04.04.2013 Views

บทที่3 เทคโนโลยีวงจรรวม

บทที่3 เทคโนโลยีวงจรรวม

บทที่3 เทคโนโลยีวงจรรวม

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

บทที่<br />

3<br />

<strong>เทคโนโลยีวงจรรวม</strong><br />

3.1 เทคโนโลยีไบโพลาร<br />

ทรานซิสเตอรแบบไบโพลารเกิดขึ้นเมื่อป<br />

ค.ศ.1948 และ เริ่มเขามามีบทบาทในวงการ<br />

อิเล็กทรอนิกสแทนหลอดสุญญากาศซึ่งมีขนาดใหญ<br />

น้ําหนักมากและมีปญญาในเรื่องของความ<br />

รอน เมื่อเทคโนโลยีกาวหนาขึ้นทําใหสามารถผลิตทรานซิสเตอรแบบไบโพลารไดสะดวกขึ้นและ<br />

ไดคราวละมากๆ ทําใหราคาถูกลง จึงทําใหทรานซิสเตอรแบบไบโพลารเปนที่นิยมและใชกันมาก<br />

และมีบทบาทสําคัญในวงการอิเล็กทรอนิกส<br />

3.1.1 กระบวนการไบโพลาร[22]<br />

กระบวนการไบโพลาร (bipolar process) เปนขั้นตอนในการสรางวงจรรวม<br />

(integrated circuit)ที่มีอุปกรณพื้นฐานคือทรานซิสเตอรแบบไบโพลารซึ่งเปนทรานซิสเตอรที่มี<br />

ความเร็วสูง แตกินเนื้อที่บนชิพมาก<br />

ในปจจุบันเทคโนโลยีการสรางวงจรรวมไมสามารถที่จะสรางทรานซิสเตอรแบบ<br />

ไบโพลารชนิด pnp ใหมีคุณสมบัติดีไดเทาเทียมกับชนิด npn บนซับสเตรต(substrate)เดียวกันได<br />

ดังนั้นในวงจรรวมทําใหทรานซิสเตอรแบบไบโพลารชนิด<br />

npn จึงเปนที่นิยมใชมากกวาชนิด<br />

pnp<br />

ขั้นตอนการสรางทรานซิสเตอรแบบไบโพลารชนิด<br />

npn ในรูปของวงจรรวมเริ่ม<br />

จากการเตรียมเวเฟอร(wafer)ซิลิกอนที่เปนสารกึ่งตัวนําชนิด<br />

p ซึ่งโดยปกติมีความหนาประมาณ<br />

250µm และมีความเขมขนของสารเจือ(impurity concentration) ประมาณ 10 16 atom/cm 3<br />

