบโตของกล้วยไม้ซิมบิเดียม ‘ซูเปอร์ ฟรีค’. ชัยวิชิต เพชรศิลา, โสระยา ร่วมรังษี.หน้า 261-267.31. การปฏิวัติเขียว แมลงศัตรูพืช และการควบคุมแมลงศัตรูพืชโดยชีววิธี. ชาญณรงค์ ดวงสอาด. หน้า 269-278.1. ดนัย บุณยเกียรติ, ชัยพิชิต เชื้อเมืองพาน, พิชญา บุญประสม. การประยุกต์เทคโนโลยีการลดอุณภูมิแบบสูญญากาศเพื่อการส่งออกพืชผักและสมุนไพรของโครงการหลวง (ภายใต้โครงการวิจัยและพัฒนากระบวนการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวพืชผักผลไม้ และสมุนไพร)2. ดนัย บุณยเกียรติ, ชัยพิชิต เชื้อเมืองพาน, นพพล จันทร์หอม, พิชญา บุญประสม. การวิจัยและพัฒนาการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวพืชผักและสมุนไพรอินทรีย์เพื่อการส่งออก (ภายใต้โครงการวิจัยและพัฒนากระบวนการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวพืชผักผลไม้ และสมุนไพร)3. พิทยา สรวมศิริ, J-N. Wunsche, Sybille Neidhart, กนกวรรณ ศรีงาม, ติณณา เจริญกิจ, พาวิน มะโนชัย.โครงการสรีรวิทยาของไม้ผลและการพัฒนาต้นแบบการผลิตผลไม้นอกฤดูบนพื้นที่สูง จ. เชียงใหม่ ภายใต้เงื่อนไขระยะปลูกชิด :กรณีศึกษา ลําไย ลิ้นจี่ และม่วง ปีที่ 24. ชวนพิศ บุญชิตสิริกุล, ณัฐสุดา บรรเลงสวรรค์. การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากเชื้อแอคติโนมัยซีสเพื่อควบคุมโรคใบจุด และโคนเน่าของพริกกะเหรี่ยงและมะเขือเทศ (ภายใต้ชุดโครงการวิจัยและพัฒนาปัจจัยการผลิตชีวภาพเพื่อทดแทนสารเคมีเกษตรบนพื้นที่สูง)5. เบญจวรรณ ฤกษ์เกษม, กนก ฤกษ์เกษม, ศันสนีย์ จําจด, นริศ ยิ้มแย้ม, สิทธิชัย ลอดแก้ว. In Situ conservationand mangement of local rice germplasm in and near its center of diversity.ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ <strong>2553</strong>53


6. จิราพร ตยุติวุฒิกุล, อภิวัฒน์ ธีรวุฒิกุลรักษ์. การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์กับดักฟีโรโมนเพื่อควบคุมหนอนใยผักในการปลูกพืชตระกูลกะหล่ําบนพื้นที่สูง (โครงการวิจัยและพัฒนาปัจจัยการผลิตชีวภาพเพื่อทดแทนสารเคมีเกษตรบนพื้นที่สูง).7. อรวรรณ ฉัตรสีรุ้ง. การวิจัยและพัฒนาวัสดุเพาะชีวภาพ วัสดุปลูกอินทรีย์ และปุ๋ยชีวินทรีย์อัดเม็ด (ภายใต้โครงการวิจัยและพัฒนาปัจจัยการผลิตชีวภาพเพื ่อทดแทนสารเคมีเกษตรบนพื้นที่สูง)8. เบญจวรรณ ฤกษ์เกษม. การประเมินและคัดเลือกข้าวพันธุ์พื้นเมือง “เหมยนอง” ที่มีความทนทานต่อแมลงบั่วสําหรับชุมชนที่สูง.9. ดรุณี นาพรหม, Martin Hegle, J-N. Wunsche, กนกวรรณ ศรีงาม, พาวิน มะโนชัย. การเปลี่ยนแปลงปริมาณฮอร์โมนในช่วงก่อนการออกดอกนอกฤดูของลําไยและลิ้นจี่ ปีที่ 3 (ภายใต้ชุดโครงการ การใช้ดินและพัฒนาชนบทบนพื้นที่สูงอย่างยั่งยืนระยะที่ 3)10. ดนัย บุณยเกียรติ, ชัยพิชิต เชื้อเมืองพาน, นพพล จันทร์หอม, พิชญา บุญประสม. โครงการวิจัยเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวพืชผักของโครงการหลวง11. ธนะชัย พันธ์เกษมสุข, กนกธร วงศ์กิติ, บรรจง ปานดี, วรพงษ์ คําลือ, เวช เต๋จ๊ะ, สราวุธ ศรีวรรณา, สาวิตรี ทิวงศ.์โครงการวิจัยและพัฒนาการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวเสาวรสรับประทานสด12. แสงทิวา สุริยงค์, ณัฐศักดิ์ กฤติกาเมษ, สุชาดา เวียรศิลป์. โครงการวิจัยและพัฒนาวิธีการเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์เฮมพ์(ภายใต้โครงการวิจัยและพัฒนาการปลูกเฮมพ์และการแปรรูป)13. เกวลิน คุณาศักดากุล. การวิจัยและพัฒนาชีวภัณฑ์คลุกเมล็ดเพื ่อควบคุมโรคในระยะกล้าของพริกกะเหรี ่ยง กะหล่ ําปลีและมะเขือเทศ (โครงการวิจัยและพัฒนาปัจจัยการผลิตชีวภาพเพื่อทดแทนสารเคมีเกษตรบนพื้นที่สูง)14. อังสนา อัครพิศาล. การวิจัยและพัฒนาชีวภัณฑ์ควบคุมโรคทางดินของพริกกะเหรี่ยงและมะเขือเทศ (โครงการวิจัยและพัฒนาปัจจัยการผลิตชีวภาพเพื่อทดแทนสารเคมีเกษตรบนพื้นที่สูง)15. กมล งามสมสุข, ธัญญรัตน์ พรหมภิชัย, วิโรจน์ เรืองสะอาด, ณัฐชนา ถาวรนันท์, อุไรวรรณ ปราบปัญญจะ.โครงการประเมินผลการดําเนินงานโครงการขยายผลโครงการหลวงเพื่อการพัฒนาพื้นที่สูงอย่างยั่งยืน16. กมล งามสมสุข, ธัญญรัตน์ พรหมภิชัย, วิโรจน์ เรืองสะอาด, ณัฐชนา ถาวรนันท์, อุไรวรรณ ปราบปัญญจะ.โครงการศึกษาสภาวะเศรษฐกิจและสังคมของเกษตรกรในพื้นที่โครงการหลวง ปี พ.ศ. 2551/255217. รุจ ศิริสัญลักษณ์, ลักษมี วรชัย. โครงการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนาทรัพย์สินทางภูมิปัญญาและทรัพยากรธรรมชาติของชุมชนบนพื้นที่สูง.18. ชาญชัย แสงชโยสวัสดิ์, เมธี เอกะสิงห์, ประภัสสร พันธ์สมพงษ์. การจัดทําฐานข้อมูลสถานภาพการใช้ทรัพยากรบนพื้นที่สุงในพื้นที่โครงการหลวงและพื้นที่โครงการขยายผลโครงการหลวง19. เบญจพรรณ เอกะสิงห์, พนมศักดิ์ พรหมบุรมย์. การพัฒนาตัวชี้วัดของการพัฒนาด้านเศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมบนพื้นที่สูง54ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ <strong>2553</strong>


