06.09.2015 Views

จุลชีววิทยา Microbiology

สไลด์ประกอบการบรรยาย

สไลด์ประกอบการบรรยาย

SHOW MORE
SHOW LESS
  • No tags were found...

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

<strong>จุลชีววิทยา</strong><br />

<strong>Microbiology</strong><br />

อ. ศิริรัตน์ ศิริพรวิศาล


บทที่ 2 แบคทีเรีย<br />

เป็ นจุลินทรีย์กลุ่มใหญ่<br />

ส าคัญต่อการศึกษาทาง<strong>จุลชีววิทยา</strong>มากที่สุด<br />

ศึกษา : รูปร่าง<br />

ขนาด<br />

การจัดเรียงตัว<br />

โครงสร้างต่าง ๆ<br />

องค์ประกอบภายในไซโพลาสซึม


รูปร่าง<br />

• มีรูปร่างหลายแบบ เช่น<br />

กลม แท่ง แท่งตรง (regular rod)<br />

แท่งกลมปลายมน (rounded end)<br />

แท่งกลมสั ้นคล้ายไข่ (coccoid)<br />

แท่งไม่ตรง (irregular rod)<br />

รูปทรงกระบอกขนาดหัวท้ายไม่เท่ากัน (club-shaped)<br />

รูปแท่งยาวปลายเรียวคล้ายกระสวย (fusiform) แท่งโค้ง (curved rod)<br />

เกลียวสว่าน (spirochete) และแบบเกลียว เป็ นต้น


ก. ข.<br />

ค.<br />

ง.<br />

จ.<br />

ฉ.<br />

ที่มา (Nester, Anderson, Roberts and Nester, 2007, p. 53)


