29.08.2015 Views

เศรฐกิจ กรกฏาคม 54.indd - สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร

เศรฐกิจ กรกฏาคม 54.indd - สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร

เศรฐกิจ กรกฏาคม 54.indd - สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร

SHOW MORE
SHOW LESS
  • No tags were found...

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

วารสาร<br />

ปที่ 57 ฉบับที่ 656<br />

กรกฎาคม 2554<br />

สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรกระทรวงเกษตรและสหกรณ<br />

“ขาวนิล”<br />

ทางเลือกที่นาสนใจของเกษตรกร<br />

การพัฒนาคุณภาพชีวิตเกษตรกร<br />

บนฐานภูมิปญญาทองถิ่น<br />

ความเชื่อ พิธีกรรมบนวิถีแหงขาวไทย


บรรณาธิการแถลง<br />

ที่ปรึกษา<br />

นายอภิชาต จงสกุล<br />

นางนารีณัฐ รุณภัย<br />

นายสุรศักดิ์ พันธนพ<br />

นางดวงหทัย ดานวิวัฒน<br />

บรรณาธิการ<br />

นางศศิญา ปานตั้น<br />

ผูชวยบรรณาธิการ<br />

นายชัยทัต อุยะธํารงสิทธิ์<br />

น.ส.ณิริศพร มีนพัฒนสันติ<br />

น.ส.ถิรพร ฐิติพรขจิต<br />

น.ส.อังคณา ศรีฉํ่าพันธ<br />

กองบรรณาธิการ<br />

ฝายประชาสัมพันธ<br />

สํานักงานเลขานุการกรม<br />

โทร. 0-2940-7240-1<br />

เจาของ<br />

สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร<br />

กระทรวงเกษตรและสหกรณ<br />

ถนนพหลโยธิน กทม. 10900<br />

โทร. 0-2940-5550-1<br />

0-2940-5553-4<br />

พิมพที่<br />

หจก. อรุณการพิมพ<br />

99/2 ซอยพระศุลี<br />

ถนนดินสอ แขวงบวรนิเวศ<br />

เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200<br />

โทร. 0-2282-6033-4<br />

www.aroonprinting.com<br />

สวัสดีสมาชิกวารสารทุกทาน พบกันประจําเดือนกรกฎาคมนี้<br />

อยากฝากขาวประชาสัมพันธที่ไมควรพลาดกับงานพิธีเปดอาคารศูนยปฏิบัติการ<br />

เศรษฐกิจการเกษตร ซึ่งสํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร ไดรับพระมหากรุณาธิคุณ<br />

อยางหาที่สุดมิได จากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี<br />

ทรงเปดอาคารศูนยปฏิบัติการเศรษฐกิจการเกษตร และนิทรรศการ<br />

เฉลิมพระเกียรติ “84 พรรษา พระมหากรุณาธิคุณ เกื้อหนุนเศรษฐกิจ เกษตรไทย”<br />

ในวันที่ 13 กรกฎาคม 2554 เวลา 15.00 น.<br />

สําหรับอาคารศูนยปฏิบัติการเศรษฐกิจการเกษตรนั้น ไดเริ่มดําเนินงาน<br />

ตั้งแตวันที่ 6 กรกฎาคม 2553 มีภารกิจในการติดตาม ศึกษา วิเคราะหปญหา<br />

ปจจัยเสี่ยงของภาวะเศรษฐกิจการเกษตร รวมทั้งสถานการณตางๆ ที่เกี่ยวของ<br />

กับการเกษตร ที่มีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว ทั้งดานเศรษฐกิจ สังคม และ<br />

สิ่งแวดลอม โดยการเสนอแนะแนวทาง และมาตรการเรงดวนในการแกไขปญหา<br />

ดานเศรษฐกิจการเกษตร ตอผูบริหารของกระทรวงเกษตรและสหกรณ ซึ่ง<br />

สามารถเชื่อมโยงขอมูลกับหนวยงานตางๆ ทั้งภายในและตางประเทศไดอยาง<br />

มีประสิทธิภาพ โดยสามารถเขาไปเยี่ยมชมเว็บไซตของศูนยปฏิบัติการไดที่<br />

http://gms.oae.go.th/issys/aeoc/<br />

ในสวนของการจัดนิทรรศการเฉลิมพระเกียรติ จะประกอบไปดวย<br />

นิทรรศการเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว การจัดทําสารสนเทศ<br />

การเกษตร การใชประโยชนขอมูลการเกษตร การวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร<br />

โครงการ “การผลิตนํ้ามันปาลมอยางยั่งยืนเพื่อใชเปนพลังงานชีวภาพ” ผลผลิต<br />

เกษตรไทย สู ครัวโลก มีบริโภคในประเทศอยางยั่งยืน การสํารองขาวฉุกเฉินสําหรับ<br />

ภูมิภาคอาเซียนบวกสาม กองทุนปรับโครงสรางการผลิตภาคเกษตร (กองทุน FTA)<br />

และวิวัฒนาการจากแผนสูผลการพัฒนาการเกษตร นอกจากนี้ ยังมีการออกราน<br />

จําหนายสินคา OTOP ในงาน “มหกรรมสินคาเกษตรราคาถูก ของดี 4 ภาค”<br />

ทางคณะ บก. จึงขอเชิญชวนทุกทานเฝาทูลละอองพระบาทรับเสด็จ<br />

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในวันที่ 13 กรกฎาคม 2554<br />

เวลา 15.00 น. และรวมชมนิทรรศการฯ พรอมอุดหนุนสินคา OTOP ในงาน<br />

“มหกรรมสินคาเกษตรราคาถูก ของดี 4 ภาค” ระหวางที่ 13 - 15 กรกฎาคม 2554<br />

เวลา 09.00 - 17.00 น.


วารสาร<br />

ปีที่ 57 ฉบับที่ 656 กรกฎาคม 2554<br />

สารบัญ<br />

เรื่องนารูทางการเกษตร 2<br />

“ขาวนิล” : ทางเลือกที่นาสนใจของเกษตรกร<br />

บทความเศรษฐกิจการเกษตร 4<br />

การพัฒนาคุณภาพชีวิตเกษตรกรบนฐานภูมิปญญาทองถิ่น<br />

บทความพิเศษ 6<br />

ความเชื่อ พิธีกรรม บนวิถีแหงขาวไทย<br />

ภาวะเศรษฐกิจการเกษตร 8<br />

พืชอาหาร ขาว/มันสําปะหลัง/ขาวโพดเลี้ยงสัตว/ขาวฟางเลี้ยงสัตว/ถั่วเขียว<br />

พืชนํ้ามัน ถั่วเหลือง/ถั่วลิสง/ปาลมนํ้ามัน<br />

พืชเสนใย ฝาย<br />

พืชอื่นๆ ออยโรงงานและนํ้าตาล/ยางพารา/กาแฟ/พริกไทย/สับปะรด<br />

ปศุสัตวและผลิตภัณฑจากสัตว<br />

ประมงและผลิตภัณฑจากสัตวนํ้า<br />

ราคาปจจัยการผลิต 49<br />

ขาวที่นาสนใจ 51<br />

มาชวยกันรักษปาชายเลน<br />

แวะเยี่ยม สศข. 52<br />

การตรวจเยี่ยมผลการดําเนินงานโครงการขาวหอมมะลิในเขตทุงกุลารองไหฯ<br />

ขาวประชาสัมพันธ 53<br />

การประชุมคณะกรรมการดําเนินโครงการสงเสริมการใชปุย<br />

เพื่อลดตนทุนการผลิตของเกษตรกร ครั้งที่ 8/2554<br />

การบรรยายพิเศษ เรื่อง "พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวกับสารสนเทศการเกษตร"<br />

การอบรมสัมมนาเรื่อง "การเพิ่มศักยภาพการสํารวจขอมูลการเกษตรใหกับเจาหนาที่สํานักงานเศรษฐกิจ<br />

การเกษตรเขตและเศรษฐกิจการเกษตรทองถิ่น (ศกท.)"<br />

การอบรมชี้แจงการสํารวจขอมูลการเกษตรปงบประมาณ 2554<br />

ระหวางศูนยสารสนเทศการเกษตรกับสํานักงานเศรษฐกิจการเกษตรเขต<br />

1


วารสาร<br />

ปีที่ 57 ฉบับที่ 656 กรกฎาคม 2554<br />

โดย นางธัญญ์พิชชา เถระรัชชานนท์<br />

สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรเขต 2<br />

จังหวัดพิษณุโลก<br />

ทางเลือกที่น่าสนใจของเกษตรกร<br />

ประเทศไทยเป็นประเทศกสิกรรม ถ้าจะกล่าว<br />

ถึงอาชีพหลักของคนไทยตั้งแต่อดีตกาลถึงปัจจุบันจะ<br />

ต้องนึกถึงการปลูกข้าว เนื่องจากสภาพภูมิอากาศและ<br />

ภูมิประเทศของประเทศไทยมีความเหมาะสมทำให้<br />

สามารถเพาะปลูกข้าวได้ดี และข้าวจัดเป็นอาหารหลักมี<br />

ความจำเป็นต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์โดยเฉพาะคนไทย<br />

ที่ต้องบริโภคข้าวทุกวันเพื่อการดำรงชีวิต ข้าวจึงเป็นพืช<br />

เศรษฐกิจที่สำคัญและสร้างมูลค่าการส่งออกให้ประเทศ<br />

ได้อย่างมหาศาล ประกอบกับสภาพสังคมปัจจุบันปัญหา<br />

เรื่องสุขภาพที่ถูกหยิบยกมาพูดกันมากขึ้น การบริโภคเพื่อ<br />

สุขภาพจึงได้รับความนิยมมากขึ้นเช่นกัน และถ้าหากพูด<br />

ถึง "ข้าวเพื่อสุขภาพ" ผู้บริโภคส่วนใหญ่มักจะนึกถึงข้าว<br />

ประเภทต่างๆ ที่รู้จักกันดี เช่น ข้าวกล้อง ข้าวซ้อมมือ<br />

ข้าวผสมวิตามิน ข้าวมันปู ฯลฯ<br />

การบริโภคข้าวกล้องเป็นวิถีทางหนึ่งของการ<br />

บริโภคเพื่อสุขภาพ คุณค่าทางอาหารของข้าวอยู่ที่เยื่อหุ้ม<br />

เมล็ดหรือรำที่ขัดออกไป สีของข้าวกล้องนอกจากจะสร้าง<br />

ความสะดุดตาแก่ผู้บริโภคแล้วยังเกี่ยวข้องกับคุณสมบัติ<br />

ทางด้าน Antioxidation อันเป็นกลไกสำคัญที่ช่วยป้องกัน<br />

2<br />

การเกิดความบกพร่องในร่างกาย และรำก็เป็นสารที่ให้<br />

เส้นใยที่เป็นประโยชน์ (Dietary Fiber) ช่วยป้องกันการ<br />

เกิดมะเร็งลำไส้ใหญ่ และกระเพาะอาหาร ทั้งยังช่วย<br />

ป้องกันการดูดซึมไขมันชนิดอิ่มตัวเข้าสู่กระเพาะอาหาร<br />

ได้เป็นอย่างดี เนื่องจากมีปริมาณเส้นใยสูงถึง 2.1 กรัม<br />

ต่อปริมาณข้าวกล้อง 100 กรัม ในขณะที่ข้าวขาวมีเพียง<br />

0.7 กรัม นอกจากนี้ยังอุดมไปด้วยวิตามินบีอีกหลายตัว<br />

ซึ่งมีหน้าที่สำคัญในการช่วยการทำงานของระบบประสาท<br />

สมอง ทำให้ความจำดี อารมณ์ดี ไม่เครียดง่าย ช่วยใน<br />

การทำงานของระบบกล้ามเนื้อ เสริมความแข็งแรงของ<br />

กล้ามเนื้อหัวใจ ช่วยรักษาโรคเหน็บชา จากความต้องการ<br />

ข้าวเพื่อสุขภาพดังกล่าว ส่งผลให้การผลิตข้าวกล้องและ<br />

ข้าวนิล มีโอกาสสร้างมูลค่าเพิ่มทางผลผลิตได้มากขึ้น แต่<br />

ปัญหาของข้าวกล้อง คือ การดูดซึมน้ำเข้าสู่เมล็ดทำได้<br />

ยาก ทำให้เมล็ดข้าวแข็งไม่น่ารับประทานต้องใช้ระยะ<br />

เวลาในการหุงนาน<br />

แต่ปัจจุบันความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยี<br />

ชีวภาพที่ใช้ประโยชน์จากข้อมูลเกี่ยวกับยีนซึ่งเป็นสาร<br />

พันธุกรรมที่กำหนดความแตกต่างของลักษณะทาง<br />

คุณภาพของข้าวสามารถเพิ่มประสิทธิภาพในการปรับปรุง


วารสาร<br />

ปีที่ 57 ฉบับที่ 656 กรกฎาคม 2554<br />

พันธุ ์ข้าวให้มีความอ่อนนุ ่ม และเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการ<br />

ให้สูงขึ้นได้<br />

มาทำความรู้จักกับ... “ข้าวหอมนิล”…<br />

ลักษณะของข้าวหอมนิล<br />

เป็นข้าวอีกสายพันธุ์หนึ่งที่ได้รับการพัฒนา<br />

ปรับปรุงสายพันธุ์ ซึ่งเป็นผลงานของไบโอเทค และ<br />

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์พัฒนาร่วมกับจีน และต่อมา<br />

ได้มีการวิจัยและปรับปรุงสายพันธุ์เพิ่มโดยคัดเลือก<br />

ข้าวเจ้าพันธุ์ขาวดอกมะลิ 105 ผสมกับข้าวเจ้าหอมนิล<br />

กระทั่งได้ “ข้าวสีนิล” ข้าวหอมนิลเกิดจากการนำต้นข้าว<br />

เหนียวที่กลายพันธุ์เป็นข้าวเจ้ามาผสมกับข้าวขาวดอก<br />

มะลิ 105 มีลักษณะเป็นข้าวเจ้าสีดำ เมล็ดใสได้จากการ<br />

คัดพันธุ์กลายของข้าวเหนียวดำต้นเตี้ยจากจีน สูง<br />

ประมาณ 60 - 75 เซนติเมตร อายุการเก็บเกี่ยว 95 - 105 วัน<br />

มีการแตกกอดี ใบและลำต้นสีเขียวปนม่วง มีหูใบ โคน<br />

ต้น ดอก และเมล็ดมีสีม่วงเข้ม มีความสามารถในการ<br />

ต้านทานโรคไหม้ และไหม้คอรวงระดับสูง ทนน้ำท่วม<br />

และทนแล้งระดับปานกลาง ปริมาณผลผลิตประมาณ<br />

400 - 700 กิโลกรัม/ไร่<br />

คุณประโยชน์<br />

“ข้าวหอมนิล” เป็นข้าวที่มีโภชนาการสูง มีเมล็ด<br />

ข้าวกล้องเรียวยาว สีม่วงเข้ม เหนียวนุ่ม มีกลิ่นหอมแบบ<br />

ข้าวเหนียวดำและข้าวหอม มีปริมาณ Antioxidation สูง<br />

ข้าวกล้องเมื่อหุงสุกจะนุ่มเหนียว หอม ข้าวสารหุงสุกมีสี<br />

ม่วงอ่อน นุ่ม และมีกลิ่นหอมเช่นกัน คุณสมบัติที่สำคัญ<br />

ของข้าวเจ้าหอมนิล คือ มีโปรตีนสูงถึง 12.5 เปอร์เซ็นต์<br />

และยังประกอบไปด้วยธาตุเหล็ก สังกะสี แคลเซียม และ<br />

โพแทสเซียม ซึ่งสูงกว่าข้าวขาวดอกมะลิ นอกจากนี้ยัง<br />

อุดมไปด้วย Proanthocyanidin ซึ่งเป็นสารต้านอนุมูล<br />

อิสระ วิตามินอี วิตามินบีคอมเพล็กซ์ และสารแอนโทไซ<br />

ยานิน ที่ช่วยบำรุงผม และมีศักยภาพในการแปรรูปทาง<br />

อุตสาหกรรมอาหาร เช่น แครกเกอร์ และคุ้กกี้ ส่วน<br />

“ข้าวสีนิล” ที่มีสารแอนโอไซยานิล มีคุณสมบัติเด่นใน<br />

การขยายหลอดเลือด และกระตุ ้นการไหลเวียนของโลหิต<br />

บริเวณรากผม ช่วยระงับการหลุดร่วงของเส้นผมและ<br />

ฟื้นสภาพการทำงานของรากผมใหม่ จึงเหมาะทำเป็น<br />

ผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางทั้งแชมพู ป้องกันผมร่วง ครีม<br />

นวดผม สบู ่ล้างหน้า สบู ่ป้องกันฝ้า ครีมบำรุงผิวหน้า และ<br />

ผลิตภัณฑ์สำหรับสปา จึงเห็นได้ว่า ทั้งข้าวหอมนิลและ<br />

ข้าวสีนิลล้วนอุดมไปด้วยคุณประโยชน์เพื่อสุขภาพ<br />

ด้านการผลิต พบว่า เกษตรกรสามารถทำการ<br />

ผลิตได้ปีละ 2 ครั้ง ในช่วงปลูกฤดูข้าวนาปี และนาปรัง<br />

แต่อาจพบว่าในช่วงนาปีเมล็ดข้าวจะมีสีดำเข้ม ต้นทุนการ<br />

ผลิตก็ไม่ได้แตกต่างจากการผลิตข้าวเจ้าพันธุ ์อื่น ปริมาณ<br />

ผลผลิตที่เกษตรกรสามารถผลิตได้เฉลี่ยประมาณ 500<br />

กิโลกรัม/ไร่ ซึ่งนับกว่าค่อนข้างสูงเมื่อเปรียบเทียบกับข้าว<br />

เจ้าพันธุ ์ขาวดอกมะลิ 105 เพราะสามารถจำหน่ายได้ราคา<br />

สูงกว่า อีกทั้งราคายังสูงกว่าข้าวกล้องทั่วไปด้วย อันเนื่อง<br />

มาจากมีเกษตรกรเพียงน้อยรายที่ผลิตข้าวกล้อง<br />

หอมนิลจำหน่าย แต่ปริมาณความต้องการข้าวเพื่อ<br />

สุขภาพมีมากขึ้น ส่วนเกษตรกรที่ยังคงไม่ผลิต มี<br />

ความเห็นว่า ปริมาณผลผลิตต่อไร่ยังคงค่อนข้างต่ำ<br />

เมื่อเปรียบเทียบกับข้าวเจ้าพันธุ์อื่นๆ ที่ผลิตอยู่ เช่น<br />

พันธุ์ชัยนาท และพันธุ์ปทุมธานี แต่หากเกษตรกร<br />

พิจารณาถึงแนวโน้มกระแสความต้องการข้าวเพื่อ<br />

สุขภาพที่เพิ่มสูงขึ้นเรื่อยๆ รวมถึงคำชักชวนจาก<br />

เกษตรกรผู้ผลิตข้าวกล้องหอมนิลเพื่อจำหน่ายที่<br />

กล่าวว่าสภาพการผลิตในปัจจุบันไม่เพียงพอต่อความ<br />

ต้องการซื้อ ประกอบกับลู่ทางในอนาคตสามารถหาช่อง<br />

ทางในการจัดจำหน่ายให้เข้าถึงผู้บริโภคได้มากขึ้น อาทิ<br />

การจำหน่ายผ่านโมเดิร์นเทรด หรือการให้บริการแบบ<br />

Delivery ที่ส่งตรงถึงผู้บริโภค ทำให้คาดเดาได้ว่าอีกไม่<br />

นานการผลิตข้าวเจ้าหอมนิลและ<br />

ข้าวสีนิลคงแพร่หลายมากกว่าที่<br />

เป็นอยู่และอาจเติบโตอย่างรวดเร็ว<br />

ซึ่งนับได้ว่าเป็นพืชที่มีอนาคตค่อน<br />

ข้างสดใสอีกตัวหนึ่งที่น่าจับตามอง<br />

3


วารสาร<br />

ปีที่ 57 ฉบับที่ 656 กรกฎาคม 2554<br />

โดย นางณัชยา รยะสวัสดิ์<br />

สำนักงำนเศรษฐกิจกำรเกษตรเขต 5<br />

การพัฒนาคุณภาพชีวิตเกษตรกร<br />

พื้นฐานประเทศไทยเป็นสังคมเกษตรที่มีฐานการ<br />

ผลิตการเกษตรที่เข้มแข็ง มีที่ตั้งภูมิประเทศและภูมิอากาศที่<br />

เหมาะสม มีภูมิปัญญาในการรู้จักทามาหากินแบบเกษตรอย่าง<br />

สอดคล้องกับธรรมชาติ การประยุกต์ดัดแปลง และวัฒนธรรม<br />

ด้านอาหารการกินพื้นบ้านที่เข้มแข็งและหลากหลาย ทาให้ไทย<br />

เป็นประเทศผู้ผลิตอาหารที่สาคัญรายใหญ่ของโลก โดยมีพื้นที่<br />

ทาการเกษตรร้อยละ 40 ของพื้นที่ทั้งประเทศ สามารถทาการ<br />

ผลิตสินค้าเกษตรและอาหาร ทั้งพืช ปศุสัตว์ และประมง มี<br />

ปริมาณผลผลิตพอเพียงกับความต้องการใช้ในประเทศและ<br />

มีเหลือส่งออกสร้างรายได้ ทั้งนี้ พื้นฐานสังคมเกษตรมีชีวิต<br />

ความเป็นอยู่ขึ้นอยู่กับปัจจัยต่างๆ ไม่มากนัก มีชีวิตที่สุขสบาย<br />

ตามอัตภาพ แต่เมื่อเวลาผ่านไปปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อวิถีชีวิต<br />

ของคนไทยและสังคมไทยกลับมากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่ง<br />

มีการปฏิรูประบบการเมือง การปกครอง ระบบราชการและ<br />

การศึกษา ซึ่งได้รับอิทธิพลมาจากต่างประเทศ ทาให้คนไทย<br />

ตกเป็นเหยื่อของลัทธิบริโภคนิยม/วัตถุนิยม วัฒนธรรมและ<br />

เทคโนโลยีที่ทันสมัย และการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ<br />

ในระยะที่ผ่านมาก็ได้ปรับเปลี่ยนโครงสร้างทางเศรษฐกิจ<br />

จากเดิมที่พึ่งพาภาคเกษตรกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนเศรษฐกิจ<br />

ของประเทศ ไปสู่การเป็นภาคอุตสาหกรรมเพื่อผลิตสินค้า<br />

ที่มีมูลค่าสูงใช้ในการส่งออกไปยังต่างประเทศ มีการพึ่งพิงการ<br />

ลงทุนจากต่างประเทศมากขึ้น โดยอาศัยทรัพยากรธรรมชาติ<br />

4<br />

ที่อุดมสมบูรณ์ภายในประเทศเป็นปัจจัยพื้นฐานที่สนับสนุนการ<br />

พัฒนา จนทาให้การพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจขยายตัวอย่าง<br />

รวดเร็ว ในขณะที่การพัฒนาด้านสังคมและสิ่งแวดล้อมไม่<br />

สามารถปรับตัวได้ทัน นาไปสู่ความไม่สมดุลระหว่างเศรษฐกิจ<br />

สังคม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ผลกระทบที่ตามมา<br />

คือคุณภาพชีวิตของประชากรภาคการเกษตรที่ลดต่าลง<br />

ทั้งนี้ การพัฒนาประเทศสู่ความสมดุลและยั่งยืน<br />

นั้นการเสริมสร้างทุนของประเทศที่มีอยู่ให้เข้มแข็งและมีพลัง<br />

เพียงพอในการขับเคลื่อนกระบวนการพัฒนาประเทศ การ<br />

พัฒนานั้นควรจะสอดรับกับรากฐานของชุมชนไทย และมีความ<br />

แนบแน่นไปกับวัฒนธรรมของชุมชน ซึ่งภูมิปัญหาท้องถิ่น<br />

(local wisdom) อันผ่านการสังเกต ทดลองใช้ คัดเลือก<br />

และถ่ายทอด เป็นวัฒนธรรมสืบต่อกันมานับว่าเป็นความรู้ที่<br />

ประกอบด้วยคุณธรรม ที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตดั้งเดิม<br />

ที่ไม่ได้แยกเป็นส่วน หากแต่ทุกอย่างมีความสัมพันธ์กัน ไม่ว่า<br />

จะเป็นการทามาหากิน การอยู่ร่วมกันในชุมชน โดยภูมิปัญญา<br />

ท้องถิ่นจะมีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับครัวเรือน ชุมชน สังคม<br />

และทรัพยากรธรรมชาติเป็นอย่างมาก


วารสาร<br />

ปีที่ 57 ฉบับที่ 656 กรกฎาคม 2554<br />

โดยภูมิปัญญามีด้วยกันหลายระดับ คือ<br />

1. ภูมิปัญญาระดับครัวเรือน ได้แก่ ภูมิปัญญาใน<br />

การปลูกพืชและเลี้ยงสัตว์หลากหลายชนิด ที่เหมาะสมกับสภาพ<br />

ภูมิประเทศและสภาพภูมิอากาศ ภูมิปัญญาที่ใช้ในการดูแลรักษา<br />

แก้ไขการเจ็บป่วยด้วยสมุนไพรพื้นบ้าน หมอพื้นบ้าน ภูมิปัญญา<br />

ด้านการกิน ด้านที่อยู่อาศัยที่ดูจากสภาพภูมิอากาศ<br />

2. ภูมิปัญญาระดับชุมชน เป็นภูมิปัญญาที่เกี่ยวข้อง<br />

กับการประยุกต์พิธีกรรมทางศาสนาเพื่อความมั่นคงของชุมชน<br />

ประเพณีเกี่ยวกับชีวิต ตั้งแต่เกิดจนตาย เช่น ประเพณีการบวช<br />

การแต่งงาน การตาย การทำขวัญข้าว การลงแขกเกี่ยวข้าว<br />

เป็นต้น<br />

3. ภูมิปัญญาระดับสังคม เป็นภูมิปัญญาที่เกิดจาก<br />

การประยุกต์และสร้างใหม่ เช่น การรวมกลุ่มโรงสีชุมชน กลุ่ม<br />

ไร่นาสวนผสม กลุ่มผักปลอดสารพิษ กลุ่มสหกรณ์การเกษตร<br />

เป็นต้น ภูมิปัญญากับการจัดการด้านทรัพยากรธรรมชาติ เช่น<br />

ทรัพยากรดิน น้ำ ป่าไม้ เช่น การสร้างฝาย เป็นต้น<br />

ซึ่งภูมิปัญญาเหล่านี้ได้นำไปสู่กระบวนการพัฒนา<br />

คุณภาพชีวิตเกษตรกรในด้านต่างๆ คือ 1) การพัฒนาโครงสร้าง<br />

พื้นฐาน โดยพิจารณาจากทรัพยากรธรรมชาติที่เกษตรกรต้องการ<br />

เช่น การพัฒนาแหล่งกักเก็บน้ำ เพื่อนำไปใช้ด้านการเกษตร 2)<br />

การพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน ด้วยการทำไร่นาสวนผสมแทนการ<br />

