29.08.2015 Views

เศรฐกิจ กรกฏาคม 54.indd - สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร

เศรฐกิจ กรกฏาคม 54.indd - สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร

เศรฐกิจ กรกฏาคม 54.indd - สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร

SHOW MORE
SHOW LESS
  • No tags were found...

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

วารสาร<br />

ปีที่ 57 ฉบับที่ 656 กรกฎาคม 2554<br />

โดย นางณัชยา รยะสวัสดิ์<br />

สำนักงำนเศรษฐกิจกำรเกษตรเขต 5<br />

การพัฒนาคุณภาพชีวิตเกษตรกร<br />

พื้นฐานประเทศไทยเป็นสังคมเกษตรที่มีฐานการ<br />

ผลิตการเกษตรที่เข้มแข็ง มีที่ตั้งภูมิประเทศและภูมิอากาศที่<br />

เหมาะสม มีภูมิปัญญาในการรู้จักทามาหากินแบบเกษตรอย่าง<br />

สอดคล้องกับธรรมชาติ การประยุกต์ดัดแปลง และวัฒนธรรม<br />

ด้านอาหารการกินพื้นบ้านที่เข้มแข็งและหลากหลาย ทาให้ไทย<br />

เป็นประเทศผู้ผลิตอาหารที่สาคัญรายใหญ่ของโลก โดยมีพื้นที่<br />

ทาการเกษตรร้อยละ 40 ของพื้นที่ทั้งประเทศ สามารถทาการ<br />

ผลิตสินค้าเกษตรและอาหาร ทั้งพืช ปศุสัตว์ และประมง มี<br />

ปริมาณผลผลิตพอเพียงกับความต้องการใช้ในประเทศและ<br />

มีเหลือส่งออกสร้างรายได้ ทั้งนี้ พื้นฐานสังคมเกษตรมีชีวิต<br />

ความเป็นอยู่ขึ้นอยู่กับปัจจัยต่างๆ ไม่มากนัก มีชีวิตที่สุขสบาย<br />

ตามอัตภาพ แต่เมื่อเวลาผ่านไปปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อวิถีชีวิต<br />

ของคนไทยและสังคมไทยกลับมากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่ง<br />

มีการปฏิรูประบบการเมือง การปกครอง ระบบราชการและ<br />

การศึกษา ซึ่งได้รับอิทธิพลมาจากต่างประเทศ ทาให้คนไทย<br />

ตกเป็นเหยื่อของลัทธิบริโภคนิยม/วัตถุนิยม วัฒนธรรมและ<br />

เทคโนโลยีที่ทันสมัย และการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ<br />

ในระยะที่ผ่านมาก็ได้ปรับเปลี่ยนโครงสร้างทางเศรษฐกิจ<br />

จากเดิมที่พึ่งพาภาคเกษตรกรรมเป็นปัจจัยขับเคลื่อนเศรษฐกิจ<br />

ของประเทศ ไปสู่การเป็นภาคอุตสาหกรรมเพื่อผลิตสินค้า<br />

ที่มีมูลค่าสูงใช้ในการส่งออกไปยังต่างประเทศ มีการพึ่งพิงการ<br />

ลงทุนจากต่างประเทศมากขึ้น โดยอาศัยทรัพยากรธรรมชาติ<br />

4<br />

ที่อุดมสมบูรณ์ภายในประเทศเป็นปัจจัยพื้นฐานที่สนับสนุนการ<br />

พัฒนา จนทาให้การพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจขยายตัวอย่าง<br />

รวดเร็ว ในขณะที่การพัฒนาด้านสังคมและสิ่งแวดล้อมไม่<br />

สามารถปรับตัวได้ทัน นาไปสู่ความไม่สมดุลระหว่างเศรษฐกิจ<br />

สังคม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ผลกระทบที่ตามมา<br />

คือคุณภาพชีวิตของประชากรภาคการเกษตรที่ลดต่าลง<br />

ทั้งนี้ การพัฒนาประเทศสู่ความสมดุลและยั่งยืน<br />

นั้นการเสริมสร้างทุนของประเทศที่มีอยู่ให้เข้มแข็งและมีพลัง<br />

เพียงพอในการขับเคลื่อนกระบวนการพัฒนาประเทศ การ<br />

พัฒนานั้นควรจะสอดรับกับรากฐานของชุมชนไทย และมีความ<br />

แนบแน่นไปกับวัฒนธรรมของชุมชน ซึ่งภูมิปัญหาท้องถิ่น<br />

(local wisdom) อันผ่านการสังเกต ทดลองใช้ คัดเลือก<br />

และถ่ายทอด เป็นวัฒนธรรมสืบต่อกันมานับว่าเป็นความรู้ที่<br />

ประกอบด้วยคุณธรรม ที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตดั้งเดิม<br />

ที่ไม่ได้แยกเป็นส่วน หากแต่ทุกอย่างมีความสัมพันธ์กัน ไม่ว่า<br />

จะเป็นการทามาหากิน การอยู่ร่วมกันในชุมชน โดยภูมิปัญญา<br />

ท้องถิ่นจะมีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับครัวเรือน ชุมชน สังคม<br />

และทรัพยากรธรรมชาติเป็นอย่างมาก

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!