รูปร่างต่างกันเป็ นการปรับตัวให้อยู ่ในสภาพแวดล้อมได้ดีขึ ้น<br />

ช่วยในการแลกเปลี่ยน<br />

สารอาหารกับสภาพ<br />

แวดล้อมได้ดีกว่ารูปกลม<br />

เนื่องจากมีพื ้นที่ผิวต่อ<br />

ปริมาตรมากกว่า<br />

ลดความเสียด<br />

ทานในการ<br />

เคลื่อนที่จาก<br />

สิ่งแวดล้อมได้ดี<br />

เซลล์ทนอยู ่ในสภาพแวดล้อม<br />

ที่แห้งแล้งได้ดี


การจัดเรียงตัว<br />

• เซลล์ที่มีรูปร่างกลมมีการเรียงตัวได้หลายแบบ<br />

สองเซลล์เรียงต่อกัน เรียก diplococci<br />

สี่เซลล์เรียงกัน เรียก tetrad<br />

แปดเซลล์เรียงกันเป็ นลูกบาศ์ก เรียก sarcina


หลายเซลล์เรียงเป็ นกลุ่มคล้ายพวกองุ่น เรียก staphylococci<br />

หลายเซลล์เรียงต่อกันเป็ นสายยาว เรียก streptococci<br />

staphylococci<br />

streptococci


http://classes.midlandstech.com


แบคทีเรียรูปแท่งมักไม่มีการเรียงตัวที่ชัดเจนเท่ากับแบคทีเรียรูปร่าง<br />

กลม แต่อาจพบการเรียงตัวของเซลล์ได้ตามระยะการเจริญ หรือตาม<br />

สภาพอาหารของการเพาะเลี ้ยง<br />

แบคทีเรียบางชนิด Corynebacterium diphtheriae เซลล์มักจะเรียง<br />

ติดกันเป็ นชั ้นหรือเป็ นแถว (palisade arrangement)<br />

Mycobacterium tuberculosis มักจะเรียงกันสามเซลล์เป็ นกิ่งก้าน


http://classes.midlandstech.com


แบคทีเรียรูปร่างโค้งงอหรือ<br />

เกลียวมักอยู ่เป็ นเซลล์เดี่ยว ๆ<br />

http://classes.midlandstech.com


รูปร่างอื่น ๆ<br />

Haloarcula,<br />

a genus of halophilic<br />

archaea, are rectangular.<br />

Stella are star-shaped<br />

http://classes.midlandstech.com


ขนาด<br />

• แบคทีเรียแต่ละชนิดมีขนาดที่แตกต่างกัน<br />

• ทั่วไป กว้าง 0.5-1 ไมโครเมตร ยาว 2-5 ไมโครเมตร<br />

• การวัดขนาดของแบคทีเรีย ใช้ ocular micrometer


ocular micrometer<br />

มีลักษณะเป็ นแผ่นกระจกกลม ส าหรับใส่ในกระบอกเลนส์ตา (ocular lens)<br />

ไมโครมิเตอร์นี ้มีขีดแบ่งเป็ นช่อง ช่องละเท่า ๆ กัน<br />

การหาค่าของช่องเหล่านี ้ท าได้โดย<br />

น ามาเทียบกับขีดแบ่งบน stage micrometer<br />

1 mm แบ่งออกเป็ น 100 ช่อง<br />

แต่ละช่องมีระยะห่าง 0.01 mm หรือ 10 um


การเทียบขนาด<br />

เลื่อนสเกลของไมโครมิเตอร์ทั ้งสองมาขนานกัน ให้ซ้อนกันพอดี<br />

นับจ านวนช่องของออคคิวลาร์ไมโครมิเตอร์<br />

ที่ตรงหรือทับกับสเตจไมโครมิเตอร์พอดี<br />

โดยให้จุดเริ่มต้นของสเกลทั ้งสองตรงกัน<br />

แล้วน ามาเปรียบเทียบ


เลื่อนสเกลของไมโครมิเตอร์ทั ้งสองมา<br />

ขนานกัน ให้ซ้อนกันพอดี<br />

นับจ านวนช่องของออคคิวลาร์ไมโครมิเตอร์<br />

ที่ทับกับสเตจไมโครมิเตอร์พอดีโดยให้<br />

จุดเริ่มต้นของสเกลทั ้งสองตรงกัน


ออคคิวลาร์ไมโครมิเตอร์ a ช่อง<br />

ตรงและทับพอดีกับสเตจไมโครมิเตอร์ b ช่อง<br />

ออคคิวลาร์ไมโครมิเตอร์ 1 ช่อง<br />

ตรงและทับพอดีบสเตจไมโครมิเตอร์ b/a x 0.01 mm<br />

จากนั ้นถอดสเตจไมโครมิเตอร์ออก<br />

น าสไลด์ของแบคทีเรียมาวัดแทน<br />

ค่าที่ได้จากการค านวณใช้ได้เฉพาะก าลังขยายที่ใช้นับเท่านั ้น


หากเปลี่ยนก าลังขยายของเลนส์ตา<br />

เลนส์วัตถุ หรือเลนส์ทั ้งสอง<br />

จะต้องเทียบค่าใหม่ และค่าที่ได้นี ้<br />

ค่าเฉพาะส าหรับกล้องแต่ละตัวไม่สามารถ<br />

น าไปใช้กับกล้องจุลทรรศน์ตัวอื่นได้<br />

กล้องแต่ละตัวมีความคลาดเคลื่อนของ<br />

ก าลังขยายของเลนส์เล็กน้อย


โครงสร้าง<br />

เอนโดสปอร์ (endospore)<br />

ท าให้แบคทีเรียมีความทนทานต่อสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสมได้<br />

ไม่ใช่โครงสร้างส าหรับการสืบพันธุ์<br />

พบในแบคทีเรียบางชนิด คือ<br />

Bacillus Clostridium<br />

Sporosarcin Thermoactinomyces<br />

Desulfotomaculum


รูปร่างและต าแหน่งของสปอร์จะแตกต่างกันไปตามสปี ชีส์ของแบคทีเรีย<br />

เป็ นคุณสมบัติพิเศษที่สามารถใช้ในการจัดจ าแนกชนิดของแบคทีเรีย<br />

ปลายเซลล์และมีการพอง


ตรงกลางเซลล์<br />

ปลายเซลล์และมีการพอง<br />

ค่อนไปทางปลายเซลล์<br />

ปลายเซลล์<br />

ที่มา (Prescott, Harley and Klein, 2005, p. 69 )