จากนั้นจะทําการมาสค(mask)และแพรซึม(diffusion)สารกึ่งตัวนําชนิด<br />

n + ลงไปดังรูปที่<br />

3.1 เพื่อ<br />

ลดความตานทานคอลเล็กเตอร ชั้นของสารกึ่งตัวนําชนิดจะเรียกวาชั้นฝง(buried<br />

layer) ตอไปจะ<br />

เปนการปลูกชั้นอีปแทกซี(epitaxial)ซึ่งเปนสารกึ่งตัวนําชนิด<br />

n ลงไปบนเวเฟอรเพื่อใหเปนสวน<br />

ของคอลเล็กเตอร ดังแสดงในรูปที่<br />

3.2 ความหนาของชั้นนี้ประมาณ<br />

10µm จากนั้นปลูกชั้นของ<br />

ออกไซดลงบนผิวดานบนของชั้นอีปแทกซี<br />

แลวทําการมาสคและแพรซึมธาตุในหมูที่<br />

3 นั่นคือ<br />

โบรอนชนิด p (p-type boron)ลงไปใหทะลุถึงซับสเตรตดังรูปที่<br />

3.3 สวนนี้จะเปนสวนที่แยก<br />

คอลเล็กเตอรของทรานซิสเตอรแบบไบโพลารออกจากกัน ขั้นตอนตอไปคือการมาสค<br />

และแพรซึม


59<br />

n−type impurities n + buried layer<br />

p−type substrate<br />

รูปที่<br />

3.1 การสรางชั้นฝง<br />

(buried layer diffusion)<br />

n−type epitaxial layer<br />

n +<br />

p−type substrate<br />

รูปที่<br />

3.2 เวเฟอรของวงจรรวมไบโพลารหลังจากการปลูกชั้นอีปแทกซี<br />

p−type impurities<br />

p n<br />

p<br />

n +<br />

p−type substrate<br />

รูปที่<br />

3.3 โครงสรางหลังจากการทําชั้นฉนวน<br />

(isolation diffusion)<br />

p−type impurities<br />

p n<br />

p<br />

n +<br />

p−type substrate<br />

รูปที่<br />

3.4 โครงสรางหลังจากการทําชั้นเบส<br />

(base diffusion)<br />

n−type impurities<br />

p n<br />

p<br />

n +<br />

p−type substrate<br />

p−type base<br />

รูปที่<br />

3.5 โครงสรางหลังจากการทําชั้นอิมิตเตอร<br />

(emitter diffusion)<br />

SiO2<br />

SiO2<br />

SiO2


collector contact<br />

60<br />

รูปที่<br />

3.6 โครงสรางหลังจากการทําชั้นโลหะ<br />

(metallization)<br />

ชั้นเบส(base)ของทรานซิสเตอรแบบไบโพลารดวยโบรอน<br />

ซึ่งจะมีความหนาประมาณ<br />

1µm ถึง<br />

3µm แสดงไดรูปที่<br />

3.4 หลังจากทําการแพรซึมผานชั้นเบสแลว<br />

ตอไปจะเปนการมาสคและแพรซึม<br />

สารกึ่งตัวนําชนิด<br />

n ลงไปนอกจากเพื่อใหเปนสวนอิมิตเตอร(emitter)ของทรานซิสเตอรแบบ<br />

ไบโพลารแลวยังเปนสวนที่ลดความตานทานของคอลเล็กเตอรเพื่อใหเชื่อมตอกับหนาสัมผัสโลหะ<br />

(holmic contact)ไดงายขึ้นอีกดวย<br />

สวนนี้จะมีความหนาประมาณ<br />

0.5µm ถึง 2.5µm ผลจากการ<br />

แพรซึมครั้งนี้แสดงดังรูปที่<br />

3.5 การมาสคครั้งตอไปเปนการมาสคเพื่อเปดชองของออกไซดบน<br />

สวนของเบส อิมิตเตอร และคอลเล็กเตอร เพื่อใชเปนสวนเชื่อมตอทางไฟฟา<br />

ดังแสดงในรูป 3.6 ซึ่ง<br />

เปนรูปของทรานซิสเตอรแบบไบโพลารชนิด npn<br />

3.1.2 เทคโนโลยีไดอิเล็กทริกไอโซเลชัน<br />

emitter<br />

เทคโนโลยีไดอิเล็กทริกไอโซเลชัน (dielectric isolation) เปนเทคนิคไอโซเลชัน<br />

แบบพิเศษที่ใชในงานวงจรรวมแบบแอนะล็อกและดิจิตอลที่ตองทํางานไดเร็วและทนตอสภาพที่มี<br />

การแผรังสี เทคนิคไอโซเลชันเปนเทคนิคที่นําไปใชเพื่อแยกชิ้นสวนคอลเล็กเตอรออกจากชั้น<br />

ซิลิกอนไดออกไซด ทําใหความจุประจุตอพื้นที่และความจุประจุระหวางคอลเล็กเตอรและ<br />

ซับสเตรตลดลง และกระแสโฟโตยอนกลับที่เกิดขึ้นกับอุปกรณซึ่งแยกรอยตอจากกันจะทนตอ<br />