ปลูกพืชเชิงเดี่ยว (monoculture) โดยมีแหล่งน้ำของตนเองเป็น<br />

ศูนย์กลางของระบบการผลิต และการสร้างภูมิคุ้มกันให้ตนเอง<br />

เพราะการปลูกพืชหลายชนิดเป็นหลักประกันความเสี่ยงที่อาจจะ<br />

เกิดขึ้น ทำให้สามารถมีอาหารบริโภคที่เพียงพอในระดับครัวเรือน<br />

ก่อนที่เหลือจึงขยายสู่ตลาด ลดปัญหาด้านความไม่แน่นอนของ<br />

น้ำฝน รวมทั้งปัญหาความเสี่ยงจากการผันผวนของปัจจัยการ<br />

ตลาดและราคา หรือการจัดตั้งโรงสีชุมชนเพื่อลดค่าใช้จ่ายจาก<br />

การสีข้าว ทำให้กระบวนการผลิตข้าวแทบจะครบวงจร ตั้งแต่<br />

การเพาะปลูกจนถึงการแปรรูปเป็นข้าวสาร 3) การพัฒนาทาง<br />

สังคมด้วยการนำพื้นที่สาธารณประโยชน์มาใช้ประโยชน์ทาง<br />

ด้านการเกษตรร่วมกัน โดยมีการจัดสรรทรัพยากรอย่างทั่วถึง<br />

อนึ่ง การนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาปรับใช้ให้เหมาะสมกับ<br />

ตนเองและชุมชนนั้น การพัฒนากระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้<br />

ระหว่างเกษตรกรด้วยกันนับว่ามีความสำคัญเป็นอย่างยิ่ง ซึ่งนั่น<br />

เท่ากับว่าเป็นการสร้างความเข้มแข็งให้แก่ชุมชนในลักษณะการ<br />

พึ่งพาตนเอง โดยเกษตรกรได้มีส่วนในการตัดสินใจด้วยตนเอง<br />

เกิดความเข้มแข็งทางความคิด นำไปสู่การสะสมทุนมนุษย์ให้<br />

พร้อมรับการเปลี่ยนแปลงของสังคมภายนอกได้<br />

สุดท้ายนี้ การพัฒนาคุณภาพชีวิตเกษตรในมิติทาง<br />

เศรษฐศาสตร์ที่ว่าด้วยการจัดสรรทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัด<br />

ให้เกิดประโยชน์สูงสุดนั้น หาใช่เพียงกำไรสูงสุดที่เปรียบเทียบ<br />

ระหว่างผลตอบแทนกับต้นทุนเท่านั้น แต่ประโยชน์สูงสุดที่เกิด<br />

แก่เกษตรกรควรครอบคลุม<br />

มิติทางกายภาพ เศรษฐกิจ<br />

สังคม สิ่งแวดล้อมด้วย นั่นคือ<br />

เกษตรกรมีสุขภาพที่ดี ไม่มีหนี้<br />

สิน พอมีพอกิน มีความมั่นคง<br />

สามารถพึ่งพาตนเอง นั่นจึง<br />

เป็นการพัฒนาคุณภาพชีวิต<br />

เกษตรกรอย่างแท้จริง<br />

5


วารสาร<br />

ปีที่ 57 ฉบับที่ 656 กรกฎาคม 2554<br />

บทความพิเศษ<br />

โดย นางสาวศริยาพร ธนานันต์<br />

สำนักงำนเศรษฐกิจกำรเกษตรเขต 5<br />

บนวิถีแหง<br />

“กินข้าว” เป็นคาพูดที่ติดปากของคนไทย<br />

เป็นคาพูดที่ติดปากของคนไทย<br />

มีความหมายถึงการรับประทานอาหาร ข้าวเป็นอาหาร<br />

หลักของคนไทย มีความผูกพันกับคนไทยมาหลายยุค<br />

หลายสมัย อาชีพการทานาจึงเป็นอาชีพที่สาคัญ ดังสานวน<br />

ไทยที่กล่าวว่า กระดูกสันหลังของชาตินั้น ก็หมายถึง<br />

ชาวนานั่นเอง ก่อให้เกิดความเชื่อ พิธีกรรม และ<br />

ประเพณีเกี่ยวกับการทานาขึ้น ทั้งที่มาจากความเชื่อเรื่อง<br />

ในผีสางเทวดา ความเชื่อในเรื่องศาสนาพุทธ และศาสนา<br />

ฮินดู<br />

ความเชื่อ พิธีกรรม และประเพณีต่างๆ นั้นจะ<br />

ทาขึ้นตามช่วงฤดูการเพาะปลูก ได้แก่ พิธีกรรมก่อนการ<br />

เพาะปลูก มีวัตถุประสงค์เพื่อบวงสรวง บูชาสิ่งศักดิ์สิทธิ์<br />

หรือบรรพบุรุษให้คุ้มครองป้องกันภยันตรายแก่ชีวิตและ<br />

6<br />

ทรัพย์สิน ให้มีความสวัสดิมงคล มีความอุดมสมบูรณ์<br />

ขอโอกาสและความเชื่อมั่นในการดารงชีวิตในรอบปี<br />

นั้นๆ พิธีกรรมช่วงเพาะปลูกมีเป้าหมายเพื่อบวงสรวง<br />

บนบาน บอกกล่าว ฝากฝังสิ่งที่เกี่ยวข้องกับข้าวหรือการ<br />

เพาะปลูกแก่เทพเจ้าหรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ขอให้การเพาะปลูก<br />

ข้าวดาเนินไปได้ด้วยดี ปราศจากอันตรายต่างๆ พิธีกรรม<br />

ระหว่างการเพาะปลูก เพื่อให้ข้าวงอกงาม ปลอดภัยจาก<br />

สัตว์ต่างๆ หนอนเพลี้ย พิธีกรรมประเภทนี้ จัดขึ้นในช่วง<br />

ระหว่างการเพาะปลูกจนกระทั่งเก็บเกี่ยว และพิธีกรรม<br />

ช่วงเก็บเกี่ยวผลผลิต เพื่อให้<br />

ได้ผลผลิตมาก และเพื่อ<br />

แสดงความอ่อนน้อมกตัญู<br />

ต่อข้าว ตลอดถึงสิ่งที่เกี่ยวข้อง<br />

พิธีกรรมประเภทนี้ จัดขึ้นในช่วง<br />

ฤดูกาลเก็บเกี่ยว ในที่นี้จะขอยก<br />

ตัวอย่างพิธีกรรมที่เกี่ยวกับการทานาดังนี้<br />

พิธีแรกนาหรือแรกไถ เป็นพิธีของพราหมณ์ที่<br />

นับถือเทพและเทวดาต่างๆ โดยเฉพาะที่เกี่ยวกับฝน ลม<br />

แม่น้า แผ่นดิน และข้าว มีทั้งพิธีหลวง เรียกว่า พระราชพิธี<br />

พืชมงคลจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ และพิธีราษฎร์ คือ<br />

พิธีแรกนาของชาวนา โดยพิธีแรกนาของชาวนา จะทาขึ้น<br />

ในเดือน 6 มีวัตถุประสงค์เพื่อบูชาผี เทพเทวดาที่เกี่ยวข้อง


วารสาร<br />

ปีที่ 57 ฉบับที่ 656 กรกฎาคม 2554<br />

กับการทำนา คือ พระภูมินา แม่โพสพ แม่พระธรณี และ<br />

ผีนาผีไร่ ขอให้ช่วยดูแลต้นข้าวให้เจริญงอกงามปราศจาก<br />

ศัตรูพืชและสัตว์ทุกชนิด และขอให้ได้ผลผลิตมากๆ<br />

พิธีเลี้ยงผีตาแฮก (พระภูมินา) ตามความเชื่อของ<br />

ชาวอีสาน นาทุกผืนจะมีผีตาแฮกอยู ่ เมื่อชาวบ้านเข้าหักร้าง<br />

ถางพงเพื่อทำนา ก็จะทำพิธีเชิญผีตาแฮกมาดูแลนาข้าว ไม่<br />

ให้เสียหาย ไม่ให้วัวควายมากิน ไม่ให้เกิดแมลง ดังนั้นชาว<br />

อีสานจะตั้งศาลตาแฮกหรือตูบตาแฮก ให้ผีตาแฮกอยู ่อาศัย<br />

โดยพิธีเลี้ยงผีตาแฮกนั้นจะทำทุกปีก่อนการลงมือทำนา และ<br />

ทำอีกครั้งหลังการเก็บเกี่ยว<br />

ประเพณีสู่ขวัญข้าว หมายถึง พิธีกรรมในการเรียกขวัญข้าว<br />

หลังจากการเก็บเกี่ยวเพื่อเป็นการขอขมาและขอบคุณแม่โพสพหรือเทพี<br />

แห่งข้าว และยังเป็นพิธีที่เชื่อกันว่าจะทำให้ข้าวไม่หายและหมดไปจาก<br />

ยุ ้งฉางเร็วอีกด้วย วันที่ทำพิธีโดยปกติถือเอาวันที่ขนข้าวขึ้นยุ ้งเสร็จแล้ว<br />

หากไม่ทันก็อาจทำในวันรุ่งขึ้นก็ได้ การเรียกขวัญข้าวนั้นอาจทำได้ทั้ง<br />

แบบเรียบง่ายและแบบใหญ่โต โดยขึ้นกับความนิยมในท้องถิ่นหรือความ<br />

พร้อมของเจ้าของนา<br />

ประเพณีสู่ขวัญควาย หลังจากที่ใช้ควายไถนาและปลูกข้าว<br />

กล้าในนาเสร็จเรียบร้อยแล้ว จะมีการสู่ขวัญควาย เป็นการขอขมา<br />

ควายที่ได้ใช้งาน ที่ได้เฆี่ยนตี ดุ ด่า กล่าวคำผรุสวาท โดยจะเชิญ<br />

ปู่อาจารย์มาประกอบพิธีกรรมให้โดยการเตรียมกรวยดอกไม้ ธูปเทียน ด้ายสายสิญจน์ ผูกที่เขาของควายพร้อมกับ<br />

กรวยดอกไม้ที่เตรียมไว้เขาข้างละ ๑ กรวย หญ้าอ่อนที่เกี่ยวมาใหม่ๆ น้ำดื่มที่สะอาดให้ควายได้ดื่ม ปู ่อาจารย์ก็จะประกอบ<br />

พิธีกล่าวคำขอขมา ซึ่งในคำกล่าวนั้นจะเป็นการเตือนสติ<br />

ให้ระลึกนึกถึงบุญคุณของควาย<br />

นอกจากตัวอย่างประเพณี และพิธีกรรมที่ได้ยก<br />

ตัวอย่างมา ในประเทศไทยยังมีประเพณีและพิธีกรรมเกี่ยวกับ<br />

ข้าวและการทำนาอีกมากที่สืบทอดต่อกันมาจากรุ่นสู่รุ่น<br />

แต่เนื่องจากวิถีการดำเนินชีวิตของคนไทยในปัจจุบันได้มี<br />

การเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม ประกอบกับเทคโนโลยีในการ<br />

ทำการเกษตรมีการพัฒนาไปมาก รูปแบบในการทำนาจึงมี<br />

การเปลี่ยนแปลงไป สิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆ ถูกนำมาใช้ เพื่อความสะดวกรวดเร็ว ประเพณีและพิธีกรรมต่างๆ<br />

จึงถูกละเลยไป ถึงแม้จะยังคงมีการอนุรักษ์ไว้ในบางชุมชน แต่ชาวนา<br />

บางคนก็ไม่เคยได้สัมผัส และไม่เข้าใจถึงความหมายในการประกอบ<br />

พิธีกรรมเหล่านี้ น่าจะถึงเวลาที่หน่วยงานหรือองค์กรที่เกี่ยวข้อง<br />

ควรจะเข้ามาดูแลฟื้นฟูประเพณีและพิธีกรรมต่างๆ เหล่านั้นให้ชุมชน<br />

ได้ยึดถือปฏิบัติ อย่างน้อยคงจะเป็นอุทาหรณ์สอนใจให้ “คน” ได้<br />

ตระหนักถึงการอนุรักษ์สิ่งดีงามไว้ ซึ่งสามารถเชื่อมโยงเข้ากับประเพณี<br />

และพิธีกรรมอื่นๆ และส่งผลให้สังคมอยู่ร่วมกันอย่างผาสุกต่อไปได้<br />

7


วารสาร<br />

ปีที่ 57 ฉบับที่ 656 กรกฎาคม 2554<br />

1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ<br />

1.1 การตลาด<br />

1.1.1 โครงการประกันรายได้เกษตรกรผู้ปลูกข้าวปี 2553/54 รอบที่ 1 (มติ ครม. เมื่อวันที่ 14 ก.ย. 53)<br />

1) กรอบระยะเวลาดาเนินการ คงเหลือเฉพาะภาคใต้ (ไม่รวมชุมพร) ที่ยังกาลังดาเนินการอยู ่ ดังนี้<br />

- การออกใบรับรอง 1 ส.ค. 53 - 30 เม.ย. 54<br />

- การทาสัญญา 16 ส.ค. 53 - 31 พ.ค. 54<br />

- การใช้สิทธิ 16 ก.ย. 53 - 15 ก.ค. 54<br />

- การประกาศเกณฑ์กลางอ้างอิง 16 ก.ย. 53 - 15 ก.ค. 54<br />

2) เกณฑ์กลางอ้างอิงโครงการประกันรายได้เกษตรกรผู้ปลูกข้าวปี 2553/54 รอบที่ 1 ระหว่าง<br />

วันที่ 20 - 26 มิถุนายน 2554 ดังนี้<br />

ชนิดพืช<br />

ราคาประกัน<br />

ณ ความชื้น<br />

ไม่เกิน 15%<br />

ประจาวันที่ 13 มิ.ย. 54<br />

(ช่วงวันที่ 13 - 19 มิ.ย. 54)<br />

8<br />

พืชอำËำร<br />

ข้ำว<br />

ประจำเดือนมิถุนำยน 2554<br />

โดย นางสาวนลินรัตน์ ศุภวันต์<br />

สำนักวิจัยเศรษฐกิจกำรเกษตร<br />

หน่วย : (บาท/ตัน)<br />

ประจาวันที่ 20 มิ.ย. 54<br />

(ช่วงวันที่ 20 - 26 มิ.ย. 54)<br />

ข้าวรอบ 1<br />

1) ข้าวหอมจังหวัด 14,300<br />

ราคาอ้างอิง<br />

12,625<br />

การจ่ายเงินชดเชย<br />

1,675<br />

ราคาอ้างอิง<br />

12,692<br />

การจ่ายเงินชดเชย<br />

1,608<br />

2) ข้าวเจ้า 10,000 8,387 1,613 8,741 1,259<br />

3) ปทุมธานี 11,000 9,672 1,328 10,286 714<br />

4) ข้าวเหนียว 9,500 13,888 - 13,878 -<br />

หมายเหตุ : * ข้าวเปลือกหอมจังหวัดมีเฉพาะการประกันรายได้เกษตรกร ปีการผลิต 2553/54 รอบที่ 1 เท่านั้น<br />

** การกาหนดราคาเกณฑ์กลางอ้างอิงโครงการประกันรายได้เกษตรกรผู้ปลูกข้าว ปีการผลิต 2553/54<br />

รอบที่ 1 สิ้นสุดวันที่ 15 กรกฎาคม 2554 และรอบที่ 2 สิ้นสุดวันที่ 31 ตุลาคม 2554


วารสาร<br />

ปีที่ 57 ฉบับที่ 656 กรกฎาคม 2554<br />

มิถุนายน 2554<br />

3) ผลการดาเนินงาน โครงการประกันรายได้เกษตรกรผู้ปลูกข้าวปี 2553/54 (รอบที่ 1) ณ วันที่ 20<br />

รายการ<br />

9<br />

ครัวเรือน<br />

ฐานข้อมูลเกษตรกรที่ขึ้นทะเบียนปี 2552/53 3,528,336<br />

ผ่านการรับรองโดยประชาคม (ราย) 3,786,995<br />

ธ.ก.ส. ทาสัญญาทั้งหมด 3,762,342<br />

ธ.ก.ส. อนุมัติจ่ายเงินแล้ว (ราย) 3,134,251<br />

(จานวนเงิน) 35,960.86 ล้านบาท<br />

ที่มา : ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร<br />

1.1.2 โครงการประกันรายได้เกษตรกรผู้ปลูกข้าวปี 2553/54 รอบที่ 2<br />

มติ ครม. เมื่อวันที่ 15 ก.พ. 54 และ 8 มี.ค. 54 เห็นชอบการดาเนินงานโครงการประกันรายได้เกษตรกร<br />

ผู้ปลูกข้าว ปี 2553/54 รอบที่ 2<br />

1) กรอบระยะเวลาดาเนินการ<br />

- การขึ้นทะเบียนเกษตรกร 4 ม.ค. - 31 พ.ค. 54 ภาคใต้ 1 เม.ย. - 15 ก.ค. 54<br />

- การประชาคม 20 ม.ค. - 15 มิ.ย. 54 ภาคใต้ 2 พ.ค. - 31 ก.ค. 54<br />

- ออกใบรับรอง 20 ม.ค. - 30 มิ.ย. 54 ภาคใต้ 2 พ.ค. - 15 ส.ค. 54<br />

- ทาสัญญาประกันรายได้ 20 ม.ค. 53 - 31 ก.ค. 54 ภาคใต้ 2 พ.ค. 53 - 15 ก.ย. 54<br />

- ระยะเวลาใช้สิทธิ 1 ก.พ. - 15 ก.ย. 54 ภาคใต้ 1 มิ.ย. - 31 ต.ค. 54<br />

- ราคาและปริมาณประกันรายได้เกษตรกร กาหนดปริมาณและราคาประกันรายได้เกษตรกร<br />

ต่อครัวเรือน ณ ความชื้นไม่เกิน 15% ดังนี้<br />

- ข้าวเปลือกเจ้า ตันละ 11,000 บาท ไม่เกิน 30 ตัน/ครัวเรือน<br />

- ข้าวเปลือกปทุมธานี 1 ตันละ 11,500 บาท ไม่เกิน 30 ตัน/ครัวเรือน<br />

- ข้าวเปลือกเหนียว ตันละ 10,000 บาท ไม่เกิน 30 ตัน/ครัวเรือน<br />

2) เกณฑ์กลางอ้างอิงโครงการประกันรายได้เกษตรกรผู้ปลูกข้าวปี 2553/54 รอบที่ 2 ระหว่าง<br />

วันที่ 20 - 26 มิถุนายน 2554 ดังนี้<br />

หน่วย : (บาท/ตัน)<br />

ราคาประกัน ประจาวันที่ 13 มิ.ย. 54 ประจาวันที่ 20 มิ.ย. 54<br />

ชนิดพืช ณ ความชื้น (ช่วงวันที่ 13 - 19 มิ.ย. 54) (ช่วงวันที่ 20 - 26 มิ.ย. 54)<br />

ข้าวรอบ 2 ไม่เกิน 15% ราคาอ้างอิง การจ่ายเงินชดเชย ราคาอ้างอิง การจ่ายเงินชดเชย<br />

1) ข้าวเจ้า 11,000 8,387 2,613 8,741 2,259<br />

2) ปทุมธานี 1 11,500 9,672 1,828 10,286 1,214<br />

3) ข้าวเหนียว 10,000 13,888 - 13,878 -


วารสาร<br />

ปีที่ 57 ฉบับที่ 656 กรกฎาคม 2554<br />

3) ผลการดำเนินงาน โครงการประกันรายได้เกษตรกรผู้ปลูกข้าว ปี 2553/54 (รอบที่ 2) ณ วันที่<br />

20 มิถุนายน 2554<br />

รายการ<br />

ฐานข้อมูลเกษตรกรที่ขึ้นทะเบียนปี 2552/53 832,410<br />

ผ่านการรับรองโดยประชาคม (ราย) 883,627<br />

ธ.ก.ส. ทำสัญญาทั้งหมด 845,180<br />

ธ.ก.ส. อนุมัติจ่ายเงินแล้ว (ราย) 732,918<br />

(จำนวนเงิน)<br />

28,208.06 ล้านบาท<br />

ที่มา : ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร<br />

1.2 การค้า<br />

ภาวะการซื้อขายข้าวในเดือนมิถุนายน 2554<br />

ราคามีแนวโน้มสูงขึ้นจากเดือนพฤษภาคม 2554 เนื่องจาก<br />

ในเดือนนี้ผลผลิตข้าวออกสู่ตลาดน้อยลง ขณะที่พ่อค้ามี<br />

ความต้องการข้าวตามคำสั่งซื้อที่เพิ่มขึ้น จึงออกมารับซื้อ<br />

ในราคาที่สูงขึ้น เพื่อให้ได้ข้าวตามปริมาณที่ต้องการ<br />

การส่งออก<br />

ปี 2553 ประเทศไทยส่งออกข้าวทั้งหมด จำนวน<br />

8.940 ล้านตันข้าวสาร มูลค่า 168,193 ล้านบาท โดย<br />

ปริมาณเพิ่มขึ้นจาก 8.620 ล้านตันข้าวสาร ของปี 2552<br />

ร้อยละ 3.71 แต่มูลค่าลดลงจาก 172,208 ล้านบาท ของ<br />

ปี 2552 ร้อยละ 2.33 (ที่มา : กรมศุลกากร)<br />

ปี 2554 ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม - 14 มิถุนายน<br />

2554 ประเทศไทยส่งออกข้าวทั้งหมด จำนวน 5.712 ล้าน<br />

ตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจาก 3.696 ล้านตันข้าวสาร ของการ<br />

ส่งออกข้าวในช่วงเดียวกันของปีที่ผ่านมาร้อยละ 54.54<br />

(ที่มา : กรมการค้าภายใน)<br />

การนำเข้า<br />

ตั้งแต่ปี 2549 ตามพันธกรณี WTO ประเทศไทย<br />

จะต้องเปิดตลาดนำเข้าตามพันธกรณีในปริมาณ 249,757<br />

ตัน โดยข้าวที่นำเข้าส่วนใหญ่เป็นข้าวเมล็ดสั้นและเมล็ด<br />

กลางที่ผลิตในประเทศไทยได้น้อย การนำเข้าเป็นการนำเข้า<br />

เพื่อสนองความต้องการบริโภคของคนบางกลุ่มเท่านั้น<br />

10<br />

ครัวเรือน<br />

ประกอบกับภาษีนำเข้าข้าวในโควตาอัตราร้อยละ 30 นับว่า<br />

อยู ่ในเกณฑ์ที่สามารถป้องกันผลที่จะกระทบต่อผลผลิตข้าว<br />

ภายในประเทศได้<br />

สำหรับผลการนำเข้าข้าวในปี 2553 มีการนำ<br />

เข้าข้าว 5,350.91 ตัน มูลค่า 175.99 ล้านบาท ลดลงจาก<br />

76,969.78 ตัน มูลค่า 651.89 ล้านบาท ของการนำเข้าใน<br />

ช่วงเดียวกันของปีที่ผ่านมาร้อยละ 93.05 และ 73.00 ตาม<br />

ลำดับ<br />

2. สถานการณ์การผลิตและการค้าของโลก<br />

2.1 สถานการณ์ข้าวโลก<br />

1) การผลิต<br />

ผลผลิตข้าวโลก กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ ได้<br />

คาดคะเนเบื้องต้นว่าผลผลิตข้าวโลกปี 2554/55 ประจำ<br />

เดือนมิถุนายน 2554 ว่าจะมี 456.385 ล้านตันข้าวสาร<br />

(683.5 ล้านตันข้าวเปลือก) เพิ่มขึ้นจาก 450.009 ล้านตัน<br />

ข้าวสาร (674.4 ล้านตันข้าวเปลือก) ของปี 2553/54<br />

ร้อยละ 1.42 เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของผลผลิตของประเทศ<br />

ผู้บริโภคและผู้ส่งออกที่สำคัญของโลก เช่น บังกลาเทศ<br />

จีน อียิปต์ พม่า อินเดีย อินโดนีเซีย เกาหลีใต้ ปากีสถาน<br />

ศรีลังกา ฟิลิปปินส์ เวียดนาม ไทย และสหรัฐอเมริกา<br />

2) การค้าข้าวโลก<br />

บัญชีสมดุลข้าวโลก กระทรวงเกษตร<br />

สหรัฐฯ ได้คาดคะเนบัญชีสมดุลข้าวโลกปี 2554/55 ณ


วารสาร<br />

ปีที่ 57 ฉบับที่ 656 กรกฎาคม 2554<br />

เดือนมิถุนายน 2554 ว่าผลผลิตปี 2554/55 จะมี 456.385<br />

ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมาร้อยละ 1.42 การใช้<br />

ในประเทศจะมี 457.969 ล้านตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจากปีที่<br />

ผ่านมาร้อยละ 2.36 การส่งออก/นำเข้าจะมี 32.200 ล้าน<br />

ตันข้าวสาร เพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมาร้อยละ 3.67 และสต๊อก<br />

ปลายปีคงเหลือ 94.900 ล้านตันข้าวสาร ลดลงจากปีที่ผ่าน<br />

มาร้อยละ 1.64<br />

โดยประเทศที่คาดว่าจะส่งออกเพิ่มขึ้น ได้แก่<br />

ออสเตรเลีย พม่า อียิปต์ อินเดีย ปากีสถาน และเวียดนาม<br />

ส่วนประเทศที่คาดว่าจะส่งออกลดลง ได้แก่ บราซิล<br />

กัมพูชา ญี่ปุ่น อียู อุรุกวัย และกายอานา<br />

สำหรับประเทศที่คาดว่าจะนำเข้าเพิ่มขึ้น ได้แก่<br />

บราซิล แคนาดา โกตดิวัวร์ อียู ฮ่องกง เกาหลีใต้ ฟิลิปปินส์<br />

อิหร่าน อิรัก มาเลเซีย เม็กซิโก ไนจีเรีย ซาอุดีอาระเบีย<br />

สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ เยเมน และสหรัฐฯ ส่วนประเทศที่<br />

