29.08.2015 Views

กุ้งขาวแวนนาไม 70 ตัว/กก 101.12

ในเดือนพฤษภาคม 2555 - สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร

ในเดือนพฤษภาคม 2555 - สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

สินค้าเกษตร<br />

สินค้าที่เป็นประเด็นร้อน<br />

สถานการณ์ราคาและการผลิตสินค้าเกษตร ประจําสัปดาห์ที่ 4 เดือนพฤษภาคม ๒๕๕๕<br />

สัปดาห์ที่ 3 สัปดาห์ที่ 4 %<br />

การเปลี่ยนแปลง ต้นทุน<br />

21–27 พ.ค.55 28พ.ค.–3 มิ.ย.55<br />

บาท / ตัน,<strong>กก</strong>.<br />

สินค้าที่เป็นประเด็นร้อน (Hot Issue)<br />

ปาล์มน้ํามัน : ราคาปรับ<strong>ตัว</strong>สูงขึ้นตามราคาน้ํามันปาล์มดิบในตลาดล่วงหน้ามาเลเซีย<br />

ยางพารา: ราคาลดลงเนื่องจากผลผลิตออกสู่ตลาดเพิ่มมากขึ้น และราคาปรับ<strong>ตัว</strong>ลดลงตามทิศทางตลาดล่วงหน้า TOCOM<br />

รวมทั้งราคาน้ํามันดิบที่ปรับ<strong>ตัว</strong>ลดลง<br />

ไข่ไก่ : ราคาสูงขึ้นเนื่องจากสภาพอากาศที่ร้อนทําให้อัตราการให้ไข่ลดลง<br />

สินค้าตามฤดูกาล<br />

มังคุด: ราคาลดลงเนื่องจากฝนตกทําให้คุณภาพไม่ดี<br />

เงาะโรงเรียน: ราคาลดลงเนื่องจากเป็นช่วงที่ผลผลิตออกสู่ตลาดมาก<br />

ลิ้นจี่: ราคาสูงขึ้นเนื่องจากผลผลิตออกสู่ตลาดลดลง<br />

สินค้าที่มีมูลค่าการผลิตมาก<br />

มันสําปะหลัง: ราคาสูงขึ้นเนื่องจากเป็นช่วงปลายฤดูกาล<br />

สุกร: ราคาลดลงเนื่องจากความต้องการของผู้บริโภคลดลง<br />

สัปดาห์หน้าคาดว่าราคาสินค้าเกษตรส่วนใหญ่ใกล้เคียงกับสัปดาห์นี้<br />

๑ ต้นทุนสุกร เดือนมีนาคม ๒๕๕๕ สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร<br />

๒ ต้นทุนไก่เนื้อ เดือนมีนาคม ๒๕๕๕ สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร<br />

๓<br />

ต้นทุนไข่ไก่ เดือนมีนาคม ๒๕๕๕ สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร<br />

ระดับราคาอยู่ในเกณฑ์วิกฤต หมายถึง ราคาที่ต่ํากว่าต้นทุน<br />

ระดับราคาอยู่ในเกณฑ์เฝ้าระวัง หมายถึง ราคาที่อยู่ระหว่างต้นทุน + กําไร ๒๐ %<br />

ระดับราคาอยู่ในเกณฑ์ดี หมายถึง ราคาที่สูงกว่าต้นทุน + กําไร ๒๐ %<br />

% ผลต่าง<br />

(ราคากับ<br />

ต้นทุน)<br />

ปาล์มน้ํามัน >๑๕ <strong>กก</strong>. 4.96 5.01 1.01 ๒.๙๐ 72.76<br />

สับปะรดโรงงาน 2.74 2.76 0.73 3.55 -22.25<br />

ยางพาราแผ่นดิบ ชั้น ๓ 98.30 98.14 -0.16 61.65 59.19<br />

ไข่ไก่สด เบอร์ 3 (ร้อยฟอง) 267.12 274.27 2.68 263 ๓ 4.29<br />

<strong>กุ้งขาวแวนนาไม</strong> <strong>70</strong> <strong>ตัว</strong>/<strong>กก</strong>. 109.35 109.32 -0.03 <strong>101.12</strong> 8.11<br />

สินค้าตามฤดูกาล<br />

ทุเรียนหมอนทองคละ 32.03 32.10 0.22 13.95 130.11<br />

มังคุดผิวมันขนาดกลาง 40.00 35.00 -12.50 15.76 122.08<br />

เงาะโรงเรียนคละ 7.35 7.00 -4.76 7.73 -9.44<br />

ลิ้นจี่พันธุ์ฮงฮวย เกรด AA 12.89 13.50 4.73 12.15 11.11<br />

สินค้าที่มีมูลค่าการผลิตมาก<br />

ข้าวเปลือกเจ้าความชื้น ๑๕% 10,226 10,331 1.03 ๙,๒๐๓ 12.26<br />

มันสําปะหลังคละ 1.87 1.97 5.35 ๑.๗๗ 11.30<br />

สุกรน้ําหนักเกิน ๑๐๐ <strong>กก</strong>. 62.40 61.60 -1.28 58.03 ๑ 6.15<br />

ไก่รุ่นพันธุ์เนื้อ 43.22 43.49 0.62 33.95 ๒ 28.10<br />

เกณฑ์การ<br />

เตือนภัย


ปฏิทินงานติดตามการผลิตและการแก้ไขปัญหาสินค้าเกษตร ปี 2555<br />

เดือน ชื่อพืช กิจกรรม<br />

หน่วยงาน<br />

สถานภาพการดําเนินงาน<br />

รับผิดชอบ<br />

วันที่ดําเนินงาน<br />

พ.ค. ปาล์มน้ํามัน - สถานการณ์การผลิต สศก. - ปี 2555 สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตรประมาณการผลิตปาล์มน้ํามันว่าจะมี<br />

ประมาณ 11.62 ล้านตัน คิดเป็นผลผลิตน้ํามันปาล์มดิบ 1.98 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก<br />

10.78 ล้านตัน และผลผลิตน้ํามันปาล์มดิบ 1.83 ล้านตัน ในปี 2554 ร้อยละ<br />

7.79 และ 8.20 ตามลําดับ เนื่องจา<strong>กก</strong>ารขยายพื้นที่เพาะปลูกปาล์มน้ํามันตั้งแต่ปี<br />

2551 ประกอบกับราคาผลปาล์มน้ํามันที่เกษตรกรขายได้อยู่ในเกณฑ์ดี เกษตรกรจึง<br />

ให้การดูแลและใส่ปุ๋ยมากขึ้น<br />

- ในเดือนพฤษภาคม 2555 ผลผลิตปาล์มน้ํามันคาดว่ามีประมาณ 1.133 ล้านตัน<br />

คิดเป็นน้ํามันปาล์มดิบ 0.193 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 0.876 ล้านตัน คิดเป็นน้ํามัน<br />

ปาล์มดิบ 0.149 ล้านตันของเดือนเมษายน 2555 ร้อยละ 29.31<br />

- ราคาปาล์มน้ํามันที่เกษตรกรขายได้ เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับสัปดาห์ที่ผ่านมา<br />

เนื่องจากราคาตลาดล่วงหน้ามาเลเซียปรับ<strong>ตัว</strong>เพิ่มขึ้น<br />

พ.ค. สับปะรด - สถานการณ์การผลิต สศก. - การผลิตสับปะรดปี 2555 คาดว่ามีปริมาณ 2.52 ล้านตัน ลดลงจากปริมาณ<br />

2.59 ล้านตันของปี 2554 ร้อยละ 2.<strong>70</strong> เนื่องจากราคาสับปะรดที่เกษตรกรขายได้<br />