สภาพที่มีการแผรังสี<br />

รูปที่<br />

3.7-3.9 แสดงขั้นตอนในการผลิตดวยเทคโนโลยีไดอิเล็กทริกไอโซเลชัน<br />

เริ่มตนดวยการเตรียมเวเฟอรชนิด<br />

n กัดผิวใหมีลักษณะเปนรองในสวนดานหลังของเวเฟอรเพื่อใช<br />

เปนยานไอโซเลชันโดยลึกประมาณ 20µm เรียกวาขั้นตอนการกัดผิวใหเปนรอง<br />

การสรางชั้นออก<br />

ไซดและชั้นซิลิกอนโพลีคริสตอลไลนจะหนาประมาณ<br />

200µm ตอมาเวเฟอรจะถูกกัดบริเวณดาน<br />

บนใหเหลือแตเกาะที่แยกรองออกจากกันแสดงดังรูปที่<br />

3.9 หลังจากนั้นจะเตรียมเวเฟอรใหพรอม<br />

สําหรับขั้นตอนของขบวนการมาตรฐานตอไป<br />

base<br />

p n<br />

p<br />

n +<br />

p−type substrate<br />

SiO2


61<br />

Polycrystalline silicon<br />

n<br />

รูปที่<br />

3.7 การกัดผิวใหเปนรองบริเวณดานลางของเวเฟอร<br />

Polycrystalline silicon<br />

n<br />

รูปที่<br />

3.8 การสรางชั้นซิลิกอนโพลีคริสตอลไลน<br />

n n n<br />

Grind off starting wafer<br />

รูปที่<br />

3.9 การตัดและขัดผิวเวเฟอร<br />

n n n<br />

Polycrystalline silicon<br />

Emitter<br />

Base<br />

Collector<br />

รูปที่<br />

3.10 การมาสคเบส<br />

Oxide isolation<br />

SiO2<br />

SiO2<br />

SiO2<br />

SiO2


62<br />

3.2 เทคโนโลยีมอส<br />

มอส(MOS)เปนอุปกรณที่ใชแรงดันควบคุมการทํางานของอุปกรณเขามามีบทบาทอยาง<br />

มากในวงการอิเล็กทรอนิกสในปจจุบัน เนื่องจากมีขั้นตอนในการผลิตที่งายกวาและใชเนื้อที่ใน<br />

วงจรรวมนอยกวาทรานซิสเตอรชนิดไบโพลาร มีความตานทานอินพุตที่อุปกรณสูงกวา<br />

และมี<br />

สัญญาณรบกวนนอยกวา แตมีขอเสียคือ ทนกระแสไดนอยกวาทรานซิสเตอรชนิดไบโพลาร<br />

มอสแบงไดตามเทคโนโลยีการผลิตออกเปนสามประเภทคือ เอ็นมอส(NMOS) พีมอส<br />

(PMOS) และซีมอส(CMOS, Complementary Metal Oxide Semiconductor) นอกจากนั้น<br />

ยังสามารถแบงไดตามระดับแรงดันขีดเริ่มเปลี่ยน(threshold<br />

voltage)ได เปนแบบเอนฮานซเมนต<br />

(enhancement mode) ซึ่งเปนแบบที่แรงดันขีดเริ่มเปลี่ยนมีคามากกวาศูนย<br />

และแบบดิพลีตชัน<br />

(depletion mode) ซึ่งแรงดันขีดเริ่มเปลี่ยนมีคานอยกวาศูนย<br />

3.2.1 กระบวนการมอสเฟต<br />

ขั้นตอนการผลิตมอสเฟตสามชนิดคือ<br />

เอนฮานซเมนตมอสเฟตแบบ n แชนแนล,<br />

เอนฮานซเมนตมอสเฟตแบบ p แชนแนล และ ดิพลีตชันมอสเฟตแบบ n แชนแนล ซึ่งโดยปกติจะ<br />

