07.10.2014 Views

การใช้ยาในผู้ป่วยโรคไต

การใช้ยาในผู้ป่วยโรคไต

การใช้ยาในผู้ป่วยโรคไต

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

การใช้ยาในผู ้ป่วยโรคไต<br />

Nephrotoxicity (พิษต่อไต)<br />

การเกิด adverse drug effects ต่อไต สามารถแบ่งออกได้เป็น 3 กลุ่มใหญ่ๆ ตามบริเวณหรือ<br />

โครงสร้างของไตที่ถูกท าลายหรือถูกผลกระทบจากยา<br />

1. Pre-renal: การลดเลือดที่ไปเลี ้ยงไต (reduced renal blood flow) ท าให้การท างานของไตลดลง เกิดจาก<br />

การใช้ยา เช่น cyclosporin, NSAIDs เป็นต้น<br />

2. Intrinsic: การท าลาย renal tissue โดยตรง (direct renal tissue damage) เช่น ยาบางชนิดที่มีผลไป<br />

ท าลาย glomerular ส่งผลให้เกิดภาวะ proteinuria หรือยาที่ไปท าลาย renal tubules โดยท าให้เกิดการอุด<br />

ตัน การท าให้เกิดรอยแผล<br />

3. Post-renal: การท าให้เกิดการอุดตันของท่อไต (outflow obstruction in ureters) เช่น ยากลุ่ม<br />

sulphonamides และ methotrexate ที่ท าให้เกิด ureteric damage จากการตกผลึกของยาในท่อไต<br />

ตารางที ่ 1 ยาที ่ก่อให้เกิดพิษต่อไต<br />

(Nephrotoxic drugs)


Drug Characteristics<br />

การขับออกจากร่างกายของยาท าได้โดย 3 วิธีทางคือ ทางไต ทางน ้าดี และทางปอด ยาที่จะถูก<br />

ผลกระทบจากการท างานของไตที่บกพร่องจะเป็นยาหรือเมทาโบไลต์ของยาที่มีคุณสมบัติขับถ่ายทาง<br />

ไตเป็นหลัก ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็นกลุ่มใหญ่ได้ดังนี ้คือ<br />

1. High renal clearance, wide therapeutic index<br />

ยาที่ขับออกจากไตเป็นหลัก แต่มีช่วงการรักษาที่กว้าง เมื่อการท างานของไตลดลง จะพบว่ายา<br />

เหล่านี ้อาจเกิดการสะสมอยู่ในร่างกายได้นานหรือมากขึ ้น แต่บางชนิดไม่จ าเป็นต้องลดขนาดยา<br />

เช่น ยากลุ่ม penicillins หรือ cephalosporins<br />

2. High renal clearance, narrow therapeutic index<br />

ยาที่ขับออกจากไตเป็นหลัก และมีช่วงการรักษาแคบ เป็นยากลุ่มที่สามารถก่ออันตรายเมื่อระดับ<br />

ยาในเลือดสูงขึ ้น เนื่องจากไตขับยาออกได้ลดลง เช่น vancomycin, gentamicin ซึ่งเป็นยาที่<br />

ต้องการปรับลดขนาดในกรณที่การท างานของไตลดลง เพราะระดับยาในเลือดที่เพิ่มขึ ้นจะส่งผล<br />

ให้เกิดพิษหรืออาการข้างเคียงต่อหูและไตได้ และพิษหรืออันตรายจะเพิ่มขึ ้นหากใช้ร่วมกับยาอื่น<br />

ที่ขับออกทางไตเช่นกัน นอกจากนี ้ยังมียาอื่น ๆ ที่มี therapeutic index แคบและต้องปรับขนาด<br />

หากใช้ในผู ้ที่มีสมรรถภาพของไตลดลง เช่น digoxin, gabapentin, lithium, oral hypoglycemic<br />

agents และ allopurinol ดังสรุปแสดงไว้ในตารางที่ 2<br />

ตารางที ่ 2 ยาที ่ก่อให้เกิดพิษหรืออาการข้างเคียงเมื ่อการท างานของไตลดลง<br />

Digoxin<br />

Methotrexate<br />

Lithium<br />

platinum compounds (cisplatin, carboplatin)<br />

Metformin<br />

Sulphonylureas<br />

Allopurinol<br />

Gabapentin<br />

Aminoglycosides<br />

3. Low renal clearance, narrow therapeutic index<br />

ยาที่ขับทางไตน้อยแต่มีช่วงการรักษาแคบ ยากลุ่มนี ้แม้ว่าจะมีช่วงการรักษาแคบ แต่เป็นยาที่ขับ<br />