ตกต่ําในช่วงเดือนพฤศจิกายน – ธันวาคม 2555 ส่งผลให้เกษตรกรส่วนใหญ่ซึ่งเป็น<br />

เกษตรกรรายย่อยขาดเงินทุนในการดูแลรักษา ทําให้ผลผลิตบางส่วนได้รับความ<br />

เสียหาย<br />

1


เดือน ชื่อพืช กิจกรรม<br />

หน่วยงาน<br />

รับผิดชอบ<br />

สถานภาพการดําเนินงาน<br />

วันที่ดําเนินงาน<br />

- ในเดือนพฤษภาคม 2555 ผลผลิตคาดว่าจะออกสู่ตลาดประมาณ 0.290 ล้าน<br />

ตัน เพิ่มขึ้นจาก 0.240 ล้านตันของเดือนเมษายน 2555 ร้อยละ 20.83<br />

- ราคาสับปะรดโรงงานที่เกษตรกรขายได้ ทรง<strong>ตัว</strong>เมื่อเทียบกับสัปดาห์ที่ผ่านมา<br />

เนื่องจากเลยช่วง ที่ผลผลิตออกสู่ตลาดมาก (peak) แล้ว<br />

-มาตรการแก้ไขปัญหา สศก. - ครม. ในคราวประชุมเมื่อวันที่ 1 พ.ค. 55 เห็นชอบในหลั<strong>กก</strong>ารโครงการแก้ไข<br />

ปัญหาสับปะรด ปี 2555 โดยให้ดําเนินการเฉพาะในส่วนการรับซื้อสับปะรดสดเพื่อ<br />

การแปรรูป ดังนี้<br />

- ค่าใช้จ่ายเป็นค่ารับซื้อผลผลิตสับปะรดส่วนเกินในราคาสับปะรดคละ ณ จุดรับ<br />

ซื้อ 4 บ./<strong>กก</strong>. ในวงเงินไม่เกิน 800 ล้านบาท โดยให้ใช้จ่ายจากเงินกู้ของ ธ.ก.ส.<br />

- ค่าใช้จ่ายเป็นค่าจ้างผลิตสับปะรดกระป๋อง เพื่อระบายจําหน่ายต่อไป<br />

ประกอบด้วย ค่าจัดจ้างแปรรูป ค่าเช่าคลังสินค้า ค่าขนส่งในการระบายสินค้า ค่า<br />

ประกันภัยสินค้า รวมทั้งการตรวจสอบคุณภาพของสินค้าให้ได้มาตรฐาน ค่าใช้จ่ายใน<br />

การดําเนินการชี้แจงโครงการฯ และค่าใช้จ่ายในการบริหารจัดการโครงการฯ ใน<br />

วงเงินรวมไม่เกิน 674 ล้านบาท และให้ใช้จ่ายโดยถัวจ่ายกันได้และเป็นเงินจ่ายขาด<br />

เบิกจ่ายจากงบประมาณรายจ่ายประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 งบกลาง รายการ<br />

เงินสํารองจ่ายเพื่อกรณีฉุกเฉินหรือจําเป็น<br />

- ให้กระทรวงพาณิชย์และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องรับผิดชอบและเร่งรัดดําเนินการ<br />

จําหน่ายสับปะรดกระป๋องที่ผลิตได้จากโครงการฯ<br />

- ระยะเวลาดําเนินการ 1 พ.ค.-30 มิ.ย.55 ระยะเวลาโครงการ 1 พ.ค.55-28<br />

ก.พ. 56<br />

2


เดือน ชื่อพืช กิจกรรม<br />

หน่วยงาน<br />

สถานภาพการดําเนินงาน<br />

รับผิดชอบ<br />

วันที่ดําเนินงาน<br />

- ความคืบหน้าในการดําเนินการ สศก. -18 พค.55 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์จัดทําข่าวประชาสัมพันธ์การดําเนินงาน<br />

โครงการผ่านสื่อหนังสือพิมพ์ และข้อความวิ่งทางโทรทัศน์แล้ว<br />

-24 พค.55 สํานักงบประมาณ, สศก. , อ.ต.ก. , กสก., และกระทรวงพาณิชย์ ได้มีการประชุม<br />

หารือการขอเบิกจ่ายเงินงบกลางเพื่อดําเนินโครงการฯ ซึ่งสํานักงบประมาณให้หน่วยงานที่<br />

รับผิดชอบในแต่ละกิจกรรมไปแจงรายละเอียดค่าใช้จ่าย และนําเสนอสํานักงบประมาณต่อไป<br />

-29 พค.55 ครม. มีมติเห็นชอบให้ อ.ต.ก. เป็นผู้กู้ยืมเงินจาก ธ.ก.ส. ในการดําเนินโครงการฯ<br />

พ.ค. ยางพารา - สถานการณ์การผลิต สศก. - สถานการณ์การผลิตยางพารา ปี 2555 คาดว่าจะมีผลผลิต 3.585 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก<br />

3.312 ล้านตันของปี 2554 ร้อยละ 8.24 เนื่องจากมีพื้นที่เปิดกรีดเพิ่มมากขึ้น<br />

- ในเดือนพฤษภาคม 2555 ผลผลิตคาดว่าจะมีประมาณ 0.207 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 0.102<br />

ล้านตันของเดือนเมษายน 2555 ร้อยละ 102.94 เนื่องจากใบยางเริ่มแก่ทําให้เกษตรกรหันมา<br />

กรีดยางเพิ่มมากขึ้น<br />

- ราคายางแผ่นดิบคุณภาพ 3 ที่เกษตรกรขายได้ ลดลงจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากผลผลิต<br />

ออกสู่ตลาดเพิ่มมากขึ้น และราคายังปรับ<strong>ตัว</strong>ลดลงตามทิศทางเดียวกับราคาตลาดล่วงหน้า<br />

TOCOM รวมทั้งราคาน้ํามันที่ปรับ<strong>ตัว</strong>ลดลง ประกอบกับนักลงทุนวิต<strong>กก</strong>ังวลเกี่ยวกับภาวะ<br />

เศรษฐกิจทั้งของจีน สหรัฐอเมริกา และของยุโรปที่ซบเซา ทําให้ระมัดระวังในการซื้อขาย ส่งผลให้<br />

ราคายางปรับ<strong>ตัว</strong>ลดลงดังกล่าว<br />

พ.ค. ไข่ไก่ -สถานการณ์การตลาด สศก. -ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ สูงขึ้น เมื่อเทียบกับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากสภาพอากาศที่ร้อน<br />

อย่างต่อเนื่องทําให้อัตราการให้ไข่ลดลง<br />

3


เดือน ชื่อพืช กิจกรรม<br />

หน่วยงาน<br />

สถานภาพการดําเนินงาน<br />

รับผิดชอบ<br />

วันที่ดําเนินงาน<br />

พ.ค. กุ้งขาว- -สถานการณ์การตลาด สศก. - ราคา<strong>กุ้งขาวแวนนาไม</strong>ที่เกษตรกรขายได้ทุกขนาด ลดลงเล็กน้อยเมื่อเทียบกับสัปดาห์ที่ผ่านมา<br />

แวนนาไม เนื่องจากมีปริมาณผลผลิตกุ้งออกสู่ตลาดมากขึ้น ประกอบกับโรงงานแปรรูปชะลอการรับซื้อ<br />

วัตถุดิบเข้าสต๊อก<br />

-มาตรการแก้ไขปัญหา ปม. - เมื่อ 22 พค.55 คชก. ได้มีมติเห็นชอบให้กรมประมงดําเนินโครงการเพื่อแก้ไขปัญหาราคา<br />

<strong>กุ้งขาวแวนนาไม</strong>ตกต่ํา โดยอนุมัติเงินจ่ายขาดวงเงิน 562.38 ล้านบาท โดยรัฐชดเชยราคา<br />

ส่วนต่างที่ห้องเย็นรับซื้อจากเกษตรกรกับราคาเป้าหมายนําตามชั้นคุณภาพกุ้งผ่าน ธ.ก.ส.<br />

ระยะเวลาดําเนินการ พค.-ตค.55 ในขั้นต้นให้เริ่มดําเนินการ พค.-กค.55 ปริมาณกุ้งเดือนละ<br />

10,000 ตัน โดยกําหนดราคาชดเชยส่วนต่าง ดังนี้<br />

ขนาดกุ้ง (<strong>ตัว</strong>/<strong>กก</strong>.) ห้องเย็นซื้อ (บ./<strong>กก</strong>.)<br />