1. เบญจวรรณ ฤกษ์เกษม, กนก ฤกษ์เกษม, ศันสนีย์ จําจด, นริศ ยิ้มแย้ม, สิทธิชัย ลอดแก้ว. In Situ conservationand mangement of local rice germplasm in and near its center of diversity2. เบญจวรรณ ฤกษ์เกษม. HarvestPlus Zinc Fertilizer project3. เบญจวรรณ ฤกษ์เกษม. Internation Zinc Association : Zinc nutrition in rice and tangerine4. มิ่งสรรพ์ ขาวสะอาด, เบญจวรรณ ฤกษ์เกษม. Feeding the Dragon: Agriculture - China and the GMS.5. เบญจวรรณ ฤกษ์เกษม, พันธสิน คันธะวง (ประเทศลาว). การจัดการธาตุอาหารในมันสําปะหลัง6. เบญจวรรณ ฤกษ์เกษม, Saeng Ly Heng (ประเทศกัมพูชา). การศึกษาการทนแล้งในข้าวโพด7. จิรวรรณ กิจชัยเจริญ, เบญจพรรณ เอกะสิงห์. Rice Landscape Management for Raising WaterProductivity, Conserving Resources, and Improving Livelihoods in Upper Catchments of the Mekongand Red River Basins8. อรรถชัย จินตะเวช. Climate Change in Southeast Asia and Assessment on Impact, Vulnerabilityand Adaptation on Rice Production and Water Resource1. จรรยา มณีโชติ, เบญจวรรณ ฤกษ์เกษม, ศันสนีย์ จําจด. การควบคุมกําจัดข้าววัชพืช. เครือข่ายความร่วมมือ: ชาวนาตําบลเขาสามสิบหาบ จ. กาญจนบุรี2. กนก ฤกษ์เกษม, ประทีป อูปแก้ว, อโณทัย ศิรบรรจงกราน, เบญจวรรณ ฤกษ์เกษม, สาวิกา กอนแสง. การแก้ปัญหาแมลงบั่วในนาที่สูง. เครือข่ายความร่วมมือ: ชาวนาที่สูง ต. แม่วิน อ. แม่วาง จ. เชียงใหม่3. จรรยา มณีโชติ, สิทธิชัย ลอดแก้ว, เบญจวรรณ ฤกษ์เกษม, ศันสนีย์ จําจด. การประเมินสถานภาพธาตุอาหารในสวนส้มสายน้ําผึ้ง อําเภอฝาง และแม่อาย จังหวัดเชียงใหม่. เครือข่ายความร่วมมือ: ชาวสวนในอําเภอฝาง และแม่อาย จ. เชียงใหม่4. ธวัชชัย รัตน์ชเลศ, รุ ่งทิพย์ อุทุมพันธ์. การจัดการความรู ้ชุมชนเพื ่อพัฒนาระบบการผลิตมะม่วงคุณภาพเพื ่อการส่งออก.เครือข่ายความร่วมมือ: ชมรมผู้ปลูกมะม่วงอําเภอเนินมะปราง จ. พิษณุโลก และชมรมผู้ปลูกมะม่วง จังหวัดเชียงใหม่.5. มณีฉัตร นิกรพันธุ์, โชคชัย ไชยมงคล, ณัฐา โพธาภรณ์, ดนัย บุณยเกียรติ. การศึกษาความเสถียรและความสามารถเข้ากันได้ของพันธุ์พริกรักษาตัวผู้เป็นหมัน. เครือข่ายความร่วมมือ: บริษัทเอกชน6. ศุภมิตร เมฆฉาย, พัชรินทร์ ครุฑเมือง. การค้นหาและพัฒนาเครื่องหมายโมเลกุลดีเอ็นเอสําหรับบ่งชี้ลักษณะไขมันแทรกในกล้ามเนื้อของสุกรสายพันธุ์ทางการค้า. เครือข่ายความร่วมมือ: บริษัท ศูนย์วิทยาศาสตร์เบทาโกร จํากัด7. เพทาย พงษ์เพียจันทร์, ศุภมิตร เมฆฉาย, จุรีย์รัตน์ สําเร็จประสงค์, อุดม ช่างสุพรรณ. การเพิ่มจํานวนลูกโคนมเพศเมียในเขตจังหวัดเชียงใหม่-ลําพูน โดยการผสมเทียมด้วยน้ ําเชื ้อที ่ผ่านการคัดเพศ. เครือข่ายความร่วมมือ: บริษัท เชียงใหม่เฟรชมิลค์จํากัด8. พิทยา สรวมศิริ. โครงการพัฒนาคุณภาพและเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันด้านการตลาดสินค้าลิ้นจี่ของเกษตรกรผู้ปลูกลิ้นจี่ เพื่อรองรับผลกระทบจากการเปิดเสรีทางการค้า. เครือข่ายความร่วมมือ: เกษตรกรผู ้ผลิตลิ ้นจี ่ อําเภอแม่ใจจังหวัดพะเยาÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ <strong>2553</strong>55


9. พิทยา สรวมศิริ. โครงการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของกลุ่มเกษตรกรผู้ปลูกส้มสายน้ําผึ้ง จังหวัดเชียงใหม่ที่ไม่สามารถปรับตัวจากผลกระทบของการเปิดเสรีทางการค้า. เครือข่ายความร่วมมือ: เกษตรกรในพื ้นที ่อําเภอไชยปราการ ฝาง และแม่อาย จังหวัดเชียงใหม่10. เพทาย พงษ์เพียจันทร์, สราวุธ ฉายประสาท, รังสรรค์ พาลพ่าย, วิวัฒน์ พัฒนาวงศ์, ศิวัช สังข์ศรีทวงษ์, ศุภมิตรเมฆฉาย, จุรีย์รัตน์ สําเร็จประสงค์, อรประไพ คชนันทน์, อรวรรณ หิมานันโต. โครงการพัฒนาเทคโนโลยีผลิตน้ ําเชื ้อโคนมแยกเพศเพื ่อใช้ในการผสมเทียม. ศูนย์ผลิตน้ ําเชื ้อพ่อโคพันธุ ์, โครงการหลวงอินทนนท,์ สํานักเทคโนโลยีชีวภาพ, การผลิตปศุสัตว์ กรมปศุสัตว์,มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี, มหาวิทยาลัยแม่โจ้, ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีแห่งชาติ สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ, บริษัท เชียงใหม่เฟรชมิลค์ จํากัด1. เบญจวรรณ ฤกษ์เกษม, กนก ฤกษ์เกษม, ศันสนีย์ จําจด, นริศ ยิ้มแย้ม, สิทธิชัย ลอดแก้ว. In Situ conservationand mangement of local rice germplasm in and near its center of diversity2. เบญจวรรณ ฤกษ์เกษม. HarvestPlus Zinc Fertilizer project3. เบญจวรรณ ฤกษ์เกษม. Internation Zinc Association : Zinc nutrition in rice and tangerine4. เบญจวรรณ ฤกษ์เกษม, ศันสนีย์ จําจด, สิทธิชัย ลอดแก้ว. ข้าวไทยสู้โลกร้อน5. เบญจวรรณ ฤกษ์เกษม, กนก ฤกษ์เกษม, ศันสนีย์ จําจด, นริศ ยิ้มแย้ม, สิทธิชัย ลอดแก้ว. ทรัพยากรพันธุกรรมท้องถิ่นเพื่อการใช้ธาตุอาหารพืชในการเพาะปลูกอย่างมีประสิทธิภาพ.ฃ6. มณีฉัตร นิกรพันธุ์, โชคชัย ไชยมงคล, ณัฐา โพธาภรณ์, ดนัย บุณยเกียรติ. การศึกษาความเสถียรและความสามารถเข้ากันได้ของพันธุ์พริกรักษาตัวผู้เป็นหมัน.7. ชัยวัฒน์ โตอนันต์. โครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก (Ph.D 50) (Taxonomy and Phylogeny of PowderyMildew Fungi in Tribe Phyllactinieae)8. ชัยวัฒน์ โตอนันต์. โครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก (Ph.D 50) (Diversity, Distribution and Genetic Variationof Mycosphaerella and its anamorphs in Thailand)9. ศุภศักดิ์ ลิมปิติ. การบริหารจัดการสนับสนุนทุนวิจัยเพื่อท้องถิ่นในการทําวิทยานิพนธ์/การค้นคว้าอิสระของนักศึกษาปริญญาโท (CBMAG) ปี 2552 ระยะที่ 210. ทรงเชาว์ อินสมพันธ์, ธัญญา คันธา. การพัฒนาพันธุ์ และการเพิ่มศักยภาพในการผลิตข้าวโพดหวาน11. สัญชัย จตุรสิทธา. โครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.12. เบญจพรรณ เอกะสิงห์. ทุนสนับสนุนการวิจัยระดับปริญญาโทและเอกด้านระบบสนับสนุนการตัดสินใจเพื่อเสริมงานวิจัยในประเทศเพื่อนบ้านของไทย : ระยะที่ 156ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ <strong>2553</strong>


รองศาสตราจารย์ ดร.ศันสนีย์ จําจด อาจารย์ประจําภาควิชาพืชศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติ คณะเกษตรศาสตร์<strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> ได้รับรางวัลจากผลงานวิจัยเด่น เรื ่อง “พลวัตทางวิวัฒนาการของข้าวในประเทศไทย” ของ ดร.ต่อนภา ผุสดีโดยมี รศ.ดร. ศันสนีย์ จําจด เป็นที ่ปรึกษาภายใต้โครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก (คปก.) จากสํานักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจัย(สกว.) ในงานแถลงข่าวและมอบโล่เกียรติยศผลงานวิจัยเด่นประจําปี 2552 เมื่อวันที่ 25 มกราคม <strong>2553</strong> ณ ห้องเซ็นทารา-แกรนด์ บอลล์รูม โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ แอท เซ็นทรัลเวิลด์ กรุงเทพฯผลงานวิจัยเด่น สกว. ประจําปี 2552 จํานวน 10 เรื ่อง ประกอบด้วย กลุ ่มงานวิจัยและพัฒนา 4 เรื ่อง, กลุ ่มงานวิชาการ3 เรื่อง, กลุ่มงานวิจัยเพื่อท้องถิ่น 2 เรื่อง และ งานวิจัยโครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก (คปก.) จํานวน 1 เรื่อง ของรศ.ดร.ศันสนีย์ จําจด และ ดร.ต่อนภา ผุสดีÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ <strong>2553</strong>57