ออกจากร่างกายโดยผ่านระบบอื่นที่ไม่ใช่ไต เช่น ขับทางตับ ดังนั ้นจึงไม่จ าเป็นต้องลดขนาดยาใน<br />

กรณีที่ผู ้ป่ วยมีการท างานของไตบกพร่อง เช่น theophylline, phenytoin, carbamazepine เป็น<br />

ต้น<br />

4. Drugs that are titrated against response or a physiological parameter<br />

ยาที่ปรับขนาดโดยพิจารณาจากการตอบสนองต่อยา เช่น ยาลดความดันโลหิต ซึ่งมีทั ้งชนิดที่ขับ<br />

ทางไต (atenolol, ACEIs) หรือทางตับเป็นหลัก (propanolol, calcium channel blockers, alpha<br />

blockers) ซึ่งในทางปฏิบัติการเลือกใช้ยาเหล่านี ้อาจไม่จ าเป็นต้องพิจารณาถึงความแตกต่างดังกล่าว


เนื่องจากยาที่ถูกเลือกใช้เหล่านี ้มักจะเริ่มต้นในขนาดต ่าและค่อยๆ เพิ่มขนาดขึ ้นโดยดูจากการ<br />

ตอบสนองหรือผลข้างเคียงของยา เช่น การใช้ ACEIs ในผู ้ป่ วยความดันโลหิตสูงจะพิจารณาจาก<br />

evidence based, cost, indications, contraindications และ management guidelines เป็นหลัก<br />

มากกว่า<br />

5. Single and initial doses<br />

การให้ยาที่เป็น single dose โดยมากมักไม่ก่อให้เกิดปัญหาหรืออันตรายต่อผู ้ป่ วยโรคไต แม้ใน<br />

กรณีของยาที่มีช่วงการรักษาแคบ เนื่องจากยาจะมีการสะสมในร่างกายที่น้อยมาก เช่นเดียวกับ<br />

การให้ยาใน dose แรก หรือที่เรียกว่า initial dose ของยาปฏิชีวนะบางชนิดซึ่งไม่ควรปรับลด<br />

ขนาดลงเนื่องจากจะท าให้ระดับยาต ่ากว่าที่ต้องการในการรักษาหรือใช้เวลานานกว่าจะได้ ระดับ<br />

ยาที่ต้องการ เช่น การให้ teicoplanin ในผู ้ป่ วยไตบกพร่องซึ่งความถี่ของการให้ยาคือ ทุก 72<br />

ชั่วโมง หากให้ initial dose ลดขนาดลงจะท าให้ระดับยาต ่าและต้องใช้เวลานานกว่าจะได้ระดับ<br />

ยาที่ต้องการ เป็นต้น<br />

6. Other drugs<br />

Opioids และ benzodiazepines โดยมากจะถูกเมทาโบไลต์ผ่านตับ และไม่เกิดพิษต่อไต อย่างไร<br />

ก็ตาม metabolites ของสารเหล่านี ้สามารถออกฤทธิ์เป็นรูป active form และท าให้เกิดพิษได้<br />

ดังนั ้นจึงควรใช้อย่างระวังในผู ้ป่ วยโรคไต<br />

NSAIDs ส่วนมากขับออกทางไตแต่สามารถก่อให้เกิด acute renal failure โดยเฉพาะอย่างยิ่งใน<br />

ผู ้ที่มี pre-existing renal impairment ดังนั ้นจึงควรใช้อย่างระวังในผู ้ที่มี underlying renal<br />

problems เพราะอาจท าให้เกิดทั ้งพิษต่อไตและเกิดผลข้างเคียงมีเลือดออกในทางเดินอาหาร<br />

4 Creatinine Clearance (CrCl) Dosage Adjustment for Varying Degrees of Renal Dysfunction<br />

Drug<br />

% Removed by<br />

Renal Clearance<br />

CrCl<br />

50–79 ml/min<br />

CrCl<br />

30–49 ml/min<br />

CrCl<br />

10–29 ml/min<br />

CrCl<br />

75% 100mg q24h 100mg q24h 100mg q72h 100mg q7days none<br />

Ampicillin 50 to 75% 1g q6h 1g q8h 1g q12h 1g q12-24h 1 dose<br />

Amp/sulbactam 50 to 75% 1.5-3g q6-8h 1.5-3g q6-8h 1.5-3g q12h 1.5-3g q24h 1 dose<br />