ราคาเป้าหมายนํา ส่วนต่างที่ชดเชย<br />

ตลาด (บ./<strong>กก</strong>.) (บ./<strong>กก</strong>.)<br />

40 145 165 20<br />

50 135 155 20<br />

60 125 145 20<br />

<strong>70</strong> 115 135 20<br />

80 105 125 20<br />

90 100 110 10<br />

100 100 110 10<br />

4


เดือน ชื่อพืช กิจกรรม<br />

หน่วยงาน<br />

สถานภาพการดําเนินงาน<br />

รับผิดชอบ<br />

วันที่ดําเนินงาน<br />

พ.ค. ผลไม้ภาค -สถานการณ์การผลิต สศก. - เมื่อ 6 มี.ค.55 คณะทํางานจัดทําข้อมูลไม้ผลเศรษฐกิจได้สรุปสถานการณ์การผลิตผลไม้ 4 ชนิด<br />

ตะวันออก (ทุเรียน มังคุด เงาะ และลองกอง) ของ 3 จังหวัดภาคตะวันออก (จันทบุรี ระยอง และตราด)<br />

(ทุเรียน มังคุด ปี 2555 ว่าจะมีผลผลิตรวม <strong>70</strong>9,908 ตัน ลดลงจากปีที่ผ่านมาร้อยละ 6.45 เนื่องจากสภาพ<br />

เงาะ อากาศแปรปรวนมีฝนตกหลงฤดูในช่วงปลาย ธ.ค.-ม.ค. และปลาย ก.พ. ทําให้แตกใบอ่อน ดอกร่วง<br />

และลองกอง สลัดลูกทิ้ง โดยผลผลิตผลไม้ทั้ง 4 ชนิดจะกระจุก<strong>ตัว</strong>ออกสู่ตลาดมากที่สุดในช่วงเดือน พ.ค.<br />

ประมาณ 3 แสนตัน หรือร้อยละ 40 ของผลผลิตทั้งหมดของภาคตะวันออก<br />

โดยแยกสถานการณ์ผลไม้รายชนิด ได้ดังนี้<br />

- ทุเรียน คาดว่าจะมีผลผลิต 308,801 ตัน ลดลงจากปีที่ผ่านมาร้อยละ 10.26 โดยผลผลิตจะ<br />

กระจุก<strong>ตัว</strong>ออกสู่ตลาดมากที่สุดช่วงปลายเดือน เม.ย.-ต้นเดือน พ.ค. ประมาณ 143,000 ตัน<br />

หรือร้อยละ 46 ของผลผลิตทุเรียนทั้งหมดของภาคตะวันออก<br />

- มังคุด คาดว่าจะมีผลผลิต 101,327 ตัน ลดลงจากปีที่ผ่านมาร้อยละ 8.81 โดยผลผลิตจะ<br />

กระจุก<strong>ตัว</strong>ออกสู่ตลาดมากที่สุดช่วงปลายเดือน มี.ค.-ต้นเดือน พ.ค. ประมาณ 22,000 ตัน หรือ<br />

ร้อยละ 22 ของผลผลิตมังคุดทั้งหมดของภาคตะวันออก<br />

- เงาะ คาดว่าจะมีผลผลิต 243,647 ตัน เพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมาร้อยละ 2.55 โดยผลผลิตจะ<br />

กระจุก<strong>ตัว</strong>ออกสู่ตลาดมากที่สุดช่วงกลางเดือนมิถุนายน ประมาณ 58,000 ตัน หรือร้อยละ 24<br />

ของผลผลิตเงาะทั้งหมดของภาคตะวันออก<br />

- ลองกอง คาดว่าจะมีผลผลิต 56,133 ตัน ลดลงจากปีที่ผ่านมาร้อยละ 15.02 โดยผลผลิตจะ<br />

กระจุก<strong>ตัว</strong>ออกสู่ตลาดมากที่สุดช่วงปลายเดือน เม.ย.-ต้นเดือน มิ.ย. ประมาณ 13,000 ตัน หรือ<br />

ร้อยละ 23 ของผลผลิตทุเรียนทั้งหมดของภาคตะวันออก<br />

- ขณะนี้ (29 พ.ค.55) ผลผลิตผลไม้ทั้ง 4 ชนิดออกสู่ตลาดแล้วประมาณ 535,753 ตัน หรือ<br />

ร้อยละ 75.47 เมื่อเทียบกับผลผลิตทั้งหมดของ 3 จังหวัดภาคตะวันออก<br />

5


เดือน ชื่อพืช กิจกรรม<br />

หน่วยงาน<br />

รับผิดชอบ<br />

สถานภาพการดําเนินงาน<br />

วันที่ดําเนินงาน<br />

- ราคาผลไม้ที่เกษตรกรขายได้ แยกรายชนิดได้ ดังนี้<br />

- ทุเรียนพันธุ์หมอนทอง เพิ่มขึ้น เมื่อเทียบกับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากในช่วงนี้ผลผลิตออกสู่<br />

ตลาดน้อยลง ในขณะที่ความต้องการยังคงมีอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะทุเรียนคุณภาพเพื่อการส่งออก<br />

- มังคุด ลดลง เมื่อเทียบกับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากช่วงนี้ฝนตกชุกทําให้มังคุดเป็นเนื้อแก้ว<br />

และยางไหลในผล คุณภาพไม่เป็นที่ต้องการของตลาด<br />

- เงาะ ลดลง เมื่อเทียบกับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากผลผลิตกระจุก<strong>ตัว</strong>ออกสู่ตลาดเพิ่มมากขึ้น<br />

- ลองกอง ลดลง เมื่อเทียบกับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากผลผลิตเริ่มออกสู่ตลาดมากขึ้น<br />

-มาตรการแก้ไขปัญหาด้านราคา กสก. - เมื่อ 23 มี.ค.55 คณะกรรมการนโยบายและมาตรการช่วยเหลือเกษตรกร (คชก.) ได้อนุมัติ<br />

วงเงิน 137.841 ล้านบาท (เงินทุนหมุนเวียน 400,000 บาท และเงินจ่ายขาด 137.441 ล้าน<br />

บาท) ให้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการดําเนินโครงการป้องกันแก้ไขปัญหา<br />

ผลไม้ภาคตะวันออก ปี 2555 โดยการส่งเสริมการแปรรูป การบริหารจัดการคุณภาพผลผลิต การ<br />

กระจายผลผลิตออกนอกแหล่งผลิต และการประชาสัมพันธ์และส่งเสริมการบริโภคผลไม้ไทย ซึ่งมี<br />

ระยะเวลาดําเนินการ เมษายน-กรกฎาคม 2555 ระยะเวลาโครงการ เมษายน-ธันวาคม 2556<br />

-ความคืบหน้าในการดําเนินการ<br />

กสก. - ขณะนี้ จังหวัดจันทบุรีดําเนินการตามมาตรการกระจายผลผลิต โดยเปิดจุดรับซื้อเงาะจํานวน<br />

37 จุด ราคาไม่ต่ํากว่ากิโลกรัมละ 11.50 บาท งบประมาณ 62.50 ล้านบาท<br />

6


เดือน ชื่อพืช กิจกรรม<br />

หน่วยงาน<br />

สถานภาพการดําเนินงาน<br />

รับผิดชอบ<br />

วันที่ดําเนินงาน<br />

พ.ค. ลิ้นจี่ -สถานการณ์การผลิต สศก. - เมื่อ 20 ก.พ. 55 คณะทํางานจัดทําข้อมูลไม้ผลเศรษฐกิจได้สรุปสถานการณ์การผลิตลิ้นจี่<br />

ของ 4 จังหวัดภาคเหนือ (เชียงใหม่ เชียงราย พะเยา และน่าน) ปี 2555 ว่าจะมีผลผลิต 62,018 ตัน<br />

เพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมาร้อยละ 93.51 เนื่องจากสภาพอากาศเหมาะสมต่อการออกดอกและติดผล<br />

โดยผลผลิตจะกระจุก<strong>ตัว</strong>ออกสู่ตลาดมากที่สุดในเดือน พ.ค. ประมาณ 33,872 ตัน หรือร้อยละ<br />

54.62 ของผลผลิตทั้งหมดของ 4 จังหวัดภาคเหนือ<br />

-ขณะนี้ (29 พค.55) ผลผลิตลิ้นจี่ของ 4 จังหวัดภาคเหนือออกสู่ตลาดแล้ว 40,747 ตัน<br />