ดร. ชนากานต์ พรมอุทัย นักวิจัยและอาจารย์พิเศษ ประจําสาขาวิชาพืชไร่ ภาควิชาพืชศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติคณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> ได้รับรางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ ประจําปี <strong>2553</strong> ของมูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์ จากผลงานวิจัย “การเพิ่มมูลค่าข้าวไทยด้วยการเพิ่มคุณภาพทางโภชนาการ” โดยเข้ารับโล่พระราชทานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ จาก สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เมื่อวันที่ 9 สิงหาคม<strong>2553</strong> ในงาน “มหกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ <strong>2553</strong>” ที่ไบเทค บางนาผลงานวิจัยดังกล่าว เป็นการเพิ่มมูลค่าข้าวไทยด้วยการเพิ่มปริมาณธาตุเหล็กและสังกะสีในข้าวซึ่งปกติจะมีปริมาณอยู่น้อยมาก เมื่อเติมทั้งสองธาตุในระหว่างกระบวนการนึ่งข้าว พบว่า กระบวนการเพิ่มปริมาณธาตุอาหารด้วยวิธีดังกล่าวสามารถเพิ่มธาตุเหล็กและสังกะสีในข้าวสารถึง 50 และ 4 เท่าตามลําดับ โดยธาตุที่เติมเข้าไปสามารถคงอยู่ในข้าวนานถึง 6 เดือน และสามารถคงอยู่ในข้าวสวยได้แม้จะผ่านการล้างน้ํามาแล้วหลายครั้งหรือผ่านกระบวนการหุงต้มแล้วก็ตาม นอกจากนี้ธาตุเหล็กที่อยู่ในเมล็ดข้าวยังได้รับการทดสอบแล้วว่ามีประโยชน์ทางโภชนาการสูงหลังจากการบริโภคอีกด้วย58ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ <strong>2553</strong>


การแสดงนิทรรศการในงานวันวิชาการ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> ครั้งที่ 5คณะเกษตรศาสตร์ได้เข้าร่วมจัดนิทรรศการ แสดงผลงานวิชาการในงานวันวิชาการ<strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> ครั้งที่ 5ภายใต้หัวข้อ “วิถีวิจัย : ทศวรรษที่ 5 สู่ความเป็นเลิศ” ประจําปี 2552 เนื่องในโอกาสฉลองครบรอบ 45 ปี <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong>ซึ่งจัดขึ้นระหว่างวันที่ 26-27 พฤศจิกายน 2552 ณ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> เพื่อร่วมเฉลิมฉลองในโอกาสสําคัญของมหาวิทยาลัยรวมทั ้งจะเป็นการเสริมสร้างบรรยากาศทางวิชาการ รวมถึงการถ่ายทอดองค์ความรู ้ทางด้านวิจัย การต่อยอดผลงานวิจัย โดยจะมีการเผยแพร่ผลงานของมหาวิทยาลัยออกสู่สาธารณะ และนําไปสู่การพัฒนาในเชิงพาณิชย์ อีกทั้งจะจัดให้มีการเผยแพร่ผลงานวิจัยที่มีชื่อเสียงของมหาวิทยาลัยฯ ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ตลอดจนการผลิตผลงานวิจัยที่ส่งเสริมให้<strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong>สู่มหาวิทยาลัยแห่งความเป็นเลิศทางด้านวิชาการและการวิจัย เพื่อตอบสนองพันธกิจหลักและนําความรู้กระจายสู่ชุมชนและสังคมในส่วนของคณะเกษตรศาสตร์ ได้ร่วมนําเสนอผลงานวิจัย•นิทรรศการแสดงผลงานวิจัยภาคโปสเตอร์ภายใต้กลุ่มวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จํานวน 13 เรื่อง ดังนี้1. การระบุชนิดไมโตคอนเดรียล ดีเอ็นเอ แฮพโพไทป์ของเชื้อ Phytophthora infestans ที่พบในประเทศไทยโดย อ.วราภรณ์ ประกอบ2. ผลของพันธุ ์และช่วงของการเก็บเกี ่ยวผลผลิต ต่อปริมาณสารคาเฟอีนในกาแฟพันธุ ์อราบิก้า โดย นายชวลิต กอสัมพันธ์3. ศักยภาพในการผลิตกาแฟอราบิก้าอินทรีย์ในภาคเหนือของประเทศไทย โดย นางสาวพัชนี สุวรรณวิศลกิจ4. การผลิตผักไม่ใช้สารเคมีกําจัดศัตรูพืช โดย นายจตุรงค์ พวงมณี5. วิธีการวินิจฉัยโรค Huanglongbing ที ่ง่ายและรวดเร็วด้วย Iodine-Starch Reaction (ISR) โดย ผศ.ดร.อังสนาอัครพิศาล6. การสร้างหัวของปทุมมา (RHIZOME FORMATION OF CURCUMA ALISMATIFOLIA) โดย รศ.ดร.โสระยาร่วมรังษี7. ความยาววันและกรดจิบเบอเรลลิก (GA3) ต่อการออกดอกนอกฤดูของกล้วยไม้ช้างกระ โดย รศ.ดร.ณัฐา โพธาภรณ์8. คุณภาพเนื้อและองค์ประกอบกรดไขมันในกล้ามเนื้อสันนอกของกระบือปลักที่เลี้ยงปล่อยทุ่งหญ้าต่างกันโดย รศ.ดร.สัญชัย จตุรสิทธา9. การเพิ่มลูกโคนมเพศเมียด้วยน้ําเชื้อโคนมคัดเพศที่ผ่านปฏิกิริยาไซโตทอกซิค: การทดสอบภาคสนามในภาคเหนือของประเทศไทย โดย รศ.เพทาย พงษ์เพียจันทร์10. เครื่องมือการเรียนรู้และนโยบายเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน โดย ศ.ดร.อารี วิบูลย์พงศ์11. การทดสอบฤทธิ์ในการต้านอนุมูลอิสระและการยับยั้งการทํางานของเอนไซม์ไทโรซิเนสในพืชท้องถิ่นบนที่สูงโดย ดร.กนกวรรณ ศรีงาม12. การจัดการธาตุอาหารพืชในระบบเกษตรอินทรีย์: การใช้ปุ๋ยพืชสดร่วมกับปุ๋ยอินทรีย์-ชีวภาพในการปลูกผักโดย นายสมศักดิ์ จีรัตน์13. THE UPLANDS PROGRAM: RESEARCH FOR SUSTAINABLE LAND USE AND RURALDEVELOPMENT IN MOUNTAINOUS REGIONS OF SOUTHEAST ASIA โดย Pepijn SchreinemachersÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ <strong>2553</strong>59


• นิทรรศการแสดงผลงานวิจัยภาคโปสเตอร์ภายใต้กลุ่มคลัสเตอร์: มูลค่าเพิ่มของการผลิตและแปรรูปพืชและสัตว์เศรษฐกิจภาคเหนือ จํานวน 5 เรื่อง ดังนี้1. มูลค่าเพิ่มของการผลิตและแปรรูปพืชและสัตว์เศรษฐกิจเพื่อเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม โดย รศ.ดร.สัญชัย จตุรสิทธา,รศ.ดร.ไพโรจน์ วิริยจารี, ศ.ดร.เบญจวรรณ ฤกษ์เกษม, รศ.รําไพพรรณ อภิชาติพงศ์ชัย2. การพัฒนาคุณภาพกาแฟอราบิก้า เพื่อความปลอดภัยของผู้บริโภคและสิ่งแวดล้อม โดย รศ.ธีระ วิสิทธิ์พานิช,รศ.รําไพพรรณ อภิชาตพงศ์ชัย, ว่าที่ร้อยตรีประเสริฐ คําออน, นายชวลิต กอสัมพันธ์, นายนริศ ยิ้มแย้ม, นายวราพงษ์ บุญมา,นายถาวร สุภาวงค์, นางสาวนิธิ ไทยสันทัด, นางสาวพัชนี สุวรรณวิศลกิจ, นายสมศักดิ์ จีรัตน์, ผศ.ดร.โชค มิเกล็ด3. ระบบการผลิตข้าวเพื่อสุขภาพ โดย ดร.ชนากานต์ พรมอุทัย, นางสาวณัฏฐินี ภัทรกุล, นางสาวช่อเพชร แสนไชย,ศ.ดร.เบญจวรรณ ฤกษ์เกษม4. การเพิ่มมูลค่าการผลิตและการแปรรูปผลิตภัณฑ์ลําไยในภาคเหนือ โดย รศ.ดร.ไพโรจน์ วิริยจารี, ผศ.ดร.สุรินทร์นิลสําราญจิต, รศ.ดร.พัฒนา เจียรวิริยะพันธ์, ผศ.พิชัย คงพิทักษ์, อ.ดร.พิไลรัก อินธิปัญญา, ผศ.ศรีสุวรรณ นฤนาทวงศ์สกุล,ผศ.อภิชาต โสภาแดง, ดร.ศักดา พรึงลําภู, อ.ดร.ธนะชัย พันธ์เกษมสุข, ผศ.ทรงเชาว์ อินสมพันธ์5. การเพิ่มมูลค่าการผลิตสัตว์เศรษฐกิจในภาคเหนือ โดย รศ.ดร.สัญชัย จตุรสิทธา, รศ.เพทาย พงษ์เพียจันทร์,รศ.ดร.สุชน ตั ้งทวีวิพัฒน์, ผศ.ดร.ศุภมิตร เมฆฉาย, ผศ.ดร.ณัฐพล จงกสิกิจ, ผศ.ธีระพงษ์ เสาวภาคย์, อ.ดร.เสาวลักษณ์ แย้มหมื ่นอาจ,อ.ดร.วรรณพร ทะพิงค์แก60ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ <strong>2553</strong>