คาดว่าจะนำเข้าลดลง ได้แก่ บังกลาเทศ จีน อียู อินโดนีเซีย<br />

โมซัมบิก แอฟริกาใต้ และเวียดนาม<br />

ประเทศที่มีสต๊อกคงเหลือปลายปีเพิ่มขึ้น ได้แก่<br />

จีน ส่วนประเทศที่คาดว่าจะมีสต๊อกคงเหลือปลายปีลดลง<br />

ได้แก่ อินเดีย อินโดนีเซีย ญี่ปุ่น ฟิลิปปินส์ เวียดนาม และ<br />

สหรัฐอเมริกา<br />

2.2 สถานการณ์ข้าวของประเทศผู ้ผลิตและผู ้บริโภค<br />

ที่สำคัญ<br />

1) อินเดีย<br />

Rice online รายงานว่า กระทรวงพาณิชย์<br />

อินเดียอาจจะปรับลดราคาส่งออกขั้นต่ำของข้าวขาวที่ไม่ใช่<br />

ข้าวบาสมาติ (non-basmati rice) ลง หลังจากที่มีความ<br />

พยายามเสนอให้มีการยกเลิกมาตรการห้ามส่งออกแต่ไม่<br />

ประสบความสำเร็จ<br />

ทั้งนี้ รัฐบาลอินเดียได้กำหนดราคาส่งออกขั้นต่ำ<br />

(The minimum export price ; MEP) ที่ตันละ 850<br />

เหรียญสหรัฐฯ หากรัฐบาลอินเดียมีการปรับลดราคา<br />

ส่งออกขั้นต่ำลงก็จะเป็นการเปิดโอกาสให้ผู ้ส่งออกสามารถ<br />

ส่งออกข้าวขาวที่ไม่ใช่ข้าวบาสมาติได้มากขึ้น นอกจากนี้<br />

มีรายงานว่า คณะรัฐมนตรีด้านเศรษฐกิจ (The Cabinet<br />

Committee on Economic Affairs) ได้อนุมัติให้เพิ่ม<br />

ราคารับซื้อข้าวเปลือกขั้นต่ำ (The Minimum Support<br />

Prices ; MSPs) สำหรับฤดูการผลิตหลัก (Kharif Crops)<br />

ปีการผลิต 2554/55 ซึ่งจะเริ่มขึ้นในเดือนกรกฎาคม 2554<br />

โดยข้าวเปลือกเกรดธรรมดา กำหนดไว้ที่ตันละ 10,800 รูปี<br />

(ประมาณ 242 เหรียญสหรัฐฯ/ตัน หรือ 7,317 บาท/ตัน)<br />

เพิ่มขึ้นจากตันละ 10,000 รูปี เมื่อปีการผลิตก่อนตันละ<br />

800 รูปี หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 8.00 ส่วนข้าวเปลือกเกรดเอ<br />

กำหนดไว้ที่ตันละ 11,100 รูปี เพิ่มขึ้นจากตันละ 10,300<br />

รูปี เมื่อปีการผลิตที่ผ่านมาร้อยละ 7.76<br />

ที่มา : Riceonline.com<br />

2) บังกลาเทศประมูลซื้อข้าวนึ่ง 50,000 ตัน<br />

เมื่อวันที่ 24 พ.ค. 54 รัฐบาลบังกลาเทศได้<br />

ประกาศเปิดประมูลซื้อข้าวนึ่ง จำนวน 50,000 ตัน โดย<br />

กำหนดปิดรับข้อเสนอในวันที่ 6 มิ.ย. 54 นี้ และกำหนดให้มี<br />

การส่งมอบภายใน 40 วัน หลังการทำสัญญา ซึ่งการประมูล<br />

ครั้งนี้นับเป็นการประมูลครั้งแรกสำหรับปีงบประมาณ<br />

2554/55 ที่จะเริ่มขึ้นในเดือน ก.ค. 54<br />

11


วารสาร<br />

ปีที่ 57 ฉบับที่ 656 กรกฎาคม 2554<br />

ทั้งนี้ ในปีงบประมาณใหม่ (2554/55) ที่จะถึง<br />

คาดว่ารัฐบาลจะนำเข้าธัญพืชเพียง 1.4 ล้านตัน ลดลงจาก<br />

ปีงบประมาณนี้ (2553/54) ที่นำเข้าถึง 2.5 ล้านตัน อย่างไร<br />

ก็ตามมีการคาดการณ์ว่า รัฐบาลอาจจะต้องนำเข้าเพิ่มมาก<br />

ขึ้น หากไม่สามารถจัดหาข้าวจากในประเทศได้เพียงพอเช่น<br />

ปีนี้ เพราะประสบปัญหาภัยพิบัติทางธรรมชาติ<br />

ที่มา : Riceonline.com และสมาคมผู้ส่งออก<br />

ข้าวไทย<br />

3. ราคาข้าวไทยในเดือนมิถุนายน 2554 มีดังนี้<br />

3.1 ราคาข้าวที่เกษตรกรขายได้<br />

ราคาข้าวเปลือกเจ้าหอมมะลิ เฉลี่ยตันละ<br />

12,251 บาท สูงขึ้นจากตันละ 12,202 บาท ของเดือน<br />

พฤษภาคม 2554 ร้อยละ 0.40 แต่ลดลงจากตันละ 12,803<br />

บาท ของเดือนมิถุนายน 2553 ร้อยละ 4.31<br />

ราคาข้าวเปลือกเจ้านาปี 5% เฉลี่ยตันละ 8,266<br />

บาท สูงขึ้นจากตันละ 7,982 บาท ของเดือนพฤษภาคม<br />

2554 ร้อยละ 3.56 และสูงขึ้นจากตันละ 7,985 บาท ของ<br />

เดือนมิถุนายน 2553 ร้อยละ 3.52<br />

ราคาข้าวเปลือกเจ้านาปรังความชื้น 14 - 15%<br />

เฉลี่ยตันละ 8,266 บาท สูงขึ้นจากตันละ 7,982 บาท ของ<br />

เดือนพฤษภาคม 2554 ร้อยละ 3.56 และสูงขึ้นจากตันละ<br />

7,956 บาท ของเดือนมิถุนายน 2553 ร้อยละ 3.90<br />

3.2 ราคาขายส่งตลาดกรุงเทพฯ<br />

ราคาข้าวสารหอมมะลิ ชั้น 2 (เก่า) เฉลี่ยตัน<br />

ละ 26,983 บาท ลดลงจากตันละ 27,850 บาท ของเดือน<br />

พฤษภาคม 2554 ร้อยละ 3.11 และลดลงจากตันละ 27,640<br />

บาท ของเดือนมิถุนายน 2553 ร้อยละ 2.37<br />

ราคาข้าวสารเจ้า 5% (ใหม่) เฉลี่ยตันละ 13,883<br />

บาท สูงขึ้นจากตันละ 13,062 บาท ของเดือนพฤษภาคม<br />

2554 ร้อยละ 6.28 และสูงขึ้นจากตันละ 12,755 บาท ของ<br />

เดือนมิถุนายน 2553 ร้อยละ 8.84<br />

3.3 ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี.<br />

ราคาข้าวหอมมะลิ ชั้น 2 (ใหม่) เฉลี่ยตันละ 990<br />

ดอลลาร์สหรัฐฯ (29,856 บาท/ตัน) สูงขึ้นจากตันละ 976<br />

ดอลลาร์สหรัฐฯ (29,243 บาท/ตัน) ของเดือนพฤษภาคม<br />

2554 ร้อยละ 1.43 (และสูงขึ้นในรูปเงินบาทร้อยละ 2.10)<br />

และสูงขึ้นจากตันละ 951 ดอลลาร์สหรัฐฯ (30,626 บาท/<br />

ตัน) ของเดือนมิถุนายน 2553 ร้อยละ 4.10 (แต่ลดลงใน<br />

รูปเงินบาทร้อยละ 2.51)<br />

ราคาข้าว 5% เฉลี่ยตันละ 500 ดอลลาร์สหรัฐฯ<br />

(15,079 บาท/ตัน) สูงขึ้นจากตันละ 483 ดอลลาร์สหรัฐฯ<br />

(14,471 บาท/ตัน) ของเดือนพฤษภาคม 2554 ร้อยละ<br />

3.51 (และสูงขึ้นในรูปเงินบาทร้อยละ 4.20) และสูงขึ้น<br />

จากตันละ 445 ดอลลาร์สหรัฐฯ (14,335 บาท/ตัน) ของ<br />

เดือนมิถุนายน 2553 ร้อยละ 12.35 (และสูงขึ้นในรูปเงิน<br />

บาทร้อยละ 5.19)<br />

หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยน 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ<br />

เท่ากับ 30.1575 บาท (อัตราแลกเปลี่ยนเฉลี่ย 2 สัปดาห์)<br />

12


วารสาร<br />

ปีที่ 57 ฉบับที่ 656 กรกฎาคม 2554<br />

ข้าว<br />

ราคาข้าว 5%<br />

บาท/ตัน<br />

ปริมาณการส่งออกข้าว<br />

ตัน<br />

13<br />

ข้าว<br />

หน่วย : บาท/ตัน<br />

ม.ค. 53 ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. 54 ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย.<br />

ราคาฟาร์ม 9,326 9,400 8,636 8,257 7,952 7,985 8,151 8,306 8,454 8,184 8,229 8,415 8,543 8,903 8,393 8,026 7,982 8,266<br />

ราคาขายส่ง 17,070 16,008 14,477 12,921 12,817 12,755 12,545 12,960 13,168 13,018 14,209 14,660 14,325 14,709 13,385 13,050 13,062 13,883<br />

ราคาส่งออก 18,680 17,846 16,097 14,720 14,369 14,335 14,047 14,427 14,874 14,657 15,696 16,312 15,868 16,195 15,188 14,625 14,471 15,079<br />

ปริมาณ 717,931 623,834 782,467 560,542 643,465 721,389 530,884 625,944 867,252 829,127 915,127 1,121,770 855,523 830,690 1,178,086 892,677<br />

ส่งออก (ตัน)<br />

หมายเหตุ : ปริมาณการส่งออกใช้ข้อมูลจากกรมศุลกากร


วารสาร<br />

ปีที่ 57 ฉบับที่ 656 กรกฎาคม 2554<br />

ตารางที่ 1 ผลผลิตข้าวโลก<br />

(ประมาณการเดือนมิถุนายน 2554)<br />

หน่วย : ล้านตันข้าวสาร<br />

ปี 2553/54 Gr ปี 2554/55 ผลต่างร้อยละ<br />

ประเทศ ปี 2549/50 ปี 2550/51 ปี 2551/52 ปี 2552/53<br />

(2) (1) (1) และ (2)<br />

บังกลาเทศ 29.000 28.800 31.000 31.000 32.900 3.31 33.000 0.30<br />

บราซิล 7.695 8.199 8.570 7.657 9.450 3.48 7.900 - 16.40<br />

พม่า 10.600 10.730 10.150 10.550 10.750 0.11 11.000 2.33<br />

กัมพูชา 3.946 4.238 4.520 4.780 5.200 6.95 5.200 0.00<br />

จีน 127.200 130.224 134.330 136.570 137.000 1.98 138.000 0.73<br />

อียิปต์ 4.383 4.385 4.402 4.300 3.100 - 6.87 4.000 29.03<br />

อินเดีย 93.350 96.690 99.180 89.090 94.500 - 0.57 97.000 2.65<br />

อินโดนีเซีย 35.300 37.000 38.310 36.370 36.900 0.72 37.600 1.90<br />

ญี่ปุ่น 7.786 7.930 8.029 7.711 7.720 - 0.45 7.680 - 0.52<br />

เกาหลีใต้ 4.680 4.408 4.843 4.916 4.295 - 0.62 4.300 0.12<br />

ไนจีเรีย 2.900 3.000 3.200 3.400 3.600 5.73 0.000 - 100.00<br />

ปากีสถาน 5.450 5.700 6.900 6.800 4.700 - 1.19 6.800 44.68<br />

ฟิลิปปินส์ 9.775 10.479 10.755 9.772 10.550 0.83 10.800 2.37<br />

ศรีลังกา 18.250 2.200 2.227 2.650 2.400 - 32.10 2.900 20.83<br />

เวียดนาม 22.922 24.375 24.393 24.993 25.251 2.21 25.430 0.71<br />

สหรัฐฯ 6.267 3.288 6.546 7.133 4.554 1.37 6.402 40.58<br />

ไทย* 19.564 21.185 20.889 21.197 20.854 1.29 21.524 3.21<br />

อื่นๆ 10.924 29.823 29.254 31.172 36.285 27.70 36.849 1.55<br />

รวม 419.992 432.654 447.498 440.061 450.009 1.56 456.385 1.42<br />

หมายเหตุ : *สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ปี 2553 และ ปี 2554 ประมาณการ<br />

ตารางที่ 2 บัญชีสมดุลข้าวโลก<br />

(ประมาณการเดือนมิถุนายน 2554)<br />

หน่วย : ล้านตันข้าวสาร<br />

รายการ<br />

ปี 2553/54 ปี 2554/55 ผลต่างร้อยละ<br />

ปี 2549/50 ปี 2550/51 ปี 2551/52 ปี 2552/53<br />

Gr<br />

(2) (1) (1) และ (2)<br />

สต๊อกต้นปี 76.600 75.098 79.966 91.528 93.872 6.23 96.484 2.78<br />

ผลผลิต 419.992 432.654 447.498 440.061 450.009 1.56 456.385 1.42<br />

นำเข้า 31.917 29.758 29.335 31.581 31.059 0.05 32.200 3.67<br />

ใช้ในประเทศ 421.508 427.786 435.936 437.717 447.397 1.43 457.969 2.36<br />

ส่งออก 31.917 29.758 29.335 31.581 31.059 0.05 32.200 3.67<br />

สต๊อกปลายปี 75.098 79.966 91.528 93.872 96.484 6.84 94.900 - 1.64<br />

ที่มา : World Grain Situation and Outlook, USDA ประจำเดือนมิถุนายน 2554<br />

14


วารสาร<br />

ปีที่ 57 ฉบับที่ 656 กรกฎาคม 2554<br />

ตารางที่ 3 ปริมาณการส่งออกข้าวของโลก<br />

(ประมาณการเดือนมิถุนายน 2554)<br />

หน่วย : ล้านตัน<br />

ประเทศ ปี 2549/50 ปี 2550/51 ปี 2551/52 ปี 2552/53 ปี 2553/54 ปี 2554/55 ผลต่างร้อยละ<br />

Gr<br />

(2) (1) (1) และ (2)<br />

อาร์เจนตินา 0.436 0.408 0.594 0.468 0.600 8.07 0.600 0.00<br />

ออสเตรเลีย 0.190 0.048 0.017 0.040 0.350 10.95 0.450 28.57<br />

บราซิล 0.201 0.511 0.591 0.430 0.600 22.32 0.550 - 8.33<br />

พม่า 0.031 0.541 1.052 0.445 0.700 82.92 0.800 14.29<br />

กัมพูชา 0.450 0.500 0.800 1.000 1.200 30.41 1.000 - 16.67<br />

จีน 1.340 0.969 0.783 0.619 0.600 - 18.58 0.600 0.00<br />

อียิปต์ 0.750 0.575 0.570 0.035 - 0.200 471.43<br />

อียู 0.139 0.157 0.150 0.282 0.400 30.99 0.350 - 12.50<br />

กายอานา 0.254 0.185 0.244 0.275 0.250 3.71 0.230 - 8.00<br />

อินเดีย 6.301 3.383 2.123 2.052 2.400 - 21.58 2.800 16.67<br />

ญี่ปุ่น 0.200 0.200 0.200 0.200 0.200 0.00 0.150 - 25.00<br />

ปากีสถาน 2.696 3.050 3.187 4.000 2.500 1.21 3.200 28.00<br />

ปารากวัย 0.067 0.069 0.124 0.135 0.150 25.65 0.150 0.00<br />

อุรุกวัย 0.734 0.742 0.926 0.808 0.925 5.63 0.850 - 8.11<br />

เวียดนาม 4.522 4.649 5.950 6.734 6.200 10.54 6.400 3.23<br />

สหรัฐฯ 3.025 3.267 3.017 3.856 3.350 3.77 3.350 0.00<br />

ไทย* 9.193 10.210 8.620 8.940<br />

1/<br />

9.500 - 0.67<br />

1/<br />

9.500 0.00<br />

อื่นๆ 2.126 0.098 0.292 0.573 0.979 2.17 1.020 4.19<br />

รวม 31.917 29.758 29.335 31.581 31.059 0.05 32.200 3.67<br />

ที่มา : World Grain Situation and Outlook, USDA ประจำเดือนมิถุนายน 2554<br />

หมายเหตุ : *กรมศุลกากร<br />

1/<br />

ประมาณการ ปี 2555<br />

15


วารสาร<br />

ปีที่ 57 ฉบับที่ 656 กรกฎาคม 2554<br />

ตารางที่ 4 ปริมาณการนำเข้าข้าวของโลก<br />

(ประมาณการเดือนมิถุนายน 2554)<br />

ประเทศ ปี 2549/50 ปี 2550/51 ปี 2551/52 ปี 2552/53 ปี 2553/54 ปี 2554/55 ผลต่างร้อยละ<br />

Gr<br />

(2) (1) (1) และ (2)<br />

บังกลาเทศ 1.570 1.658 0.150 0.660 1.000 - 16.67 0.550 - 45.00<br />

บราซิล 0.684 0.417 0.650 0.774 0.500 - 0.08 0.600 20.00<br />

แคนาดา 0.341 0.365 0.322 0.330 0.330 - 1.65 0.340 3.03<br />

จีน 0.472 0.295 0.337 0.366 0.600 7.20 0.400 - 33.33<br />

โกตดิวัวร์ 0.980 0.800 0.800 0.840 0.900 - 1.21 0.950 5.56<br />

คิวบา 0.574 0.558 0.457 0.498 0.525 - 2.88 0.525 0.00<br />

อียู 1.342 1.520 1.383 1.216 1.150 - 5.18 1.070 - 6.96<br />

ฮ่องกง 0.348 0.399 0.397 0.390 0.410 3.10 0.415 1.22<br />

อินโดนีเซีย 2.000 0.350 0.250 1.150 1.750 9.66 0.400 - 77.14<br />

อิหร่าน 1.460 1.430 1.470 1.000 1.400 - 4.32 1.500 7.14<br />

อิรัก 0.773 0.975 1.089 1.140 1.150 9.97 1.200 4.35<br />

ญี่ปุ่น 0.642 0.546 0.750 0.650 0.700 3.53 0.700 0.00<br />

เกาหลีใต้ 0.242 0.282 0.245 0.320 0.330 7.75 0.350 6.06<br />

มาเลเซีย 0.799 1.039 1.086 0.907 1.040 3.99 1.130 8.65<br />

เม็กซิโก 0.607 0.578 0.610 0.598 0.655 1.88 0.700 6.87<br />

โมซัมบิก 0.410 0.300 0.385 0.320 0.400 0.15 0.375 - 6.25<br />

ไนจีเรีย 1.550 1.800 2.000 2.000 1.900 5.26 1.950 2.63<br />

ฟิลิปปินส์ 1.900 2.500 2.000 2.400 1.000 - 12.41 2.200 120.00<br />

ซาอุดีอาระเบีย 0.961 1.166 1.072 1.069 1.100 1.85 1.150 4.55<br />

เซเนกัล 0.700 0.860 0.715 0.685 0.700 - 2.25 0.700 0.00<br />

แอฟริกาใต้ 0.960 0.650 0.745 0.733 0.760 - 3.41 0.750 - 1.32<br />

ซีเรีย 0.235 0.230 0.250 0.315 0.350 11.75 0.350 0.00<br />

ตุรกี 0.193 0.195 0.282 0.520 0.400 27.61 0.000 - 100.00<br />

สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ 0.285 0.350 0.380 0.400 0.420 9.52 0.430 2.38<br />

เวียดนาม 0.450 0.300 0.500 0.400 0.600 9.01 0.500 - 16.67<br />

เยเมน 0.338 0.315 0.329 0.330 0.335 0.29 0.340 1.49<br />

สหรัฐฯ 0.695 0.651 0.682 0.562 0.620 - 3.68 0.630 1.61<br />

ไทย* 0.003 0.014 0.076 0.100 0.100 139.55 0.100 0.00<br />

อื่นๆ 10.403 9.215 9.923 10.908 9.934 0.77 11.895 19.74<br />

รวม 31.917 29.758 29.335 31.581 31.059 0.05 32.200 3.67<br />

ที่มา : World Grain Situation and Outlook, USDA ประจำเดือนมิถุนายน 2554<br />

หมายเหตุ : *กรมศุลกากร<br />

ปี 2554/55 ประมาณการ<br />

16<br />

หน่วย : ล้านตัน


วารสาร<br />

ปีที่ 57 ฉบับที่ 656 กรกฎาคม 2554<br />

ตารางที่ 5 การบริโภคข้าวของโลก<br />

(ประมาณการเดือนมิถุนายน 2554)<br />

หน่วย : ล้านตัน<br />

ประเทศ ปี 2549/50 ปี 2550/51 ปี 2551/52 ปี 2552/53 ปี 2553/54 ปี 2554/55 ผลต่างร้อยละ<br />

(2)<br />

Gr<br />

(1) (1) และ (2)<br />

บังกลาเทศ 29.764 30.747 31.000 31.600 33.700 2.80 34.000 0.89<br />

บราซิล 8.400 8.350 8.400 8.400 8.400 0.06 8.400 0.00<br />

พม่า 10.670 10.249 9.648 9.850 10.150 - 1.39 10.250 0.99<br />

กัมพูชา 3.646 3.788 3.770 3.810 4.020 2.03 4.220 4.98<br />

จีน 127.200 127.450 133.000 134.320 135.000 1.73 136.500 1.11<br />

อียิปต์ 3.276 3.340 4.000 3.670 3.400 1.70 3.400 0.00<br />

อินเดีย 86.700 90.466 91.090 85.690 91.000 0.43 94.700 4.07<br />

อินโดนีเซีย 35.900 36.350 37.100 38.000 38.850 2.04 39.140 0.75<br />

ญี่ปุ่น 8.250 8.177 8.326 8.200 8.125 - 0.28 8.250 1.54<br />

เกาหลีใต้ 4.887 4.670 4.788 4.760 4.797 - 0.18 4.800 0.06<br />

ไนจีเรีย 3.925 3.910 4.100 4.450 4.570 4.43 4.650 1.75<br />

ปากีสถาน 2.207 2.718 3.490 2.915 2.850 5.99 3.200 12.28<br />

ฟิลิปปินส์ 12.000 13.499 13.100 13.300 13.325 1.97 13.350 0.19<br />

เวียดนาม 18.775 19.400 19.000 19.150 19.300 0.42 19.550 1.30<br />

สหรัฐฯ 4.101 4.042 4.082 4.015 4.008 - 0.52 3.980 - 0.70<br />

ไทย* 10.732 11.098 11.267 12.120 12.084 3.31 12.100 0.13<br />

อื่นๆ 51.075 49.532 49.775 53.467 53.818 1.83 57.479 6.80<br />

รวม 421.508 427.786 435.936 437.717 447.397 1.43 457.969 2.36<br />

ที่มา : World Grain Situation and Outlook, USDA ประจำเดือนมิถุนายน 2554<br />

*สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร<br />

1/<br />

ประมาณการปี 2555<br />

ตารางที่ 6 สต๊อกข้าวปลายปีของโลก<br />

(ประมาณการเดือนมิถุนายน 2554)<br />

หน่วย : ล้านตัน<br />

ประเทศ ปี 2549/50 ปี 2550/51 ปี 2551/52 ปี 2552/53 ปี 2553/54 ปี 2554/55 ผลต่างร้อยละ<br />