หรือร้อยละ <strong>70</strong>.82 ของผลผลิตลิ้นจี่ทั้งหมดของ 4 จังหวัดภาคเหนือ<br />

- ราคาลิ้นจี่พันธุ์ฮงฮวยที่เกษตรกรขายได้ เพิ่มขึ้น เมื่อเทียบกับสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากอยู่ในช่วงปลาย<br />

ฤดู ทําให้มีผลผลิตออกสู่ตลาดน้อย<br />

-มาตรการแก้ไขปัญหาด้านราคา กสก. - เมื่อ 23 มี.ค.55 คณะกรรมการนโยบายและมาตรการช่วยเหลือเกษตรกร (คชก.) ได้อนุมัติ<br />

วงเงิน 44.8515 ล้านบาท (เงินทุนหมุนเวียน 800,000 บาท และเงินจ่ายขาด 44.0515 ล้าน<br />

บาท) ให้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการดําเนินโครงการป้องกันแก้ไขปัญหา<br />

ลิ้นจี่ปี 2555 โดยการส่งเสริมการแปรรูป การกระจายผลผลิตออกนอกแหล่งผลิต และการ<br />

ประชาสัมพันธ์และส่งเสริมการบริโภคผลไม้ไทย ซึ่งมีระยะเวลาดําเนินการ 1 พ.ค.-30 มิ.ย.<br />

2555 ระยะเวลาโครงการ 1 พ.ค.-30 มิ.ย. 2556<br />

-ความคืบหน้าในการดําเนินการ กสก. - ขณะนี้ (28 พค.55) ได้มีการดําเนินการตามมาตรการกระจายผลผลิตออกนอกแหล่งผลิต<br />

ใน 4 จังหวัด (เชียงใหม่ เชียงราย พะเยา และน่าน) รวม 7,877 ตัน วงเงิน 5 ล้านบาท (เป้าหมาย<br />

15,<strong>70</strong>0 ตัน วงเงิน 39.250 ล้านบาท)<br />

7


เดือน ชื่อพืช กิจกรรม<br />

หน่วยงาน<br />

สถานภาพการดําเนินงาน<br />

รับผิดชอบ<br />

วันที่ดําเนินงาน<br />

พ.ค. ข้าวนาปรัง - สถานการณ์การผลิต สศก. - ข้าวนาปรัง ปี 2555 คาดการณ์ ณ เดือน มี.ค. 55 มีพื้นที่ปลูก 16.915 ล้านไร่<br />

ปี 2555 ผลผลิต 11.261 ล้านตันข้าวเปลือก ผลผลิตต่อไร่ 666 กิโลกรัม เทียบกับ<br />

ปี 2554 พื้นที่ปลูก ผลผลิตและผลผลิตต่อไร่ เพิ่มขึ้นร้อยละ 5.04 ร้อยละ 11.04<br />

และร้อยละ 5.71 ตามลําดับ<br />

- คาดว่าเกษตรกรจะเก็บเกี่ยวในเดือน พ.ค. 55 ประมาณ 2.435 ล้านตัน<br />

ข้าวเปลือก คิดเป็นร้อยละ 21.62 ของผลผลิตข้าวนาปรังทั้งหมด<br />

ข้าวนาปี - สถานการณ์การผลิต สศก. - ข้าวนาปี ปี 2555/56 คาดการณ์ ณ เดือน มี.ค. 55 มีพื้นที่ปลูก 62.625<br />

ปี 2555/56 ล้านไร่ ผลผลิต 24.710 ล้านตันข้าวเปลือก ผลผลิตต่อไร่ 395 กิโลกรัม เทียบกับ<br />

ปี 2554/55 พื้นที่ปลูก ผลผลิตและผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้น ร้อยละ 1.25<br />

ร้อยละ 21.34 และร้อยละ 20.06 ตามลําดับ<br />

- ราคาข้าวขาว ข้าวหอมมะลิ ข้าวเหนียวที่เกษตรกรขายได้ ราคาปรับ<strong>ตัว</strong>สูงขึ้น<br />

เล็กน้อยจากสัปดาห์ก่อน เนื่องจากมีความต้องการซื้อเพื่อการส่งออกและใช้<br />

ภายในประเทศมากขึ้น ขณะที่ผลผลิตออกสู่ตลาดน้อย<br />

8


9<br />

เดือน ชื่อพืช กิจกรรม<br />

มติ ครม. เมื่อวันที่ 22 ก.พ. 55 รับทราบกรอบ ชนิด ราคา<br />

ปริมาณ ระยะเวลา วิธีการ หลักเกณฑ์ และเงื่อนไข การรับ<br />

จํานําข้าวเปลือกนาปรัง ปี 2555 ดังนี้<br />

1) ชนิดและราคารับจํานําข้าวเปลือกนาปรัง ปี 2555 ให้<br />

กําหนดชนิดและราคารับจํานําข้าวเปลือกนาปรัง ปี 2555 ณ<br />

ความชื้นไม่เกิน 15 % ดังนี้<br />

1) ข้าวเปลือกเจ้า 100% ตันละ 15,000 บาท<br />

ข้าวเปลือกเจ้า 5% ตันละ 14,800 บาท<br />

ข้าวเปลือกเจ้า 10% ตันละ 14,600 บาท<br />

ข้าวเปลือกเจ้า 15 % ตันละ 14,200 บาท<br />

ข้าวเปลือกเจ้า 25 % ตันละ 13,800 บาท<br />

2) ข้าวเปลือกปทุมธานี 1 (42 กรัม)ตันละ 16,000 บาท<br />

3) ข้าวเปลือกเหนียว 10% เมล็ดยาว ตันละ 16,000 บาท<br />

ข้าวเปลือกเหนียว 10% เมล็ดสั้น ตันละ 15,000 บาท<br />

ทั้งนี้ ราคารับจํานําข้าวเปลือกปทุมธานี 1 ให้ปรับเพิ่ม –<br />

ลดตามจํานวนกรัมในอัตรากรัมละ 200 บาท<br />

2) เป้าหมายการรับจํานํา ไม่จํากัดปริมาณข้าวเปลือกที่รับ<br />

จํานําทั้งโครงการ โดยรับจํานําผลผลิตข้าวเปลือกนาปรัง ปี<br />

2555 ที่ผลิตในประเทศไทยทั้งหมด ซึ่งกระทรวงเกษตรและ<br />

สหกรณ์คาดการณ์ว่าจะมีผลผลิตรวม 11.11 ล้านตัน<br />

หน่วยงาน<br />

รับผิดชอบ<br />

พณ.<br />

สถานภาพการดําเนินงาน<br />

วันที่ดําเนินงาน


10<br />

เดือน ชื่อพืช กิจกรรม<br />

3) ปริมาณจํานําของเกษตรกรแต่ละราย จะคํานวณตามพื้นที่<br />

เพาะปลูก ผลผลิตเฉลี่ยรายจังหวัด และผลผลิตรวมของ<br />

เกษตรกรตามหนังสือรับรองที่กรมการส่งเสริมการเกษตรออก<br />

ให้แก่เกษตรกรเป็นข้อมูลประกอบ กรณีผลผลิตของเกษตรกร<br />

สูงกว่าปริมาณผลผลิตเฉลี่ย ให้ปรับเพิ่มได้อีกไม่เกิน 20%<br />

(ณ ความชื้น 15%) โดยให้เกษตรกรรับรองว่าข้าวเปลือกของ<br />

เกษตรกรเองและแจ้งให้อนุกรรมการติดตามและกํากับดูแลการ<br />

รับจํานําระดับจังหวัดสุ่มตรวจสอบอย่างน้อย 20% ของ<br />

เกษตรกรที่มีผลผลิตเกินกว่าผลผลิตเฉลี่ยที่กําหนด<br />

4) การกําหนดพันธุ์ข้าวที่จะเข้าร่วมโครงการ ให้เป็นไปตาม<br />

มติคณะอนุกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติด้านการผลิตเมื่อวันที่<br />

