07.10.2014 Views

HIGH ALERT DRUG

HIGH ALERT DRUG

HIGH ALERT DRUG

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

<strong>HIGH</strong> <strong>ALERT</strong> <strong>DRUG</strong><br />

Dipotassium Phosphate (K 2 HPO 4 ) 8.7 w/v% ; 20ml<br />

ประกอบด้วย K + 20 mEq/20 ml. และ HPO 4<br />

2-<br />

20 mEq/20 ml (10 mmol/20ml)<br />

ข้อบ่งใช้ : Hypokalemia และ Hypophosphatemia<br />

ขนาดยา :<br />

Hypophosphatemia<br />

เด็ก : ขนาดยาเริ่มต้น (Loading dose) 0.25-0.5 mmol/kg IV infusion in 4-6 hr.<br />

ขนาดยาต่อเนื่อง (Maintenance dose) 0.5-1.5 mmol/kg/24 hr. IV<br />

ผู ้ใหญ่: ขนาดยาเริ่มต้น 0.08-0.16 mmol/kg IV infusion in 6 hr. และสามารถเพิ่ม<br />

ขนาดยาครั ้งละ 25% - 50% ถ้ายังมีอาการ hypophosphatemia อยู ่ แต่ไม่เกิน 0.24<br />

mmol/kg/day<br />

ขนาดยาต่อเนื่อง 15-30 mmol/24 hr. IV<br />

Hypokalemia<br />

เด็ก : ขนาดยาเริ่มต้น 1 mEq/kg IV in 1-2 hr.<br />

ขนาดยาต่อเนื่อง ไม่ควรเกิน 1 mEq/kg/hr<br />

ผู ้ใหญ่ : 5-10 mEq/hr. แต่ไม่เกิน 40 mEq/hr.<br />

ไม่ควรให้ยาเร็วเกิน 20 mEq/ชม.<br />

เนื ่องจากจะเกิดการชักกระตุกหรือระดับโปแตสเซียมในเลือดสูงเกิน<br />

ข้อมูลส าคัญที ่ควรทราบ<br />

อาการเมื ่อได้รับยาเกินขนาด : กล้ามเนื ้ออ่อนแรง, paralysis, peaked T<br />

waves, flattened P waves, Prolongation of QRS complex, ventricular<br />

arrhythmias, tetany<br />

ควรตรวจวัดระดับ K และ Phosphate เพื่อติดตามผลการรักษา และตรวจ EKG เพื่อ<br />

ระวังการได้รับยาเกินขนาด


การแก้พิษ เมื่อได้รับยาเกินขนาด ให้ลดระดับโปแตสเซียม โดยใช้ Kayexalate, Kalimate เพื่อ<br />

ขับโปแตสเซียมออกจากทางเดินอาหาร หรือให้ยาขับปัสสาวะเพื่อขับโปแตสเซียมออกทางไตหรือ<br />

ฟอกเลือดโดยใช้ hemodialysis, peritoneal dialysis หรือท าให้ โปแตสเซียม ในเลือดกลับเข้าไป<br />

ในเซลล์ โดยให้ insulin และ glucose infusion และให้ calcium chloride เพื่อป้ องกัน<br />

ผลข้างเคียงที่จะเกิดกับหัวใจ<br />

การผสมและความคงตัว สามารถผสม 5DW หรือ NSS ให้อย่างช้าๆทาง IV ถ้า<br />

ความเข้มข้นสุดท้ายเกิน 30 mEq/L จะเกิดอาการปวดบริเวณหลอดเลือดที่ให้ยา ที่<br />

ควรระวังเป็ นพิเศษคือ การผสมเพื่อเตรียมสารอาหารทางเส้นเลือด (TPN) ที่มี<br />

calcium หรือ magnesium เป็ นส่วนประกอบ เนื่องจากอาจเกิดการตกตะกอนของ<br />

calcium phosphate, magnesium phosphate หรือการผสมกับ amino acid ที่มี<br />

phosphate เป็ นส่วนประกอบต้องค านึงถึง order of mixing ซึ่งมีผลต่อการเกิด<br />

ตะกอน ดังนั ้นควรเตรียมโดยหน่วยเตรียมสารอาหารโดยเฉพาะ<br />

ความคลาดเคลื ่อนทางยาและปัญหาที ่พบ :<br />

การผสมยาร่วมกับ Electrolyte ตัวอื่นๆ หรือยาอื่นซึ่งเข้ากันไม่ได้ท าให้เกิดการตกตะกอน<br />

แนวทางแก้ปัญหาและการจัดการ<br />

1. แพทย์ :<br />

ตรวจสอบค าสั่งแพทย์ ให้แน่ใจว่าไม่มียาหรือสารที่ไม่เข้ากัน เมื่อผสมใน<br />

K 2 HPO 4 solution ซึ่งสามารถโทรศัพท์สอบถามได้ที่งานเภสัชกรรม<br />

2. เภสัชกร :<br />

เตรียมและจัดหาข้อมูลในการผสมยาให้พร้อม<br />

3. พยาบาล :<br />

หลังผสมยา ก่อนให้ยาตรวจสอบว่ามีการตกตะกอนเกิดขึ ้นหรือไม่ หากมี<br />

ตะกอน เกิดขึ ้นให้ทิ ้งถุงเตรียมนั ้น และปรึกษาเภสัชกรในการเตรียมครั ้ง<br />

ต่อไป<br />

โดยฝ่ ายเภสัชกรรม โรงพยาบาลพัทยาเมโมเรียล จ.ชลบุรี

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!