แคปซูล (capsule)<br />

พบในแบคทีเรียบางชนิด<br />

มีลักษณะเป็ นสารเหนียวคล้ายเจลปกคลุมหรือเคลือบเซลล์<br />

ช่วยให้แบคทีเรียทนต่อสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม เช่น<br />

ความแห้งแล้ง สารเคมี อุณหภูมิ เป็ นต้น<br />

สามารถในการท าให้เกิดโรค<br />

มีสมบัติเป็ น K-antigen


แคปซูล<br />

Klebsiella<br />

pneumoniae<br />

ที่มา (Prescott, Harley and Klein, 2005, p. 29 )


แฟลเจลลา (flagella)<br />

ระยางค์ที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของแบคทีเรีย<br />

พบในแบคทีเรียบางชนิดเท่านั ้น<br />

แฟลเจลลาที่พบในแบคทีเรียแบ่งเป็ น 2 แบบใหญ่ ๆ<br />

peritrichous flagella<br />

polar flagella


peritrichous flagella<br />

แฟลเจลลายื่นออกมารอบ ๆ เซลล์ของแบคทีเรีย<br />

พบใน Salmonella typhosa<br />

Proteus vulgaris<br />

ที่มา (Prescott, Harley and Klein, 2005, p. 63)


polar flagella<br />

เป็ นแฟลเจลลาที่ยื่นออกมาจากปลายเซลล์<br />

ยื่นออกมาเพียง 1 เส้น ที่ปลายด้านใดด้านหนึ ่งของเซลล์ : monotrichous<br />

เช่น Vibrio cholerae ท าให้เกิดโรคอหิวาตกโรค<br />

ที่มา (Prescott, Harley and Klein, 2005, p. 29 และ 63)


amphitrichous flagella<br />

ยื่นออกมามากกว่า 1 เส้น ที่ปลายทั ้งสองข้างของเซลล์<br />

พบใน Chromatium okenii<br />

ที่มา (Prescott, Harley and Klein, 2005, p. 29 และ 63)


lophotrichous flagella<br />

ยื่นออกมามากกว่า 1 เส้น ที่ปลายข้างใดข้างหนึ ่งของเซลล์<br />

พบ Pseudomonas marginalis<br />

ที่มา (Prescott, Harley and Klein, 2005, p. 29 และ 63)


ผนังเซลล์<br />

• ช่วยให้แบคทีเรียคงรูปร่างเป็ นแท่ง กลม หรือเกลียว<br />

• ช่วยป้ องกันเซลล์จาก osmotic pressure<br />

• เป็ นที่ยึดเกาะของแฟลเจลลา<br />

• เป็ นต าแหน่งที่ bacteriophage ส่วนใหญ่มาเกาะเพื่อน า<br />

สารพันธุกรรมเข้าสู ่เซลล์แบคทีเรีย<br />

• มีคุณสมบัติเป็ น somatic antigen


องค์ประกอบทางเคมีของผนังเซลล์<br />

มีสารในกลุ่มของโปรตีน และโพลีแซคคาไรด์ เป็ นโครงสร้างหลัก<br />

กรดแอมิโนหลายชนิด<br />

น ้าตาลสองชนิด<br />

Lysine<br />

Alanine<br />

Glycine<br />

Glutamic acid<br />

N-acetylglucosamine, NAG<br />

N-actylmuramic acid, NAM<br />

ปริมาณและชนิดของกรดแอมิโนแตกต่างกัน<br />

ตามชนิดของแบคทีเรีย


ความแข็งแรงของผนังเซลล์เกิดจาก peptidoglycan<br />

ประกอบด้วย NAG และ NAM เรียงสลับกันเป็ นสายยาว<br />

มีกรดแอมิโนเกาะอยู ่<br />

ท าพันธะเพบไทด์กับกรดแอมิโนที่เกาะอยู ่กับ NAM อีกโมเลกุลหนึ ่ง<br />

เพปไทด์บริดจ์


(NAM)<br />

(NAG)<br />

สายเพนตะเพปไทด์<br />

(กรดแอมิโน)<br />

สายเพนตะ<br />

เพปไทด์<br />

เพปไทด์อินเตอร์บริดจ์<br />

สายเพนตะ<br />

เพปไทด์<br />

เพปทิโดไกลแคน<br />

สายไกลแคน<br />

ที่มา (Nester, Anderson, Roberts and Nester, 2007, p.62)