23 ธันวาคม 2554 ที่เห็นชอบให้เกษตรกรสามารถนําข้าวทุก<br />

พันธุ์เข้าร่วมโครงการฯ ได้ รวมทั้งพันธุ์ข้าวที่ปลูกและให้<br />

ข้าวสารคุณภาพต่ํา จํานวน 18 พันธุ์ ซึ่งในโครงการรับจํานํา<br />

ข้าวเปลือกนาปี ปี 2554/55 ไม่ได้ให้เข้าร่วมโครงการ<br />

หน่วยงาน<br />

รับผิดชอบ<br />

สถานภาพการดําเนินงาน<br />

วันที่ดําเนินงาน


11<br />

เดือน ชื่อพืช กิจกรรม<br />

5) ระยะเวลาดําเนินการ<br />

(1) ระยะเวลาเพาะปลูกและเก็บเกี่ยว ให้เป็นไป<br />

ตามที่คณะอนุกรรมการนโยบายข้าวแห่งชาติด้านการผลิตมีมติ<br />

เมื่อวันที่ 23 ธันวาคม 2554<br />

การปลูก 1 พ.ย. 54 – 30 เม.ย. 55<br />

ภาคใต้ 1 มี.ค.– 15 มิ.ย. 55<br />

การเก็บเกี่ยว 1 ก.พ. – 31 ส.ค. 55<br />

ภาคใต้ 1 มิ.ย. – 15 ตุ.ค.55<br />

การขึ้นทะเบียน 4 ม.ค. – 31 พ.ค. 55<br />

ภาคใต้ 1 เม.ย. – 15 ก.ค.55<br />

การประชาคม 20 ม.ค. – 15 มิ.ย. 55<br />

ภาคใต้ 1 พ.ค. – 31 ก.ค.55<br />

การออกใบรับรอง 20 ม.ค. – 30 มิ.ย. 55<br />

ภาคใต้ 2 พ.ค. – 15 ส.ค55<br />

(2) ระยะเวลาดําเนินการรับจํานํา 1 มีนาคม – 15<br />

กันยายน 2555 ภาคใต้ 1 กรกฎาคม – 31 ตุลาคม 2555<br />

ระยะเวลาไถ่ถอน 4 เดือน นับถัดจากเดือนที่รับจํานํา<br />

ระยะเวลาโครงการ เดือนมีนาคม 2555 – มกราคม 2556<br />

หน่วยงาน<br />

รับผิดชอบ<br />

สถานภาพการดําเนินงาน<br />

วันที่ดําเนินงาน


12<br />

เดือน ชื่อพืช กิจกรรม<br />

6) วิธีการรับจํานํา ให้รับจํานําเฉพาะใบประทวนเท่านั้นโดยให้<br />

อคส. และ อ.ต.ก. รับสมัครโรงสีเข้าร่วมโครงการ เพื่อเป็นจุด<br />

รับฝากข้าวเปลือกและออกใบประทวนให้เกษตรกรที่นํา<br />

ข้าวเปลือกมาจํานําภายใน 3 วันทําการ เพื่อให้เกษตรกรนําใบ<br />

ประทวนไปจํานํากับ ธ.ก.ส. และ ธ.ก.ส. ต้องจ่ายเงินให้<br />

เกษตรกรภายใน 3 วันทําการ โดยให้โรงสีที่รับฝากข้าวเปลือก<br />

ไว้ดําเนินการสีแปรสภาพข้าวเปลือกเป็นข้าวสารส่งมอบเข้า<br />

โกดังกลางตามหลักเกณฑ์และมติของอนุกรรมการกํากับดูแล<br />

การรับจํานําข้าวโดยเคร่งครัด<br />

7) หลักเกณฑ์การรับจํานํา<br />

(1) เกษตรกรผู้มีสิทธิจํานํา จะต้อง (1) มีหนังสือรับรอง<br />

เกษตรกรจา<strong>กก</strong>รมส่งเสริมการเกษตร ซึ่งผ่านการทําประชาคม และ<br />

เกษตรกรลงชื่อรับรอง<strong>ตัว</strong>เอง พร้อมทั้งเจ้าหน้าที่ผู้ที่ได้รับ<br />

มอบหมายลงชื่อรับรองด้วย (2) เป็นข้าวเปลือกที่เกษตรกร<br />

เพาะปลูกเองในฤดูการผลิตข้าวนาปรัง ปี 2555 และ (3) เป็น<br />

ลูกค้าของ ธ.ก.ส. ทั้งนี้ เกษตรกรสามารถเข้าร่วมโครงการรับจํานํา<br />

ข้าวของรัฐบาลได้ไม่เกินปีละ 2 ครั้ง โดยไม่จํากัดว่าเป็นข้าวนาปี<br />

หรือข้าวนาปรัง สําหรับการจํานําข้าวของสถาบันเกษตรกรหรือ<br />

กลุ่มเกษตรกร ให้ อคส. และ อ.ต.ก. ออกใบประทวนให้เกษตรกร<br />

แต่ละรายเพื่อนําไปทําสัญญาและรับเงินจาก ธ.ก.ส. ทั้งนี้ ให้<br />

สถาบันเกษตรกรหรือกลุ่มเกษตรกรคิดค่าขนส่งและค่าบริหาร<br />

จัดการจากเกษตรกรได้ ไม่เกินตันละ 200 บาท<br />

หน่วยงาน<br />

รับผิดชอบ<br />

สถานภาพการดําเนินงาน<br />

วันที่ดําเนินงาน


13<br />

เดือน ชื่อพืช กิจกรรม<br />

(2) พื้นที่รับจํานํา เกษตรกรสามารถรับจํานําข้าวเปลือกได้<br />

ในพื้นที่จังหวัดของตนเองเท่านั้น ยกเว้นพื้นที่ตําบลติดต่อกัน<br />

โดยการจํานําข้ามเขตของเกษตรกรและการจํานําข้ามเขตของ<br />

โรงสี ให้ดําเนินการเช่นเดียวกับโครงการรับจํานําข้าวเปลือกนา<br />

ปี ปีการผลิต 2554/55<br />

8) การเข้าร่วมโครงการของโรงสี การสีแปรสภาพ การเก็บ<br />

รักษา การระบาย และการกํากับดูแล ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์<br />

ที่กําหนด<br />

หน่วยงาน<br />

รับผิดชอบ<br />

สถานภาพการดําเนินงาน<br />

วันที่ดําเนินงาน


หน่วยงาน<br />

สถานภาพการดําเนินงาน<br />

เดือน ชื่อพืช กิจกรรม<br />

รับผิดชอบ<br />

วันที่ดําเนินงาน<br />

พ.ค. มันสําปะหลัง - สถานการณ์การผลิต สศก. - ปี 2555 (พยากรณ์ ณ มีนาคม 2555) มีผลผลิต 24.85 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก<br />

21.91 ล้านตัน ของปี 2554 คิดเป็นร้อยละ 13.42<br />

- ในเดือนพฤษภาคม 2555 คาดว่าจะมีผลผลิตออกสู่ตลาด 0.73 ล้านตัน<br />

(ร้อยละ 2.94 ของผลผลิตทั้งหมด) ลดลงจาก 0.76 ล้านตัน ของช่วงเดียวกันในปีที่<br />

ผ่านมาคิดเป็นร้อยละ 3.95<br />

ทั้งนี้ผลผลิตออกสู่ตลาดแล้ว (ต.ค.54- เม.ย 55) ประมาณ 21.97 ล้านตัน<br />

(ร้อยละ 88.43 ของผลผลิตทั้งหมด)<br />

- ราคามันสําปะหลังที่เกษตรกรขายได้ เพิ่มขึ้น จากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจาก<br />

เป็นปลายฤดูการเก็บเกี่ยวทําให้ปริมาณหัวมันเข้าสู่ตลาดลดลง ประกอบกับการ<br />

ส่งออกแป้งมันมีแนวโน้มดีขึ้น เนื่องจากคู่ค้าต่างประเทศมีสั่งซื้อมากขึ้น ส่วนการ<br />

ส่งออกมันเส้น ยังคงมีปัญหาด้านท่าเรือ เนื่องจากคําสั่งห้ามขนถ่ายสินค้ามันเส้นที่<br />

