09.04.2013 Views

news_file_500

news_file_500

news_file_500

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

สมาคมศัลยแพทย์ทรวงอกแห่งประเทศไทย การอบรมวิชาการระยะสั้น<br />

ครั้งที่<br />

14<br />

โดยปกติเราสามารถตัดหลอดลมออกได้ประมาณครึ่งหนึ่งของความยาวทั้ง<br />

หมดแต่การเลาะนั้นต้องระวังเส้นเลือดที่มาเลี้ยง<br />

trachea ที่มาจากด้านข้าง<br />

(lateral pedicle)<br />

การให้การวินิจฉัยอาจตรวจพบ Pneumothorax, Pneumomediastinum<br />

การตรวจ CT chest อาจช่วยในการวินิจฉัยแต่อย่างไรก็ตาม<br />

การทำ Bronchoscope ยังคงเป็น Gold standard ในการวินิจฉัยในปัจจุบัน<br />

ไม่ว่าจะเป็นการใช้ rigid หรือ flexible bronchoscope โดยทั่วไปการทำ<br />

bronchoscope จะเลือกาทำในผู้ป่วยรายที่มีปัญหาปอดไม่ขยายหลังจากได้<br />

รับการใส่สายระบายแล้ว<br />

การรักษา การรักษาการบาดเจ็บของหลอดลมนั้นเป็นตัวย่างที่<br />

สำคัญของการรักษาผู ้ป่วยที ่ได้รับอุบัติเหตุ เนื ่องจากการจัดลำดับความสำคัญ<br />

โดยการรักษาทางเดินหายใจให้โล่งก่อนเสมอและดูแลการหายใจให้เพียงพอ<br />

ความยุ่งยากของการรักษาอยู่ที่การใส่ท่อช่วยหายใจเนื่องจากการใส่ท่อช่วย<br />

หายใจโดยการ Blind มีโอกาสที่จะใส่ท่อช่วยหายใจออกนอกหลอดลม<br />

ดังนั้นวิธีที่ดีที่สุดคือการทำใช้<br />

bronchoscope guide intubation แต่อย่าง<br />

ไรก็ตามวิธีนี้มีข้อจำกัดที่ต้องเป็นผู้เชี่ยวชาญจึงจะประสพความสำเร็จ<br />

วิธีทางเลือกคือการทำ tracheostomy หรือ Cricothyrodotomy โดยหาก<br />

พบส่วนของหลอดลมด้านล่าง อาจสามารถใส่ท่อช่วยหายใจผ่านลงไปได้<br />

โดยตรง หลังจากให้การดูแลเรื่องทางเดินหายใจแล้วค่อยตรวจเพิ่มเติมไม่<br />

ว่าจะเป็นการทำ Esophagoscope ,laryngoscope หรือ angiogram เพื่อ<br />

หาการบาดเจ็บร่วมต่อไปซึ่งการรักษาจำเพาะโรคขึ้นอยู่กับความรุนแรงของ<br />

การบาดเจ็บ<br />

160

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!