• การแสดงผลงานวิชาการในบูธนิทรรศการภายใต้หัวข้อ “เกษตรก้าวไกล สร้างสรรพันธุ์ไม้ใหม่ สู่สากล”ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ <strong>2553</strong>61


62การสร้างกลุ่มวิจัย/หน่วยวิจัยที่แข็งแกร่ง และสร้างงานวิจัยที่มีคุณภาพงานบริหารงานวิจัย บริการวิชาการและวิเทศสัมพันธ์ ได้ทําหน้าที่ประสานงานเพื่อพัฒนาชุดโครงการพัฒนามหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ (National Research Universities) กลุ่มคลัสเตอร์: มูลค่าเพิ่มของการผลิตและแปรรูปพืชและสัตว์เศรษฐกิจภาคเหนือ 4 กลุ่ม ดังนี้1. กลุ่มวิจัยข้าว- คุณภาพข้าวไทยด้วยการจัดการธาตุอาหาร หัวหน้าโครงการ ศ.ดร.เบญจวรรณ ฤกษ์เกษม- การสร้างพันธุ์ข้าวเจ้าก่ําพันธุกรรมเด่นชนิดใหม่ หัวหน้าโครงการ รศ.ดร.ดําเนิน กาละดี- การพัฒนาเครื ่องหมายดีเอ็นเอที ่สัมพันธ์กับสารต้านอนุมูลอิสระในข้าวก่ ํา หัวหน้าโครงการ อ.ดร.วีณัน บัณฑิตย์- การใช้เครื่องหมายโมเลกุลตรวจสอบพันธุกรรมข้าวก่ําพื้นเมืองเพื่อการอนุรักษ์และปรับปรุงพันธุ์หัวหน้าโครงการ รศ.ดร.ศันสนีย์ จําจด- การพัฒนาประสิทธิภาพการผลิตและระบบการตลาดของข้าวอินทรีย์และข้าวก่ํา หัวหน้าโครงการรศ.ดร.พัฒนา เจียรวิริยะพันธ์- การศึกษาฤทธิ์ของอาหารผสมข้าวก่ําในการป้องกันการเกิดรอยโรคเริ่มต้นของมะเร็งลําไส้ใหญ่ในหนูทดลองและผลของสารสกัดข้าวก่ําต่อการเจริญเติบโตและลุกลามของเซลล์มะเร็งลําไส้ หัวหน้าโครงการ ผศ.ดร.ธีระชีโวนรินทร์- ผลของสารสกัดจากข้าวก่ําต่อการเกิดมะเร็งตับในหนูขาว หัวหน้าโครงการ ผศ.ดร.รวิวรรณ วงศ์ภูมิชัย(พัวธนาโชคชัย)- การศึกษาฤทธิ์ในการลดระดับน้ําตาลในเลือดและฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของข้าวก่ําและสารสกัดจากข้าวก่ําในหนูขาวที่มีภาวะเบาหวาน อ.ดร.นริศรา ไล้เลิศ2. กลุ่มวิจัยลําไย- โครงการวิจัยการพัฒนาการผลิตลําไยชีวภาพที่มีคุณภาพดี ปลอดภัยและการถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชนหัวหน้าโครงการ ผศ.ดร.สุรินทร์ นิลสําราญจิต- การเพิ ่มกําไรการผลิตลําไยนอกฤดูด้วยสร้างเครือข่ายการรวมกลุ ่มและเชื ่อมโยงข้อมูลโซ่อุปทานของเกษตรกรหัวหน้าโครงการ ผศ.อภิชาต โสภาแดง- การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื ่อพัฒนาลักษณะเนื ้อสัมผัสของลําไยแปรรูปปราศจากการใช้ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ในเชิงพาณิชย์ หัวหน้าโครงการ รศ.ดร.ไพโรจน์ วิริยจารี- การพัฒนาผลิตภัณฑ์ขนมขบเคี ้ยวและอาหารเช้าธัญชาติผสมลําไยโดยกระบวนการเอกซ์ทรูชันหัวหน้าโครงการ ผศ.ศรีสุวรรณ นฤนาทวงศ์สกุล3. กลุ่มวิจัยกาแฟ- ฐานข้อมูลเพื่อพัฒนาห่วงโซ่อุปทานของกาแฟอราบิก้าในภาคเหนือของประเทศไทย หัวหน้าโครงการรศ.รําไพพรรณ อภิชาติพงศ์ชัย- เชื ้อไมโคไรซ่าที ่มีผลต่อการเจริญเติบโตและการสะสมธาตุอาหารในต้นกล้ากาแฟ หัวหน้าโครงการดร.นริศ ยิ ้มแย้ม- การใช้ปุ๋ยอินทรีย์และปุ๋ยชีวภาพทดแทนปุ๋ยเคมีเพื่อผลิตกาแฟอราบิก้าที่ปลอดภัยต่อผู้บริโภคและไม่เป็นพิษต่อสิ่งแวดล้อม หัวหน้าโครงการ นายวราพงษ์ บุญมาÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ <strong>2553</strong>


4. กลุ่มวิจัยสัตว์เศรษฐกิจ- การประยุกต์ใช้โมโนโคลนอลแอนติบอดีเพื่อการผลิตน้ําเชื้อคัดเพศสําหรับโคขาวลําพูนหัวหน้าโครงการ รศ.เพทาย พงษ์เพียจันทร์- มูลค่าเพิ่มของเนื้อโคนมเพศเมียคัดทิ้งขุน โดยการเพิ่มความน่ารับประทาน ด้วยการฉีดสารละลายแคลเซียมคลอไรด์ หัวหน้าโครงการ รศ.ดร.สัญชัย จตุรสิทธา- ผลของคุณลักษณะเส้นใยกล้ามเนื้อ โปรตีโอมิค และ กรดอะมิโน ของโคพื้นเมืองต่อคุณภาพเนื้อหัวหน้าโครงการ ดร.กนกวรรณ ศรีงามและทําหน้าที่ประสานงาน กับคณะแพทยศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> เพื่อปรึกษาหารือถึงแนวทางการพัฒนาความร่วมมือการวิจัย เพื่อพัฒนาข้อเสนอโครงการทางด้าน Functional Food โดยทางคณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong>ได้ดําเนินจัดทําโครงร่างข้อเสนอแบบชุดโครงการวิจัย ในส่วนแรกเพื่อนําไปต่อยอดการวิจัยทางด้านแพทยศาสตร์ จํานวน 2โครงการ ดังนี้1. การผลิตหญ้าหวานเพื่อใช้ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์และสุขภาพ2. การพัฒนาระบบการผลิตลําไยเพื่อเพิ่มคุณภาพและกรดเอลลาจิกÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ <strong>2553</strong>63


การสนับสนุนบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการ ทํางานวิจัยสถาบันงานบริหารงานวิจัย บริการวิชาการและวิเทศสัมพันธ์ ได้ให้ทุนสนับสนุน บุคลากรสายปฏิบัติการเพื่อทํางานวิจัยสถาบันในปีงบประมาณ <strong>2553</strong> จํานวน 2 โครงการดังนี้1. การบริหารงบประมาณตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง กรณีศีึกษา คณะเกษตรศาสตร์ และคณะวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัียเชียงใหม่ (ในปี <strong>2553</strong>) โดย นางชนนิกานต์ แก้วเทพ, นางพิกุลทอง เทพลิขิตกุล2. การวิเคราะห์การอ้างอิงผลงานวิชาการที่ตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติ และการพัฒนาระบบฐานข้อมูลผลงานวิชาการ คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> โดย นางชโรชีนีย์ ชัยมินทร์, นายเกรียงไกร ชัยมินทร์,นางประภาพันธ์ พลายจันทร์กิจกรรมสนับสนุนงานวิจัย (การจัดประชุม /ฝึกอบรม /สัมมนา)• การจัดฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื ่อง “การอบรมการใช้โปรแกรมการจัดการทางบรรณานุกรม EndNote Web ครั ้งที ่ 1“เมื่อวันที่ 29 มกราคม <strong>2553</strong> ณ ห้องอบรมคอมพิวเตอร์ ชั้น 3 อาคารเฉลิมพระเกียรติ คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong>โดยมี คุณศรัญยา ไชยวงค์ นักเอกสารสนเทศ งานบริการทรัพยากรสารนิเทศกลาง สํานักหอสมุด<strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong>เป็นวิทยากรในการฝึกอบรมครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อแนะนําโปรแกรม EndNote Web สําหรับใช้ในการจัดการทางบรรณานุกรมได้แก่ การสร้างแฟ้มข้อมูลส่วนบุคคล (create library) การบันทึกรายการบรรณานุกรมจากการพิมพ์ข้อมูล การโอนถ่ายข้อมูลจากฐานข้อมูลต่างๆ และแหล่งข้อมูลอื่นๆ (import – export) ที่สามารถนํามาใช้อ้างอิงในรายงาน/งานวิจัย การใช้โปรแกรมจัดการเอกสาร (word) ร่วมกับโปรแกรม EndNote Web และเรียนรู้วิธีการเลือกรูปแบบเชิงอรรถและบรรณานุกรมมีผู้เข้าร่วมฝึกอบรมประกอบด้วย คณาจารย์ นักวิชาการ และนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา จํานวน 33 คน มีผู้ตอบแบบประเมินทั้งหมด 25 คน คิดเป็นร้อยละ 75.76% ความคิดเห็นโดยภาพรวมในการจัดอบรมในครั้งนี้ ผู้ตอบแบบประเมินมีความพึงพอใจมากที่สุด และหัวข้อการฝึกอบรมที่ผู้เข้าฝึกอบรมต้องการให้จัดในครั้งต่อไป ดังนี้1. การฝึกอบรมการเขียนบทความทางวิชาการ2. กาารฝึกอบรมโปรแกรมที่ใช้ในการสอนงานวิจัย สําหรับการตีพิมพ์64ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ <strong>2553</strong>


• การบรรยายพิเศษ เรื่อง “เทคนิคการเขียนโครงการเพื่อขอรับการสนับสนุนทุนวิจัย” เมื่อวันที่ 28 เมษายน <strong>2553</strong>ณ ห้องประชุมบุญญวาส ลําเพาพงศ์ คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> โดยมีวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิคือ ศ.ดร.เบญจวรรณฤกษ์เกษม เป็นวิทยากรและ รศ.ดร.สัญชัย จตุรสิทธา รองคณบดีฝ่ายวิจัยและวิเทศสัมพันธ์ เป็นผู้ดําเนินรายการและร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาทักษะของคณาจารย์ นักวิชาการ และนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ด้านการเขียนโครงการวิจัยเพื ่อขอรับการสนับสนุนทุนวิจัยจากแหล่งทุนทั ้งในและต่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ และเพื ่อให้คณาจารย์ นักวิชาการและนักศึกษา ของ<strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> มีการทํางานวิจัยเพิ ่มมากขึ ้น มีผู ้เข้าร่วมฟังบรรยายประกอบด้วย คณาจารย์ นักวิชาการและนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา จํานวน 74 คน มีผู้ตอบแบบประเมินทั้งหมด 69 คน คิดเป็นร้อยละ 93.24% ความคิดเห็นโดยภาพรวมในการจัดบรรยายในครั้งนี้ ผู้ตอบแบบประเมินมีความพึงพอใจมาก และหัวข้อการฝึกอบรมที่ผู้เข้าฝึกอบรมต้องการให้จัดในครั้งต่อไป ดังนี้1. การจัดอบรมเรื่อง เทคนิคการเขียนรายงานวิจัยอย่างไร เพื่อให้ได้รับการตีพิมพ์ใน วารสารต่าง ๆข้อเสนอแนะ1. ควรมีการบรรยาย เกี่ยวกับการวิจัยในด้านอื่นๆ นอกเหนือจากทางด้านการเกษตร เนื่องจากผู้เข้ารับฟังไม่ได้ทําวิจัยในทางด้านนี้ จึงทําให้ผู้เข้ารับฟังคิดเอง เพื่อไปประยุกต์ใช้ เนื้อหาและตัวอย่างเอาเอง2. ควรจะเพิ่มระยะเวลาในการบรรยายฯ ในครั้งนี้ เพราะเนื้อหาค่อนข้างน่าสนใจ และมีประโยชน์มาก ในการเขียนข้อเสนอโครงการต่อไป3. อยากให้มีการจัดกิจกรรมสัมมนาแบบนี้บ่อย ๆÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ <strong>2553</strong>65


• การบรรยายพิเศษ เรื่อง “เขียนผลงานวิชาการอย่างไร? ให้ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารนานาชาติ” เมื่อวันท่ี 21กรกฎาคม <strong>2553</strong> ณ ห้องประชุมบุญญวาส ลําเพาพงศ์ คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> โดยได้รับเกียรติจากศ.ดร.เกตุ กรุดพันธ์ ์, ศ.นพ.ธีระ ทองสง, ศ.ดร.อนุรักษ์ ปัญญานุวัฒน์ เป็นวิทยากรบรรยาย และ รศ.ดร. สัญชัย จตุรสิทธา รองคณบดีฝ่ายวิจัยและวิเทศสัมพันธ์ คณะเกษตรศาสตร์ เป็นผู้ดําเนินรายการ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนผลงานวิชาการเพื่อการตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ ของนักวิจัย และนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ทั้งจากภายในและภายนอกสถาบัน และเพื่อสนับสนุนให้นักวิจัย และนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษามีการตีพิมพ์ผลงานวิชาการในระดับนานาชาติเพิ่มมากขึ้น มีผู้เข้าร่วมฟังบรรยายประกอบด้วย คณาจารย์ นักวิชาการ และนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา จํานวน 86 คน มีผู้ตอบแบบประเมินทั้งหมด 68คน คิดเป็นร้อยละ 79.07% ความคิดเห็นโดยภาพรวมในการจัดบรรยายในครั้งนี้ ผู้ตอบแบบประเมินมีความพึงพอใจมาก และหัวข้อการฝึกอบรมที่ผู้เข้าฝึกอบรมต้องการให้จัดในครั้งต่อไป ดังนี้1. การเขียน Paper อย่างเต็มรูปแบบ โดยให้ฝึกเขียนงานวิจัยจนถึงขั้นได้ Paper ไปตีพิมพ์2. การศึกษากับการพัฒนาชุมชน3. อบรมเรื่องของกฎหมาย (นิติศาสตร์), สังคมศาสตร์, มนุษยศาสตร์4. เทคนิคการให้บริการวิชาการแก่ชุมชน/ท้องถิ่น5. การใช้ภาษาอังกฤษในการเขียน Paper เพื่อตีพิมพ์ในวารสารนานาชาติ6. วิธีการเตรียม Power Point เพื่อนําเสนอผลงานวิจัย7. การใช้โปรแกรม EndNote ขั้นพื้นฐานสําหรับนักศึกษาทั่วไป8. ความต้องการ และแนวทางในการทําวิจัยในอนาคต ในมุมมองของผู้ให้ทุน (เอกชนและรัฐ)9. อบรมเรื่อง การใช้สถิติวิจัย10. เทคนิคการใช้เทคโนโลยีการวิเคราะห์สื่อต่างๆในงานทางด้านวิทยาศาสตร์11. อบรมเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับการวิจัย เช่น การเขียนโครงร่างทั้งในเชิง วิทย์เทคโน, สังคมศาสตร์, สุขภาพ12. จัด Work Shop วิธีเขียนและเสนอ Proposal66ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ <strong>2553</strong>