ไมผลิตรวมกัน แตเพื่อความสะดวกในการอธิบายขั้นตอนการผลิต<br />

พิจารณาไดดังนี้<br />

ขั้นตอนแรก<br />

เปนการเตรียมซับสเตรด ซึ่งเปนสารกึ่งตัวนําชนิด<br />

p ตอมาก็ทําการมาสคและแพรซึมสารเจือชนิด n<br />

ลงไปเปนชั้น<br />

n-well เพื่อเปนแชนแนลของพีมอส<br />

แสดงดังรูปที่<br />

3.11<br />

ขั้นตอนตอไปเปนการมาสคและทําการปลูกชั้นออกไซดที่บริเวณแอกทีฟทั้งที่เปน<br />

สารกึ่งตัวนําชนิด<br />

n และ p เพื่อเพิ่มความเขมขนของไอออนที่ผิว<br />

จากนั้นก็ทํา<br />

oxidation เคลือบที่<br />

ผิวทําใหไดโครงสรางแสดงดังรูปที่<br />

3.12<br />

SiO2 (thin) n-type well<br />

p-type substrate<br />

รูปที่<br />

3.11 การแพรซึมในสวนของ n-well


Thick SiO2<br />

n-type implanted layer<br />

for depletion device<br />

63<br />

Implanted p-layer<br />

รูปที่<br />

3.12 ขั้นตอนหลังจากปลูกชั้นออกไซด<br />

buried contact<br />

p-type substrate<br />

รูปที่<br />

3.13 เมื่อปรับแรงดันขีดเริ่มเปลี่ยนและปลูกชั้นโพลีซิลิกอนแลว<br />

n+ implant or<br />

diffusion<br />

รูปที่<br />

3.14 การแพรซึมในสวนของเกตและเดรน<br />

metallization<br />

p-type substrate<br />

p-type substrate<br />

p-type substrate<br />

polysilicon<br />

รูปที่<br />

3.15 มอสเฟตที่ผลิตเสร็จเรียบรอย<br />

Implanted n-layer<br />

p+ implant or<br />

diffusion<br />

n-type well<br />

SiO2<br />

SiO2<br />

SiO2<br />

SiO2


64<br />

สําหรับมอสเฟสแบบดิพลีตชันตองทําการ implantation เพื่อปรับแรงดันขีดเริ่ม<br />

เปลี่ยน<br />

ขั้นตอนตอไปจะทําการสรางโพลีซิลิกอน(poly<br />

silicon)บนเกตของอุปกรณ ซึ่งก็จะได<br />

โครงสรางตามรูปที่<br />

3.13 จากนั้นจะเปนการนําออกไซดบริเวณเดรนและซอรสของมอสเฟตออก<br />

เพื่อที่จะแพรซึมสารลงไป<br />

ซึ่งจะตองทําสองครั้งสําหรับเอ็นมอสและพีมอสซึ่งแสดงดังรูป<br />

3.14<br />

หลังจากนั้นก็ทําการเชื่อมตอหนาสัมผัสโลหะที่<br />

เกต เดรน และซอรสของมอสเฟต<br />

ทั้งสาม<br />

จะไดโครงสรางดังรูป 3.15<br />

3.2.2 เทคโนโลยีซีมอส [25]<br />

วงจรรวมแบบซีมอสเปนวงจรที่มีความไวสูงเหมาะสําหรับงานทางดานดิจิตอล<br />

ใช<br />

กําลังงานที่นอย<br />

และกินเนื้อที่บนซิปนอย<br />

วิธีการในการสราง(fabrication)วงจรรวมแบบซีมอสประกอบไปดวยกระบวน<br />

การ p-well, กระบวนการ n-well, กระบวนการทวิน-ทับ(twin-tub) และ กระบวนการ silicon-<br />

on-insulator วิธีที่กลาวถึงในการออกแบบวงจรรวมแบบซีมอสจะใชพื้นฐานในการสรางแบบ<br />

well เปนหลักในวงจร กระบวนการแบบ p-well เปนกระบวนการที่ใชกันอยางกวางขวางในการ<br />

ปฏิบัติและกระบวนการแบบ n-well เปนกระบวนการที่ไดรับความนิยมมากซึ่งเปนวิธีที่ปรับปรุง<br />

ไดงายเนื่องจากมีกระบวนการเดียวกันกับการสรางเอ็นมอส<br />

3.2.2.1 กระบวนการ p-well<br />

ขั้นตอนในการสรางวงจรรวมแบบซีมอสดวยกระบวนการ<br />

p-well แสดงไดดังรูป<br />

ที่<br />

3.16 ซึ่งไมไชขบวนการพื้นฐานเดียวกันที่ใชสําหรับสรางเอ็นมอส<br />

จากรูปโครงสรางอยางงาย<br />

ประกอบไปดวยสารกึ่งตัวนําชนิดเอ็นทําหนาที่เปนซับสเตรตของพีมอสซึ่งสวนหนึ่งจะถูกทําการ<br />