ซูการ์แบคโบน<br />

โครงสร้างของเพปทิโดไกลแคน<br />

กรดอะมิโน<br />

สะพานเพปไทด์<br />

ที่มา (Nester, Anderson, Roberts and Nester, 2007, p.62)


G+ cell wall<br />

พบชั ้นอื่นที่ประกอบด้วย<br />

lipoprotein<br />

lipopolysaccharide<br />

teichoic acid<br />

G- cell wall<br />

มี peptidoglycan 5-20% เท่านั ้น<br />

ที่เหลือประกอบด้วย lipoprotein<br />

lipopolysaccaride<br />

มี diaminopimilic acid แทนต าแหน่ง lysine<br />

มีจ านวนเพปไทด์บริดจ์ยังมีน้อยกว่า G+


NAG<br />

NAM<br />

G+ cell wall<br />

เพปทิโดไกลแคน<br />

ไซโทพลาสมิก<br />

เมมเบรน<br />

โปรตีนขนส่ง<br />

ที่มา (Nester, Anderson, Roberts and Nester, 2007, p.63)


โปรตีนพอริน<br />

G- cell wall<br />

ลิโพพอลิแซ็กคาไรด์<br />

เมมเบรนชั ้นนอก<br />

ลิโพโปรตีน<br />

เพปทิโดไกลแคน<br />

เพอริพลาสซึม<br />

ไซโทพลาสมิก<br />

เมมเบรน<br />

โปรตีนขนส่ง<br />

ที่มา (Nester, Anderson, Roberts and Nester, 2007, p.64)


pilus<br />

G- G+<br />

outer<br />

membrane<br />

pilus<br />

flagella<br />

peptidoglycan<br />

cytoplasm<br />

flagella<br />

DNA<br />

ribosome<br />

cell wall cell membrane cell membrane cell wall<br />

ที่มา (http://silverfalls.k12.or.us/staff/read_shari/chapter_24_AB.htm, 2007)