ข้อเสนอแนะ1. ต้องการให้จัดโครงการนี้อีก โดยมีระยะเวลามากกว่านี้ เนื่องจากระยะเวลาที่จัดในครั้งนี้น้อยเกินไป2. ห้องประชุมที่ใช้จัดอบรมไม่มีพื้นที่ว่างสําหรับการเขียนประกอบการบรรยาย3. อยากให้เอกสารมี Slide หรือข้อมูลที่วิทยากรบรรยายทุกท่านและทุกหัวข้อ4. หากมีการบรรยายพิเศษในเรื่อง/ประเด็นอื่นๆ วิทยากรที่บรรยาย ควรมีเทคนิค/ลักษณะทางบรรยายคล้าย ๆกับวิทยากรทั้ง 3 ท่าน5. ท่านคณาจารย์ทั้งหลาย เป็นผู้ที่มีความเก่ง มีความสามารถ คิดเร็ว พูดเร็ว ทําให้บางครั้งผู้ฟังที่อาจด้อยประสบการณ์ตามไม่ทัน จับจุดไม่ถูก พูดกว้างภาพรวมเกินไป และพูดไม่ชี้จุดชัดมากนัก6. อยากให้มีการจัดอบรมลักษณะนี้อย่างต่อเนื่อง• การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “การใช้โปรแกรมการจัดการทางบรรณานุกรม EndNote Web ครั้งที่ 2”เมื ่อวันที ่ 1 กันยายน <strong>2553</strong> ณ ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์เกษตร <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> โดยมีคุณศรัญยาไชยวงค์ นักเอกสารสนเทศ งานบริการทรัพยากรสารนิเทศกลาง สํานักหอสมุด <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> เป็นวิทยากรบรรยาย มีวัตถุประสงค์เพื่อจัดการอบรมให้กับนักศึกษาและบุคลากร คณะเกษตรศาสตร์ เพื่อพัฒนาทักษะการค้นคว้าข้อมูลและการอ้างอิงบรรณานุกรมสําหรับการเขียนรายงานผลการวิจัย มีผู้เข้าร่วมอบรมประกอบด้วย คณาจารย์ นักวิชาการ และนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา จํานวน 33 คน มีผู้ตอบแบบประเมินทั้งหมด 33 คน คิดเป็นร้อยละ 100% ความคิดเห็นโดยภาพรวมในการจัดบรรยายในครั้งนี้ ผู้ตอบแบบประเมินมีความพึงพอใจมาก และมีข้อเสนอแนะ ดังนี้1. อยากให้จัดกิจกรรมอย่างนี้เป็นประจําทุกปี เพื ่อเพิ่มความรู้และประสบการณ์ให้กับ คณาจารย์ นักวิชาการ นักศึกษาและเจ้าหน้าที่2. ควรจะเชิญชวนคณาจารย์ที่ต้องทํางานวิจัย เข้าการอบรม ให้ครบทุกคนÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ <strong>2553</strong>67


ในปีงบประมาณ <strong>2553</strong> งานวิเทศสัมพันธ์ มีผลการดําเนินงานด้านต่าง ๆ ดังนี ้1. อาคันตุกะชาวต่างประเทศที่มาเยือนคณะเกษตรศาสตร์ มีจํานวนทั้งสิ้น 13 ครั้ง ดังนี้ลําดับ วัน/เดือน/ปี หน่วยงานที่มาเยื่อน1 14 ตุลาคม 2552 National Institute of Animal Husbandry และ International Agricultural ProductsJSC, Vietnam2 30 ตุลาคม 2552 Seed and Seedling Center (GDAAS) และ Crop Research Institute, China3 7 พฤศจิกายน 2552 คณะผู้บริหารแขวงหลวงพระบางและแขวงเมือง สปป. ลาว4 11 ธันวาคม 2552 Erasmus University Medical Center Rotterdam, Netherlands5 11 ธันวาคม 2552 Adamawa State University, Nigeria6 22 ธันวาคม 2552 Tay Nguyen University, Vietnam7 27 มกราคม <strong>2553</strong> National Chung Hsing University, Taiwan8 15 กุมภาพันธ์ <strong>2553</strong> Gottingen University, Germany9 21 มิถุนายน <strong>2553</strong> บริษัท ซินเจนทา ครอป โปรเทคชั่น (ประเทศสวิสเซอร์แลนด์) จํากัด10 9 กรกฎาคม <strong>2553</strong> Bogor Agricultural University, Universitas Mulawarman, Andalas University andGasjah Mada University, Indonesia11 9 สิงหาคม <strong>2553</strong> Niigata University, Japan12 3 กันยายน <strong>2553</strong> Agriculture Research Organization (ARO) ประเทศอิสราเอล13 6 กันยายน <strong>2553</strong> Asia University ประเทศไต้หวัน68ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ <strong>2553</strong>


2. ข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการในปีงบประมาณ <strong>2553</strong> คณะเกษตรศาสตร์ ได้ได้รับมอบอํานาจจาก<strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong>ให้ลงนามในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ จํานวน 2 ฉบับ โดยได้ลงนามในบันทึกความเข้าใจ (ทั่วไป) กับ Free University of Bozen-Bolzanoประเทศอิตาลี และลงนามในบันทึกความเข้าใจในการจัดฝึกอบรมร่วมกันระหว่าง คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> กับKobe University และ Kyushu University ประเทศญี่ปุ่นหน่วยงาน ประเทศ วันเริ่มต้น-วันสิ้นสุด สาขาความร่วมมือKobe University และ Kyushu Japan 15 มีนาคม <strong>2553</strong> - 31 มีนาคม 2556 เกษตรศาสตร์UniversityUniversity of Bozen-Bolzano Italy 21 กันยายน <strong>2553</strong> - 20 กันยายน 2558 เกษตรศาสตร์และอุตสาหกรรมเกษตร3. โครงการ/กิจกรรมวิชาการที่จัดร่วมกับหน่วยงานต่างประเทศ1. โครงการวิจัยร่วม จํานวน 6 โครงการ1. Sustainable land use and rural development in mountainous region in Southeast Asia(The Uplands Program) ระยะที่ 4. ระยะเวลา 1 กรกฎาคม 2552 ถึง 30 มิถุนายน 2555 แหล่งทุนจาก DFG2. Tackling Biosecurity between Europe and Asia: Innovative Detection, Containment, and ControlTools of Invasive Alien Species Potentially Affecting Food Production and Trade. ระยะเวลา 1 ตุลาคม 2550 ถึง30 กันยายน <strong>2553</strong> แหล่งทุนจาก Asia-Link Programme-European Commission3. Global Zinc Fertilizer. ระยะเวลา 1 พฤษภาคม 2551 ถึง 30 เมษายน <strong>2553</strong> แหล่งทุนจาก HarvestPlus4. Samoeng Participatory Watershed Management Project (SAMPART-WMP) Samoeng district,Chiang Mai province. ระยะเวลา 1 กรกฎาคม 2545 ถึง 30 ธันวาคม <strong>2553</strong> แหล่งทุนจาก Finland Futures ResearchCentre and University of California at BerkeleyÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ <strong>2553</strong>69


5. Diversity, distribution and genetic variation of Mycosphaerella and its anamorphs in Thailand.ระยะเวลา 1 มิถุนายน 2551 ถึง 31 พฤษภาคม 2554 แหล่งทุนวิจัยจาก Inernational Foundation for Science (IFS)6. Climate Change in Southeast Asia and Assessment on Impact, Vulnerability and Adaptation onRice Production and Water Resource. ระยะเวลา 1 มีนาคม 2552 ถึง 5 ตุลาคม <strong>2553</strong> แหล่งทุนจาก Asia-PacificNetwork for Global Change Research (APN)2. โครงการจัดการเรียนการสอน/บรรยายพิเศษ 3 ครั้ง1. คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> ร่วมกับFree University of Bozen-Bolzano ร่วมจัดการบรรยายพิเศษ เรื่อง Characterizing of Protein Involved in InsectOdorant Perception. Asst. Prof. Dr. Sergio Angeli ผู้แทนจาก Free University of Bozen-Bolzano สาธารณรัฐอิตาลีให้เกียรติ เป็นวิทยากร ให้กับนักศึกษาภาควิชากีฏวิทยาและโรคพืช คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> กับ FreeUniversity of Bozen-Bolzano เมื่อวันที่ 18 สิงหาคม <strong>2553</strong>ณ ห้องประชุมสาขาวิชากีฏวิทยา คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong>2. ประชาสัมพันธ์โครงการ Global 30 ให้แก่นักเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายที่สนใจศึกษาต่อระดับปริญญาตรี ณ Kyushu University ประเทศญี่ปุ่น เมื่อวันที่ 20 กันยายน <strong>2553</strong>3. Integrated Supply Chain Management of Exotic Fruits from the ASEAN Region ระยะเวลา 1มกราคม 2551 ถึง 31 ธันวาคม <strong>2553</strong> แหล่งทุน EUROPEAN COMMISSION RESEARCH DIRECTORATE GENERAL703. โครงการหลักสูตรระยะสั้นคณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> ร่วมกับคณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยคินกิ (Kinki University)ประเทศญี่ปุ่น จัดหลักสูตรพิเศษระยะสั้น ครั้งที่ 6(The 6 th Kinki Intensive Course Program) ระหว่างวันที่28 กุมภาพันธ์ - 27 มีนาคม <strong>2553</strong> โดยจัดพิธีเปิดหลักสูตรและปฐมนิเทศนักศึกษา ในวันที ่ 1 มีนาคม <strong>2553</strong> และจัดการเรียนการสอน 3 กระบวนวิชา ได้แก่ AET103: GeneralAgriculture, AET323: Community and AgriculturalDevelopment และ CONS211: Principle of Conservationตั้งแต่วันที่ 1 - 23 มีนาคม <strong>2553</strong> ซึ่งในระหว่างนี้ได้มีการจัดการศึกษาดูงานภาคสนาม จํานวน 3 ครั้ง ได้แก่ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ <strong>2553</strong>