Gr<br />

(2) (1) (1) และ (2)<br />

จีน 35.915 37.762 38.546 40.534 42.534 4.18 43.834 3.06<br />

อินเดีย 11.430 13.000 19.000 20.500 21.600 18.87 21.100 - 2.31<br />

อินโดนีเซีย 4.607 5.607 7.057 6.577 6.377 8.43 5.237 - 17.88<br />

ญี่ปุ่น 2.406 2.556 2.715 2.693 2.788 3.53 2.768 - 0.72<br />

ฟิลิปปินส์ 4.868 4.418 4.673 3.345 1.770 - 20.56 1.420 - 19.77<br />

เวียดนาม 1.392 2.018 1.961 1.470 2.096 5.15 2.076 - 0.95<br />

สหรัฐฯ 1.266 0.935 0.977 1.184 1.759 9.35 1.351 - 23.19<br />

อื่นๆ 13.214 13.670 16.599 17.569 17.560 8.54 17.114 - 2.54<br />

รวม 75.098 79.966 91.528 93.872 96.484 6.84 94.900 - 1.64<br />

ที่มา : World Grain Situation and Outlook, USDA ประจำเดือนมิถุนายน 2554<br />

17


วารสาร<br />

ปีที่ 57 ฉบับที่ 656 กรกฎาคม 2554<br />

มันสำปะหลัง<br />

ประจำเดือนมิถุนายน 2554<br />

โดย นางสาวกัญญารัตน์ ว่องวิทย์เดชา<br />

สำนักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร<br />

การผลิต<br />

ศูนย์สารสนเทศการเกษตร<br />

พยากรณ์ผลผลิตมันสำปะหลัง<br />

ปี 2554 มีพื้นที่เก็บเกี่ยว 6.86 ล้านไร่<br />

ผลผลิต 20.66 ล้านตัน ลดลงจาก<br />

ปี2553 ที่มีพื้นที่เก็บเกี่ยว 7.30 ล้านไร่<br />

ผลผลิต 22.01 ล้านตัน คิดเป็นร้อย<br />

ละ 6.41 และร้อยละ 6.53 ตามลำดับ<br />

เนื่องจากเกิดปัญหาภัยแล้ง เพลี้ยแป้งระบาด และอุทกภัย<br />

โดยในเดือนมิถุนายน 2554 คาดว่าผลผลิตออกสู่ตลาด<br />

0.20 ล้านตัน (ร้อยละ 0.99) ทั้งนี้ผลผลิตออกสู่ตลาดแล้ว<br />

(ต.ค. 53 - พ.ค. 54) ประมาณ 18.99 ล้านตัน (ร้อยละ 91.90)<br />

โดยออกสู่ตลาดมากสุดในเดือนกุมภาพันธ์ ประมาณ 4.18<br />

ล้านตัน (ร้อยละ 20.23) ในช่วงนี้มีฝนตกอย่างต่อเนื่อง<br />

ส่งผลให้หัวมันสดมีเปอร์เซ็นต์แป้งลดลง<br />

การตลาด<br />

การส่งออกผลิตภัณฑ์มันสำปะหลังเดือนพฤษภาคม<br />

มันเส้นส่งออก 0.414 ล้านตัน มูลค่า 3,428 ล้านบาท สูงขึ้น<br />

จากปริมาณ 0.081 ล้านตัน มูลค่า 669 ล้านบาท ในเดือนที่<br />

ผ่านมา 4 เท่า<br />

มันอัดเม็ดส่งออกเดือนพฤษภาคม ปริมาณ 0.006<br />

ล้านตัน มูลค่า 51 ล้านบาท สูงขึ้นจากปริมาณ 0.004 ล้านตัน<br />

มูลค่า 29 ล้านบาท ในเดือนที่ผ่านมาร้อยละ 50 และ 75.86<br />

แป้งมันสำปะหลังดิบส่งออกเดือนพฤษภาคม<br />

ปริมาณ 0.110 ล้านตัน มูลค่า 1,924 ล้านบาท ลดลงจาก<br />

ปริมาณ 0.125 ล้านตัน มูลค่า 2,147 ล้านบาท ในเดือนที่<br />

ผ่านมาร้อยละ 12.00 และ 10.38<br />

ราคา<br />

ความเคลื่อนไหวของราคามันสำปะหลังในเดือน<br />

มิถุนายน 2554 สรุปได้ดังนี้ คือ<br />

1. ราคาเกษตรกรขายได้<br />

1.1 ราคาหัวมันสำปะหลังสดที่เกษตรกรขายได้ ณ<br />

ระดับไร่นา เฉลี่ยกิโลกรัมละ 2.28 บาท ลดลงจากราคา<br />

กิโลกรัมละ 2.55 บาท ในเดือนที่ผ่านมาร้อยละ 10.58 และ<br />

18<br />

ทรงตัวเท่ากับในช่วงเดียวกันของปีที่ผ่านมา<br />

1.2 ราคามันเส้นที่เกษตรกรขายได้ ณ ระดับไร่นา เฉลี่ย<br />

กิโลกรัมละ 4.13 บาท ลดลงจากราคากิโลกรัมละ 4.57 บาท<br />

ในเดือนที่ผ่านมาร้อยละ 9.62 และลดลงจากราคากิโลกรัมละ<br />

4.45 บาท ในช่วงเดียวกันของปีที่ผ่านมาร้อยละ 7.19<br />

2. ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ<br />

2.1 ราคาขายส่งมันเส้น เฉลี่ยกิโลกรัมละ 7.02 บาท<br />

ลดลงจากราคากิโลกรัมละ 7.55 บาท ในเดือนที่ผ่านมาร้อย<br />

ละ 7.01 และสูงขึ้นจากราคากิโลกรัมละ 6.15 บาท ในช่วง<br />

เดียวกันของปีที่ผ่านมาร้อยละ 14.14<br />

2.2 ราคาขายส่งมันอัดเม็ด ไม่มีรายงาน<br />

2.3 ราคาขายส่งแป้งมันสำปะหลังชนิดดี เฉลี่ยกิโลกรัม<br />

ละ 21.25 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับเดือนที่ผ่านมา และสูงขึ้น<br />

จากราคากิโลกรัมละ 16.80 บาท ในช่วงเดียวกันของปีที่ผ่าน<br />

มาร้อยละ 26.48<br />

3. ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี.<br />

3.1 ราคาส่งออกมันเส้น ราคาเฉลี่ยตันละ 275 ดอลลาร์<br />

สหรัฐฯ ลดลงจากราคาตันละ 284 ดอลลาร์สหรัฐฯ ในเดือน<br />

ที่ผ่านมาร้อยละ 3.16 และสูงขึ้นจากตันละ 204.75 ดอลลาร์<br />

สหรัฐฯ ในช่วงเดียวกันของปีที่ผ่านมาร้อยละ 34.31<br />

3.2 ราคาส่งออกมันอัดเม็ด ไม่มีรายงานราคา<br />

3.3 ราคาส่งออกแป้งมันสำปะหลังชนิดดี ราคาเฉลี่ย<br />

ตันละ 527.50 ดอลลาร์สหรัฐฯ ลดลงจากราคาตันละ 546.50<br />

ดอลลาร์สหรัฐฯ ในเดือนที่ผ่านมาร้อยละ 3.47 และสูงขึ้นจาก<br />

ตันละ 495 ดอลลาร์สหรัฐฯ ในช่วงเดียวกันของปีที่ผ่านมา<br />

ร้อยละ 6.56


วารสาร<br />

ปีที่ 57 ฉบับที่ 656 กรกฎาคม 2554<br />

พันตัน ปริมาณการส่งออกมันเส้น มันอัดเม็ด<br />

หน่วย : พันตัน<br />

เดือน ส.ค. 53 ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. 54 ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค.<br />

มันเส้น 200.996 245.321 177.645 181.129 247.852 322.971 410.316 476.900 81.386 414.643<br />

มันอัดเม็ด 1.363 0.430 4.297 1.589 6.139 0.735 0.832 0.732 4.368 6.195<br />

19


วารสาร<br />

ปีที่ 57 ฉบับที่ 656 กรกฎาคม 2554<br />

ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์<br />

ประจำเดือนมิถุนายน 2554<br />

โดย นางพัชรา กฤตผล<br />

สำนักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร<br />

การผลิต<br />

กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ คาดคะเนผลผลิตโลก<br />

ปี 2554/55 ประจำเดือนมิถุนายน 2554 ว่าผลผลิตมี<br />

866.18 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 820.66 ล้านตันของปีก่อน<br />

ร้อยละ 5.55 โดยที่สหรัฐอเมริกา อาร์เจนตินา จีน สหภาพ<br />

ยุโรป อินเดีย อินโดนีเซีย เม็กซิโก รัสเซีย แอฟริกาใต้และ<br />

ยูเครนผลิตได้เพิ่มขึ้น<br />

การค้า<br />

กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ คาดคะเนความต้องการ<br />

ใช้ข้าวโพดโลกปี 2554/55 มี 871.74 ล้านตัน เพิ่มขึ้น<br />

จาก 846.63 ล้านตันของปี 2553/54 ร้อยละ 2.97 แม้ว่า<br />

สหรัฐอเมริกาจะใช้ข้าวโพดลดลงจากปีก่อนร้อยละ 0.82<br />

แต่หลายประเทศ เช่น อาร์เจนตินา บราซิล แคนาดา จีน<br />

สหภาพยุโรป อินเดีย เม็กซิโก แอฟริกาใต้ ยูเครน และ<br />

ฟิลิปปินส์ มีความต้องการใช้เพิ่มขึ้น สำหรับการค้าโลกมี<br />

92.48 ล้านตัน ลดลงจาก 92.88 ล้านตัน ของปี 2553/54<br />

เล็กน้อยเพียงร้อยละ 0.43 เนื่องจากสหรัฐฯ ส่งออกลดลง<br />

จากปีก่อนร้อยละ 5.15 แต่อาร์เจนตินา ปารากวัย รัสเซีย<br />

เซอร์เบีย และยูเครน ส่งออกได้เพิ่มขึ้น ส่วนประเทศผู ้นำเข้า<br />

เช่น สหภาพยุโรป เกาหลีใต้ เวียดนาม นำเข้าลดลง (ตาราง<br />

แนบท้าย)<br />

20<br />

การส่งออกข้าวโพดไทยเดือนมิถุนายน 2554<br />

(1 - 16 มิถุนายน 2554) มีปริมาณ 11,200 ตัน (สมาคม<br />

พ่อค้าข้าวโพดและพืชพันธุ์ไทย)<br />

ราคา<br />

สรุปราคาข้าวโพดเดือนมิถุนายน 2553 มีดังนี้<br />

ราคาข้าวโพดที่เกษตรกรขายได้ความชื้นไม่เกิน<br />

14.5% เฉลี่ยกิโลกรัมละ 8.13 บาท ลดลงจากกิโลกรัม<br />

ละ 8.62 บาทของเดือนก่อนร้อยละ 5.68 และลดลงจาก<br />

กิโลกรัมละ 8.46 บาท ของเดือนมิถุนายน 2553 ร้อยละ<br />

3.90 สำหรับข้าวโพดความชื้นเกิน 14.5 % เดือนนี้เฉลี่ย<br />

กิโลกรัมละ 6.18 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 6.82 บาท<br />

ของเดือนก่อนร้อยละ 9.38<br />

ราคาข้าวโพดขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ ที่โรงงาน<br />

อาหารสัตว์รับซื้อเฉลี่ยกิโลกรัมละ 9.50 บาท ลดลงจาก<br />

กิโลกรัมละ 10.24 บาท ของเดือนก่อนร้อยละ 7.23 แต่<br />

เพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 9.44 บาท ของเดือนมิถุนายน 2553<br />

ร้อยละ 0.64 ส่วนราคาขายส่งที่ไซโลรับซื้อเดือนนี้เฉลี่ย<br />

กิโลกรัมละ 8.51 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 9.34 บาท<br />

ของเดือนก่อนร้อยละ 8.89


วารสาร<br />

ปีที่ 57 ฉบับที่ 656 กรกฎาคม 2554<br />

ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี. เฉลี่ยตันละ 327.13 ดอลลาร์สหรัฐฯ<br />

(9,866 บาท/ตัน) ลดลงจากตันละ 358.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10,742<br />

บาท/ตัน) ของเดือนก่อนร้อยละ 8.62 และลดลงในรูปของเงินบาท<br />

ตันละ 876 บาท และเมื่อเทียบกับเดือนมิถุนายน 2553 ซึ่งเฉลี่ย<br />

ตันละ 307.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (9,895 บาท/ตัน) เพิ่มขึ้นร้อยละ<br />

6.56 และเพิ่มขึ้นในรูปของเงินบาทตันละ 29 บาท<br />

ราคาซื้อขายล่วงหน้าในตลาดชิคาโกเดือนกรกฎาคม 2554<br />

ข้าวโพดเมล็ดเหลืองอเมริกัน ชั้น 2 เดือนนี้เฉลี่ยบุชเชลละ 752.00<br />

เซนต์ (9,045 บาท/ตัน) เทียบกับบุชเชลละ 721.00 เซนต์ (8,624<br />

บาท/ตัน) ในเดือนก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.30 และเพิ่มขึ้นในรูปของเงิน<br />

บาทตันละ 421 บาท<br />

บัญชีสมดุลข้าวโพดโลก<br />

(คาดคะเนเมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2554)<br />

หน่วย : ล้านตัน<br />

รายการ ปี 2554/55 ปี 2553/54 ผลต่างร้อยละ<br />

สต๊อกต้นปี 117.44 143.45 - 18.13<br />

ผลผลิต 866.18 820.62 + 5.55<br />

นาเข้า 92.48 92.88 - 0.43<br />

ส่งออก 92.48 92.88 - 0.43<br />

ใช้ในประเทศ 871.74 846.63 + 2.97<br />

สต๊อกปลายปี 111.89 117.44 - 4.73<br />

ที่มา : กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ<br />

21


วารสาร<br />

ปีที่ 57 ฉบับที่ 656 กรกฎาคม 2554<br />

ข้าว¿†างเลี้ยงสัตว์<br />

ประจำเดือนมิถุนำยน 2554<br />

โดย นางพัชรา กฤตผล<br />

สำนักวิจัยเศรษฐกิจกำรเกษตร<br />

การผลิต<br />

กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ คาดคะเนผลผลิตข้าวฟ่าง<br />

โลก ปี ๒๕๕๔/๕๕ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน ๒๕๕๓ ว่าจะมี<br />

ผลผลิตทั้งหมด 62.76 ล้านตัน ลดลงขึ้นจาก 64.67 ล้าน<br />

ตันของปีก่อนร้อยละ 2.95 เนื่องจากสหรัฐอเมริกา ซูดาน<br />

บราซิล บูร์กินาฟาโซ ไนเจอร์ ผลิตได้ลดลง<br />

การค้า<br />

ด้านต่างประเทศ กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ คาด<br />

คะเนความต้องการใช้ว่ามี 62.87 ล้านตัน ลดลงจาก 63.90<br />

ล้านตันของปีก่อนร้อยละ 0.05 เนื่องจากสหรัฐอเมริกา<br />

ซูดานและไนเจอร์ มีความต้องการใช้ลดลง ด้านการค้าโลก<br />

คาดว่าจะมี 6.07 ล้านตัน ลดลงจาก 6.69 ล้านตันของ<br />

ปีก่อนร้อยละ 9.27 เนื่องจากสหรัฐอเมริกา ส่งออกลด<br />

ลงจากปีก่อนร้อยละ 2.78 และอาร์เจนตินา ออสเตรเลีย<br />

ส่งออกลดลงด้วย ส่วนสหภาพยุโรป เม็กซิโกนาเข้าลดลง<br />

ด้วย (ตารางแนบท้าย)<br />

ราคา<br />

ราคาข้าวฟ่างแดงคละที่เกษตรกรขายได้ เดือน<br />

มิถุนายน ๒๕๕๔ ไม่มีรายงานราคา<br />

หน่วย : ล้านตัน<br />

รายการ ปี 2554/55 ปี 2553/54 ผลต่างร้อยละ<br />

สต๊อกต้นปี 4.96 4.19 + 18.38<br />

ผลผลิต 62.76 64.67 - 2.95<br />

นาเข้า 6.07 6.69 - 9.27<br />

ส่งออก 6.07 6.69 - 9.27<br />

ใช้ในประเทศ 62.87 63.90 - 0.05<br />

สต๊อกปลายปี 4.86 4.96 - 2.02<br />

ที่มา : กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ<br />

บัญชีสมดุลข้าวฟางโลก<br />

(คาดคะเนเมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2554)<br />

22


วารสาร<br />

ปีที่ 57 ฉบับที่ 656 กรกฎาคม 2554<br />

23<br />

ถั่วเขียว<br />

ประจำเดือนมิถุนายน 2554<br />

โดย นางสาวรุจิรา โพธิวรรณ์<br />

สำนักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร<br />

การผลิต<br />

สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร<br />

คาดคะเนการผลิตถั่วเขียวปี 2554/55 เมื่อ<br />

เดือนมิถุนายน 2554 ว่ามีพื้นที่เพาะปลูก<br />

0.913 ล้านไร่ เพิ่มขึ้นจาก 0.898 ล้านไร่ของ<br />

ปี 2553/54 ร้อยละ 1.67 ผลผลิต คาดว่ามี<br />

0.106 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 0.102 ล้านตัน<br />

ของปี 2553/54 ร้อยละ 3.92 และผลผลิต<br />

ต่อไร่ได้ไร่ละ 116 กิโลกรัม เพิ่มขึ้นจากปี<br />

2553/54 3 กิโลกรัม<br />

ราคา<br />

ความเคลื่อนไหวของราคาในเดือนมิถุนายน 2554 มีดังนี้<br />

ราคาที่เกษตรกรขายได้<br />

ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดใหญ่ชนิดคละ ในเดือนนี้ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 30.00 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 31.03 บาท<br />

เดือนพฤษภาคม 2554 ร้อยละ 3.32 แต่เพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 22.33 บาท ในเดือนเดียวกันของปีที่ผ่านมาร้อยละ 34.35<br />

ถั่วเขียวผิวดำชนิดคละ ในเดือนนี้ไม่มีรายงานราคา<br />

ราคาขายส่งตลาดกรุงเทพฯ<br />

ถั่วเขียวผิวมันเมล็ดใหญ่ชนิดดี ในเดือนนี้ราคาเฉลี่ย<br />

กิโลกรัมละ 45.00 บาท เพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 44.00 บาท<br />

เดือนพฤษภาคม 2554 ร้อยละ 2.27 แต่ลดลงจากกิโลกรัมละ<br />

60.00 บาท ในเดือนเดียวกันของปีที่ผ่านมาร้อยละ 25.00<br />

ถั่วเขียวผิวดำชนิดคละ ในเดือนนี้ราคาเฉลี่ยกิโลกรัม<br />

ละ 32.00 บาท ทรงตัวเท่ากับเดือนก่อน แต่ลดลงจากกิโลกรัม<br />

ละ 38.00 บาท ของเดือนมิถุนายน 2553 ร้อยละ 15.79<br />

ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี.<br />

ถั่วเขียวผิวมันชั้นหนึ่ง ในเดือนนี้ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 46.17 บาท เพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 45.40 บาท ของ<br />

เดือนพฤษภาคม 2554 ร้อยละ 1.70 แต่ลดลงจากกิโลกรัมละ 60.63 บาท ในเดือนเดียวกันของปีที่ผ่านมาร้อยละ 23.85


วารสาร<br />

ปีที่ 57 ฉบับที่ 656 กรกฎาคม 2554<br />

กราฟรายเดือนถั่วเขียวผิวมันเมล็ดใหญ่คละ<br />

รายการ มิ.ย. 53 ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. 54 ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย.<br />

ราคาเกษตรกร 22.33 23.75 41.10 27.71 38.00 33.95 31.29 32.71 26.77 31.34 31.04 - 30.00<br />

ราคาขายส่ง 60.00 50.00 48.00 48.00 45.00 35.80 40.00 36.00 38.75 43.00 43.00 44.00 45.00<br />

ราคา F.O.B. 60.63 51.04 49.10 49.02 46.09 36.78 41.00 36.95 39.76 44.04 43.82 45.40 46.17<br />

ราคาถั่วเขียวผิวมันเมล็ดใหญ่คละ<br />

24


วารสาร<br />

ปีที่ 57 ฉบับที่ 656 กรกฎาคม 2554<br />

พืชน้ำมัน<br />

ถั่วเหลือง<br />

ประจำเดือนมิถุนายน 2554<br />

โดย นายอวยพร เพชรหลายสี<br />

สำนักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร<br />

การผลิต<br />

เนื้อที่เพาะปลูกถั่วเหลืองปี 2554/55 มีประมาณ 678,771 ไร่ ลดลงจาก 684,922 ไร่ ของปีที่ผ่านมาร้อยละ<br />

0.90 โดยผลผลิตรวมทั้งหมดประมาณ 176,423 ตัน ลดลงจาก 177,055 ตัน ของปีที่ผ่านมาร้อยละ 0.36 และผลผลิต<br />

เฉลี่ยต่อไร่เพิ่มขึ้นเป็น 260 กิโลกรัม จาก 259 กิโลกรัม ของปีที่ผ่านมาร้อยละ 0.39<br />

ด้านต่างประเทศ<br />

การผลิต<br />

กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ ประมาณการผลผลิตถั่วเหลืองโลกปี 2554/55 ประจำเดือนมิถุนายน 2554 มีประมาณ<br />

262.79 ล้านตัน ลดลงจาก 263.49 ล้านตัน ของปีที่ผ่านมาร้อยละ 0.27<br />

ผลผลิตถั่วเหลืองของประเทศผู้ผลิตที่สำคัญ<br />

ประเทศ 2554/55 2553/54<br />

สหรัฐอเมริกา 89.40 90.61<br />

บราซิล 72.50 74.50<br />

อาร์เจนตินา 53.00 49.50<br />

จีน 14.30 15.20<br />

อินเดีย 9.80 9.60<br />

ปารากวัย 7.50 8.10<br />

แคนาดา 4.00 4.35<br />

อื่นๆ 12.28 11.64<br />

รวม 262.79 263.49<br />

ที่มา : Oilseeds : World Markets and Trade : June 2011<br />

หน่วย : ล้านตัน<br />

ราคาถั่วเหลืองอาจปรับตัวสูงขึ้น ถ้าสภาพอากาศเปลี่ยนแปลง<br />

ข่าวจากนครมุมไบ ประเทศอินเดียแจ้งว่า ราคาเมล็ดถั่วเหลืองยังอ่อนตัวลงเป็นสัปดาห์ที่สอง เนื่องจากขณะนี้<br />

ยังเป็นช่วงมรสุม สำหรับสหรัฐฯ ได้หว่านถั่วเหลืองแล้วประมาณร้อยละ 68 ของพื้นที่ เทียบกับร้อยละ 83 ช่วงเดียวกัน<br />

25


วารสาร<br />

ปีที่ 57 ฉบับที่ 656 กรกฎาคม 2554<br />

ของปีที่ผ่านมา ส่วนอาร์เจนตินามีการเก็บถั่วเหลืองแล้ว<br />

ร้อยละ 95 โดยหน่วยงานภาครัฐประมาณการผลผลิต<br />

ถั่วเหลืองอาร์เจนตินาปีนี้จะอยู่ที่ 50.4 ล้านตัน ลดลง<br />

จาก 52.7 ล้านตันในปีที่ผ่านมา แม้สภาพอากาศจะแห้ง<br />

แล้งเมื่อช่วงต้นฤดูเพาะปลูก ด้านการส่งออกถั่วเหลือง<br />

บราซิลในเดือนพฤษภาคม 2554 อยู่ที่ 5.3 ล้านตัน<br />

เพิ่มขึ้นจาก 5.1 ล้านตัน ในเดือนเมษายน อย่างไรก็ตาม<br />

กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ ได้รับการติดต่อจากจีน คาดว่า<br />

ปี 2554/55 จะมีการนำเข้า 58 ล้านตัน เพิ่มขึ้น 3.5<br />

ล้านตัน เมื่อเทียบกับปี 2553/54<br />

ราคา<br />

ราคาที่เกษตรกรขายได้ของถั่วเหลืองชนิดคละ<br />

ในเดือนนี้ไม่มีรายงานราคา<br />

ราคาขายส่ง ณ ตลาดกรุงเทพฯ ของถั่วเหลือง<br />

สกัดน้ำมันเฉลี่ยกิโลกรัมละ 16.25 บาท ราคาทรงตัว<br />

เท่ากับเดือนที่ผ่านมา และสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 14.85<br />

บาท ในเดือนเดียวกันของปีที่ผ่านมาร้อยละ 9.43<br />

ราคาขายส่ง ณ ตลาดกรุงเทพฯ ของกากถั่วเหลืองในเดือนนี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 14.41 บาท ลดลงจากกิโลกรัม<br />

ละ 15.40 บาท ในเดือนที่ผ่านมา และลดลงจากกิโลกรัมละ 16.78 บาท ในเดือนเดียวกันของปีที่ผ่านมาร้อยละ 14.12<br />

ราคาถั่วเหลืองซื้อขายล่วงหน้า ณ ตลาดชิคาโก เฉลี่ยบุชเชลละ<br />

1,375.84 เซนต์ (15.45 บาท/กก.) สูงขึ้นจากบุชเชลละ 1,349.43 เซนต์ (15.02<br />

บาท/กก.) ในเดือนที่ผ่านมาร้อยละ 1.96 และสูงขึ้นจากบุชเชลละ 951.38<br />

เซนต์ (11.39 บาท/กก.) ในเดือนเดียวกันของปีที่ผ่านมาร้อยละ 44.62<br />

สำหรับราคากากถั่วเหลืองซื้อขายล่วงหน้า ณ ตลาดชิคาโก เฉลี่ย<br />

ตันละ 363.79 ดอลลาร์สหรัฐฯ (11.12 บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 349.94<br />

ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.60 บาท/กก.) ในเดือนที่ผ่านมาร้อยละ 3.96 และสูงขึ้น<br />

จากตันละ 287.88 ดอลลาร์สหรัฐฯ (9.38 บาท/กก.) ในเดือนเดียวกันของปี<br />

ที่ผ่านมาร้อยละ 26.37<br />

26


วารสาร<br />

ปีที่ 57 ฉบับที่ 656 กรกฎาคม 2554<br />

ในประเทศ<br />

การผลิต<br />

สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรคาดคะเน<br />

ถั่วลิสง ปี 2553 เมื่อเดือนมีนาคม 2554 ว่ามีพื้นที่<br />

เพาะปลูก และผลผลิต 180,576 ไร่ 45,103 ตัน ลด<br />

ลงจากปีก่อนซึ่งมีปริมาณ 183,591 ไร่ และ 45,344<br />

ตัน ลดลงร้อยละ 1.64 และ 0.53 ตามลำดับ สำหรับ<br />

ผลผลิตต่อไร่มีปริมาณ 250 กิโลกรัม เพิ่มขึ้นจาก<br />

247 กิโลกรัม ในปีก่อนร้อยละ 1.21<br />

27<br />

ถั่วลิสง<br />

ประจำเดือนมิถุนายน 2554<br />

โดย นางสาวยุพวรรณ ปานปวง<br />

สำนักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร<br />

ความเคลื่อนไหวของราคาในเดือนมิถุนายน 2554 มีดังนี้<br />

ราคาที่เกษตรกรขายได้<br />

ถั่วลิสงทั้งเปลือกสดคละ ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 16.67 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ<br />

17.65 บาท ในเดือนก่อนคิดเป็นร้อยละ 5.55 และทรงตัวเท่ากับเดือนเดียวกันของปีที่ผ่านมา<br />

ถั่วลิสงทั้งเปลือกแห้งคละ ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 24.00 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ<br />

22.42 บาท ในเดือนก่อนคิดเป็นร้อยละ 7.05 และสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ<br />

20.25 บาท ในเดือนเดียวกันของปีที่ผ่านมาคิดเป็นร้อยละ 18.52<br />

ราคาขายส่งตลาดกรุงเทพฯ<br />

ถั่วลิสงกะเทาะเปลือกคัดชนิดดี ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 55.00 บาท ลดลง<br />

จากกิโลกรัมละ 55.67 บาท ในเดือนก่อนคิดเป็นร้อยละ 1.20 แต่สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 47.70 บาท ในเดือนเดียวกัน<br />

ของปีที่ผ่านมาคิดเป็นร้อยละ 15.30<br />

ถั่วลิสงกะเทาะเปลือกคัดชนิดรอง ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 49.00 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 50.33 บาท ในเดือน<br />

ก่อนคิดเป็นร้อยละ 2.64 แต่สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 40.55 บาท ในเดือนเดียวกันของปีที่ผ่านมาคิดเป็นร้อยละ 20.84<br />

ต่างประเทศ<br />

กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ รายงานภาวะการผลิตถั่วลิสงโลก ปี 2554/55<br />