มาสคและแพรซึมทําเปนสวนของ p-well สําหรับเอ็นมอสซึ่งความลึกของ<br />

p-well นี้ขึ้นอยูกับการ<br />

แพรซึมเขาไปในสารกึ่งตัวนําชนิดเอ็นของซับสเตรต<br />

การแพรซึมของพาหะจะขึ้นอยูกับความเขมขนของการโดป<br />

p-well และความลึก<br />

จะมีผลตอคาแรงดันขีดเริ่มเปลี่ยน(threshold<br />

voltage) ซึ่งระดับแรงดันขีดเริ่มเปลี่ยนที่ต่ํา<br />

(0.6-1.0V)นั้นไดจากความลึกของชั้น<br />

well ที่ไดจากการแพรซึมหรือพิกัดความตานทานที่สูง<br />

อยางไรก็ตามความลึกของชั้น<br />

well ก็จะทําใหชองวางระหวางเอ็นมอสและพีมอสมีขนาดใหญและ<br />

ทําใหการเชื่อมตอสายแผกระจายไปดานขางมีผลทําใหพื้นที่ของซิปมีขนาดใหญ


1.<br />

2.<br />

3.<br />

4.<br />

+<br />

pmask<br />

(negative)<br />

n<br />

p-diffusion<br />

Polysilicon<br />

65<br />

SiO 2<br />

p-well(4-5μm)<br />

รูปที่<br />

3.16 ขั้นตอนของกระบวนการสรางวงจรรวมแบบซีมอสดวยกระบวนการ<br />

p-well<br />

p<br />

n-diffusion<br />

Thin oxide<br />

and polysilicon<br />

+<br />

pmask<br />

(positive)


66<br />

ความเกี่ยวของสําหรับกระบวนการมาสค,<br />

การกําหนดรูปแบบ(patterning) และ การ<br />

แพรซึม ของกระบวนการสรางวงจรรวมแบบซีมอสดวยกระบวนการ p-well สามารถสรุปเปน<br />

ขั้นตอนไดดังนี้<br />

มาสค1. กําหนดพื้นที่ในสวนของ<br />

p-well ที่จะทําการแพรซึมลึกลงไปในซับสเตรต<br />

มาสค2.กําหนดแถบ thinox คือ ชื่อบริเวณที่มีแถบของออกไซดที่มีความหนาอยูแตถูกปอกออก<br />

(stripped) และ จากนั้นก็จะทําการปลูกออกไซดบางๆ<br />

ลงในสวนของเอ็นมอสและพีมอส<br />

ทรานซิสเตอร<br />

มาสค3. เปนการวางชั้นของโพลีซิลิกอนลงไปหลังจากปลูกชั้นออกไซดบางๆ<br />

มาสค4. ทําการมาสคดวย p + เพื่อที่กําหนดพื้นที่ในการแพรการกระจายของสารกึ่งตัวนําชนิด<br />

p<br />

มาสค5. กระทําเชนเดียวกันกับ p + อีกครั้งแตเปนแบบลบเพื่อกําหนดพื้นที่ในการแพรกระจายของ<br />

สารกึ่งตัวนําชนิด<br />

n<br />

มาสค6. กําหนดพื้นที่ของหนาผิวสัมผัสที่จะทําการตัด<br />

มาสค7. วางชั้นของโลหะลงไปเชื่อมตอ<br />

มาสค8. ทําการแพ็กทั้งหมดเขาดวยกันและกําหนดจุดเชื่อมตอออกภายนอก<br />

(bonding pads)<br />

3.2.2.2 กระบวนการ n-well<br />

ดังที่กลาวมาแลววากระบวนการสรางวงจรรวมแบบซีมอสดวยกระบวนการ<br />

p-wellไดใชกันอยางกวางขวางแตกระบวนการสรางวงจรรวมแบบซีมอสดวยกระบวนการ n-well<br />

เปนที่ยอมรับมากกวาเนื่องจากมีกระบวนการเดียวกันกับการสรางเอ็นมอส<br />

วงจรรวมแบบซีมอสดวยกระบวนการ n-well ดีกวาวงจรรวมแบบซีมอสดวย<br />

กระบวนการ p-well เพราะวาการไบอัสที่ซับสเตรตมีผลกระทบตอแรงดันขีดเริ่มเปลี่ยนนอยและมี<br />