Aztreonam 50 to 75% 1-2g q8h 1-2g q8h 1-2g q12h 1-2g q24h 1/8 dose<br />

Cefaclor > 75% 500mg q8h 500mg q8h 250mg q8h 250mg q8h 250mg<br />

Cefazolin > 75% 1g q8h 1g q12h 500mg q12h 1g q24-48h 0.5-1g<br />

Cefepime > 75% 0.5-2g q12h** 0.5-2g q24h 0.5-1g q24h 0.25-0.5g q24h 1 dose<br />

Cefotaxime 25 to 75% 1-2g q8-12h 1-2g q8-12h 1-2g q12h 1-2g q24h 1g<br />

Cefoxitin > 75% 1-2g q6-8h 1-2g q8-12h 1-2g q12-24h 1-2g q24-48h 1-2g<br />

Cefpodoxime > 75% 100-200mg q12h 100-200mg q12h 100-200mg q24h 100-200mg q24h none


Ceftazidime > 75% 1-2g q8-12h 1-2g q12h 1-2g q24h 1-2g q48h 1g<br />

Cefuroxime > 75% 0.75-1.5g q8h 0.75g q8h 0.75g q12h 0.75g q24h 1 dose<br />

Cephalexin > 75% 250-500mg q6h 250-500mg q8h 250-500mg q12h 250-500mg q12h 1 dose<br />

Cimetidine (iv/po) 50 to 75% 300mg q6-8h 300mg q12h 300mg q24h 300mg q24h none<br />

Ciprofloxacin (po) 50 to 75% 500-750mg q12h 500-750mg q12h 500-750mg q24h 500mg q24h none<br />

Ciprofloxacin (iv) 50 to 75% 200-400mg q12h 200-400mg q12h 200-400mg q24h 200mg q24h none<br />

Famotidine (iv/po) 50 to 75% 20mg q12h 20mg q12h 20mg q12h 20mg q24h none<br />

Fluconazole 50 to 75% 100-400mg q24h 100-400mg q24h 50-200mg q24h 50-100mg q24h 1 dose<br />

Drug<br />

% Removed by<br />

Renal Clearance<br />

CrCl<br />

50–79 ml/min<br />

CrCl<br />

30–49 ml/min<br />

CrCl<br />

10–29 ml/min<br />

CrCl<br />

75% 37.5mg/kg q6h 37.5mg/kg q12h 37.5mg/kg q18h 37.5mg/kg q24h 1 dose<br />

Gancyclovir 50 to 75% 2.5mg/kg q12h 2.5mg/kg q24h 1.25mg/kg q24h 1.25mg/kg q48-<br />

96h<br />

1 dose<br />

Imipenem/cilastat. 50 to 75% 500mg q6h 500mg q8h 500mg q12h 250mg q12h 1 dose<br />

Levofloxacin > 75% 500mg q24h 250mg q24h 250mg q36h 250mg q48h 250mg<br />

Nizatadine (treat) 50 to 75% 150mg q12h 150mg q24h 150mg q24h 150mg q24h unknown<br />

Nizatadine (maint) 50 to 75% 150mg q12h 150mg q48h 150mg q48h 150mg q72h unknown<br />

Penicillin 50 to 75% 2mU q4h 1.5mU q4h 1mU q4h 0.5mU q4h 0.5mU<br />

Pentamidine < 25% 4mg/kg q24h 4mg/kg q24-36h 4mg/kg q24-36h 4mg/kg q48h none<br />

Piperacillin 50 to 75% 3-4g q4-6h 3-4g q8h 3-4g q8-12h 3-4g q12h 1g dose<br />

Pip/tazocactam 50 to 75% 3.375-4.5g q6h 2.25-3.375g q6h 2.25g q6-8h 2.25g q8h 0.75gdose<br />

Ranitidine (po) 50 to 75% 150mg q12h 150mg q24h 150mg q24h 150mg q24h 1/2 dose<br />

Ranitidine (iv) 50 to 75% 50mg q8h 50mg q18-24h 50mg q24h 50mg q24h 1/2 dose<br />

TMP/SMZ (iv/po) 25 to 75% normal dose normal dose 1/2 normal dose 1/2 normal q24 1 dose<br />

Tetracycline 50 to 75% 500mg q6h 500mg q8-12h avoid use avoid use none<br />

Ticarcillin/clav > 75% 3.1g q6h 3.1g q6-8h 3.1g q8-12h 3.1g q12h 1 dose<br />

#HD = Hemodialysis<br />

**adjust when CrCl falls below 60ml/min<br />

If creatinine clearance is > 80 ml/min, use normal dose<br />

CrCl=(140-age) (IBW in kg)<br />

72 (serum Cr)<br />

*multiply by 0.85 for females

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!