ประจำเดือนมิถุนายน 2554 ว่ามีผลผลิต 35.09 ล้านตัน คิดเป็นร้อยละ 7.68 ของ<br />

ผลผลิตพืชน้ำมันของโลกรองจากถั่วเหลือง เรปซีด และเมล็ดฝ้าย ซึ่งมีปริมาณ<br />

262.79, 59.24 และ 46.77 ล้านตัน ตามลำดับ ผลผลิตถั่วลิสงสูงขึ้นจาก 35.27<br />

ล้านตัน ของปี 2553/54 คิดเป็นร้อยละ 0.51


วารสาร<br />

ปีที่ 57 ฉบับที่ 656 กรกฎาคม 2554<br />

ผลผลิตและการกระจายผลผลิตถั่วลิสงโลก<br />

หน่วย : ล้านตัน<br />

รายการ 2554/55 2553/54 ผลต่างร้อยละ<br />

ผลผลิต 35.09 35.27 - 0.51<br />

นำเข้า 1.96 1.96 -<br />

ส่งออก 2.49 2.47 0.80<br />

สกัดน้ำมัน 15.79 15.67 0.76<br />

สต๊อกปลายปี 1.04 1.30 20.00<br />

ที่มา : Oilseeds : World Market and Trade, June, 2011<br />

ผลผลิตถั่วลิสงของประเทศผู้ผลิตที่สำคัญ<br />

หน่วย : ล้านตัน<br />

ประเทศ 2554/55 2553/54 ผลต่างร้อยละ<br />

สาธารณรัฐประชาชนจีน 15.20 15.10 0.66<br />

อินเดีย 6.00 6.00 -<br />

อื่นๆ 13.89 14.17 - 1.97<br />

รวม 35.09 35.27 - 0.51<br />

ที่มา : Oilseeds : World Market and Trade, June, 2011<br />

28


วารสาร<br />

ปีที่ 57 ฉบับที่ 656 กรกฎาคม 2554<br />

การผลิต<br />

สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรคาดว่า ผลผลิต<br />

ปาล์มน้ำมันในเดือนมิถุนายน 2554 จะมีประมาณ 0.823<br />

ล้านตัน คิดเป็นผลผลิตน้ำมันปาล์มดิบ 0.140 ล้านตัน ลดลง<br />

จาก 0.864 ล้านตัน น้ำมันปาล์มดิบ 0.147 ล้านตัน ในเดือน<br />

พฤษภาคม 2554 คิดเป็นร้อยละ 4.75 และ 4.76 ตามลำดับ<br />

คณะกรรมการน้ำมันปาล์มมาเลเซีย คาดว่าผลผลิตในประเทศ<br />

มาเลเซียเดือนมิถุนายนมีประมาณ 2.10 - 2.15 ล้านตัน<br />

เพิ่มขึ้นจากเดือนพฤษภาคมร้อยละ 11.98<br />

การตลาด<br />

คณะกรรมการน้ำมันปาล์มมาเลเซียรายงานว่า ใน<br />

ช่วงวันที่ 1 - 20 มิถุนายน 2554 มาเลเซียมีการส่งออกน้ำมัน<br />

ปาล์มดิบปริมาณ 0.970 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกัน<br />

ของเดือนที่ผ่านมาร้อยละ 22 เนื่องจากประเทศผู้นำเข้าใน<br />

ตะวันออกกลาง มีความต้องการน้ำมันปาล์มดิบเพิ่มขึ้น เพื่อ<br />

ใช้ในเทศกาลถือศีลอด<br />

ปาล์มน้ำมัน<br />

ประจำเดือนมิถุนายน 2554<br />

โดย นางสาวศิริวรรณ ประเศรษฐานนท์<br />

สำนักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร<br />

ราคาขายส่งน้ำมันปาล์มดิบ ณ ตลาดกรุงเทพฯ<br />

เฉลี่ยกิโลกรัมละ 35.86 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 36.28<br />

บาท ในเดือนที่ผ่านมาร้อยละ 1.16 และสูงขึ้นจากกิโลกรัม<br />

ละ 25.64 บาท ในเดือนเดียวกันของปีที่ผ่านมาร้อยละ 39.86<br />

ราคาน้ำมันปาล์มดิบซื้อขายล่วงหน้า ณ ตลาด<br />

รอตเตอร์ดัม เฉลี่ยตันละ 1,158.34 ดอลลาร์สหรัฐฯ (35.40<br />

บาท/กก.) สูงขึ้นจากตันละ 1,143.50 ดอลลาร์สหรัฐฯ (34.60<br />

บาท/กก.) ในเดือนที่ผ่านมาร้อยละ 1.30 และสูงขึ้นจาก<br />

ตันละ 803.50 ดอลลาร์สหรัฐฯ (26.23 บาท/กก.) ในเดือน<br />

เดียวกันของปีที่ผ่านมาร้อยละ 44.16<br />

ราคาน้ำมันปาล์มดิบซื้อขายล่วงหน้า ณ ตลาด<br />

มาเลเซียเฉลี่ยตันละ 3,298.09 ริงกิต (33.68 บาท/กก.) ลดลง<br />

จากตันละ 3,435.40 ริงกิต (35.13 บาท/กก.) ในเดือนที่ผ่าน<br />

มาร้อยละ 4.00 และสูงขึ้นจากตันละ 2,502.05 ริงกิต (25.03<br />

บาท/กก.) ในเดือนเดียวกันของปีที่ผ่านมาร้อยละ 31.82<br />

ราคา<br />

ราคาผลปาล์มทั้งทะลายที่เกษตรกรขายได้เดือนนี้<br />

เฉลี่ยกิโลกรัมละ 5.51 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 5.10 บาท<br />

ในเดือนที่ผ่านมาร้อยละ 8.34 และสูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 3.74<br />

บาท ในเดือนเดียวกันของปีที่ผ่านมาร้อยละ 47.33<br />

29


วารสาร<br />

ปีที่ 57 ฉบับที่ 656 กรกฎาคม 2554<br />

พืชเส้นใย<br />

ฝ้าย<br />

ประจำเดือนมิถุนายน 2554<br />

โดย นางสาวยุพวรรณ ปานปวง<br />

สำนักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร<br />

ในประเทศ<br />

ราคา<br />

ราคาฝ้ายดอกทั้งเมล็ดชนิดคละที่เกษตรกรขายได้เดือนนี้ไม่มีรายงานราคา<br />

ต่างประเทศ<br />

การผลิตและการค้าฝ้ายโลก<br />

บัญชีสมดุลฝ้ายโลกปี 2554/55 ประจำเดือนมิถุนายน 2554 กระทรวงเกษตรสหรัฐฯ คาดการณ์ว่า ผลผลิต<br />

ฝ้ายโลกจะมี 26.947 ล้านตัน (123.766 ล้านเบลล์) เพิ่มขึ้นจาก 24.883 ล้านตัน (114.285 ล้านเบลล์) ของปี 2553/54<br />

ร้อยละ 8.29 ใช้ในประเทศจะมี 25.899 ล้านตัน (118.951 ล้านเบลล์) การนำเข้า 8.581 ล้านตัน (39.413 ล้านเบลล์)<br />

การส่งออก 8.583 ล้านตัน (39.419 ล้านเบลล์) และสต๊อกปลายปีคงเหลือ 10.506 ล้านตัน (48.251 ล้านเบลล์)<br />

เพิ่มขึ้นจาก 9.415 ล้านตัน (43.244 ล้านเบลล์) ของปีที่ผ่านมาร้อยละ 11.58<br />

บัญชีสมดุลฝ้ายโลก<br />

(ประมาณการ ณ มิถุนายน 2554)<br />

หน่วย : ล้านตัน<br />

รายการ ปี 2554/55 ปี 2553/54 ผลต่างร้อยละ<br />

สต๊อกต้นปี 9.415 9.640 - 2.33<br />

ผลผลิต 26.947 24.883 8.29<br />

นำเข้า 8.581 7.826 9.65<br />

ใช้ในประเทศ 25.899 25.150 2.98<br />

ส่งออก 8.583 7.816 9.81<br />

สต๊อกปลายปี 10.506 9.415 11.59<br />

ที่มา : Cotton World markets and trade, USDA ประจำเดือนมิถุนายน 2554<br />

ความเคลื่อนไหวของราคาฝ้ายในตลาดโลก ประจำเดือนสรุปได้ดังนี้<br />

ราคาซื้อขายล่วงหน้าตลาดนิวยอร์ก (New York Cotton Futures)<br />

ราคาซื้อขายล่วงหน้าเพื่อส่งมอบเดือนกรกฎาคม 2554 ทำสัญญาเดือนนี้เฉลี่ยปอนด์ละ 151.64 เซนต์ หรือ<br />

กิโลกรัมละ 102.09 บาท ลดลงจากปอนด์ละ 153.94 เซนต์ หรือกิโลกรัมละ 102.62 บาท ในเดือนก่อนร้อยละ 1.49 และ<br />

ลดลงในรูปของเงินบาทกิโลกรัมละ 0.53 บาท และเมื่อเปรียบเทียบกับเดือนเดียวกันของปีก่อน ซึ่งมีราคาเฉลี่ยปอนด์ละ<br />

78.07 เซนต์ หรือกิโลกรัมละ 56.13 บาท สูงขึ้นร้อยละ 94.24 และสูงขึ้นในรูปของเงินบาทกิโลกรัมละ 45.96 บาท<br />

30


วารสาร<br />

ปีที่ 57 ฉบับที่ 656 กรกฎาคม 2554<br />

พืชอื่นๆ<br />

อ้อยโรงงานและน้ำตาล<br />

ประจำเดือนมิถุนายน 2554<br />

ในประเทศ<br />

รายงานการผลิตน้ำตาลทรายของโรงงาน<br />

น้ำตาลทั่วประเทศ<br />

ศูนย์บริหารการผลิต สำนักงานคณะ<br />

กรรมการอ้อยและน้ำตาลทรายได้รายงานการเก็บ<br />

เกี่ยวอ้อยและการผลิตน้ำตาลทรายตั้งแต่วันที่ 28<br />

พฤศจิกายน 2553 จนถึงวันที่ 19 มิถุนายน 2554<br />

ว่ามีอ้อยเก็บเกี่ยวเข้าโรงงานน้ำตาลไปแล้วจำนวน<br />

95.36 ล้านตัน ผลิตเป็นน้ำตาลได้ 9.64 ล้านตัน แยกเป็นน้ำตาลทรายดิบ 5.53 ล้านตัน และน้ำตาลทรายขาว 4.11 ล้าน<br />

ตัน ความหวานของอ้อยเฉลี่ย 11.78 ซี.ซี.เอส. ผลผลิตน้ำตาลทรายเฉลี่ยต่อตันอ้อย 101.09 กก.ต่อตันอ้อย<br />

ต่างประเทศ<br />

รายงานความต้องการบริโภคน้ำตาลของอินโดนีเซีย<br />

อินโดนีเซีย รายงานความต้องการบริโภคน้ำตาลภายในประเทศในปี 2554 จำนวน 5.17 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก<br />

5.01 ล้านตัน ในปี 2553 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.19 โดยแยกเป็นน้ำตาลทรายขาว 2.80 ล้านตัน เพื่อใช้บริโภคในครัวเรือน<br />

และน้ำตาลทรายขาวบริสุทธิ์ 2.37 ล้านตัน ใช้ในโรงงานอุตสาหกรรม<br />

31<br />

โดย นายกนก เทียนทรัพย์<br />

สำนักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร<br />

รายงานปริมาณอ้อยเข้าหีบของบราซิล<br />

บราซิลรายงาน ปริมาณอ้อยเข้าหีบทั้งประเทศ<br />

ปีการผลิต 2554/55 มีจำนวน 601 ล้านตัน ลดลงจาก 623<br />

ล้านตัน ในประมาณการครั้งก่อน หรือลดลงร้อยละ 3.53<br />

และยังคาดว่า จะเกิดผลผลิตน้ำตาลโลกส่วนเกิน (Surplus)<br />

6.5 ล้านตัน เพิ่มขึ้นจาก 2.7 ล้านตัน ในปีการผลิต 2553/54<br />

หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 140.74 เนื่องจากผลผลิตน้ำตาลในหลาย<br />

ประเทศเพิ่มสูงขึ้น เช่น ไทย และบางประเทศในยุโรป<br />

ราคาน้ำตาลทรายดิบ<br />

ราคาซื้อขายน้ำตาลทรายดิบตลาดนิวยอร์กซื้อขายทันที (SUGAR SPOT PRICE) เฉลี่ยเดือนนี้ 29.31 เซนต์/<br />

ปอนด์ (กิโลกรัมละ 19.49 บาท) สูงขึ้นจาก 26.41 เซนต์/ปอนด์ (กิโลกรัมละ 17.40 บาท) ของเดือนก่อนหรือสูงขึ้นคิด<br />

เป็นร้อยละ 10.98


วารสาร<br />

ปีที่ 57 ฉบับที่ 656 กรกฎาคม 2554<br />

ยางพารา<br />

ประจำเดือนมิถุนายน 2554<br />

โดย นางประนาถ พิพิธกุล, นางสาวเจนตา ชมธรณินทร์<br />

สำนักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร<br />

ในประเทศ<br />

นายเยี่ยม ถาวโรฤทธิ์ รักษาการประธานบริษัทร่วม<br />

ทุนยางระหว่างประเทศ (IRCO) กล่าวว่า ราคายางพารา<br />

ในไตรมาสที่3 ของปีนี้จะลดลงไม่ต่ำกว่ากิโลกรัมละ 122 บาท<br />

เนื่องจากสถานการณ์เศรษฐกิจโลก ที่ชะลอตัวลงเนื่องจาก<br />

ปัญหาการคลังของสหรัฐอเมริกา ภาวะวิกฤตหนี้สิน<br />

ในยุโรปที่รุนแรงและสถานการณ์เงินเฟ้อในจีน รวมถึง<br />

ญี่ปุ่นยังไม่ฟื้นตัวจากภัยพิบัติ ประกอบกับปริมาณผลผลิต<br />

ยางในแหล่งผลิตรายใหญ่ เช่น ประเทศไทยและมาเลเซีย<br />

เพิ่มขึ้นไม่มาก เพราะได้รับผลกระทบจากภาวะฝนตกชุก<br />

เป็นอุปสรรคต่อการกรีดยางโดยเฉพาะไทย ปัญหาเหล่านี้<br />

ส่งผลให้นักลงทุนชะลอการซื้อขายเพื่อรอดูทิศทางตลาด<br />

ในขณะที่ความต้องการบริโภคของประเทศผู้บริโภค<br />

รายใหญ่ คือ ประเทศจีนและอินเดียมีความต้องการที่คงที่<br />

แต่ก็มีกลุ่มประเทศตะวันออกกลาง บราซิลและรัสเซียซึ่ง<br />

เป็นตลาดบริโภคใหม่ส่งผลให้ราคาขยับขึ้นบ้าง<br />

ต่างประเทศ<br />

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์และอุตสาหกรรม<br />

ของอินเดีย เปิดเผยว่า ผลผลิตยางพาราของอินเดียจะ<br />

สูงขึ้นตามนโยบายและโครงการที่รัฐบาลกำหนดไว้ที่จะ<br />

เพิ่มผลผลิตยางของเกษตรกรรายย่อย เพื่อช่วยเหลือให้<br />

เกษตรกรได้รับผลประโยชน์จากราคายางให้ได้มากที่สุด ซึ่ง<br />

32<br />

ผลผลิตยางของเกษตรกรจะเพิ่มสูงขึ้นได้ขึ้นอยู่กับเทคนิค<br />

การกรีดยางที่ถูกต้องและเหมาะสมและช่วงอายุยาง รวม<br />

ถึงขนาดความสูงของลำต้นยาง ความเอียงของแนวกรีด<br />

ช่วงระยะเวลาที่กรีดเพราะถึงแม้ว่าปัจจุบันราคายางจะอยู่<br />

ในระดับสูงจูงใจให้เกษตรกรดูแลรักษาต้นยางให้ได้ผลผลิต<br />

ยางที่เพิ่มขึ้นก็ตาม โดยทั้งนี้ เกษตรกรต้องให้ความร่วมมือ<br />

กับรัฐบาลเพื่อช่วยแก้ไขและจัดการปัญหาเหล่านี้ให้หมดไป<br />

สำหรับสถานการณ์ยางพาราของประเทศเทศจีนนั้น นาย<br />

FAN RENDE ประธานสมาคมอุตสาหกรรมยางจีน (China<br />

Rubber Industry Association) คาดการณ์ว่า ความ<br />

ต้องการใช้ยางธรรมชาติของจีนจะสูงขึ้นถึง 2.89 ล้านตัน<br />

หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 8 เนื่องจากจีนเป็นตลาดรถยนต์ที่ใหญ่<br />

ที่สุดในโลก โดยในช่วง 5 เดือนแรกของปี 2554 (ม.ค. - พ.ค.)<br />

จีนได้นำเข้ายางธรรมชาติปริมาณ 1.71 ล้านตัน หรือเพิ่ม<br />

ขึ้นร้อยละ 6.4 จาก 0.94 ล้านตัน ในช่วงเวลาเดียวกันของ<br />

ปีที่ผ่านมา สำหรับเดือนพฤษภาคมได้นำเข้ายางธรรมชาติ<br />

ถึง 120,000 ตัน หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 33.5 เมื่อเทียบกับช่วง<br />

เวลาเดียวกันของปีที่ผ่านมาที่มีการนำเข้าเพียง 90,000 ตัน<br />

สำหรับผลผลิตยางธรรมชาติในประเทศของจีนปีนี้ลดลงเล็ก<br />

น้อย เนื่องจากเกิดภาวะแห้งแล้งในแหล่งปลูกยางพาราใน<br />

จังหวัดยูนนานและไหหนานซึ่งให้ผลผลิตยางรวมถึงร้อยละ<br />

40 ของผลผลิตยางทั้งประเทศ<br />

ราคายางพารา<br />

สำหรับความเคลื่อนไหวของราคายางเดือน<br />

มิถุนายน 2554<br />

ราคาที่เกษตรกรขายได้<br />

1) ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 1 เฉลี่ยกิโลกรัม<br />

ละ 142.68 บาท เพิ่มขึ้นจาก 140.81 บาท ของเดือนก่อน<br />

กิโลกรัมละ 1.87 บาท หรือร้อยละ 1.33<br />

2) ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 2 เฉลี่ยกิโลกรัม<br />

ละ 142.18 บาท เพิ่มขึ้นจาก 140.31 บาท ของเดือนก่อน


วารสาร<br />

ปีที่ 57 ฉบับที่ 656 กรกฎาคม 2554<br />

กิโลกรัมละ 1.87 บาท หรือร้อยละ 1.33<br />

3) ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 3 เฉลี่ยกิโลกรัมละ 141.68 บาท เพิ่มขึ้นจาก 139.81 บาท ของเดือนก่อนกิโลกรัม<br />

ละ 1.87 บาท หรือร้อยละ 1.34<br />

4) ยางก้อนคละ เฉลี่ยกิโลกรัมละ 70.46 บาท เพิ่มขึ้นจาก 65.54 บาท ของเดือนก่อนกิโลกรัมละ 4.92 บาท<br />

หรือร้อยละ 7.51<br />

5) เศษยางคละ เฉลี่ยกิโลกรัมละ 63.85 บาท เพิ่มขึ้นจาก 62.13 บาท ของเดือนก่อนกิโลกรัมละ 1.72 บาท<br />

หรือร้อยละ 2.77<br />

6) น้ำยางสดคละ เฉลี่ยกิโลกรัมละ 134.57 บาท ลดลงจาก 135.20 บาท ของเดือนก่อนกิโลกรัมละ 0.63 บาท<br />

หรือร้อยละ 0.47<br />

ในเดือนนี้ไม่มีรายงานราคา ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 4, ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 5 และยางแผ่นดิบคละ<br />

ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี. ซื้อขายล่วงหน้าส่งมอบเดือนกรกฎาคม 2554<br />

ณ ท่าเรือกรุงเทพฯ<br />

1) ยางแผ่นรมควันคุณภาพชั้นที่ 1 เฉลี่ยกิโลกรัมละ 159.33 บาท ลดลงจาก 159.81 บาท ของเดือนก่อน<br />

กิโลกรัมละ 0.48 บาท หรือร้อยละ 0.30<br />

2) ยางแผ่นรมควันคุณภาพชั้นที่ 3 เฉลี่ยกิโลกรัมละ 158.18 บาท ลดลงจาก 158.66 บาท ของเดือนก่อน<br />

กิโลกรัมละ 0.48 บาท หรือร้อยละ 0.30<br />

3) น้ำยางข้น เฉลี่ยกิโลกรัมละ 101.65 บาท ลดลงจาก 103.71 บาท ของเดือนก่อนกิโลกรัมละ 2.06 บาท<br />

หรือร้อยละ 1.99<br />

ณ ท่าเรือสงขลา<br />

1) ยางแผ่นรมควันคุณภาพชั้นที่ 1 เฉลี่ยกิโลกรัมละ 159.08 บาท ลดลงจาก 159.56 บาท ของเดือนก่อน<br />

กิโลกรัมละ 0.48 บาท หรือร้อยละ 0.30<br />

2) ยางแผ่นรมควันคุณภาพชั้นที่ 3 เฉลี่ยกิโลกรัมละ 157.93 บาท ลดลงจาก 158.41 บาท ของเดือนก่อน<br />

กิโลกรัมละ 0.48 บาท หรือร้อยละ 0.30<br />

3) น้ำยางข้น เฉลี่ยกิโลกรัมละ 101.40 บาท ลดลงจาก 103.46 บาท ของเดือนก่อนกิโลกรัมละ 2.06 บาท<br />

หรือร้อยละ 1.99<br />

ราคาซื้อขายล่วงหน้าส่งมอบเดือนกรกฎาคม 2554<br />

ยางแผ่นรมควันชั้น 3<br />

ตลาดสิงคโปร์เสนอซื้อล่วงหน้าเฉลี่ยกิโลกรัมละ 512.83 เซนต์สหรัฐฯ (154.69 บาท) ลดลงจาก 521.31<br />

เซนต์สหรัฐฯ (155.70 บาท) ของเดือนก่อนกิโลกรัมละ 8.48 เซนต์สหรัฐฯ หรือร้อยละ 1.63<br />

ตลาดโตเกียวเสนอซื้อล่วงหน้าเฉลี่ยกิโลกรัมละ 416.72 เยน (155.69 บาท) เพิ่มขึ้นจาก 414.56 เยน<br />

(152.41 บาท) ของเดือนก่อนกิโลกรัมละ 2.16 เยน หรือร้อยละ 0.52<br />

ตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้าแห่งประเทศไทย ซื้อขายเฉลี่ยกิโลกรัมละ 156.05 บาท/กิโลกรัม เพิ่มขึ้นจาก<br />

155.25 บาท/กิโลกรัม ของเดือนก่อนกิโลกรัมละ 0.80 บาท หรือร้อยละ 0.52<br />

33


วารสาร<br />

ปีที่ 57 ฉบับที่ 656 กรกฎาคม 2554<br />

กาแฟ<br />

ประจำเดือนมิถุนายน 2554<br />

โดย นางทัศนีย์ ลักษณะ, นางสาววิชชุพร สุขเจริญ<br />

สำนักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร<br />

ในประเทศ<br />

การผลิต<br />

สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ได้พยากรณ์การผลิตกาแฟปี 2555 โดย<br />

มีพื้นที่ให้ผล 302,857 ไร่ ลดลงจากปีที่แล้ว 20,039 ไร่ หรือลดลงร้อยละ 1.91<br />

ผลผลิตทั้งหมด 41,585 ตัน ลดลงจากปีที่แล้ว 809 ตัน หรือร้อยละ 6.21 ผลผลิต<br />

ต่อไร่เฉลี่ย 137 กิโลกรัม เพิ่มขึ้นจากปีที่แล้ว 6 กิโลกรัม หรือร้อยละ 4.58<br />

ในปี 2555 เนื้อที่ให้ผลผลิตกาแฟทั้งประเทศลดลง สำหรับผลผลิต<br />

กาแฟพันธุ์อาราบิก้าทางภาคเหนือเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีการส่งเสริมจากบริษัท<br />

เอกชน ประกอบกับเกษตรกรได้รับผลตอบแทนอยู่ในเกณฑ์ดี จึงมีการปลูกเพิ่ม<br />

ขึ้นอย่างต่อเนื่อง เนื่องจากแหล่งผลิตกาแฟพันธุ ์โรบัสตาทางภาคใต้และภาคกลาง<br />

ลดลง จากการโค่นต้นกาแฟทิ้งในสวนกาแฟที่ปลูกยางพาราและปาล์มน้ำมันแซม เนื่องจากยางพาราและปาล์มน้ำมัน<br />

โตเต็มที่ ผลผลิตต่อไร่เพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมา ส่งผลให้ต้นกาแฟมีการติดดอกออกผลดี และสมบูรณ์กว่าปีที่ผ่านมา ประกอบ<br />

กับราคาสารกาแฟอยู่ในเกณฑ์ดี จูงใจให้เกษตรกรเพิ่มการดูแลสวนกาแฟ แต่ภาพรวมผลผลิตลดลงตามเนื้อที่ให้ผล<br />

การค้า<br />

การส่งออกกาแฟของไทย 4 เดือนแรกของปี 2554 (ม.ค. - เม.ย.) มีการส่งออกปริมาณ 599.30 ตัน มูลค่า<br />

83.33 ล้านบาท สูงขึ้นจาก 124.03 ตัน มูลค่า 19.92 ล้านบาท จากช่วงเดียวกันของปีที่ผ่านมาคิดเป็น 4.83 เท่า และ<br />

4.18 เท่า ตามลำดับ สำหรับกาแฟสำเร็จรูปมีการส่งออก 3,230.58 ตัน มูลค่า 451.80 ล้านบาท สูงขึ้นจากปริมาณ<br />

1,353.76 ตัน มูลค่า 284.94 ล้านบาท จากช่วงเดียวกันของปีที่ผ่านมาคิด 2.39 เท่า และ 1.59 เท่า ตามลำดับ และ<br />

ไทยนำเข้าเมล็ดกาแฟ ปริมาณ 2,701.75 ตัน มูลค่า 232.73 ล้านบาท สูงขึ้นจากปริมาณ 1,733.39 ตัน มูลค่า 114.92<br />

ล้านบาท จากช่วงเดียวกันของปีที่ผ่านมาคิดเป็น 1.56 เท่า และ 2.03 เท่า ตามลำดับ สำหรับกาแฟสำเร็จรูปมีการนำเข้า<br />

ปริมาณ 1,400.43 ตัน มูลค่า 380.79 ล้านบาท สูงขึ้นจาก 959.14 ตัน มูลค่า 224.24 ล้านบาท จากช่วงเดียวกันของปี<br />