ครั้งที่ 1: ทัศนศึกษาสถานที่สําคัญของเมืองเชียงใหม่ครั้งที่ 2: เยี่ยมชมและดูงานสวนพฤกษศาสตร์ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิตติ์ครั้งที่ 3: ศึกษาดูงานสถานีวิจัยเกษตรหลวงอินทนนท์ และอุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ทั้งนี้ ได้จัดสัมมนาปัญหาพิเศษ มอบใบประกาศ และปิดหลักสูตร พร้อมจัดงานเลี้ยงอําลาเมื่อวันที่ 27 มีนาคม <strong>2553</strong>4. โครงการฝึกอบรม/ดูงาน1. การจัดฝึกอบรมหลักสูตร ”การพัฒนาชนบท” โดยศูนย์วิจัยและฝึกอบรมที่สูง คณะเกษตรศาสตร์ มช. ได้จัดการศึกษา/ดูงานให้กับเจ้าหน้าที่จากสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว จํานวน 7 ท่าน ในหลักสูตรการพัฒนาชนบท ระหว่างวันที่ 28 กุมภาพันธ์ - 28 มีนาคม <strong>2553</strong> โดยได้รับการสนับสนุนงบประมาณ จาก สพร. (TICA)2. การฝึกอบรมหลักสูตร “การจัดการเพาะปลูกพืชบนที่ดอน” โดยศูนย์วิจัยและฝึกอบรมที่สูง คณะเกษตรศาสตร์ มช.ให้กับเจ้าหน้าที่จากสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชนลาว จํานวน 5 ท่าน ภายใต้การสนับสนุนจากสํานักงานความร่วมมือเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศ (สพร.) ระหว่างวันที่ 2 - 30 พฤษภาคม <strong>2553</strong>3. การศึกษาดูงานด้าน “ระบบการผลิตผักปลอดสารพิษ” โดยมีเจ้าหน้าที่จากสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวได้เข้าศึกษาดูงาน ณ สถานีวิจัยเกษตรเขตชลประทาน ศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตร คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> จํานวน 5 ท่าน โดยมีคุณจตุรงค์ พวงมณี นักวิชาการเกษตร เป็นผู้ต้อนรับและบรรยายให้ความรู้ เมื่อวันที่ 6พฤษภาคม <strong>2553</strong>4. การฝึกอบรมหลักสูตร “การบริหารการจัดการน้ ําแบบบูรณาการ” โดยศูนย์วิจัยและฝึกอบรมที ่สูง คณะเกษตรศาสตร์<strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> ได้จัดการฝึกอบรม ให้แก่เจ้าหน้าที่ของกรมชลประทาน กระทรวงกสิกรรมและป่าไม้ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว จํานวน 5 คน ณ ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมที่สูง คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> เมื่อวันที่26 กันยายน - 24 ตุลาคม <strong>2553</strong>ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ <strong>2553</strong>71


5. โครงการประชุม/สัมมนา/นิทรรศการ จํานวน 1 ครั้งศูนย์วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางเกษตร คณะเกษตรศาสตร์ <strong>มหาวิทยาลัยเชียงใหม่</strong> จัดการฝึกอบรมวิชาการนานาชาติเรื่อง “Diversified Farming Practices Using Participatory Approaches for Food Security and Safety”การสนับสนุนจากสํานักงานความร่วมมือเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศ (สพร.) ระหว่างวันที่ 3 - 22 พฤษภาคม <strong>2553</strong>มีผู้เข้าร่วมการอบรมจํานวนทั้งสิ้น 20 คน เป็นชาวต่างชาติ 18 คน และชาวไทย 2 คน4. ทุนเพื่อไปปฏิบัติงาน ณ ต่างประเทศ: แยกเป็น 5 ประเภท ดังนี้1. ทุนวิจัย: บุคลากรของคณะเกษตรศาสตร์ ได้รับการสนับสนุนทุนเพื่อไปทําวิจัย ณ ต่างประเทศ จํานวน 6 ทุนลําดับ ชื่อ-นามสกุล หลักสูตร/สาขาวิชา/โครงการ ระยะเวลา1 ศ.ดร. อารี วิบูลย์พงศ์ Recreation Industry Management and 26 ต.ค. 52-9 พ.ย. 52Agribusiness Mangement2 ผศ.ดร. เยาวเรศ เชาวนพูนผล Recreation Industry Management and 26 ต.ค. 52-9 พ.ย. 52Agribusiness Mangement3 ผศ.ดร. เกศินี เกตุพยัคฆ์ Antiviral property and expression of porcine 1 ก.พ. 53-30 เม.ย 53Mx1 gene in Thai native pig4 รศ.ดร. โสระยา ร่วมรังษี The Global Circus Project 19 มี.ค. 53-29 มี.ค. 535 อ.ดร. บุศรา ลิ้มนิรันดร์กุล Development impacts of agrifood systems 29 พ.ค. 53-27 มิ.ย. 53transformation on smallholder farmers6 รศ.ดร. พิทยา สรวมศิริ โครงการเพิ่มชีดสถานภาพการตลาดสัปปะรดไทยใน 3 ก.ย. 53-8 ก.ย. 53ประเทศญี่ปุ่น72ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ <strong>2553</strong>


2. ทุนฝึกอบรม/ดูงาน: บุคลากรของคณะเกษตรศาสตร์ ได้รับการสนับสนุนทุนเพื่อไปฝึกอบรม ดูงาน ณ ต่างประเทศจํานวน 13 ทุนลําดับ ชื่อ-นามสกุล หลักสูตร/สาขาวิชา/โครงการ ระยะเวลา1 อ.ดร. พรสิริ สืบพงษ์สังข์ ERASMUS MUNDUS External Cooperation 8 ก.ค. 52-22 ธ.ค 52Window2 รศ.ดร. ดนัย บุณยเกียรติ ศึกษาดูงานด้านวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยว 2 ต.ค. 52-6 ต.ค. 523 รศ.ดร. สุชาดา เวียรศิลป์ Postharvest Technologies and Renewable 31 ต.ค 52-12 พ.ย. 52Energy4 รศ.ดร. มณีฉัตร นิกรพันธ์ เยี่ยมชม Horticultural Research Institute, Yunan 1 พ.ย. 52-7 พ.ย. 52Academy of Agricultural Sciences5 รศ.ดร. พรชัย เหลืองอาภาพงศ์ โครงการศึกษาความเป็นไปได้ของการปลูกพืชน้ํามัน 10 ม.ค 53-16 ม.ค 536 อ.ดร. เสาวลักษณ์ แย้มหมื ่นอาจ Interactions between nutrition, lactation and 28 มี.ค. 53-4 เม.ย. 53reproduction7 รศ.ดร. สุชาดา เวียรศิลป์ Modeling Post-Harvest Quality of High Value 13 พ.ค. 53-24 พ.ค. 53Crops in East Africa8 รศ.ดร. ดนัย บุณยเกียรติ Postharvest Technology Short Course 13 มิ.ย. 53-28 มิ.ย. 539 ผศ.ดร. ชวนพิศ บุญชิตสิริกุล เชื้อราสาเหตุของโรคพืช 1 ก.ค. 53-31 ธ.ค. 5310 อ. จามจุรี โสตถิกุล Biotechnological Utilization of Tropical Resources 2 ก.ค. 53-26 ก.ค. 5311 ผศ.ดร. ดรุณี นาพรหม The Uplands Program Symposium Organizaton 22 ก.ค. 53-28 ก.ค. 5312 ผศ.ดร. ศุภมิตร เมฆฉาย โครงการความร่วมมือทางวิชาการและวิทยาศาสตร์ 28 ส.ค. 53-5 ก.ย. 53ไทย-จีน ประจําปีงบประมาณ <strong>2553</strong>13 อ.ดร. สรัญยา วัลยะเสวี Molecular analysis of fungicide resistance 20 ก.ย. 53-17 ธ.ค. 533. ทุนประชุม/สัมมนา: บุคลากรของคณะเกษตรศาสตร์ ได้รับการสนับสนุนทุนเพื่อไปร่วมการประชุมสัมมนาณ ต่างประเทศ จํานวน 9 ทุนลําดับ ชื่อ-นามสกุล หลักสูตร/สาขาวิชา/โครงการ ระยะเวลา1 รศ.ดร. เบญจพรรณ เอกะสิงห์ Consultative Group og International Agricultural 13 พ.ย. 52-12 พ.ย. 52Research2 ผศ.ดร. โชค มิเกล็ด Livestock, Climate Change and the environment 14 พ.ย. 52-20 พ.ย. 523 ผศ.ดร. ดรุณี นาพรหม หลักสูตรร่วมนานาชาติ SAIWAM 18 พ.ย. 52-22 พ.ย. 524 ศ.ดร. เบญจวรรณ ฤกษ์เกษม International Workshop on Contemporary 3 ธ.ค. 52-7 ธ.ค. 52Environmental Matters in Mainland SoutheatAsiaÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ <strong>2553</strong>73