ท่าเรือเหลียนหยุน ยังไม่ชัดเจน ในขณะที่ราคาแอลกอฮอล์ในตลาดจีนลดลงเล็กน้อย<br />

ทําให้ผู้ซื้อจีนรอดูความชัดเจนและชะลอการนําเข้ามันเส้น<br />

1. หลักเกณฑ์การดําเนินโครงการฯ<br />

พณ.<br />

คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 15 มกราคม 2555<br />

เห็นชอบการดําเนินโครงการรับจํานํามันสําปะหลังสด โดยมี<br />

หลักเกณฑ์ดําเนินงานดังนี้<br />

1.1 ราคารับจํานํา(เชื้อแป้ง 25% ปรับขึ้นลงตาม<br />

เปอร์เซ็นต์เชื้อแป้งในอัตรากิโลกรัมละ 2 สตางค์)<br />

กุมภาพันธ์ 2555 <strong>กก</strong>.ละ 2.75 บาท<br />

มีนาคม 2555 <strong>กก</strong>.ละ 2.80 บาท<br />

14


15<br />

เมษายน 2555<br />

<strong>กก</strong>.ละ 2.85 บาท<br />

เดือน ชื่อพืช กิจกรรม<br />

เมษายน 2555 <strong>กก</strong>.ละ 2.85 บาท<br />

พฤษภาคม 2555 <strong>กก</strong>.ละ 2.90 บาท<br />

1.1 ระยะเวลาดําเนินการ<br />

1 กุมภาพันธ์ 2555 – 31 พฤษภาคม 2555<br />

1.3 เป้าหมาย<br />

1) ปริมาณเป้าหมายรับจํานํารวม 10 ล้านตัน<br />

2) ไม่เกิน 250 ตัน/ครัวเรือน<br />

ทั้งนี้เกษตรกรผู้มีสิทธิเข้าร่วมโครงการจะต้องมีหนังสือรับรองเกษตรกรจา<strong>กก</strong>ระทรวงเกษตร<br />

และสหกรณ์ (เกษตรกรผู้ปลูกมันสําปะหลัง ที่ขึ้นทะเบียนฯ มีทั้งหมด 63 จังหวัด) มีผลผลิตมัน<br />

สําปะหลังเป็นของตนเอง และเป็นลูกค้า ธ.ก.ส.<br />

1.4 ค่าใช้จ่ายดําเนินโครงการ (มติ ครม. วันที่ 31 ม.ค. 55)<br />

เงินหมุนเวียนรับจํานํามันสําปะหลัง จํานวน 28,250 ล้านบาท ใช้จากโครงการรับจํานํา<br />

ข้าวเปลือกนาปี ปีการผลิต 2554/55 (วงเงิน 269,160 ล้านบาท) ทั้งนี้หากในระหว่างที่ยัง<br />

ไม่สามารถใช้วงเงินกู้ตามโครงการฯ ดังกล่าวได้ ให้ใช้เงินของ ธ.ก.ส. ดําเนินการไปพลางก่อน<br />

และให้ชดเชยต้นทุนเงินให้ ธ.ก.ส. ในอัตรา FDR+1) ส่วนวงเงินจ่ายขาดจํานวน 3,846.277<br />

ล้านบาท ให้ดําเนินการตามที่ผู้อํานวยการสํานักงบประมาณเสนอเพิ่มเติม โดยให้หน่วยงานที่<br />

เกี่ยวข้อง (อคส. ธ.ก.ส. กรมการค้าภายใน กรมส่งเสริมการเกษตร และกรมการค้าต่างประเทศ)<br />

ใช้จ่ายจากงบประมาณรายจ่ายประจําปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 ที่ตั้งไว้สําหรับการดําเนิน<br />

โครงการรับจํานําผลิตผลทางการเกษตร ปีการผลิต 2554/55 และหากไม่เพียงพอให้หน่วยงานที่<br />

เกี่ยวข้องขอตกลงรายละเอียดกับสํานักงบประมาณเพื่อขดใช้จ่ายจากเงินงบกลางเพิ่มเติมแล้วให้<br />

หน่วยงาน<br />

รับผิดชอบ<br />

สถานภาพการดําเนินงาน<br />

วันที่ดําเนินงาน


16<br />

นําเสนอคณะรัฐมนตรีพิจารณาต่อไป<br />

เดือน ชื่อพืช กิจกรรม<br />

ต่อมา มติ ครม. เมื่อวันที่ 29 มีนาคม 2555 ให้ ธ.ก.ส. สามารถบริหารจัดการเงินกู้<br />

ด้วยการกู้เงินจากสถาบันการเงินต่างๆ หรือ Refinance หรือ Roll Over โดยกระทรวงการคลัง<br />

ค้ําประกันเงินต้นพร้อมดอกเบี้ย และให้หน่วยงานที่จําหน่ายสินค้า และรับชําระค่าสินค้าแล้ว ให้<br />

นําส่งเงินแก่ ธ.ก.ส ภายใน 7 วัน รวมทั้งให้กระทรวงพาณิชย์แต่งตั้งอนุกรรมการปิดบัญชี<br />

แทรกแซงตลาดมันสําปะหลัง ปี 2554/55<br />

1.5 อัตราแปรสภาพ ค่าใช้จ่ายในการแปรสภาพ อัตราค่าขนส่งผลิตภัณฑ์มันสําปะหลัง<br />

และค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษา<br />

1) อัตราแปรสภาพ<br />

หัวมันสด : มันเส้น = 2.42 : 1<br />

หัวมันสด : แป้งมัน = 4.40 : 1<br />

2) ค่าใช้จ่ายในการแปรสภาพ<br />

มันเส้น 380 บาท/ตัน<br />

แป้งมัน 3,320 บาท/ตัน<br />

3) อัตราค่าขนส่งผลิตภัณฑ์ถึงโกดังกลาง (ใช้อัตราเดียวกับปี 2551/52)<br />

3.1) ระยะทาง 50 กม.แรก เหมาจ่าย 100 บาท/ตัน<br />

3.2) ระยะทาง 51-100 กม. อัตรา 1.55 บาท/ตัน/กม.<br />

3.3) ระยะทาง 101-200 กม. อัตรา 1.38 บาท/ตัน/กม.<br />

3.4) ระยะทาง 201-300 กม. อัตรา 1.29 บาท/ตัน/กม.<br />

3.5) ระยะทาง 301 กม.ขึ้นไป อัตรา 1.20 บาท/ตัน/กม.<br />

4) อัตราค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษา (ใช้อัตราเดียวกับปี 2551/52 ยกเว้นค่าจ้าง<br />

หน่วยงาน<br />

รับผิดชอบ<br />

สถานภาพการดําเนินงาน<br />

วันที่ดําเนินงาน


17<br />

แรงงานปรับจาก 10 บาท/ตัน เป็น 15 บาท/ตัน)<br />

4.1) ค่าฝากเก็บ ค่าเบี้ยประกันภัย 21.90 บาท/ตัน/เดือน<br />

4.2) ค่าดูแลรักษา (ค่าพลิ<strong>กก</strong>อง 2 เดือน/ครั้ง) 16.00 บาท/ตัน/ครั้ง<br />

เดือน ชื่อพืช กิจกรรม<br />

4.3) ค่าตรวจสอบคุณภาพ 17.10 บาท/ตัน<br />

4.4) ค่าแรงงานขนเข้า-ออก มันเส้น 15.00 บาท/ตัน<br />

แป้งมัน 85 บาท/ตัน<br />

5) การจ่ายผลิตภัณฑ์มันสําปะหลังเป็นค่าแปรสภาพและค่าขนส่ง<br />

ราคาผลิตภัณฑ์มันสําปะหลัง (มันเส้นและแป้งมัน) ที่ใช้เป็นเกณฑ์ในการจ่าย<br />

ผลิตภัณฑ์มันสําปะหลังเป็นค่าแปรสภาพและค่าขนส่ง มาจากราคาทุก 10 วันย้อนหลังเฉลี่ย<br />

ของสมาคมและของกรมการค้าภายใน ดังนี้<br />

(1) เฉลี่ยระหว่างวันที่ 1-10 ของเดือน สําหรับการคํานวณปริมาณผลิตภัณฑ์มัน<br />

สําปะหลังที่จะหักเป็นค่าแปรสภาพและค่าขนส่งในช่วงการรับจํานําในวันที่ 11-20 ของเดือน<br />