ที่ผ่านมาคิดเป็นร้อยละ 1.46 และ 1.43 ตามลำดับ<br />

ต่างประเทศ<br />

องค์การกาแฟระหว่างประเทศ (ICO) รายงานการส่งออกกาแฟในช่วง 7 เดือน<br />

แรก (ต.ค. 53 - เม.ย. 54) ของปีเพาะปลูก 2553/54 มีปริมาณ 3.762 ล้านตัน สูงขึ้น<br />

จาก 3.222 ล้านตัน จากช่วงเดียวกันของปีที่ผ่านมา หรือสูงขึ้นร้อยละ 16.7<br />

สำหรับในเดือนเมษายน ปี2554 มีปริมาณการส่งออกกาแฟโลก 0.583 ล้านตัน<br />

สูงขึ้นจาก 0.470 ล้านตัน ในช่วงเดียวกันของปีที่ผ่านมา หรือสูงขึ้นร้อยละ 23.40<br />

เวียดนาม<br />

ราคาเมล็ดกาแฟดิบในประเทศเวียดนาม ผู้ซึ่งเป็นประเทศผู้ผลิตกาแฟอันดับ 2 ของโลก ราคาเมล็ดกาแฟใน<br />

34


วารสาร<br />

ปีที่ 57 ฉบับที่ 656 กรกฎาคม 2554<br />

ไตรมาสที่ 2 เพิ่มสูงขึ้นมากกว่าร้อยละ 6 ชาวสวนกาแฟและผู้<br />

ส่งออกถือว่าเป็นโอกาสดีที่ราคาในปีนี้สูงขึ้นจากปีที่ผ่านมาทำให้<br />

พวกเขายังคงเก็บเมล็ดกาแฟไว้ แต่ผู้ค้าได้คาดคะเนผลผลิตในปี<br />

ที่จะถึงนี้ 2554/55 ว่าจะมีถึง 1.32 - 1.44 ล้านตัน เนื่องจาก<br />

ชาวสวนได้ดูแลบำรุงรักษาต้นกาแฟ เนื่องจากราคากาแฟที่สูง<br />

ขึ้นในปีนี้ ผลผลิตในปีหน้านี้จะออกมากเมื่อเก็บเกี่ยวผลผลิตใน<br />

แหล่งผลิตที่สำคัญคือ ที่ราบสูงตอนกลางของประเทศ<br />

ราคาเมล็ดกาแฟในเวียดนามจะสูงถึงราคากิโลกรัม<br />

ละ 82.50 - 90.00 บาท ราคาส่งออกในปลายเดือนพฤษภาคม<br />

2554 กิโลกรัมละ 77.75 บาท<br />

การบริโภคกาแฟโลก ปี 2549/50 - 2553/54<br />

หน่วย : ล้านตัน<br />

ประเทศ ปี 2549/50 ปี 2550/51 ปี 2551/52 ปี 2552/53 ปี 2553/54<br />

1. EU-27 2.66 2.75 2.51 3.10 2.71<br />

2. สหรัฐฯ 1.40 1.42 1.43 1.40 2.70<br />

3. บราซิล 1.00 1.04 1.08 1.13 1.17<br />

4. ญี่ปุ่น 0.44 0.42 0.42 0.42 0.41<br />

5. รัสเซีย 0.26 0.27 0.21 0.25 0.26<br />

6. ฟิลิปปินส์ 0.08 0.10 0.11 0.13 0.13<br />

7. เเอลจีเรีย 0.11 0.12 0.12 0.12 0.13<br />

8. แคนาดา 0.12 0.12 0.12 0.12 0.12<br />

9. สวิตเซอร์แลนด์ 0.09 0.10 0.11 0.12 0.12<br />

10. อินโดนีเซีย 0.10 0.10 0.11 0.11 0.11<br />

อื่นๆ 1.17 1.18 1.24 1.24 1.28<br />

รวม 7.43 7.64 7.45 8.14 7.86<br />

ที่มา : กระทรวงเกษตรสหรัฐอเมริกา (ธันวาคม 2553)<br />

ราคา<br />

ในประเทศ<br />

ไม่มีรายงาน เนื่องจากหมดฤดูการผลิต<br />

ราคาในตลาดต่างประเทศประจำเดือนมิถุนายน 2554 มีดังนี้<br />

ราคาเมล็ดกาแฟดิบอาราบิก้า ตลาดนิวยอร์กซื้อขายทันทีเฉลี่ย 285.01 เซนต์/ปอนด์ (192.02 บาท/กิโลกรัม)<br />

ลดลงจาก 303.04 เซนต์/ปอนด์ (202.10 บาท/กิโลกรัม) ของเดือนก่อนร้อยละ 5.95<br />

ราคาเมล็ดกาแฟดิบโรบัสตา ตลาดนิวยอร์กซื้อขายทันทีเฉลี่ย 124.63 เซนต์/ปอนด์ (83.97 บาท/กิโลกรัม)<br />

ลดลงจาก 125.05 เซนต์/ปอนด์ (83.40 บาท/กิโลกรัม) ของเดือนก่อนร้อยละ 0.34<br />

35


วารสาร<br />

ปีที่ 57 ฉบับที่ 656 กรกฎาคม 2554<br />

พริกไทย<br />

ประจำเดือนมิถุนายน 2554<br />

โดย นางสาวภีสพรรณ เลาสุทแสน<br />

สำนักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร<br />

การผลิต<br />

ผลผลิตพริกไทยปี 2554 เก็บเกี่ยว<br />

หมดแล้ว และส่วนใหญ่อยู่ในมือของพ่อค้าคนกลาง<br />

ที่เก็บไว้เพื่อรอราคา ผลผลิตในปีนี้เพิ่มขึ้นมากกว่า<br />

ปีที่ผ่านมาประมาณร้อยละ 10 - 20 ส่วนพื้นที่ปลูกมี<br />

แนวโน้มเพิ่มขึ้นเล็กน้อย เนื่องจากเกษตรกรเริ่มทยอย<br />

ปลูกพริกไทยเพิ่มทดแทนต้นเก่าที่มีอายุมากและตายไป<br />

ทั้งในพื้นที่เก่าและพื้นที่ใหม่<br />

การตลาด<br />

ภาวะการซื้อขายพริกไทยยังคงมีอย่างต่อเนื่อง<br />

แต่ราคามีแนวโน้มปรับตัวลดลง เนื่องจากผลผลิตพริกไทย<br />

ออกสู ่ตลาดในปริมาณมาก โดยพริกไทยดำ-คละ จ.จันทบุรี<br />

เฉลี่ยกิโลกรัมละ 170 - 180 บาท พริกไทยขาว-ดี เฉลี่ย<br />

กิโลกรัมละ 260 - 270 บาท ส่วนพริกไทยอ่อนราคาลดลง<br />

จากกิโลกรัมละ 200 บาท เป็นกิโลกรัมละ 40 - 50 บาท<br />

ในปี 2553 (ม.ค. - ธ.ค.) ไทยส่งออกพริกไทย<br />

ปริมาณ 4,797 ตัน มูลค่า 124.54 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก<br />

ปริมาณ 3,744 ตัน มูลค่า 101.62 ล้านบาท ของช่วง<br />

เดียวกันกับปีที่ผ่านมาร้อยละ 28.12 และร้อยละ 22.55<br />

ตามลำดับ จำแนกเป็นพริกไทยเมล็ดปริมาณ 199 ตัน มูลค่า<br />

22.91 ล้านบาท และพริกไทยป่นปริมาณ 4,138 ตัน มูลค่า<br />

101.63 ล้านบาท<br />

ในปี 2554 (ม.ค. - เม.ย.) ไทยส่งออกพริกไทย<br />

ปริมาณ 197 ตัน มูลค่า 12.92 ล้านบาท จำแนกเป็นพริก<br />

ไทยเมล็ดปริมาณ 140 ตัน มูลค่า 5.88 ล้านบาท และพริก<br />

ไทยป่นปริมาณ 50 ตัน มูลค่า 7.04 ล้านบาท<br />

ราคาในประเทศ<br />

ความเคลื่อนไหวของราคาพริกไทย ประจำเดือน<br />

เมษายน มีดังนี้<br />

36<br />

ราคาเกษตรกรขายได้<br />

ราคาเกษตรกรขายได้พริกไทยขาว-ดี ปี 2553<br />

เฉลี่ยกิโลกรัมละ 172 บาท เพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมาร้อยละ<br />

50.87 ส่วนพริกไทยดำ-คละ มีราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 122<br />

บาท เพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมาร้อยละ 45.24<br />

สำหรับเดือนพฤษภาคม 2554 พริกไทยดำ-คละ<br />

มีราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 160 บาท ลดลงจากเดือนที่<br />

ผ่านมาร้อยละ 1.84 ส่วนพริกไทยขาว-ดี ไม่มีการรายงาน<br />

สถานการณ์ราคา<br />

ราคาขายส่งตลาดกรุงเทพฯ<br />

ราคาขายส่งพริกไทยขาว-ดี ปี 2553 เฉลี่ย<br />

กิโลกรัมละ 192.33 บาท เพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมาร้อยละ<br />

28.31 ราคาต่ำสุด-สูงสุด คือ 155 - 250 บาท/กิโลกรัม พริก<br />

ไทยดำ-ดี มีราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 138.28 บาท เพิ่มขึ้นจาก<br />

ปีที่ผ่านมาร้อยละ 32.60 ราคาต่ำสุด-สูงสุด คือ 105 - 175<br />

บาท/กิโลกรัม ส่วนพริกไทยดำ-รอง มีราคาเฉลี่ยกิโลกรัม<br />

ละ 121.41 บาท เพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมาร้อยละ 34 ราคา<br />

ต่ำสุด-สูงสุด คือ 95 - 155 บาท/กิโลกรัม<br />

สำหรับในเดือนพฤษภาคม 2554 ราคาขายส่ง<br />

พริกไทยขาว-ดี มีราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 290.00 บาท เพิ่ม<br />

ขึ้นจากเดือนที่ผ่านมาร้อยละ 9.55 ส่วนพริกไทยดำ-ดี<br />

มีราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 199.72 บาท เพิ่มขึ้นจากเดือน<br />

ที่ผ่านมาร้อยละ 15.38 และพริกไทยดำ-รอง มีราคา<br />

เฉลี่ยกิโลกรัมละ 175.00 บาท เพิ่มขึ้นจากเดือนที่ผ่านมา<br />

ร้อยละ 10.18


วารสาร<br />

ปีที่ 57 ฉบับที่ 656 กรกฎาคม 2554<br />

การผลิต<br />

เนื่องจากผลผลิตในจังหวัดพิษณุโลก ลำปาง เชียงราย และ<br />

หนองคายออกสู่ตลาดมาก และออกพร้อมกับผลผลิตของภาคกลาง ใน<br />

ขณะที่ผลผลิตของลำปางไม่มีคุณภาพ ประกอบกับในแหล่งผลิตไม่มี<br />

โรงงานแปรรูปรองรับ และเกษตรกรไม่มีรถบรรทุกเพื่อขนส่งไปยังโรงงาน<br />

ที่อยู ่นอกแหล่งผลิต ทำให้พ่อค้าแผงรับซื้อผลผลิตจากเกษตรกรในราคาต่ำ<br />

รวมทั้งโรงงานแปรรูปขนาดเล็กใน จ.ประจวบคีรีขันธ์ปรับราคารับซื้อหน้า<br />

โรงงานลง ทำให้ราคาที่เกษตรกรขายได้ปรับตัวลดลง<br />

การค้า<br />

เดือนกุมภาพันธ์ 2554 ส่งออกสับปะรดสดและผลิตภัณฑ์<br />

สับปะรด 67,553 ตัน มูลค่า 2,323.95 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปริมาณ<br />

67,213 ตัน มูลค่า 2,246.28 ล้านบาท ในเดือนมกราคม 2554 หรือเพิ่ม<br />

ขึ้นร้อยละ 0.48 และ 3.46 และเพิ่มขึ้นจากปริมาณ 58,498 ตัน มูลค่า<br />

1,879.33 ล้านบาท ในเดือนกุมภาพันธ์ 2553 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 15.44<br />

และ 23.66<br />

37<br />

สับปะรด<br />

ประจำเดือนมิถุนายน 2554<br />

โดย นายประเสริฐศักดิ์ แสงสัทธา<br />

สำนักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร<br />

สับปะรดกระป๋อง<br />

ส่งออกปริมาณ 50,120 ตัน มูลค่า 1,508.23 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปริมาณ 48,619<br />

ตัน มูลค่า 1,401.06 ล้านบาท ในเดือนมกราคม 2554 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.09 และ 7.65 และ<br />

เพิ่มขึ้นจากปริมาณ 39,461 ตัน มูลค่า 1,021.68 ล้านบาท ในเดือนกุมภาพันธ์ 2553 หรือเพิ่ม<br />

ขึ้นร้อยละ 27.01 และ 47.62<br />

น้ำสับปะรด<br />

ส่งออกปริมาณ 11,235 ตัน มูลค่า 539.42 ล้านบาท ลดลง<br />

จากปริมาณ 12,120 ตัน มูลค่า 564.74 ล้านบาท ในเดือนมกราคม<br />

2554 หรือลดลงร้อยละ 7.30 และ 4.48 และลดลงจากปริมาณ<br />

13,485 ตัน มูลค่า 617.77 ล้านบาท ในเดือนกุมภาพันธ์ 2553 หรือ<br />

ลดลงร้อยละ 16.69 และ 12.68<br />

สับปะรดแช่แข็ง<br />

ส่งออกปริมาณ 164 ตัน มูลค่า 8.03 ล้านบาท ปริมาณเพิ่มขึ้นจาก 106 ตัน ในเดือน<br />

มกราคม 2554 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 54.72 ในขณะที่มูลค่าลดลงจาก 9.81 ล้านบาท หรือลดลง<br />

ร้อยละ 18.14 แต่เพิ่มขึ้นจากปริมาณ 88 ตัน มูลค่า 1.29 ล้านบาท ในเดือนกุมภาพันธ์ 2553<br />

หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 86.36 และ 522.48


วารสาร<br />

ปีที่ 57 ฉบับที่ 656 กรกฎาคม 2554<br />

สับปะรดที่ทำไว้ไม่ให้เสีย<br />

ส่งออกปริมาณ 2,190 ตัน มูลค่า 147.99<br />

ล้านบาท ปริมาณลดลงจาก 2,203 ตัน ในเดือนมกราคม<br />

2554 หรือลดลงร้อยละ 0.59 ในขณะที่มูลค่าเพิ่มขึ้นจาก<br />

143.63 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.04 และลดลง<br />

จากปริมาณ 2,370 ตัน ในเดือนกุมภาพันธ์ 2553 หรือ<br />

ลดลงร้อยละ 7.59 ในขณะที่มูลค่าเพิ่มขึ้นจาก 140.93<br />

ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 5.01<br />

สับปะรดแห้ง<br />

ส่งออกปริมาณ 32 ตัน มูลค่า 6.94 ล้านบาท<br />

เพิ่มขึ้นจากปริมาณ 27 ตัน มูลค่า 4.91 ล้านบาท ในเดือน<br />

มกราคม 2554 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 18.52 และ 41.34<br />

แต่ลดลงจากปริมาณ 66 ตัน มูลค่า 10.20 ล้านบาท ในเดือนกุมภาพันธ์ 2553 หรือลดลงร้อยละ 51.52 และ 31.96<br />

สับปะรดสด<br />

ส่งออกปริมาณ 140 ตัน มูลค่า 3.38 ล้าน<br />

บาท ปริมาณลดลงจาก 141 ตัน ในเดือนมกราคม<br />

2554 หรือลดลงร้อยละ 0.71 ในขณะที่มูลค่าเพิ่ม<br />

ขึ้นจาก 1.49 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 126.85<br />

และลดลงจากปริมาณ 190 ตัน ในเดือนกุมภาพันธ์<br />

2553 หรือลดลงร้อยละ 26.32 ในขณะที่มูลค่าเพิ่ม<br />

ขึ้นจาก 1.80 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 87.78<br />

ความเคลื่อนไหวของราคาสับปะรด<br />

ประจำเดือนมิถุนายน 2554 มีดังนี้<br />

ราคาสับปะรดโรงงานที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 5.10 บาท เพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 5.03 บาท ของ<br />

เดือนที่ผ่านมาร้อยละ 1.39 แต่ลดลงจากกิโลกรัมละ 5.84 บาท ในช่วงเดียวกันของปีที่ผ่านมาร้อยละ 12.67<br />

ราคาสับปะรดบริโภคที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 7.85 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 7.88 บาท ของเดือน<br />

ที่ผ่านมาร้อยละ 0.38 แต่เพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 7.48 บาท ในช่วงเดียวกันของปีที่ผ่านมาร้อยละ 4.95<br />

38


วารสาร<br />

ปีที่ 57 ฉบับที่ 656 กรกฎาคม 2554<br />

ปศุสัตว์<br />

และผลิตภัณฑ์จากสัตว์<br />

โดย นางสาวอัจฉรา ไอยรากาญจนกุล<br />

สำนักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร<br />

สุกร<br />

สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ<br />

ภาวะตลาดสุกรในเดือนนี้ ราคาสุกรมีชีวิตที่<br />

เกษตรกรขายได้สูงขึ้นเล็กน้อยจากเดือนที่ผ่านมา เนื่องจาก<br />

ปริมาณสุกรออกสู่ตลาดเพิ่มขึ้น ขณะที่ความต้องการบริโภค<br />

ชะลอตัวลงเล็กน้อยเพราะมีฝนตกแทบทุกพื้นที่ และมีอาหาร<br />

และสัตว์น้ำตามธรรมชาติ แนวโน้มคาดว่าราคาจะทรงตัว<br />

ด้านการส่งออกเนื้อสุกรแช่เย็นแช่แข็งเดือน เม.ย.<br />

2554 มีปริมาณ 56.87 ตัน มูลค่า 3.07 ล้านบาท ลดลงจาก<br />

เดือน มี.ค. 2554 ซึ่งส่งออกปริมาณ 96.07 ตัน มูลค่า 5.40<br />

ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 40.80 และร้อยละ 43.15 ตามลำดับ<br />

สำหรับการส่งออกเนื้อสุกรแปรรูปเดือน เม.ย.<br />

2554 มีปริมาณ 786.70 ตัน สูงขึ้นจากเดือน มี.ค. 2554 ซึ่ง<br />

มีการส่งออก 744.00 ตัน ร้อยละ 5.74 และเนื้อสุกรแปรรูป<br />

ในเดือนเม.ย. 2554 มีมูลค่า 159.97 ล้านบาท ลดลงจาก<br />

เดือน มี.ค. 2554 ซึ่งมีมูลค่า 276.73 ล้านบาท คิดเป็น<br />

ร้อยละ 42.19 ตลาดส่งออกที่สำคัญคือ ญี่ปุ่น<br />

ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ<br />

สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป<br />

ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 69.89<br />

บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 69.33 บาท ของเดือนที่ผ่านมา<br />

ร้อยละ 0.81 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ<br />

67.64 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 66.70 บาท<br />

ภาคกลาง กิโลกรัมละ 71.22 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ<br />

71.29 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี.<br />

เฉลี่ยตัวละ 2,000 บาท ทรงตัวเท่ากับเดือนที่ผ่านมา<br />

ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ<br />

ราคาขายส่งสุกรมีชีวิตในตลาดกรุงเทพฯ จากกรม<br />

การค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 69.50 บาท ส่วนราคาขายส่ง<br />

สุกรชำแหละเฉลี่ยกิโลกรัมละ 81.50 บาท ทรงตัวเท่ากับเดือน<br />

ที่ผ่านมา<br />

ไก่เนื้อ<br />

สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ<br />

สถานการณ์ตลาดไก่เนื้อในเดือนนี้ ราคาไก่เนื้อ<br />

มีชีวิตที่เกษตรกรขายได้ลดลงเล็กน้อยจากเดือนที่ผ่าน<br />

มา เนื่องจากในช่วงนี้มีฝนตกทั่วทุกภาค ทำให้การจับจ่าย<br />

ใช้สอยไม่คล่องตัว อีกทั้งมีอาหารและสัตว์น้ำตามธรรมชาติ<br />

ออกสู่ตลาด และจากข่าวพบโรงฆ่าและโรงชำแหละไก่ที่ไม่<br />

ได้มาตรฐานความสะอาดและความปลอดภัย ทำให้ผู้บริโภค<br />

เกิดความไม่มั่นใจในการบริโภคไก่เนื้อ ส่งผลให้ความต้องการ<br />

บริโภคไก่เนื้อชะลอตัว แนวโน้มคาดว่าราคาจะลดลง<br />

กรมการค้าภายใน เปิดเผยหลังการหารือกับสมาคม<br />

ผู ้เลี้ยงไก่เนื้อ และผู ้เกี่ยวข้องเพื่อแก้ปัญหาเนื้อไก่ราคาแพงว่า<br />

39


วารสาร<br />

ปีที่ 57 ฉบับที่ 656 กรกฎาคม 2554<br />

ที่ประชุมมีมติให้กรมการค้าภายในออกประกาศราคาแนะนำ<br />

ราคาเนื้อไก่ทั้งระบบตั้งแต่หน้าฟาร์มจนถึงราคาขายปลีก มีผล<br />

บังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 25 พ.ค. นี้เป็นต้นไป เพื่อขอความร่วมมือ<br />

ให้ผู ้ค้าเนื้อไก่จำหน่ายเนื้อไก่ในราคาที่กำหนด สำหรับสาเหตุ<br />

ที่ไก่เนื้อมีราคาแพงขึ้น มีสาเหตุเหมือนกับปัญหาเนื้อหมูและ<br />

ไข่ไก่ เนื่องจากอากาศแปรปรวนทำให้มีไก่ตาย และเจริญ<br />

เติบโตช้าจนทำให้ผลผลิตลดลงไป 20% จากปกติที่มีไก่สด<br />

ออกสู่ตลาดสัปดาห์ละ 22 ล้านตัว ลดเหลือเพียง 18 ล้านตัว<br />

เท่านั้น ทำให้ต้นทุนการเลี้ยงไก่ปรับสูงขึ้น โดยขณะนี้ต้นทุนได้<br />

เพิ่มมาเป็น กก. ละ 50 - 51 บาท แต่หลังจากนี้คาดว่าภายใน<br />

2 เดือน กรมฯ จะทบทวนราคาใหม่ หลังสถานการณ์เนื้อไก่<br />

ราคาแพงจะคลี่คลายลง เนื่องจากจะมีไก่รุ่นใหม่ออกสู่ตลาด<br />

ขณะเดียวกันยังเข้าสู่ฤดูฝนทำให้ผู้บริโภคมีทางเลือกการ<br />

บริโภคเนื้อปลาเพิ่ม<br />

ด้านการส่งออกเนื้อไก่สดแช่เย็นแช่แข็ง เดือน เม.ย.<br />

2554 มีปริมาณ 2,380.44 ตัน มูลค่า 147.41 ล้านบาท ลดลง<br />

จากเดือน มี.ค. 2554 ซึ่งส่งออกปริมาณ 3,358.16 ตัน มูลค่า<br />

201.56 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 41.07 และร้อยละ 36.73<br />

ตามลำดับ<br />

สำหรับการส่งออกไก่แปรรูปเดือน เม.ย. 2554 มี<br />

ปริมาณ 29,333.02 ตัน มูลค่า 3,923.36 ล้านบาท ลดลงจาก<br />

เดือน มี.ค. 2554 ซึ่งส่งออก 36,466.20 ตัน มูลค่า 4,824.16<br />

ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 19.56 และร้อยละ 18.67 ตามลำดับ<br />

ตลาดส่งออกที่สำคัญ คือ ญี่ปุ่น สหภาพยุโรป และเกาหลีใต้<br />

ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ<br />

ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ<br />

กิโลกรัมละ 50.32 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 50.74 บาท<br />

ของเดือนที่ผ่านมาร้อยละ 0.83 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้<br />

ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 51.05 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ<br />

กิโลกรัมละ 48.86 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 50.52 บาท<br />

40<br />

ภาคใต้ กิโลกรัมละ 52.50 บาท ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตาม<br />

ประกาศของบริษัท ซี.พี. ราคาเฉลี่ยอยู่ที่ตัวละ 21.50 บาท<br />

สูงขึ้นจากตัวละ 22.25 บาท ของเดือนที่ผ่านมาร้อยละ 4.44<br />

ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ<br />

ราคาขายส่งไก่มีชีวิตในตลาดกรุงเทพฯ จากกรม<br />

การค้าภายในเฉลี่ยกิโลกรัมละ 52.00 บาท ลดลงจากกิโลกรัม<br />

ละ 55.00 ของเดือนที่ผ่านมาร้อยละ 5.45 และราคาขายส่งไก่<br />

สดเฉลี่ยกิโลกรัมละ 66.50 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 67.33<br />

บาท ของเดือนที่ผ่านมาร้อยละ 1.23<br />

ไข่ไก่<br />

สถานการณ์การผลิต การค้า และราคาในประเทศ<br />

ภาวะตลาดไข่ไก่ในเดือนนี้ ราคาที่เกษตรกรขายได้<br />

ลดลงจากเดือนที่ผ่านมา เนื่องจากปริมาณไข่ไก่ออกสู่ตลาด<br />

มากขึ้น จากแม่ไก่ไข่รุ่นใหม่ ประกอบกับในช่วงนี้มีฝนตกทั่ว<br />

ทุกภาค ทำให้ผู้บริโภคหันไปบริโภคอาหารและสัตว์น้ำตาม<br />

ธรรมชาติมากขึ้น ส่งผลให้ความต้องการบริโภคไข่ไก่เริ่มอ่อน<br />

ตัวลง แนวโน้มคาดว่าราคาจะลดลงเล็กน้อย<br />

ด้านการส่งออกไข่ไก่สด ปริมาณการส่งออกไข่ไก่<br />

เดือน เม.ย. 2554 มีจำนวน 5.16 ล้านฟอง มูลค่า 17.54<br />

ล้านบาท ลดลงจากเดือน มี.ค. 2554 มีจำนวน 7.52 ล้านฟอง<br />

มูลค่า 22.81 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 31.38 และร้อยละ<br />