ลําดับ ชื่อ-นามสกุล หลักสูตร/สาขาวิชา/โครงการ ระยะเวลา5 ผศ.ดร. ถาวร อ่อนประไพ โครงการนําเข้าข้อมูลการใช้ประโยชน์ที่ดินพื้นที่ราย 6 ก.พ. 53-8 ก.พ. 53แปลง6 ผศ.ดร. เกวลิน คุณาศักดากุล Special Workshop on Citrus Production 12 พ.ค. 53-22 พ.ค. 537 รศ.ดร. จิราพร กุลสาริน Special Workshop on Citrus Production 14 พ.ค. 53-22 พ.ค. 538 รศ.ดร. ณัฐา โพธาภรณ์ Special Workshop on Citrus Production 14 พ.ค. 53-22 พ.ค. 539 อ.ดร. จิรวรรณ กิจชัยเจริญ หลักสูตรร่วมนานาชาติ SAIWAM 15 มิ.ย. 53-19 มิ.ย. 534. ทุนเสนอผลงาน: บุคลากรของคณะเกษตรศาสตร์ ได้รับการสนับสนุนทุนเพื่อไปเสนอผลงานทางวิชาการณ ต่างประเทศ จํานวน 7 ทุนลําดับ ชื่อ-นามสกุล หลักสูตร/สาขาวิชา/โครงการ ระยะเวลา1 รศ.ดร. โสระยา ร่วมรังษี The 3 rd International Meeting for the 6 ธ.ค. 52-10 ธ.ค. 52Development of Integrated Pest Managementin Asia and Africa2 อ.ดร. กมล งามสมสุข Climate Change, Food Security, and Food 14 ก.พ. 53-20 ก.พ. 53Safery: Economic, Social and EnvironmentalImplication3 รศ.ดร. สัญชัย จตุรสิทธา Effect of stranghter weight on muscle history 3 พ.ค. 53-12 พ.ค. 53of swamp buffers4 อ.ดร. บุศรา ลิ้มนิรันดร์กุล The 9 Wageningen International Conference 26 พ.ค. 53-28 พ.ค. 53on Chain and Network Management5 ผศ.ดร. อังสนา อัครพิศาล โครงการศูนย์บริการและถ่ายทอดโนโลยีชีวภาพเกษตร 5 มิ.ย. 53-12 มิ.ย. 536 ผศ.ดร. ดรุณี นาพรหม Sustainable Land Use in Rural Development in 20 ก.ค. 53-24 ก.ค. 53Mountainous Regions of Southeast Asia7 ผศ.ดร. ดรุณี นาพรหม The 28 International Horticultural Congress 20 ส.ค. 53-29 ส.ค. 535. ทุนผู้เชี่ยวชาญ: บุคลากรของคณะเกษตรศาสตร์ ได้รับเชิญให้เป็นวิทยากรและบรรยายพิเศษ ณ ต่างประเทศจํานวน 7 ทุนลําดับ ชื่อ-นามสกุล หลักสูตร/สาขาวิชา/โครงการ ระยะเวลา1 รศ.ดร. อดิศร กระแสชัย บรรยายพิเศษด้านการเกษตร 4 ต.ค 52-9 ต.ค. 522 รศ.ดร. พัฒนา เจียรวิริยะพันธ์ IPAAE 11 มี.ค. 53-22 มี.ค. 533 รศ.ดร. พัฒนา เจียรวิริยะพันธ์ Asian Rural Poverty and AgricultureDevelopment9 เม.ย. 53-11 เม.ย 5374ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ <strong>2553</strong>


ลําดับ ชื่อ-นามสกุล หลักสูตร/สาขาวิชา/โครงการ ระยะเวลา4 รศ.ดร. อรรถชัย จินตะเวช Assessing crop production, nutrient management, 10 พ.ค. 53-19 พ.ค. 53climatic risk and environmental sustainability5 ศ.ดร. เบญจวรรณ ฤกษ์เกษม IPAAE 24 พ.ค. 53-29 พ.ค. 536 ผศ.ดร. ถาวร อ่อนประไพ Asia Regional Biodiversity Conservation Program 23 ก.ค. 53- 28 ก.ค. 53and Winrock International7 รศ.ดร. อรรถชัย จินตะเวช Asia Reigonal Biodiversity ConservationProgram24 ก.ค. 53- 27 ก.ค. 535. นักศึกษาต่างชาติ: คณะเกษตรศาสตร์มีนักศึกษาต่างชาติ จํานวน 21 คน แยกเป็นแต่ละระดับการศึกษา ดังนี้1. ระดับปริญญาโท จํานวน 13 คนลําดับ ชื่อ-นามสกุล ประเทศ สาขาวิชา หลักสูตร1 Mr. Khemkham Hongphakdy Lao People’s Democratic พืชไร่ศึกษาหลักสูตรปกติRepublic2 Mr. บุญจันทร์ มณีแสง Lao People’s Democratic ส่งเสริมการเกษตร ศึกษาหลักสูตรปกติRepublic3 Ms. KONGKEO INTHAVONG Lao People’s Democratic ส่งเสริมการเกษตร ศึกษาหลักสูตรปกติRepublic4 Mr. พันธสิน คันธะวงศ์ Lao People’s Democratic พืชไร่ศึกษาหลักสูตรปกติRepublic5 Mr. คําโก้ ธรรมวง Lao People’s Democratic เกษตรศาสตร์เชิงระบบ ศึกษาหลักสูตรปกติRepublic6 Mr. NGUYEN SANG Vietnam การเกษตรยั ่งยืนและ ศึกษาหลักสูตรนานาชาติการจัดการลุ ่มน้ ําแบบบูรณาการ7 Mr. DANH TRUNG VIET Vietnam การเกษตรยั ่งยืนและ ศึกษาหลักสูตรนานาชาติการจัดการลุ ่มน้ ําแบบบูรณาการ8 Ms. EI EI CHO Myanmar เกษตรศาสตร์เชิงระบบ ศึกษาหลักสูตรนานาชาติ9 Mrs. MARUFA SULTANA Bangladesh เกษตรศาสตร์เชิงระบบ ศึกษาหลักสูตรนานาชาติ10 Mr. MYINT MYINT KHAING Myanmar เกษตรศาสตร์เชิงระบบ ศึกษาหลักสูตรนานาชาติ11 Mr. NGUYEN NGOC SON HAI Vietnam เกษตรศาสตร์เชิงระบบ ศึกษาหลักสูตรนานาชาติ12 Ms. THEINT THEINT AUNG Myanmar เกษตรศาสตร์เชิงระบบ ศึกษาหลักสูตรนานาชาติ13 Ms. YANG YANG XU China ธุรกิจเกษตร ศึกษาหลักสูตรปกติÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ <strong>2553</strong>75


2. ระดับปริญญาเอก จํานวน 3 คนลําดับ ชื่อ-นามสกุล ประเทศ สาขาวิชา หลักสูตร1 Ms. NILAM WULANDARI Indonesia โรคพืช ศึกษาหลักสูตรปกติ2 Ms. บุญมา เพ็งพระจันทร์ Lao People’s Democratic พืชสวน ศึกษาหลักสูตรปกติRepublic3 Ms. บุญมา เพ็งพระจันทร์ Japan ปฐพีศาสตร์ ศึกษาหลักสูตรปกติ3. นักศึกษาในหลักสูตรระยะสั้น จํานวน 5 คนลําดับ ชื่อ-นามสกุล ชื่อโครงการ หน่วยงานที่ร่วมมือ ประเทศ1 Ms. Fuki ISEKI หลักสูตรพิเศษระยะสั้น KinkiIntensive Course Program20102 Ms. Eri SEKIKAWA หลักสูตรพิเศษระยะสั้น KinkiIntensive Course Program20103 Mr. Hidefumi NAKAHIGASHI หลักสูตรพิเศษระยะสั้น KinkiIntensive Course Program20104 Mr. Kentaro FUJIWARA หลักสูตรพิเศษระยะสั้น KinkiIntensive Course Program20105 Mr. Hiroyuki KONEGAWA หลักสูตรพิเศษระยะสั้น KinkiIntensive Course Program2010Faculty of Agriculture,Kinki UniversityFaculty of Agriculture,Kinki UniversityFaculty of Agriculture,Kinki UniversityFaculty of Agriculture,Kinki UniversityFaculty of Agriculture,Kinki UniversityJapanJapanJapanJapanJapan76ÃÒ§ҹ»ÃШíÒ»‚ <strong>2553</strong>

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!