ความแตกต่างของผนังเซลล์ G+ และ G- (ต่อ)<br />

G + G -<br />

เซลล์ติดสีย้อม ม่วง แดง<br />

จีนัสของแบคทีเรีย<br />

Bacillus<br />

Staphylococcus<br />

Streptococcus<br />

Escherichia<br />

Neisseria<br />

Pseudomonas


ความแตกต่างของผนังเซลล์ G+ และ G- (ต่อ)<br />

องค์ประกอบของผนังเซลล์ G+ G-<br />

เพปทิโดไกลแคน G + มี peptidoglycan หนา >90% และมีกรดไทโคอิก<br />

บาง<br />

กรดไทโชอิค แต่มีจ านวนชนิดของกรดแอมิโนน้อยกว่า มี ไม่มี G-<br />

เพอริพลาสซึม ไม่มี มี<br />

เมมเบรนชั ้นนอก ไม่มี มี<br />

ลิโพโพลิแซคาไรด์ ไม่มี มี<br />

โปรตีนพอรีน (porin) ไม่มี มี


ความแตกต่างของผนังเซลล์ G+ และ G- (ต่อ)<br />

องค์ประกอบของผนังเซลล์ G+ G-<br />

เพปทิโดไกลแคน หนา บาง<br />

กรดไทโชอิค มี ไม่มี<br />

เพอริพลาสซึม ไม่มี มี<br />

เมมเบรนชั ้นนอก ไม่มี มี<br />

ลิโพโพลิแซคาไรด์ ไม่มี มี<br />

โปรตีนพอรีน (porin) ไม่มี มี


ความแตกต่างของผนังเซลล์ G+ และ G- (ต่อ)<br />

องค์ประกอบของผนังเซลล์ G+ G-<br />

เพปทิโดไกลแคน หนา บาง<br />

กรดไทโชอิค มี ไม่มี<br />

เพอริพลาสซึม ไม่มี มี<br />

เมมเบรนชั ้นนอก ไม่มี มี<br />

ลิโพโพลิแซคาไรด์ ไม่มี มี<br />

โปรตีนพอรีน (porin) ไม่มี มี


ความแตกต่างของผนังเซลล์ G+ และ G- (ต่อ)<br />

องค์ประกอบของผนังเซลล์ G+ G-<br />

เพปทิโดไกลแคน หนา บาง<br />

กรดไทโชอิค มี ไม่มี<br />

เพอริพลาสซึม ไม่มี มี<br />

เมมเบรนชั ้นนอก G – มี outer membrane ไม่มี ล้อมรอบเพปทิโดไกลแคน<br />

มี<br />

ลิโพโพลิแซคาไรด์ ไม่มี มี<br />

โปรตีนพอรีน (porin) ไม่มี มี


ป้ องกันไม่ให้เอนไซม์ที่จ าเป็ นต่อการเจริญของ CW ออกจากช่องว่าง (periplasmic space)<br />

ป้ องกันสารเคมีและเอนไซม์จากภายนอกไม่ให้เข้าไปท าลายเซลล์<br />

ถูกท าลาย lysozyme ได้ยากกว่าของG +<br />

outer membrane ของ G- cell wall<br />

มีปริมาณไขมันมากกว่า ท าให้มีสมบัติเป็ น O antigen และ endotoxin<br />

ป้ องกันไม่ให้ถูกย่อยด้วยเอนไซม์บางชนิด


ความแตกต่างของผนังเซลล์ G+ และ G- (ต่อ)<br />

องค์ประกอบของผนังเซลล์ G+ G-<br />

เพปทิโดไกลแคน หนา บาง<br />

กรดไทโชอิค มี ไม่มี<br />

เพอริพลาสซึม ไม่มี มี<br />

เมมเบรนชั ้นนอก ช่วยป้ องกันการถูก ไม่มี phagocytosis มี<br />

ลิโพโพลิแซคาไรด์ ไม่มี มี<br />

โปรตีนพอรีน (porin) ไม่มี มี


ความแตกต่างของผนังเซลล์ G+ และ G- (ต่อ)<br />

องค์ประกอบของผนังเซลล์ G+ G-<br />

เพปทิโดไกลแคน หนา บาง<br />

กรดไทโชอิค มี ไม่มี<br />

เพอริพลาสซึม ไม่มี มี<br />

เมมเบรนชั ้นนอก ไม่มี มี<br />

ลิโพโพลิแซคาไรด์ ไม่มี มี<br />

โปรตีนพอรีน (porin) ไม่มี มี


ความแตกต่างของผนังเซลล์ G+ และ G- (ต่อ)<br />

คุณสมบัติพื้นฐาน G+ G-<br />

การตอบสนองต่อเพนนิซิลิน ค่อนข้างไว ค่อนข้างช้า<br />

การตอบสนองต่อไลโซไซม ตอบสนอง ไม่ตอบสนองหาก<br />

ไม่ใช้ร่วมกับ<br />

EDTA<br />

รูปร่างที่เกิดจากการก าจัด<br />

เพปทิโดไกลแคน<br />

โพรโทพลาสต์<br />

สเฟี ยโรพลาสต์<br />

ที่มา (Nester, Anderson, Roberts and Nester, 2007, p.61)


เยื่อหุ ้มเซลล์<br />

อยู ่ถัดจาก cw และห่อหุ้มไซโทพลาซึมไว้<br />

มีลักษณะเป็ นเยื่อบาง ๆ<br />

ประกอบด้วย 20-30% phospholipid และ 60-70% protein<br />

ควบคุมการผ่านเข้าออกของสารต่าง ๆ


โครงสร้างของเยื่อหุ้มเซลล์<br />

ประกอบด้วยฟอสโฟลิปิ ด 2 ชั ้น<br />

มีโปรตีนแก่น หรือโปรตีนฝังใน (integral protein) :<br />

แทรกอยู ่ระหว่างชั ้นของฟอสโฟลิปิ ด<br />

มีโปรตีนรอบนอก หรือโปรตีนผิว (peripheral protein) :<br />

เกาะอยู ่ด้านนอกของ ฟอสโฟลิปิ ดแบบหลวม ๆ<br />

สามารถเคลื่อนไหลไปมาได้ เรียกลักษณะแบบนี ้ว่า fluid mosaic model<br />

แปรผันกับอุณหภูมิและสัดส่วนของกรดไขมันไม่อิ่มตัวที่อยู ่ในฟอสโฟลิปิ ด


โปรตีนขนส่ง<br />

ฟอสโฟลิปิ ด<br />

ชั ้นฟอสโฟลิปิ ด<br />

ส่วนที่ชอบน ้า<br />

ส่วนที่ไม่ชอบน ้า<br />

หันส่วนที่ชอบน ้าออกด้านนอก<br />

ส่วนที่ไม่ชอบน ้าจะเรียงตัวอยู ่ภายใน<br />

ที่มา (Nester, Anderson, Roberts and Nester, 2007, p. 57)