คาความจุประจุพาราซิติกที่เดรนและซอรสนอยกวา<br />

สําหรับขั้นตอนการสรางวงจรรวมแบบซีมอสดวยกระบวนการ<br />

n-well แสดงได<br />

ดังรูปที่<br />

3.17 ขั้นตอนแรกเริ่มจากการกําหนดพื้นที่แถบ<br />

n-well ตามดวยการเจือธาตุฟอสฟอรัส<br />

ดวยการใชอุณหภูมิที่สูงเพื่อใหเกิดการแพรซึมใน<br />

n-well ความลึกของ well ยังคงมีประสิทธิภาพ<br />

เมื่อแนใจวาสารกึ่งตัวนําชนิด<br />

p ที่เปนซับสเตรตกั้นไมให<br />

p + เกิดการแพรกระจายแบบพังทลายโดย<br />

ไมมีการมาสค n + ลงใน n-well ขั้นตอนตอมาจะเปนการกําหนดสวนของพีมอสและเอ็นมอสและ


67<br />

การแพรกระจายในแตละสวน ทําการปลูกออกไซดที่แชนแนล<br />

วางโพลีซิลิกอนพาดลงไป ทําการ<br />

แพรกระจายของพาหะ ตัดหนาสัมผัส และสุดทายวางโลหะลงไปยังหนาสัมผัส และโครงสรางของ<br />

วงจรรวมแบบซีมอสดวยกระบวนการ n-well แสดงไดดังรูปที่<br />

3.18<br />

Formation of n-well regions<br />

Define nMOS and pMOS active areas<br />

Field and gate oxidations(thinox)<br />

Form and pattern polysilicon<br />

p + diffusion<br />

n + diffusion<br />

Contact cuts<br />

Deposit and pattern metallization<br />

Over glass with cuts for bonding pads<br />

รูปที่<br />

3.17 ขั้นตอนของกระบวนการสรางวงจรรวมแบบซีมอสดวยกระบวนการ<br />

n-well


deposited oxide<br />

p<br />

68<br />

gate gate<br />

S D D S<br />

n +<br />

n + p + p +<br />

field oxide<br />

field implant<br />

Si<br />

n-well<br />

metal<br />

polysillicon 2<br />

polysillicon1<br />

รูปที่<br />

3.18 โครงสรางของวงจรรวมแบบซีมอสดวยกระบวนการ n-well [26]<br />

3.2.2.3 กระบวนการทวิน-ทับ(twin-tub process)<br />

จากที่กลาวมาแลววากระบวนการแบบ<br />

p-well และกระบวนการแบบ n-well ได<br />

ใชกันอยางกวางขวางจนมีการนํามาพัฒนาเปนกระบวนการแบบ ทวิน-ทับ ซึ่งเปนการรวมเอา<br />

กระบวนการแบบ p-well และ n-well ไวในชิ้นสวนเดียวกันซึ่งสรางเปนเอ็นมอสและพีมอส<br />

ดัง<br />

รูปที่<br />

3.19<br />

ขั้นตอนก็เริ่มจากการเตรียมซับสเตรตที่เปนสารกึ่งตัวนําชนิดเอ็นที่มีพิกัดวาม<br />

ตานทานที่สูงจากนั้นก็สรางแถบ<br />

p-well และ n-well ซึ่งเปนของเอ็นมอสและพีมอสแลวก็เขาสู<br />

กระบวนการในการสรางของทรานซิสเตอรทั้งแบบเอ็นมอสและพีมอสซึ่งจะแยกสวนกันในการ<br />

สราง<br />

n-well<br />

Epitaxial<br />

layer<br />

p-well<br />

n-substrate<br />

รูปที่<br />

3.19 โครงสรางของวงจรรวมซีมอสแบบทวิน-ทับ


69<br />

3.3 เทคโนโลยีไบซีมอส<br />

เนื่องจากทั้งทรานซิสเตอรแบบไบโพลารและมอสเฟตตางก็มีขอดีขอเสียตางกันดังนั้นจึง<br />