23.10 ตลาดส่งออกที่สำคัญ คือ ฮ่องกง<br />

ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ<br />

ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อย<br />

ฟองละ 293 ลดลงจากร้อยฟองละ 309 ของเดือนที่ผ่านมา<br />

ร้อยละ 5.18 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ<br />

306 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 282 บาท<br />

ภาคกลาง ร้อยฟองละ 283 บาท และภาคใต้ ร้อยฟองละ<br />

319 บาท ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี.<br />

ตัวละ 28.00 บาท ทรงตัวเท่ากับเดือนที่ผ่านมา


วารสาร<br />

ปีที่ 57 ฉบับที่ 656 กรกฎาคม 2554<br />

ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ<br />

ราคาขายส่งไข่ไก่ (เฉลี่ยเบอร์ 0 - 4) ในตลาด<br />

กรุงเทพฯ จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 308 บาท<br />

ลดลงจากร้อยฟองละ 309 บาท ของเดือนที่ผ่านมาร้อยละ<br />

0.32<br />

ไข่เป็ด<br />

ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ<br />

ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ<br />

ร้อยฟองละ 317 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 320 บาท<br />

ของเดือนที่ผ่านมาร้อยละ 0.94 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้<br />

ภาคเหนือร้อยฟองละ 303 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ<br />

ร้อยฟองละ 318 บาท ภาคกลาง ร้อยฟองละ 315 บาท และ<br />

ภาคใต้ ร้อยฟองละ 352 บาท<br />

โคเนื้อ<br />

ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ<br />

ราคาโค (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้ง<br />

ประเทศกิโลกรัมละ 47.93 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 47.49<br />

บาท ของเดือนที่ผ่านมาร้อยละ 0.93 โดยแยกเป็นรายภาค<br />

ดังนี้ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 52.55 บาท ภาคตะวันออก<br />

เฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 41.46 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ<br />

52.30 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 51.37 บาท<br />

ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ<br />

ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ จากกรมการค้า<br />

ภายในเฉลี่ยร้อยฟองละ 360 บาท ทรงตัวเท่ากับเดือนที่<br />

ผ่านมา<br />

กระบือ<br />

ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ<br />

ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ย<br />

ทั้งประเทศกิโลกรัมละ 36.67 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ<br />

36.51 บาท ของเดือนที่ผ่านมาร้อยละ 0.44 โดยแยกเป็น<br />

รายภาคดังนี้ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 53.40 บาท ภาคตะวันออก<br />

เฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 33.33 บาท ภาคกลาง และภาคใต้<br />

ไม่มีรายงานราคา<br />

41


วารสาร<br />

ปีที่ 57 ฉบับที่ 656 กรกฎาคม 2554<br />

สุกร<br />

ไก่เนื้อ<br />

ไข่ไก่<br />

ไข่เป็ด<br />

โคเนื้อ<br />

กระบือ<br />

รายการ มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย.<br />

ราคาเกษตรกรขายได้ 62.43 62.46 62.12 60.65 57.93 56.93 55.88 55.51 58.77 60.61 64.54 69.33 69.89<br />

ราคาขายส่งตลาดกรุงเทพฯ 61.50 60.50 59.30 55.73 52.50 53.50 52.50 54.90 60.75 62.25 68.17 69.50 69.50<br />

ราคาเกษตรกรขายได้ 45.31 44.94 42.85 42.13 41.71 41.31 42.48 44.60 46.15 47.11 48.69 50.74 50.32<br />

ราคาขายส่งตลาดกรุงเทพฯ 40.13 35.60 34.40 35.00 35.00 36.50 43.05 45.30 48.25 47.59 53.50 55.00 52.00<br />

ราคาเกษตรกรขายได้ 275 284 295 278 265 272 277 279 280 292 307 309 293<br />

ราคาขายส่งตลาดกรุงเทพฯ 305 299 275 286 280 281 285 295 295 305 335 309 308<br />

ราคาเกษตรกรขายได้ 302 310 303 301 297 298 294 297 300 306 317 320 317<br />

ราคาขายส่งตลาดกรุงเทพฯ<br />

ราคาเกษตรกรขายได้<br />

ราคาเกษตรกรขายได้<br />

340 340 340 340 340 340 340 340 350 352 360 360 360<br />

42.69 42.71 43.05 43.94 43.02 43.68 44.70 43.12 43.89 45.72 47.31 47.49 47.93<br />

34.57 34.20 34.49 33.60 33.27 32.93 32.80 33.15 34.78 35.63 36.89 36.51 36.67<br />

มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย.<br />

2553 2554<br />

(สุกร) ราคาเกษตรกรขายได้<br />

ราคาขายส่งตลาดกรุงเทพฯ<br />

เดือน<br />

มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย.<br />

2553 2554<br />

(ไก่เนื้อ) ราคาเกษตรกรขายได้<br />

ราคาขายส่งตลาดกรุงเทพฯ<br />

เดือน<br />

42


วารสาร<br />

ปีที่ 57 ฉบับที่ 656 กรกฎาคม 2554<br />

มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย.<br />

2553 2554<br />

(ไข่ไก่) ราคาเกษตรกรขายได้<br />

ราคาขายส่งตลาดกรุงเทพฯ<br />

มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย.<br />

2553 2554<br />

(โคเนื้อ) ราคาเกษตรกรขายได้<br />

เดือน<br />

เดือน<br />

มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย.<br />

2553 2554<br />

เดือน<br />

(ไข่เป็ด) ราคาเกษตรกรขายได้<br />

ราคาขายส่งตลาดกรุงเทพฯ<br />

มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. เดือน<br />

2553 2554<br />

(กระบือ) ราคาเกษตรกรขายได้<br />

43


์<br />

วารสาร<br />

ปีที่ 57 ฉบับที่ 656 กรกฎาคม 2554<br />

โดย นางรัชดา ทั่งทอง<br />

สำนักวิจัยเศรษฐกิจกำรเกษตร<br />

สถานการณ์สัตว์น้าที่สาคัญประจาเดือนมิถุนายน 2554<br />

และแนวโน้ม สถานการณ์การผลิตเดือนมิถุนายน 2554<br />

อาชีพใหม่เลี้ยงปลานิลแดงปทุมธานี 1<br />

แล้วเลี้ยงในกระชังปลา ถ้าต้องการเพาะขยายพันธุ์ปลาเอง<br />

ควรเลือกพ่อแม่พันธุ์ปลาอายุ 6 เดือน ไปเลี้ยงในบ่อซีเมนต์<br />

ควบคุมอุณหภูมิไว้ไม่เกิน 30 องศาเซลเซียส และเลี้ยงใน<br />

อัตราพ่อพันธุ์ 1 ตัวต่อแม่พันธุ์ 2 ตัว ปลานิลสายพันธุ์ใหม่นี้<br />

จะผสมพันธุ์กันเองและวางไข่ได้ทั้งปีเฉลี่ยแม่ละ 200 - 1,000<br />

ฟองต่อครั้ง<br />

อย่างไรก็ตาม การเลี้ยงปลานิลแดงปทุมธานี 1 ก็<br />

เป็นทางเลือกหนึ่งที่สามารถเป็นอาชีพที่ทารายได้ไม่แพ้การ<br />

เลี้ยงสัตว์น้าชนิดอื่น หากเกษตรกรท่านใดสนใจจะเลี้ยงก็<br />

สามารถติดต่อขอคาแนะนาและขอซื้อพันธุ ์ปลาได้ที่ศูนย์วิจัย<br />

และทดสอบพันธุ์สัตว์น้าปทุมธานี หรือขอข้อมูลเพิ่มเติมที่<br />

คุณนวลมณี พงศ์ธนา โทร 0 2904 1556<br />

ปลานิลเป็นปลาที่นิยมบริโภคกันทั่วไปในปจจุบัน<br />

และทาให้การเพาะเลี้ยงปลานิลขยายตัวเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว<br />

หน่วยงานที่เกี่ยวข้องจึงเร่งพัฒนาปลานิลสายพันธุ์ใหม่ เพื่อ<br />

สนองความต้องการของตลาด โดยศูนย์วิจัยและทดสอบพันธุ<br />

สัตว์น้าปทุมธานีได้ทาการวิจัยเพื่อพัฒนาสายพันธุ ์ใหม่ชื่อว่า<br />

“ปลานิลแดงปทุมธานี 1” ปลานิลสายพันธุ ์นี้ เป็นปลาลูกผสม<br />

4 สายพันธุ์ ได้จากพันธุ์ไทย ไต้หวัน มาเลเซีย และสเตอริง มี<br />

ลักษณะเด่น คือ มีลาตัวกว้าง มีสีชมพู-ส้ม กระดาน้อย เนื้อ<br />

มาก เจริญเติบโตเร็วกว่าปลานิลทั่วไปประมาณ 30 เปอร์เซ็นต์<br />

เลี้ยงได้ 4 - 5 เดือน จะมีขนาดน้าหนักประมาณครึ่งกิโลกรัม<br />

ก็สามารถจับขายได้ถ้าเป็นปลานิลทั่วไปจะมีน้าหนักตัว 1 - 2 ขีด<br />

เท่านั้น และเลี้ยงในน้ากร่อยที่มีความเค็มไม่เกิน 5 พีพีที<br />

เท่านั้น ส่วนปลานิลสายพันธุ์นี้มีจุดเด่นคือสามารถเลี้ยงและ<br />

เจริญได้ในน้าจืดและน้ากร่อยหรือน้าที่มีความเค็มไม่เกิน 25<br />

พีพีที วิธีการเลี้ยงใช้อาหารเม็ดสูตรสาหรับเลี้ยงปลานิลหรือ<br />

ปลาดุกมาปรับใช้ได้ โดยเกษตรกรนาลูกปลาอายุ 1 เดือนไป<br />

เลี้ยงขุนได้ทั้งบ่อดินหรือจะนาไปอนุบาลให้ได้น้าหนัก 10 กรัม<br />

44<br />

ในเดือนมิถุนายนสัตว์น้าทุกชนิดทุกประเภทส่งเข้า<br />

ประมูลจาหน่ายที่ตลาดกลางองค์การสะพานปลากรุงเทพฯ<br />

รวมทั้งสิ้น 4,190 ตัน เพิ่มขึ้นจาก 3,990 ตัน ของเดือนก่อน<br />

ร้อยละ 5.01 โดยแยกเป็นสัตว์น้าเค็มทุกชนิด 2,455 ตัน เพิ่ม<br />

ขึ้นจาก 2,450 ตัน ของเดือนก่อนร้อยละ 0.20 สัตว์น้าจืด<br />

ทุกชนิด 1,700 ตัน เพิ่มขึ้นจาก 1,540 ตัน ของเดือนก่อน<br />

ร้อยละ 10.39 แยกเป็นชนิดสัตว์น้าที่สาคัญดังนี้<br />

กุ้งสด มีปริมาณกุ้งสดทุกชนิดทุกประเภทส่ง<br />

เข้าประมูลจาหน่ายฯ 520 ตัน ลดลงจาก 545 ตัน ของเดือน<br />

ก่อนร้อยละ 4.59<br />

ปลาหมึกสด มีปลาหมึกสดทุกชนิดทุกประเภท<br />

ส่งเข้าประมูลจาหน่ายฯ 395 ตัน เพิ่มขึ้นจาก 380 ตัน ของ<br />

เดือนก่อนร้อยละ 3.95


วารสาร<br />

ปีที่ 57 ฉบับที่ 656 กรกฎาคม 2554<br />

ปลาทูสด มีปริมาณส่งเข้าประมูลจำหน่ายฯ<br />

45 ตัน เพิ่มขึ้นจาก 42 ตัน ของเดือนก่อนร้อยละ 7.14<br />

ปลาช่อนสด มีปริมาณส่งเข้าประมูลจำหน่ายฯ<br />

21 ตัน เพิ่มขึ้นจาก 19 ตัน ของเดือนก่อนร้อย 10.53<br />

ปลาดุกสด มีปริมาณส่งเข้าประมูลจำหน่ายฯ<br />

15 ตัน เพิ่มขึ้นจาก 13 ตัน ของเดือนก่อนร้อยละ 15.38<br />

แนวโน้มสถานการณ์ผลิตสัตว์น้ำเดือนกรกฎาคม<br />

2554<br />

จากการวิเคราะห์ทางสถิติประเมินได้ว่าจะมีสัตว์น้ำ<br />

ทุกชนิดส่งเข้าประมูลจำหน่ายที่ตลาดกลางองค์การสะพาน<br />

ปลากรุงเทพฯ รวมทั้งสิ้นประมาณ 4,310 ตัน เพิ่มขึ้นจาก<br />

4,190 ตัน ของเดือนที่แล้วร้อยละ 2.86 โดยแยกเป็นประเภท<br />

สัตว์น้ำที่สำคัญคือ<br />

กุ ้งสด มีแนวโน้มว่าจะมีปริมาณกุ ้งสดทุกชนิด<br />

ส่งเข้าประมูลจำหน่ายฯ ประมาณ 500 ตัน ลดลงจาก 520<br />

ตัน ของเดือนที่แล้วร้อยละ 3.85<br />

ปลาหมึกสด คาดว่าจะมีปริมาณปลาหมึกสด<br />

ทุกชนิดส่งเข้าประมูลจำหน่ายฯ ประมาณ 400 ตัน เพิ่มขึ้น<br />

จาก 395 ตัน ของเดือนก่อนร้อยละ 1.27<br />

ปลาทูสด คาดว่าจะมีปริมาณส่งเข้าประมูล<br />

จำหน่ายฯ 52 ตัน เพิ่มขึ้นจาก 42 ตัน ของเดือนก่อนร้อยละ<br />

23.81<br />

ปลาช่อนสด คาดคะเนได้ว่าจะมีปริมาณส่ง<br />

เข้าประมูลจำหน่ายฯ ประมาณ 22 ตัน เพิ่มขึ้นจาก 21 ตัน<br />

ของเดือนที่แล้วร้อยละ 4.76<br />

ปลาดุกสด มีแนวโน้มว่าจะมีปริมาณส่งเข้า<br />

ประมูลจำหน่ายฯ ประมาณ 16 ตัน เพิ่มขึ้นจาก 15 ตัน ของ<br />

เดือนก่อนร้อยละ 6.67<br />

สถานการณ์การตลาดเดือนมิถุนายน 2553 สหรัฐฯ<br />

ตรวจเข้มนำเข้าปลาดุก<br />

นางศรีรัตน์ รัษฐปานะ อธิบดีกรมเจรจาการค้า<br />

ระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ เปิดเผยว่า สหรัฐอเมริกา<br />

จะออกกฎหมาย Farm Bill 2008 เพื่อแทนกฎหมาย Farm Bill<br />

2008 ที่ใช้บังคับอยู่ในขณะนี้ มีข้อกำหนดให้ USDA (United<br />

States Department of agriculture) เป็นหน่วยงานตรวจสอบ<br />

สินค้าปลาดุก (Catfish) ที่จะนำเข้าสหรัฐฯ แทนหน่วยงาน<br />

USFDA (U.S. Food and Drug Administration) ซึ่งจะเข็มงวดต่อ<br />

การนำเข้าและมีขั้นตอนมากขึ้น โดย USDA จะใช้มาตรฐาน<br />

ในการควบคุมเนื้อสัตว์สัตว์ปีกและผลิตภัณฑ์ตั้งแต่การเลี้ยงดู<br />

ซึ่งไทยมีความกังวลและเป็นห่วง เนื่องจากสัตว์น้ำและสัตว์ปีก<br />

มีความแตกต่างกัน จึงไม่ควรใช้ระบบควบคุมอย่างเดียวกัน<br />

เพราะจะเป็นอุปสรรคต่อการค้า ในการร่างกฎหมาย Farm Bill<br />

2008 มีหน่วยงานที่รับผิดชอบ คือ FSIS (Food Safety and Inspection<br />

Service) ได้เปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนแสดงความเห็น<br />

ต่อร่างได้ ทางกรมเจรจาฯ ได้ประสานกับกรมประมงแล้ว<br />

ขณะนี้อยู่ระหว่างการจัดส่งความเห็นไปยังสำนักงานเกษตร<br />

ในต่างประเทศประจำสถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงวอชิงตัน<br />

เพื่อส่งความเห็นที่ได้ไป FSIS ภายในวันที่ 24 มิถุนายน 2554<br />

ทั้งนี้ มาตรการดังกล่าวเข้าข่ายต้องแจ้งต่อคณะ<br />

กรรมการ Sanitary and Phytosanitary Technical Barriers to<br />

Trade ขององค์การการค้าโลก (WTO) คาดว่าสหรัฐฯ จะแจ้ง<br />

WTO หลังจากปิดรับข้อคิดเห็นที่แจ้งต่อ FSIS แล้ว ซึ่งคณะ<br />

ผู้แทนถาวรไทยประจำ WTO จะติดตามและรายงานความ<br />

คืบหน้าต่อไป<br />

ภาวะการค้าส่งออกสินค้าสัตว์น้ำของไทยในเดือน<br />

มิถุนายน 2554 ประเมินได้ ดังนี้<br />

กุ้งสดแช่เย็น ส่งออกประมาณ 19,900 ตัน<br />

ลดลงจาก 24,300 ตัน ของเดือนที่แล้วร้อยละ 18.11<br />

ปลาหมึกสดแช่เย็น ส่งออกประมาณ 25,800<br />

ตัน ลดลงจาก 26,000 ตัน ของเดือนที่ผ่านมาร้อยละ 0.77<br />

ปลาทูน่ากระป๋อง ส่งออกประมาณ 59,000 ตัน<br />

ลดลงจาก 65,900 ตัน ของเดือนที่ผ่านมาร้อยละ 10.47<br />

ปลาป่นอาหารสัตว์ส่งออกประมาณ 2,999 ตัน<br />

ลดลงจาก 3,400 ตัน ของเดือนก่อนร้อยละ 11.79<br />

แนวโน้มสถานการณ์ตลาดเดือนกรกฎาคม 2554<br />

การส่งออกสินค้าสัตว์น้ำที่สำคัญบางชนิดในเดือน<br />

กรกฎาคม จากการวิเคราะห์ทางสถิติ คาดคะเนได้คือ<br />

กุ้งสดแช่เย็น คาดว่าจะส่งออกได้ประมาณ<br />

20,100 ตัน เพิ่มขึ้นจาก 19,900 ตัน ของเดือนที่แล้วร้อยละ 1.01<br />

ปลาหมึกสดแช่เย็น มีแนวโน้มว่าจะส่งออก<br />

ประมาณ 24,300 ตัน ลดลงจาก 25,800 ตัน ของเดือนก่อน<br />

ร้อยละ 5.81<br />

ปลาทูน่ากระป๋อง คาดว่าจะส่งออกประมาณ<br />

54,500 ตัน ลดลงจาก 59,000 ตัน ของเดือนที่ผ่านมาร้อยละ 7.63<br />

ปลาป่นอาหารสัตว์ คาดว่าจะส่งออกประมาณ<br />

2,850 ตัน ลดลงจาก 2,999 ตัน ของเดือนก่อนร้อยละ 4.97<br />

45


วารสาร<br />

ปีที่ 57 ฉบับที่ 656 กรกฎาคม 2554<br />

ความเคลื่อนไหวของราคาเดือนมิถุนายน 2554<br />

ราคาสัตว์น้ำที่สำคัญบางชนิดในเดือนมิถุนายน<br />

2554 มีความเคลื่อนไหวดังนี้ คือ<br />

กุ้งขาวขนาด 60 ตัว/กิโลกรัม ราคาที่ชาว<br />

ประมงขายได้กิโลกรัมละ 127.85 บาท ลดลงจาก 132.22<br />

บาท/กิโลกรัม ของเดือนที่แล้วร้อยละ 3.30<br />

ราคาขายส่งกุ้งขาวขนาดกลาง (60 ตัว/กิโลกรัม)<br />

จากตลาดทะเลไทย จ.สมุทรสาคร กิโลกรัมละ 140.00 บาท ลดลง<br />

จาก 146.73 บาท/กิโลกรัม ของเดือนที่แล้วร้อยละ 4.59<br />

ปลาหมึกกระดองสดขนาดกลาง ราคาที่<br />

ชาวประมงขายได้กิโลกรัมละ 82.75 บาท เพิ่มขึ้นจาก 78.73<br />

บาท/กิโลกรัม ของเดือนที่แล้วร้อยละ 5.11<br />

ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ เฉลี่ยกิโลกรัมละ<br />

144.34 บาท ลดลงจาก 151.28 บาท/กิโลกรัม ของเดือน<br />

ที่แล้วร้อยละ 4.59<br />

ปลาทูสดขนาดกลาง ราคาที่ชาวประมงขาย<br />

ได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 43.12 บาท/กิโลกรัม ลดลงจาก 54.94<br />

บาท/กิโลกรัม ของเดือนที่แล้วร้อยละ 21.51<br />

ราคาขายส่งปลาทูในตลาดกรุงเทพฯ เฉลี่ยกิโลกรัม<br />

ละ 73.29 บาท/กิโลกรัม ลดลงจาก 81.00 บาท/กิโลกรัม ของ<br />

เดือนที่ผ่านมาร้อยละ 9.52<br />

ปลาช่อนสดขนาดกลาง ราคาที่ชาวประมง<br />

ขายได้เฉลี่ย 62.35 บาท/กิโลกรัม เพิ่มขึ้นจาก 60.74 บาท/<br />

กิโลกรัมของเดือนที่แล้วร้อยละ 2.65<br />

ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ เฉลี่ย 100.00 บาท/<br />

กิโลกรัม ลดลงจาก 116.57 บาท/กิโลกรัม ของเดือนที่ผ่านมา<br />

ร้อยละ 14.21<br />

ปลาดุกบิ๊กอุยสดขนาด 2 - 4 ตัว/กิโลกรัม<br />

ราคาที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ย 43.09 บาท/กิโลกรัม เพิ่มขึ้น<br />