(2) เฉลี่ยระหว่างวันที่ 11-20 ของเดือน สําหรับการคํานวณปริมาณผลิตภัณฑ์<br />

มันสําปะหลังที่จะหักเป็นค่าแปรสภาพและค่าขนส่งในช่วงการรับจํานําในวันที่ 21-30 ของ<br />

เดือน<br />

(3) เฉลี่ยระหว่างวันที่ 21-31 ของเดือน สําหรับการคํานวณปริมาณผลิตภัณฑ์มัน<br />

สําปะหลังที่จะหักเป็นค่าแปรสภาพและค่าขนส่งในช่วงการรับจํานําในวันที่ 1-10 ของเดือนถัดไป<br />

1.6 การขยายระยะเวลาขึ้นทะเบียนเกษตรกร (ครม. มีมติเมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์<br />

2555)<br />

(1) ให้ขยายระยะเวลาการขึ้นทะเบียนและออกหนังสือรับรองเกษตรกร ออกไป<br />

จนถึงวันที่ 31 มีนาคม 2555<br />

(2) เกษตรกรที่เพาะปลูกในพื้นที่ที่นอกเหนือจากพื้นที่ที่มีเอกสารสิทธิ์ให้ขึ้นทะเบียน<br />

ได้เฉพาะเกษตรกรที่เคยขึ้นทะเบียนในปี 2552/53 โดยไม่เกินพื้นที่ที่เคยขึ้นทะเบียนปี<br />

หน่วยงาน<br />

รับผิดชอบ<br />

สถานภาพการดําเนินงาน<br />

วันที่ดําเนินงาน


้<br />

18<br />

2552/53 และไม่รับขึ้นทะเบียนรายใหม่ในพื้นที่ดังกล่าว<br />

เดือน ชื่อพืช กิจกรรม<br />

2. มาตรการเสริม<br />

เนื่องจา<strong>กก</strong>ารดําเนินโครงการแทรกแซงตลาดมันสําปะหลัง ปี 2554/55 ประสบปัญหา<br />

ผู้เข้าร่วมโครงการฯ และจุดรับจํานํามีน้อย ทําให้เกษตรกรไม่สามารถนําผลผลิตเข้าร่วมโครงการ<br />

ได้ จึงมีมาตรการเสริมดังนี้<br />

2.1 โครงการให้เงินกู้เพื่อชะลอการขุดหัวมันสําปะหลังปี 2554/55 มีหลักเกณฑ์การ<br />

ดําเนินโครงการดังนี้<br />

(1) จ่ายเงินกู้ให้เกษตรกรตามโครงการให้เงินกู้เพื่อชะลอการขุดหัวมันสําปะหลังปี<br />

2554/55 วงเงินไม่เกิน 9,000 ล้านบาท โดยเกษตรกรแต่ละรายกู้เงินจาก ธนาคารเพื่อ<br />

การเกษตรและสหกรณ์ (ธ.ก.ส.) ไม่เกินร้อยละ 30 ของมูลค่าหัวมันสด ส่วนที่ยังไม่ได้ขุดแต่ไม่<br />

เกินรายละ 50,000 บาท ทั้งนี้ การประเมินมูลค่าผลผลิตหัวมันสดส่วนที่ยังไม่ขุดให้คํานวณโดย<br />

ใช้ราคาจํานําตามที่โครงการรับจํานํามันสําปะหลังกําหนด<br />

(2) ระยะเวลาดําเนินการโครงการ ให้เงินกู้ตั้งแต่เดือนมีนาคม 2555 – พฤษภาคม 2555<br />

กําหนดระยะเวลาชําระเงินกู้เสร็จสิ้นภายใน 3 เดือนนับถัดจากเดือนที่รับเงินกู้ ทั้งนี้ เมื่อ<br />

เกษตรกรนําผลผลิตมันสําปะหลังเข้าร่วมโครงการรับจํานํามันสําปะหลังปี 2554/55 เกษตรกร<br />

ต้องยินยอมให้ธนาคารหักชําระหนี้เงินกู้ตามโครงการนี<br />

(3) หลักเกณฑ์การให้เงินกู้ให้เป็นไปตามมติคณะกรรมการนโยบายมันสําปะหลัง เมื่อ<br />

วันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2555 โดยรัฐบาลชดเชยต้นทุนเงินให้แก่ ธ.ก.ส. ในอัตรา FDR+1 (ปัจจุบัน<br />

เท่ากับร้อยละ 3.406 ต่อปี) ระยะเวลาไม่เกิน 4 เดือน<br />

หน่วยงาน<br />

รับผิดชอบ<br />

สถานภาพการดําเนินงาน<br />

วันที่ดําเนินงาน


19<br />

เดือน ชื่อพืช กิจกรรม<br />

(4) อนุมัติค่าใช้จ่ายการดําเนินโครงการให้เงินกู้เพื่อชะลอการขุดหัวมันสําปะหลังปี<br />

2554/55 ให้แก่ ธ.ก.ส. ได้แก่ วงเงินชดเชยต้นทุนเงิน 102.18 ล้านบาท และค่าบริหาร<br />

โครงการของ ธ.ก.ส. อัตราร้อยละ 2.5 ของ ต้นเงินคงเป็นหนี้ระยะเวลาไม่เกิน 4 เดือน คิดเป็น<br />

วงเงินค่าบริหารโครงการ 75 ล้านบาท โดยใช้จ่ายจากงบประมาณรายจ่ายประจําปีงบประมาณ<br />

พ.ศ. 2555 ที่ตั้งไว้แล้วสําหรับดําเนินโครงการรับจํานําผลิตผลการเกษตรปี 2554/55 และ<br />

หากไม่เพียงพอให้ตกลงรายละเอียดกับสํานักงบประมาณเพื่อขอใช้จ่ายจากงบกลางเพิ่มเติม ทั้งนี้<br />

หากเกิดความเสียหายแก่ ธ.ก.ส. ในการดําเนินโครงการนี้รัฐบาลจะดูแลชดเชยความเสียหายให้<br />

ตามที่เกิดขึ้นจริง<br />

2.2 การให้ค่าใช้จ่ายขนส่งแก่เกษตรกรและผู้ประกอบการลานมัน/โรงแป้ง ที่รับจํานํานอก<br />

พื้นที่<br />

ให้จ่ายค่าขนส่งหัวมันสดให้แก่เกษตรกรที่นําหัวมันสดไปจํานํา ณ จุดรับจํานําที่<br />

ระยะทางตั้งแต่ 50 กม.ขึ้นไปเพิ่มเติม จากที่จ่ายค่าขนส่งหัวมันสดให้แก่ผู้เข้าร่วมโครงการกรณี<br />

เปิดจุดรับจํานํานอกพื้นที่ ทั้งนี้ ให้หักจากผลิตภัณฑ์มันสําปะหลังตามมูลค่าค่าขนส่งในหลั<strong>กก</strong>าร<br />

เดียวกับการจ่ายค่าแปรสภาพและค่าขนส่งผลิตภัณฑ์มันสําปะหลังเข้าโกดังกลางตามโครงการ<br />

แทรกแซงตลาดมันสําปะหลังปี 2554/55<br />

2.3 โครงการรับซื้อผลิตภัณฑ์มันสําปะหลัง ปี 2554/55<br />

เห็นชอบให้ดําเนินโครงการรับซื้อผลิตภัณฑ์มันสําปะหลัง ปี 2554/2555 ตาม<br />

ข้อเสนอของกระทรวงพาณิชย์ โดยมีเงื่อนไขให้ลานมันเส้น/โรงแป้งเร่งดําเนินการรับจํานําจาก<br />

เกษตรกรโดยเร็ว และอนุมัติวงเงินหมุนเวียนเพื่อรับซื้อผลิตภัณฑ์มันสําปะหลัง 10,000 ล้าน<br />