ทําใหเกิดเทคโนโลยีไบซีมอส(BiCMOS)ขึ้น<br />

เทคโนโลยีนี้เปนการผลิตทรานซิสเตอรแบบ<br />

ไบโพลารและมอสเฟตบนซับสเตรตเดียวกันซึ่งจะทําใหผูออกแบบวงจรสามารถใชขอไดเปรียบ<br />

ของทั้งทรานซิสเตอรแบบไบโพลารและมอสเฟตในการออกแบบวงจรทําใหวงจรมีประสิทธิภาพ<br />

สูงขึ้น<br />

แตขั้นตอนในการผลิตจะยุงยากมากขึ้น<br />

รูปที่<br />

3.20 แสดงโครงสรางของวงจรรวมแบบ<br />

ไบซีมอส<br />

สําหรับขั้นตอนในการสรางวงจรรวมดวยเทคโนโลยีแบบไบซีมอสในรูปที่<br />

3.20 เริ่มตน<br />

จากขั้นตอนแรกจะทําการมาสค(mask)และทําการปลูก(implantation)ชั้นสารกึ่งตัวนําชนิด<br />

n<br />

ดวยธาตุพลวง(antimony)เพื่อใหเกิดเปนชั้นฝง(buried<br />

layers)ลงบนซับสเตรตซึ่งเปนสารกึ่ง<br />

ตัวนําชนิด p ซึ่งกระบวนการดังกลาวใชสําหรับไบโพลารทรานซิสเตอรชนิด<br />

npn และมอสเฟต<br />

ชนิดพีมอส ขั้นตอนที่สองจะทําการปลูกชั้นสารกึ่งตัวนําชนิดp(p-well)ดวยธาตุโบรอนที่ไม<br />

บริสุทธิ์(impurities)สําหรับมอสเฟตชนิดเอ็นมอส<br />

ตอมาจะทําการปลูกชั้นอิปแทกซีซึ่งเปนสารกึ่ง<br />

ตัวนําชนิด n ที่มีขนาด<br />

1μm เพื่อสรางเปนสวนของคอลเล็กเตอรของไบโพลารทรานซิสเตอรชนิด<br />

npn และเปนสวนของแชนแนลสําหรับพีมอส ในระหวางนี้จะทําการใหความรอนกับวงแหวนวง<br />

นอกสุดของธาตุโบรอนเพื่อใหอะตอมที่เคลื่อนที่อยูเกิดการแพรกระจายออกและทําใหสารกึ่งตัวนํา<br />

ชนิด p (p-well) ขยายออกติดกับหนาสัมผัสของพื้นผิวที่เหลือจากชั้นฝงของการโดปดวยแรพลวง<br />

ขั้นตอนตอมาจะเปนการมาสคเพื่อกําหนดขอบเขตที่เปนความหนาพื้นที่ของออกไซด<br />

(field oxide)ที่ปลูกลงไปและสวนนี้ยังกัดทะลุลงไปถึงชั้นของอิปแทกซี<br />

ขั้นตอนสุดทายจะเปน<br />

ขั้นตอนในการปลูกชั้นของสารกึ่งตัวนําชนิด<br />

p และ n เพื่อสรางเปนชั้นเบสและอิมิตเตอรอีกทั้งลด<br />

ความตานทานชั้นคอลเล็กเตอรของไบโพลารทรานซิสเตอรและสรางเปนสวนของซอรสและเดรน<br />

ของมอสเฟต ขบวนการตอไปก็จะปลูกออกไซดลงไปยังชั้นเกตตามดวยหนาสัมผัสที่ทํามาจาก<br />

โพลีซิลิกอน ในสวนของอิมิตเตอรของไบโพลารทรานซิสเตอรก็ทําในรูปแบบเดียวกันกับเกตของ<br />