ไซโทพลาซึม<br />

ส่วนที่อยู ่ถัดจากเยื่อหุ้มเซลล์เข้ามาภายในเซลล์<br />

ลักษณะเป็ นของเหลวที่ประกอบด้วยสารประกอบหลายชนิดรวมกัน<br />

มีไรโบโซม และโครมาทินอยู ่ภายในอีกด้วย


ibosome<br />

มีลักษณะกลม ไม่มีเยื่อหุ้ม ขนาดเล็กมาก<br />

ประกอบด้วย40% protein และ 60% RNA<br />

เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์โปรตีนชนิดต่าง ๆ<br />

มีขนาด 70S ประกอบด้วย 2 หน่วยย่อย<br />

หน่วยย่อยใหญ่ 50S<br />

หน่วยย่อยเล็กขนาด 30 S


70S<br />

30S<br />

50S+30S<br />

50S<br />

ที่มา (Nester, Anderson, Roberts and Nester, 2007, p. 70)


Ribosome<br />

mRNA<br />

Polypeptide chain


nucleoid<br />

สารพันธุกรรมของแบคทีเรีย<br />

กระจายตัวอยู ่ภายในไซโทพลาสซึม (ไม่มีเยื่อหุ้มเหมือนในยูแคริโอต)<br />

มีลักษณะขดเป็ นวงกลม แบบ double helix<br />

แบคทีเรียบางชนิดอาจมีสารพันธุกรรมพิเศษ<br />

ลักษณะเป็ นวงกลมของดีเอ็นเอที่พันกันเป็ นเกลียวคู่อยู ่นอกโครโมโซม<br />

เรียกว่า plasmid หรือดีเอ็นเอนอกโครโมโซม extrachromosomal DNA


ดีเอ็นเอ<br />

เยื่อหุ ้มเซลล์<br />

เซลล์ที่แตก


ความแตกต่างของพลาสมิดและดีเอ็นเอของเซลล์<br />

มีขนาดเล็กกว่าดีเอ็นเอของเซลล์มาก<br />

จ าลองตัวเองได้อย่างอิสระ โดยไม่ขึ ้นกับการแบ่งเซลล์<br />

บางชนิดสามารถแทรกเข้าไปในดีเอ็นเอของเซลล์และจ าลองตัวเอง<br />

พร้อม ๆ กับดีเอ็นเอของเซลล์ได้ เรียกว่า episome<br />

น าข้อมูลทางพันธุกรรมที่เกี่ยวกับ<br />

การดื ้อยา<br />

การสร้างสารพิษต่อแบคทีเรียอื่น<br />

การสร้างสารที่รุนแรงต่อ host<br />

การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ


ที่มา (Madigan, Martinko and Parker, 1997, p. 329)


granules<br />

แบคทีเรียบางชนิดสามารถส ารองอาหารไว้ภายในเซลล์ในรูปของแกรนูลส์<br />

มักพบในรูปของแป้ ง glycogen, poly--hydroxibutyrate และ volutin<br />

ชนิดของแกรนูลส์มีความจ าเพาะต่อชนิดหรือสปี ชีส์ของแบคทีเรีย<br />

ซัลเฟอร์แกรนูลส์ที่สะสมภายใน<br />

เซลล์ของ Chromatium vinosum<br />

ที่มา (Prescott, Harley and Klein, 2005, p. 50)