บาท และวงเงินจ่ายขาด 1,341 ล้านบาท<br />

หน่วยงาน<br />

รับผิดชอบ<br />

สถานภาพการดําเนินงาน<br />

วันที่ดําเนินงาน


20<br />

เดือน ชื่อพืช กิจกรรม<br />

หลักเกณฑ์โครงการรับซื้อผลิตภัณฑ์มันสําปะหลัง ปี 2554/55 มีดังนี้<br />

(คณะกรรมการนโยบายมันสําปะหลัง มีมติเมื่อวันที่ 20 เมษายน 2555)<br />

(1) ผลิตภัณฑ์มันสําปะหลังที่รับซื้อ<br />

ให้ อคส. รับซื้อผลิตภัณฑ์มันสําปะหลัง ปี 2554/55 ที่เป็นสต็อกส่วน<strong>ตัว</strong>ของ<br />

ผู้ประกอบการลานมัน/โรงแป้ง ที่เข้าร่วมโครงการแทรกแซงตลาดมันสําปะหลัง ปี 2554/55<br />

กับ อคส. โดยมีเงื่อนไขให้ผู้ประกอบการที่ขายผลิตภัณฑ์มันสําปะหลัง ให้ อคส. ต้องรับจํานํา<br />

หัวมันสดจากเกษตรกรในปริมาณที่สอดคล้องกับหัวมันสดที่ใช้ผลิตผลิตภัณฑ์มันสําปะหลังที่ขาย<br />

ให้กับ อคส. โดยคุณสมบัติของผลิตภัณฑ์มันสําปะหลังเหมือนกับโครงการแทรกแซงตลาดมัน<br />

สําปะหลัง ปี 2554/55<br />

(2) ปริมาณที่รับซื้อ<br />

มันเส้น 1 ล้านตัน แป้งมัน 3 แสนตัน<br />

(3) ระยะเวลาดําเนินการ<br />

เมษายน – พฤษภาคม 2555<br />

(4) พื้นที่รับซื้อผลิตภัณฑ์มันสําปะหลัง<br />

ให้ อคส. กําหนดพื้นที่รับซื้อผลิตภัณฑ์มันสําปะหลังในพื้นที่ที่มีปัญหาและจัดลําดับ<br />

ความสําคัญให้ชัดเจน ทั้งนี้ปริมาณรับซื้อผลิตภัณฑ์มันสําปะหลังควรเหมาะสมกับปริมาณหัวมัน<br />

สําปะหลังสดที่คงเหลือ<br />

หน่วยงาน<br />

รับผิดชอบ<br />

สถานภาพการดําเนินงาน<br />

วันที่ดําเนินงาน


21<br />

เดือน ชื่อพืช กิจกรรม<br />

(5) หลักเกณฑ์การรับซื้อ<br />

(5.1) ราคารับซื้อ ใช้วิธีประมูลซื้อ โดยใช้ราคาของคณะทํางานกําหนดราคาฯ เป็น<br />

ราคากลาง และให้ อคส. กําหนดโกดังกลางปลายทางที่ใช้ส่งมอบ ซึ่งอาจนอกเหนือจากโกดัง<br />

กลางที่กําหนดไว้ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ฉะเชิงเทรา ชลบุรี กรุงเทพฯ และปริมณฑล เพื่อ<br />

ความคล่อง<strong>ตัว</strong>ในการดําเนินงาน กรณีผู้เสนอขาย ส่งมอบผลิตภัณฑ์มันสําปะหลังยังไม่ครบถ้วน<br />

จา<strong>กก</strong>ารประมูลซื้องวดก่อน ไม่มีสิทธิ์เข้าเสนอราคาขายในงวดต่อไป และกรณีผู้เสนอขายไม่<br />

สามารถส่งมอบผลิตภัณฑ์มันสําปะหลังภายในระยะเวลาที่กําหนด ให้ อคส. คิดเบี้ยปรับในอัตรา<br />

ร้อยละ 0.1 ต่อวัน<br />

(5.2) คณะกรรมการประมูลซื้อผลิตภัณฑ์มันสําปะหลัง ประกอบด้วย ผู้แทน<br />

องค์การคลังสินค้า กรมการค้าภายใน กรมการค้าต่างประเทศ ธ.ก.ส. และ สํานักงานเศรษฐกิจ<br />

การเกษตร เป็นผู้พิจารณาและต่อรองราคาที่ลานมัน/โรงแป้งมัน เสนอขาย<br />

(5.3) การตรวจรับคุณภาพและปริมาณผลิตภัณฑ์มันสําปะหลัง ให้ อคส. จัดจ้าง<br />

Surveyor ในการตรวจรับคุณภาพและปริมาณผลิตภัณฑ์มันสําปะหลังที่ตกลงซื้อจาก<br />

ผู้ประกอบการ พร้อมทั้งดําเนินการควบคุมภายใน (Internal Audit ) โดยมีกรมการค้าต่างประเทศ<br />

เป็นผู้กํากับดูแลด้วยการสุ่มตรวจสอบอีกทางหนึ่ง<br />

4. การระบายผลิตภัณฑ์มันสําปะหลัง<br />

4.1 โครงการผลิตเอทานอลจากมันสําปะหลัง โดยใช้มันเส้นตามโครงการแทรกแซง<br />

ตลาดมันสําปะหลัง ปี 2554/55 (ครม. มีมติเมื่อวันที่ 20 พ.ค. 2555)<br />

คณะรัฐมนตรีอนุมัติการระบายมันเส้นจากสต็อคของรัฐบาลที่รับจํานําไว้ตาม<br />

หน่วยงาน<br />

รับผิดชอบ<br />

สถานภาพการดําเนินงาน<br />

วันที่ดําเนินงาน


22<br />

เดือน ชื่อพืช กิจกรรม<br />

โครงการแทรกแซงตลาดมันสําปะหลัง ปี 2554/55 เพื่อนําไปผลิตเอทานอลประมาณ<br />

65,000 ตัน ในราคาตันละ 7,316.50 บาท ตามที่กระทรวงพาณิชย์เสนอ<br />

หน่วยงาน<br />

รับผิดชอบ<br />

สถานภาพการดําเนินงาน<br />

วันที่ดําเนินงาน<br />

โดยกระทรวงพาณิ ชย์ (พณ.) รายงานว่ า ตามมติ<br />

คณะกรรมการนโยบายมันสําปะหลังครั้งที่ 6/2555 เมื่อวันที่ 20<br />

เมษายน 2555 เห็นชอบราคามันเส้นที่จะจําหน่ายแก่ผู้ผลิตเอทานอลใน<br />

ราคาเท่ากับต้นทุนมันเส้นตามโครงการแทรกแซงตลาดมันสําปะหลัง ปี<br />

2554/55 ตันละ 7,947.90 บาท ปริมาณ 64,000 ตัน โดย<br />

มอบหมายให้กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงานหารือกับ<br />

โรงงานเอทานอล ให้ได้ข้อยุติเกี่ยวกับราคามันเส้นดังกล่าว ซึ่งกรมพัฒนา<br />

พลังงานทดแทนฯ แจ้งว่า ได้หารือกับโรงงานเอทานอลแล้วมีความเห็น<br />

ร่วมกันว่าให้จําหน่ายมันเส้นให้แก่ผู้ผลิตเอทานอลในราคาตันละ<br />

7,316.50 บาท ตามที่เคยหารือไว้ในปริมาณรวมไม่เกิน 65,000 ตัน<br />

พ.ค. สุกร - สถานการณ์การตลาด สศก. - ราคาสุกรที่เกษตรกรขายได้ ลดลงเมื่อเทียบกับสัปดาห์ที่ผ่านมา<br />

เนื่องจากความต้องการบริโภคลดลงจา<strong>กก</strong>ารที่ช่วงนี้ฝนตกบ่อย ทําให้<br />

ผู้บริโภคหันไปบริโภคสัตว์น้ําทดแทน<br />

พ.ค. ไก่เนื้อ - สถานการณ์การตลาด สศก. -ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้ สูงขึ้นเล็กน้อยเมื่อเทียบกับสัปดาห์<br />

ที่ผ่านมา เนื่องจากความต้องการบริโภคมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจา<strong>กก</strong>ารเปิด<br />

ภาคเรียน<br />

ปรับปรุงข้อมูล ณ วันที่ 29 พฤษภาคม 2555

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!