มอสเฟต การปรับคาแรงดันขีดเริ่มเปลี่ยน(threshold<br />

voltage)ของมอสเฟตจะกระทําในขั้นตอนนี้<br />

หลังจากนั้นก็ทําการเชื่อมตอหนาสัมผัสโลหะที่เบส<br />

คอลเล็กเตอร ซอรสและเดรนของ<br />

ทรานซิสเตอร ซึ่งก็จะทําใหไดโครงสรางของวงจรรวมแบบไบซีมอสตามรูปที่<br />

3.20


Basecontact<br />

Metal<br />

p +<br />

Bipolar npn transistor<br />

n +<br />

Polysilicon<br />

emitter<br />

+<br />

n buried layer<br />

−<br />

p base<br />

Field oxide<br />

Collector<br />

contact<br />

n +<br />

70<br />

Source<br />

contact<br />

NMOS<br />

Deposited oxide<br />

pollysilicon Drain<br />

gate contact<br />

p well<br />

−<br />

p substrate<br />

รูปที่<br />

3.20 โครงสรางของวงจรรวมแบบไบซีมอส<br />

n +<br />

p n +<br />

Gateoxide<br />

Source<br />

contact<br />

p +<br />

PMOS<br />

pollysilicon<br />

gate<br />

−<br />

n epi<br />

nwell<br />

p +<br />

Drain<br />

contact<br />

70


71<br />

สําหรับในบทนี้จะกลาวถึงเทคโนโลยีในการสรางวงจรรวมซึ่งในปจจุบันเทคโนโลยีใน<br />

การสรางวงจรรวมมีอยูดวยกันสามเทคโนโลยีไดแก<br />

เทคโนโลยีไบโพลาร เปนเทคโนโลยีที่มี<br />

ความเร็วสูง แตกินเนื้อที่บนชิพมาก<br />

เทคโนโลยีมอส มีขั้นตอนในการผลิตที่งายกวาและใชเนื้อที่ใน<br />

วงจรรวมนอยกวาทรานซิสเตอรชนิดไบโพลาร มีความตานทานอินพุตที่อุปกรณสูงกวา<br />

และมี<br />

สัญญาณรบกวนนอยกวา แตมีขอเสียคือ ทนกระแสไดนอยกวาทรานซิสเตอรชนิดไบโพลาร และ<br />

เทคโนโลยีไบซีมอส เปนเทคโนโลยีที่รวมเอาขอไดเปรียบของเทคโนโลยีไบโพลารและมอสเขา<br />

ดวยกัน ทั้งสามเทคโนโลยีนี้ถือวาเปนเทคโนโลยีหลักในการผลิตวงจรรวมแบบโมโนลิธิกใน<br />

ปจจุบัน<br />

ในรายงานวิทยานิพนธนี้การผลิต(fabricate)วงจร<br />

NIC ตองใชเทคโนโลยีไบโพลาร<br />

เทคโนโลยีซีมอส และเทคโนโลยีไบซีมอส ตามลําดับ ซึ่งมีลักษณะโครงสรางของวงจร<br />

NIC ที่<br />

เหมือนกันแตสรางมาจากเทคโนโลยีที่แตกตางกัน<br />

เพื่อชี้ใหเห็นคุณสมบัติของวงจร<br />

NIC ที่มีจุดเดน<br />

จุดดอยที่แตกตางกันจะไดกลาวตอไป<br />

สําหรับเทคโนโลยีไดอิเล็กทริกไอโซเลชันซึ่งเปนเทคโนโลยีที่สรางไดในเทคโนโลยีแบบ<br />

ไบโพลารเปนเทคโนโลยีที่สรางทรานซิสเตอรชนิด<br />

npn และ pnp แยกบอกันทําใหสามารถที่จะ<br />

สรางทรานซิสเตอรชนิด pnp มีคุณสมบัติที่ดีไดเทาเทียมกับชนิด<br />

npn ไดซึ่งจะทําใหวงจร<br />

NIC มี<br />

คุณสมบัติที่ดีขึ้นไดซึ่งจะกลาวตอไป

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!