จาก 42.95 บาท/กิโลกรัม ของเดือนก่อนร้อยละ 0.33<br />

ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ ไม่มีรายงานราคา<br />

ปลาเป็ดและปลาป่น ราคาที่ชาวประมงขาย<br />

ปลาเป็ดได้ 8.34 บาท/กิโลกรัม ลดลงจาก 9.74 บาท/กิโลกรัม<br />

ของเดือนที่แล้วร้อยละ 14.37<br />

ราคาขายส่งปลาป่นชนิดโปรตีน 58 - 60% ในตลาด<br />

กรุงเทพฯ เฉลี่ย 28.18 บาท/กิโลกรัม ลดลงจาก 29.09 บาท/<br />

กิโลกรัม ของเดือนก่อนร้อยละ 3.13<br />

แนวโน้มของราคาเดือนกรกฎาคม 2554<br />

จากการศึกษาวิเคราะห์ทางสถิติ คาดคะเนแนวโน้ม<br />

ของราคาเดือนกรกฎาคมได้ ดังต่อไปนี้<br />

กุ้งขาวขนาด 60 ตัว/กิโลกรัม ราคาที่ชาว<br />

ประมงคาดว่าจะอยู่ในระดับ 130.00 บาท/กิโลกรัม เพิ่มขึ้น<br />

จาก 127.85 บาท/กิโลกรัม ของเดือนก่อนร้อยละ 1.68<br />

ราคาขายส่งกุ้งขาว (60 ตัว/กิโลกรัม) จากตลาด<br />

ทะเลไทย จ.สมุทรสาครคาดว่าจะอยู่ในระดับ 146.00 บาท/<br />

กิโลกรัม เพิ่มขึ้นจาก 140.00 บาท/กิโลกรัม ของเดือนก่อน<br />

ร้อยละ 4.29<br />

ปลาหมึกกระดองสด ราคาที่ชาวประมงขาย<br />

ได้คาดว่าจะอยู่ในระดับ 84.00 บาท/กิโลกรัม เพิ่มขึ้นจาก<br />

82.75 บาท/กิโลกรัม ของเดือนก่อนร้อยละ 1.51<br />

ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ คาดว่าจะอยู่ใน<br />

ระดับเฉลี่ย 148.00 บาท/กิโลกรัม เพิ่มขึ้นจาก 144.34 บาท/<br />

กิโลกรัม ของเดือนก่อนร้อยละ 2.54<br />

ปลาทูสดขนาดกลาง ราคาที่ชาวประมงขาย<br />

ได้คาดว่าจะอยู่ในระดับ 48.00 บาท/กิโลกรัม เพิ่มขึ้นจาก<br />

43.12 บาท/กิโลกรัม ของเดือนก่อนร้อยละ 11.32<br />

ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ คาดว่าจะอยู่ใน<br />

ระดับ 77.00 บาท/กิโลกรัม เพิ่มขึ้นจาก 73.29 บาท/กิโลกรัม<br />

ของเดือนที่ผ่านมาร้อยละ 5.06<br />

ปลาช่อนสดขนาดกลาง ราคาที่ชาวประมง<br />

ขายได้คาดว่าจะอยู ่ในระดับ 65.00 บาท/กิโลกรัม เพิ่มขึ้นจาก<br />

62.35 บาท/กิโลกรัม ของเดือนก่อนร้อยละ.4.25<br />

ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ คาดว่าจะอยู่ใน<br />

ระดับ 105.00 บาท/กิโลกรัม เพิ่มขึ้นจาก 100.00 บาท/กิโลกรัม<br />

ของเดือนที่ผ่านมาร้อยละ 5.00<br />

ปลาดุกด้านสด ราคาที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ย<br />

44.00 บาท/กิโลกรัม เพิ่มขึ้นจาก 43.09 บาท/กิโลกรัม ของ<br />

เดือนก่อนร้อยละ 2.11<br />

ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ ไม่มีรายงานราคา<br />

ปลาเป็ดและปลาป่น ราคาปลาเป็ดที่ชาว<br />

ประมงขายได้คาดว่าจะอยู่ในระดับ 9.00 บาท/กิโลกรัม เพิ่ม<br />

ขึ้นจาก 8.34 บาท/กิโลกรัม ของเดือนที่ผ่านมาร้อยละ 7.91<br />

ราคาปลาป่นชนิดโปรตีน 58% - 60% ในตลาด<br />

กรุงเทพฯ คาดว่าอยู่ในระดับ 29.00 บาท/กิโลกรัม เพิ่มขึ้น<br />

จาก 28.18 บาท/กิโลกรัม ของเดือนก่อนร้อยละ 2.91<br />

46


วารสาร<br />

ปีที่ 57 ฉบับที่ 656 กรกฎาคม 2554<br />

ปลาดุกบิ๊กอุย<br />

เดือน ราคาเกษตรกร ราคาขายส่ง<br />

มิ.ย. 53 37.09 ไม่มีรายงานราคา<br />

ก.ค. 37.91<br />

ส.ค. 41.32<br />

ก.ย. 43.07<br />

ต.ค. 42.48<br />

พ.ย. 43.85<br />

ธ.ค. 42.73<br />

ม.ค. 54 48.95<br />

ก.พ. 43.14<br />

มี.ค. 42.50<br />

เม.ย. 42.31<br />

พ.ค. 42.95<br />

มิ.ย. 43.09<br />

บาท/กก.<br />

ราคาขายส่งไม่มีรายงานราคา<br />

บาท/กก.<br />

ปลาดุกบิ๊กอุย<br />

เดือน<br />

ปลาช่อน<br />

เดือน ราคาเกษตรกร ราคาขายส่ง<br />

มิ.ย. 53 61.64 112.5<br />

ก.ค. 61.72 114.82<br />

ส.ค. 61.94 125.86<br />

ก.ย. 60.68 123.93<br />

ต.ค. 59.00 129.46<br />

พ.ย. 57.48 108.29<br />

ธ.ค. 57.54 118.57<br />

ม.ค. 54 57.72 121.38<br />

ก.พ. 58.47 124.62<br />

มี.ค. 59.08 121.11<br />

เม.ย. 59.14 115.71<br />

พ.ค. 60.74 116.57<br />

มิ.ย. 62.35 100.00<br />

บาท/กก.<br />

ราคาขายส่งจากองค์การสะพานปลา<br />

บาท/กก.<br />

160<br />

120<br />

80<br />

40<br />

0<br />

ปลาช่อน<br />

เดือน<br />

กุ้งขาวขนาด 60 ตัว/กก.<br />

เดือน ราคาเกษตรกร ราคาขายส่ง<br />

มิ.ย. 53 105.80 129.38<br />

ก.ค. 112.50 127.71<br />

ส.ค. 113.72 124.23<br />

ก.ย. 112.95 122.49<br />

ต.ค. 123.35 124.69<br />

พ.ย. 117.17 128.50<br />

ธ.ค. 119.84 133.46<br />

ม.ค. 54 125.44 136.04<br />

ก.พ. 132.80 147.89<br />

มี.ค. 132.32 150.96<br />

เม.ย. 136.76 153.00<br />

พ.ค. 132.22 146.73<br />

มิ.ย. 127.85 140.00<br />

บาท/กก.<br />

ราคาขายส่งจากตลาดทะเลไทย เริ่ม ม.ค. 54<br />

บาท/กก.<br />

กุ้งขาวขนาด 60 ตัว/กก.<br />

เดือน<br />

47


วารสาร<br />

ปีที่ 57 ฉบับที่ 656 กรกฎาคม 2554<br />

ปลาหมึก<br />

เดือน ราคาเกษตรกร ราคาขายส่ง<br />

มิ.ย. 53 ไม่มีรายงานราคา 123.57<br />

ก.ค. 121.78<br />

ส.ค. 138.00<br />

ก.ย. 143.45<br />

ต.ค. 135.18<br />

พ.ย. 135.00<br />

ธ.ค. 138.39<br />

ม.ค. 54 140.57<br />

ก.พ. 151.81<br />

มี.ค. 106.25 150.16<br />

เม.ย. 114.33 154.28<br />

พ.ค. 78.73 151.28<br />

มิ.ย. 82.75 144.34<br />

บาท/กก.<br />

ราคาขายส่งจากองค์การสะพานปลา<br />

บาท/กก.<br />

ปลาหมึก<br />

เดือน<br />

ปลาเป็ด<br />

เดือน ราคาเกษตรกร ราคาขายส่ง<br />

มิ.ย. 53 8.45 28.30<br />

ก.ค. 10.06 29.01<br />

ส.ค. 9.33 30.76<br />

ก.ย. 8.81 29.74<br />

ต.ค. 8.24 31.62<br />

พ.ย. 8.24 25.32<br />

ธ.ค. 8.73 25.54<br />

ม.ค. 54 9.01 25.00<br />

ก.พ. 8.82 30.30<br />

มี.ค. 9.38 36.96<br />

เม.ย. 9.83 30.37<br />

พ.ค. 9.74 29.09<br />

มิ.ย. 8.34 28.18<br />

บาท/กก.<br />

ราคาเกษตรกรคือ ราคาปลาเป็ด<br />

ราคาขายส่งคือ ราคาปลาป่นโปรตีน 60% เบอร์ 2<br />

จากสมาคมผู้ผลิตปลาป่นไทย<br />

ปลาทู<br />

เดือน ราคาเกษตรกร ราคาขายส่ง<br />

มิ.ย. 53 55.09 70.18<br />

ก.ค. 56.55 70.79<br />

ส.ค. 55.44 70.71<br />

ก.ย. 61.34 72.50<br />

ต.ค. 61.68 70.71<br />

พ.ย. 62.04 72.67<br />

ธ.ค. 70.67 73.93<br />

ม.ค. 54 58.38 68.43<br />

ก.พ. 59.12 69.74<br />

มี.ค. 62.51 72.46<br />

เม.ย. 56.07 74.64<br />

พ.ค. 54.93 81.00<br />

มิ.ย. 43.12 73.29<br />

บาท/กก.<br />

ราคาขายส่งจากองค์การสะพานปลา<br />

บาท/กก.<br />

บาท/กก.<br />

ปลาเป็ด<br />

ปลาทู<br />

เดือน<br />

เดือน<br />

48


วารสาร<br />

ปีที่ 57 ฉบับที่ 656 กรกฎาคม 2554<br />

ราคาปัจจัยการผลิต<br />

ราคาขายส่ง (เงินสด) ปุ๋ยที่สำคัญในตลาดกรุงเทพฯ รายเดือน<br />

หน่วย : บาทต่อเมตริกตัน<br />

ชนิดปุ๋ย<br />

2553<br />

2554<br />

พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค.<br />

แอมโมเนียมซัลเฟต 21% N 7,000 6,600 - 6,650 - 6,500 6,000 6,050 6,000 6,000 6,000 6,000 8,000<br />

ยูเรีย 46% N 11,750 11,500 11,600 11,600 12,000 11,000 11,000 11,000 11,000 11,000 11,000 11,000 14,210<br />

16 - 20 - 0 13,500 13,450 13,450 13,450 14,000 11,500 11,500 11,500 11,500 11,500 11,500 11,500 13,836<br />

16 - 16 - 8 13,000 14,750 13,950 14,500 14,500 14,300 14,000 14,000 14,000 14,000 14,000 14,000 -<br />

15 - 15 - 15 17,500 17,300 17,250 17,250 19,200 14,000 14,000 14,050 14,000 14,000 14,000 14,000 15,754<br />

13 - 13 - 21 17,900 17,000 18,200 18,200 - 17,000 18,100 17,000 17,000 17,000 17,000 17,000 18,500<br />

ราคาขายปลีก (เงินสด) พันธุ์สุกร ไก่และเป็ดในตลาดกรุงเทพฯ<br />

หน่วย : บาท/ตัว<br />

รายการ<br />

2553<br />

2554<br />

พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค.<br />

สุกรขุนสามสายเลือด 1,900 1,900 1,900 1,400 1,400 1,400 1,400 1,400 1,400 1,700 1,700 1,700 1,700<br />

ไก่ไข่อายุ 1 วัน 24 30 28 28 28 28 28 28 28 28 28 28 28<br />

ไก่เนื้ออายุ 1 วัน 18.50 18.50 14.50 14.50 14.50 14.50 17.50 17.50 17.50 17.50 17.50 17.50 17.50<br />

เป็ดเนื้ออายุ 1 วัน 36.00 36.00 36.00 36.00 36.00 36.00 36.00 36.00 36.00 36.00 36.00 36.00 36.00<br />

พ่อสุกรพันธุ์ดูรอค 21,300 20,000 20,000 20,000 24,000 24,000 20,000 20,000 20,000 24,000 24,000 24,000 24,000<br />

49


วารสาร<br />

ปีที่ 57 ฉบับที่ 656 กรกฎาคม 2554<br />

ราคาปัจจัยการผลิต<br />

รายการ<br />

ราคาขายส่ง (เงินสด) อาหารสำเร็จรูปในตลาดกรุงเทพฯ<br />

หน่วย : บาท/30 กก.<br />

2553 2554<br />

พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค.<br />

หัวอาหาร<br />

ไก่รุ่น-เนื้อ 604 604 604 604 604 604 604 604 604 604 604 604 604<br />

ไก่รุ่น-ไข่ 537 537 537 537 537 537 537 537 537 537 537 537 537<br />

ไก่ไข่ 538 538 538 538 538 538 538 538 538 538 538 538 538<br />

หมูเล็ก 634 634 634 634 634 634 634 634 634 634 634 634 634<br />

หมูรุ่น 607 607 607 607 607 607 607 607 607 607 607 607 607<br />

หมูเนื้อ 587 587 587 587 587 587 587 587 587 587 587 587 587<br />

เป็ดไข่ 802 802 802 802 802 802 802 802 802 802 802 802 802<br />

หัวอาหารสำเร็จรูปผง<br />

ไก่ไข่ 371 371 371 371 371 371 371 371 371 371 371 371 371<br />

หัวอาหารสำเร็จรูปเม็ด<br />

ไก่เล็ก-ไข่ 397 397 397 397 397 397 397 397 397 397 397 397 397<br />

หมูเล็ก 382 382 382 382 382 382 382 382 382 382 382 382 382<br />

หมูรุ่นขุน 370 370 370 370 370 370 370 370 370 370 370 370 370<br />

หมูเนื้อ 355 355 355 355 355 355 355 355 355 355 355 355 355<br />

เป็ดเล็กไข่ 476 476 476 476 476 476 476 476 476 476 476 476 476<br />

50


วารสาร<br />

ปีที่ 57 ฉบับที่ 656 กรกฎาคม 2554<br />

ปาชายเลน<br />

การสูญเสียบุคคลและความเสียหาย<br />

ทางทรัพย์สินของญี่ปุ่นที่เกิดจากแผ่นดินไหว<br />

ครั้งใหญ่และสึนามิที่ผ่านมาไม่นานมานี้ ซึ่งเป็น<br />

ภัยธรรมชาติที่รุนแรงมาก ธนาคาร โลกระบุไว้ใน<br />

รายงานเศรษฐกิจเอเชียตะวันออกและแปซิฟก<br />

ฉบับล่าสุดว่า มีผลกระทบต่อเศรษฐกิจของญี่ปุ่นเป็นมูลค่าถึง 122,000 - 235,000 ล้านดอลลาร์ พวกเราชาวไทยขอแสดงความเสียใจต่อ<br />

ผู้จากไปและผู้สูญเสียในญี่ปุ่นด้วย<br />

เหตุการณ์ที่เกิดแผ่นดินไหวอย่างรุนแรงบ่อยๆ บนโลกใบนี้ เป็นสัญญาณเตือนให้มนุษยชาติตระหนักถึงวิกฤตสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้น<br />

กับโลกของเรา นอกจากประเทศต่างๆ ที่จะต้องเตรียมตัวรับมือกับภัยพิบัติที่จะเกิดขึ้น รวมทั้งจะต้องหานวัตกรรมและเทคโนโลยีต่างๆ<br />

ที่ปองกันโดยฝมือมนุษย์ที่สร้างขึ้นมาช่วยผ่อนหนักเป็นเบาแล้ว “ธรรมชาติ” ก็ได้สร้างเครื่องปองกันขึ้นมาเพื่อรับมือกับ “ธรรมชาติ”<br />

ด้วยเหมือนกัน โดย “ป่าชายเลน” ถือว่าเป็นหนึ่งในเกราะธรรมชาติอันสาคัญทีเดียว ที่นอกจากจะลดทอนอานาจทาลายล้างที่ร้ายกาจ<br />

ของสึนามิให้อ่อนกาลังลงแล้วยังช่วยปองกันชายฝัง ชุมชน และมนุษย์ที่อยู่บริเวณนั้นให้ได้รับความสูญเสียให้น้อยลงหรืออาจจะไม่ได้รับ<br />

ความสูญเสียเลยก็ได้<br />

ป่าชายเลน เป็นป่าลักษณะพิเศษ มีถิ่นกาเนิดในเขตประเทศ<br />

เขตร้อน ตามพื้นที่ชายฝังทะเลแถบปากแม่น้า อ่าว ทะเลสาบ และเกาะ<br />

บริเวณน้าท่วมถึง ในประเทศไทยเราจะพบป่าชายเลนได้ในพื้นที่ชายฝัง<br />

ภาคใต้ ภาคตะวันออก และภาคกลาง จะมีพืชประเภทไม้ผลัดใบขึ้น<br />

คั่นระหว่างระบบนิเวศบนบกและทะเล ในบริเวณที่น้าทะเลลงต่าสุดและ<br />

ขึ้นสูงสุดที่มีดินเป็นเลนตม พันธุ ์ไม้ในป่าชายเลนเป็นพืชทนแล้ง เพราะต้นไม้<br />

ที่ขึ้นริมทะเลจะต้องเผชิญกับน้าที่มีความเค็มสูง ทั้งต้องรับแดดจัด โดนลมแรง<br />

ทาให้ต้นไม้ในป่าชายเลนมีอัตราการคายน้าสูงกว่าต้นไม้ทั่วไป ด้วยเหตุนี้<br />

ธรรมชาติจึงสร้างสรรค์ให้พืชพันธุ์ในป่าชายเลนมีระบบรากต่างจากพันธุ์ไม้<br />

ในป่าบกทั่วไป คือ มีทั้งระบบรากอากาศและรากค้ายันคอยช่วยรากที่อยู ่ใต้ดิน<br />

อีกแรงหนึ่ง ซึ่งพืชพันธุ์ไม้ป่าชายเลนมากมายหลากหลายชนิดที่ต่างก็พึ่งพา<br />

อาศัยกันและกัน มีทั้งไม้ยืนต้น พืชอิงอาศัย เถาวัลย์ สาหร่าย มีไม้เด่นๆ<br />

ได้แก่ โกงกาง แสม โปรง ลาพูน ลาแพน ตะบูน ตะบัน เป็นต้น ในขณะที่<br />

เหล่าสรรพสัตว์ในผืนป่าชายเลนนั้นก็มีมากมายทั้งสัตว์น้า สัตว์เลี้ยงลูก<br />

ด้วยนม สัตว์เลื้อยคลาน สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้า สัตว์ครึ่งบกครึ่งน้า นก สัตว์ปก<br />

และแมลงมากมาย รวมถึงสัตว์ที่มีลักษณะพิเศษ<br />

อย่างปลาตีน ปูก้ามดาบที่พบเฉพาะในบริเวณ<br />

ผืนป่าชายเลน<br />

51<br />

ความหลากหลายของระบบนิเวศ ทาให้ป่าชายเลน<br />

จัดเป็น 1 ใน 3 ของระบบนิเวศชายฝั งที่ทรงคุณค่าที่สุดในโลก<br />

ซึ่งมีคุณประโยชน์มากมาย เป็นแหล่งออกซิเจนที่สาคัญของ<br />

คนและสัตว์ นอกจากเป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์นานาพันธุ์แล้ว<br />

ยังเป็นแหล่งที่ทามาหากินของชุมชนเป็นอู่ข้าวอู่น้าของพืช<br />

สัตว์ ฉะนั้นพวกเราจาเป็นต้องรักษาช่วยกันดูแลและช่วยฟ นฟู<br />

ป่าชายเลนให้อยู่นานเท่าที่จะนานได้ เพื่อเป็นแหล่งปองกัน<br />

หรือเป็นที่กาบังจากภัยธรรมชาติที่จะเกิดขึ้น


วารสาร<br />

ปีที่ 57 ฉบับที่ 656 กรกฎาคม 2554<br />

การตรวจเยี่ยม<br />

ผลการดําเนินงาน<br />

โครงการขาวหอมมะลิในเขตทุงกุลารองไหฯ<br />

เมื่อวันที่ 6 - 7 มิถุนายน 2554<br />

นางสาวสุพัตรา ธนเสนีวัฒน์ รองปลัด<br />

กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พร้อมด้วย<br />

นายสุรศักดิ์พันธ์นพ รองเลขาธิการสานักงาน<br />

เศรษฐกิจการเกษตร และนายบัณฑิต<br />

มงคลวีราพันธ์ ผู้อานวยการสานักงาน<br />

เศรษฐกิจการเกษตรเขต 4 จ.ขอนแก่น<br />

(สศข.4) ร่วมด้วยผู้แทนสานักงบประมาณ<br />

ผู้แทนกระทรวงพาณิชย์ และเจ้าหน้าที่<br />

สศก. ได้ลงพื้นที่ตรวจเยี่ยมชมกิจการสหกรณ์การเกษตรเกษตรวิสัย จากัด พร้อมหารือผลการปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์<br />

หลังนาของเกษตรกรสมาชิก อาเภอเกษตรวิสัย ตรวจเยี่ยมผลการดาเนินกิจกรรมในพื้นที่ของชลประทานและพัฒนาที่ดิน<br />

ที่มีการบูรณาการร่วมกัน ประตูระบายน้ากู ่กาสิงห์ คลองผันน้าจากลาเสียวสู ่ลาพลับพลา อ่างเก็บน้าฮ่องแฮ แก้มลิงเลิงขี้ตุ ่น<br />

แก้มลิงหนองบัว ซึ่งอยู่ในพื้นที่ทุ่งกุลาร้องไห้ของจังหวัด<br />

ร้อยเอ็ดและจังหวัดสุรินทร์ พร้อมทั้งรับฟังข้อคิดเห็น ปัญหา<br />

อุปสรรคของการดาเนินโครงการฯ และร่วมประชุมคณะ<br />

อนุกรรมการบริหารโครงการผลิตข้าวหอมมะลิมาตรฐานเพื่อ<br />

การส่งออกในทุ่งกุลาร้องไห้ ระยะที่ 2 (ปี 2552 - 2556) กับ<br />

คณะทางานในพื้นที่ของจังหวัดยโสธร เกี่ยวกับผลการดาเนิน<br />

งานที่ผ่านมาของโครงการฯ รวมทั้งพิจารณาแผนงานและ<br />

งบประมาณของโครงการฯ ในปีงบประมาณ 2555 - 2556<br />

52


วารสาร<br />

ปีที่ 57 ฉบับที่ 656 กรกฎาคม 2554<br />

การประชุมคณะกรรมการดําเนินโครงการสงเสริมการใชปุย<br />

เพื่อลดตนทุนการผลิตของเกษตรกร ครั้งที่ 8/2554<br />

เมื่อวันที่ 7 มิถุนายน 2554 นายอภิชาต จงสกุล เลขาธิการสานักงานเศรษฐกิจการเกษตร ร่วมประชุมคณะกรรมการ<br />

ดาเนินโครงการส่งเสริมการใช้ปุ ยเพื่อลดต้นทุนการผลิตของเกษตรกร ครั้งที่ 8/2554 ในฐานะกรรมการและเลขานุการ ณ ห้อง<br />

ประชุมชูประกอบ ชั้น 8 อาคาร สศก. โดยมีนายนิพนธ์ วงษ์ตระหง่าน ที่ปรึกษารองนายกรัฐมนตรี (นายไตรรงค์ สุวรรณคีรี)<br />

เป็นประธานการประชุมดังกล่าว เพื่อพิจารณาการดาเนินงานและงบประมาณโครงการ 84 ตาบล ปุ ยลดต้นทุนเฉลิมพระเกียรติ<br />

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มีพระชนมายุ 84 พรรษา และ<br />

ราคาปุยเคมี รวมทั้งขอความเห็นชอบในการจ้างที่ปรึกษา<br />

ประเมินโครงการส่งเสริมการใช้ปุยเพื่อลดต้นทุนการผลิต<br />

ของเกษตรกร ตลอดจนแก้ไขเพิ่มเติมองค์ประกอบใน<br />

คณะอนุกรรมการ โดยมีผู้เข้าร่วมจากส่วนราชการทั้งใน<br />

และนอกสังกัด กษ. ตลอดจนบุคคลภายนอก รวม 60 คน<br />

53


วารสาร<br />

ปีที่ 57 ฉบับที่ 656 กรกฎาคม 2554<br />

กำรบรรยำยพิเÈÉ เรื่อง<br />

“พระบำทสมเดç¨พระเ¨้ำอยÙ‹หัวกับสำรสนเทÈกำรเกÉตร”<br />

เมื่อวันที่ 9 มิถุนายน 2554 นางนารีณัฐ รุณภัย<br />

รองเลขาธิการสานักงานเศรษฐกิจการเกษตร เป็นประธาน<br />

เปิดการบรรยายพิเศษ เรื่อง “พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว<br />

กับสารสนเทศการเกษตร” ณ ห้องประชุมพึ่งบุญฯ ชั้น 8<br />

อาคาร สศก. ซึ่งจัดขึ้นเพื่อให้บุคลากรสานักงานเศรษฐกิจ<br />

การเกษตร และหน่วยงานสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์<br />

รวมทั้งหน่วยงานภายนอกทั้งภาครัฐและเอกชน และสถาบัน<br />

การศึกษา ได้ทราบถึงหลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จ<br />

พระเจ้าอยู่หัว โดยทรงใช้สารสนเทศด้านการเกษตรในการ<br />

พิจารณาจัดทาโครงการในพระราชดาริ และทรงใช้สารสนเทศ<br />

ในการติดตามสถานการณ์ที่เป็นปัจจุบัน ซึ่งจะเป็นแนวทางให้<br />

กับข้าราชการสานักงานเศรษฐกิจการเกษตรและผู ้ที่เกี่ยวข้อง<br />

ได้น้อมนาไปปฏิบัติเพื่อให้เกิดประโยชน์กับหน่วยงานและ<br />

ประเทศชาติต่อไปโดยได้รับเกียรติจากวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ<br />

นางสุวรรณา พาศิริ ที่ปรึกษาด้านการประสานงานโครงการ<br />

สานักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการ<br />

อันเนื่องมาจากพระราชดาริมาเป็นผู ้บรรยาย ทั้งนี้ มีผู ้บริหาร<br />

เจ้าหน้าที่สานัก/ศูนย์/สศข./ ผู้แทนจากหน่วยงานใน<br />

สังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ หน่วยงานภาครัฐอื่นๆ<br />

นักวิชาการ ภาคเอกชน เข้าร่วมประมาณ 150 คน<br />

54


วารสาร<br />

ปีที่ 57 ฉบับที่ 656 กรกฎาคม 2554<br />

การอบรมสัมมนา<br />

เรื่อง การเพิ่มศักยภาพการสํารวจขอมูลการเกษตร<br />

ใหกับเจาหนาที่สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตรเขต และ<br />

เศรษฐกิจการเกษตรทองถิ่น (ศกท.)<br />

เมื่อวันที่ 16 - 17 มิถุนายน 2554 นายสุรศักดิ์ พันธ์นพ รองเลขาธิการสานักงานเศรษฐกิจการเกษตร เป็นประธาน<br />

ในพิธีเปิดโครงการอบรมสัมมนา เรื่อง “การเพิ่มศักยภาพการสารวจข้อมูลการเกษตรให้กับเจ้าหน้าที่สานักงานเศรษฐกิจ<br />

การเกษตรเขตและเศรษฐกิจการเกษตรท้องถิ่น (ศกท.)” ณ ห้องภุมริน โรงแรมนางพญาฮิลล์ รีสอร์ท อ.บ้านคา จ.ราชบุรี ซึ่ง<br />

จัดโดย สานักงานเศรษฐกิจการเกษตรเขต 10 (สศข.10) มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาและเพิ่มศักยภาพการปฏิบัติงาน รวมทั้ง<br />

ให้ ศกท. มีความเข้าใจถึงบทบาทหน้าที่ และความสาคัญของตัว ศกท.เอง อีกทั้งยังได้<br />

แลกเปลี่ยนประสบการณ์ ข้อคิดเห็น แนวทางการทางาน ตลอดจนการสร้างเครือข่าย<br />

ในการทางาน โดยมีผู้เข้าร่วมอบรมสัมมนาในครั้งกว่า 70 คน<br />

55


วารสาร<br />

ปีที่ 57 ฉบับที่ 656 กรกฎาคม 2554<br />

การอบรมชี้แจงการสํารวจขอมูลการเกษตรปงบประมาณ 2554<br />

ระหวางศูนยสารสนเทศการเกษตรกับสํานักงานเศรษฐกิจการเกษตรเขต<br />

เมื่อวันที่ 22 มิถุนายน 2554 นางพรพรรณ เห็นสว่าง ผู้อานวยการส่วนสารสนเทศการผลิตปศุสัตว์และประมง<br />

ศูนย์สารสนเทศการเกษตร เป็นประธานเปิดการอบรมชี้แจงการสารวจข้อมูลการเกษตรปีงบประมาณ 2554 ระหว่าง<br />

ศูนย์สารสนเทศการเกษตรกับสานักงานเศรษฐกิจการเกษตรเขต ซึ่งจัดขึ้นเพื่อให้เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานสารวจของ<br />

สศข.1 - 10 ได้รับทราบและมีความรู ้ความเข้าใจเกี่ยวกับระเบียบวิธีการสารวจข้อมูลการเกษตร ตลอดจนขั้นตอนการปฏิบัติงาน<br />

โดยละเอียดทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติในภาคสนามจนสามารถนาไปใช้ปฏิบัติงานได้จริง ทั้งนี้ การจัดอบรมดังกล่าว จัดขึ้น<br />

ระหว่างวันที่ 22 - 24 มิถุนายน 2554 โดยมีเจ้าหน้าที่จากศูนย์สารสนเทศการเกษตร และ สศข.1 - 10 เข้าอบรมประมาณ 40 คน<br />

56


สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร<br />

ใหบริการขอมูลดานเศรษฐกิจการเกษตร<br />

Call Center 0-2940-6641<br />

0-2561-2870<br />

http://www.oae.go.th<br />

ศูนยบริการ รวมกระทรวง เกษตรและสหกรณ<br />

ให บริการ ขอมูล/ขาวสาร รับ เรื่อง-สงตอ ขออนุมัติ/อนุญาต/รับ เรื่องราว ร้องทุกข ฯ ลฯ<br />

บริการ ดวย ใจ เต็มใจ ให บริการ<br />

Call Center 1170<br />

เว็บไซ ต www.moac.go.th/builder/service/<br />

อาคารกระทรวง เกษตรและสหกรณ ชั้น 1 ถนน ราช ดําเนิน นอก<br />

แขวงบานพาน ถม เขต พระนคร กรุง เทพ ฯ 10200<br />

โทรศัพท : 0-2281-5955 หรือ 0-2281-5884 ตอ 250, 315, 373, 374, 384


สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร<br />

กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ถนนพหลโยธิน เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900<br />

โทรศัพท์ 0-2940-5550-1, 0-2940-5553-4 โทรสาร 0-2940-7239<br />

http://www.oae.go.th

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!