colony<br />

มีความแตกต่างกันหลายแบบ<br />

แบคทีเรียชนิดเดียวกันจะมีลักษณะโคโลนีเหมือนกัน<br />

ถือเป็ นส่วนหนึ ่งที่ใช้ในการจัดจ าแนกแบคทีเรีย<br />

Chromobacterium violaceum<br />

Serratia marcescens<br />

http://www2.cedarcrest.edu/academic/bio/hale/MERC.html, 2007<br />

http://www.britannica.com/eb/art/print?id=96593&articleTypeId= 0,2007


รูปร่างของโคโลนี<br />

ระดับความนูนของโคโลนี<br />

ขอบของโคโลนี<br />

กลม ไม่แน่นอน เส้นแขนงรากไม้ เส้นใยฝอย<br />

นูน โค้งนูน แบนราบ นูนตรงกลาง บุ ๋มตรงกลาง<br />

ขอบเรียบ หยักเป็ นลอน เส้นใย หยักเป็ นคลื่น หยักเป็ นจักร


บางชนิดยังสามารถสร้างสีหรือรงควัตถุได้<br />

รงควัตถุที่สร้างขึ ้นไม่ละลายน ้า : โคโลนีเกิดเป็ นสีต่าง ๆ<br />

รงควัตถุที่สร้างละลายน ้าได้ : สีจะละลายและแพร่เข้าสู ่อาหารเลี ้ยงเชื ้อวุ้น<br />

ลักษณะการเรืองแสง<br />

Pseudomonas<br />

aeruginosa ภายใต้แสง<br />

อัลตราไวโอเลต<br />

ที่มา (Prescott, Harley and Klein, 2005, p. 490)


ความหนืดของโคโลนี<br />

ตรวจสอบได้โดยใช้เข็มเขี่ยแตะที่โคโลนีของแบคทีเรียแล้วยกขึ ้น<br />

สังเกตการติดเข็มเขี่ยของเชื ้อ<br />

หนืดคล้ายเนยเหลว (butyrous)<br />

บางชนิดหนืดมาก (viscous)<br />

บางชนิดเป็ นสาย (stringy)<br />

เป็ นยาง (rubbery)<br />

มีความแห้งมาก เปราะ และเป็ นผง<br />

สังเกตความขุ ่นของโคโลนีว่าทึบหรือโปร่งแสง<br />

ที่มา (Nester, Anderson, Roberts and Nester, 2007, p.54)


การสังเกตโคโลนีแบคทีเรียในอาหารแข็งผิวหน้าเอียง<br />

ก ข ค ง จ ฉ<br />

ก. filiform เจริญสม ่าเสมอตามรอยขีด<br />

ข. arborescent เจริญแตกกิ่งก้าน คล้ายต้นไม้<br />

ค. beaded เจริญไม่สม ่าเสมอ แยกกระจายออกตามแนวที่ขีดเชื ้อ<br />

ง. effuse เจริญน้อย บาง และกระจัดกระจาย<br />

จ. rhizoid เจริญคล้ายรากไม้<br />

ฉ. echinulate เจริญมีรอยหยักที่ขอบคล้ายฟันเลื่อย<br />

ที่มา (ดัดแปลงจาก Johnson and Case, 2004, p.77)


ค าถามท้ายบท<br />

1.จากภาพ จงเติมออร์แกเนลล์ให้ถูกต้อง<br />

ก ข ค ง<br />

ญ<br />

จ<br />

ฌ ซ ช ฉ


ค าถามท้ายบท (ต่อ)<br />

2. จงยกตัวอย่างรูปร่าง และการจัดเรียงตัวของแบคทีเรียมา 3 แบบ<br />

3. จงอธิบายวิธีการวัดขนาดของแบคทีเรียมาพอเข้าใจ<br />

4. จงอธิบายความแตกต่างของผนังเซลล์แบคทีเรียแกรมบวก และลบ<br />

5. จงอธิบายลักษณะโครงสร้างของเยื่อหุ้มเซลล์ของแบคทีเรีย<br />

6. แฟลเจลลาของแบคทีเรียมีกี่ชนิด อธิบาย<br />

7. จงอธิบายความแตกต่างระหว่างพลาสมิดและดีเอ็นเอของเซลล์แบคทีเรีย


<strong>จุลชีววิทยา</strong><br />

<strong>Microbiology</strong><br />

อ. ศิริรัตน์ ศิริพรวิศาล

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!