29.06.2013 Views

Ariocarpus

Ariocarpus

Ariocarpus

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

การทดลองที่<br />

6<br />

การศึกษาวิธีการเก็บรักษาละอองเกสรตัวผูของตนแคคตัสบางชนิด<br />

วัตถุประสงค<br />

1. เพื่อหาวิธีการที่เหมาะสมในการเก็บรักษาละอองเกสรตัวผู<br />

วิธีการทดลอง<br />

วางแผนการทดลองในการเก็บรักษาละอองเกสรตัวผูแบบสุมสมบูรณ<br />

โดยมี 3 กรรมวิธี<br />

ดังนี้<br />

กรรมวิธีที่<br />

1 เก็บรักษาแบบแหง ที่อุณหภูมิหอง<br />

(28+2 องศาเซลเซียส)<br />

กรรมวิธีที่<br />

2 เก็บรักษาแบบแหง ที่อุณหภูมิต่ํา<br />

( 8+2 องศาเซลเซียส)<br />

กรรมวิธีที่<br />

3 เก็บรักษาใน Acetone ที่อุณหภูมิเยือกแข็ง<br />

( -10 องศาเซสเซียส)<br />

โดยการเก็บอับละอองเกสรตัวผูจากดอกแคคตัสที่เริ่มบานเต็มที่<br />

(หากมีหลายดอก ใหเก็บ<br />

เกสรรวมกันและผสมใหเขากันดีกอนใชทดลอง) นํามาใสในซองกระดาษ แลวนําไปลดความชื้นลงโดย<br />

การเก็บในภาชนะที่ปดสนิทที่บรรจุสารซิลิกาเจลไวภายใน<br />

จากนั้นนําไปเก็บรักษาไวที่อุณหภูมิที่<br />

ทดลอง สวนในกรรมวิธีที่<br />

3 ใหเก็บอับละอองเกสรที่แหงดีแลวลงในสารละลาย<br />

acetone ที่แชไวที่<br />

อุณหภูมิเยือกแข็งซึ่งบรรจุในขวดแกวขนาดเล็กที่มีฝาเกลียวปดสนิท<br />

กอนนําไปเก็บไวที่อุณหภูมิเยือก<br />

แข็งตามเดิม<br />

ทําการทดสอบความมีชีวิตของละอองเกสรตัวผูเมื่อเริ่มตนการเก็บรักษา<br />

และภายหลัง<br />

การเก็บรักษาทุก 4 สัปดาห โดยใชวิธี Fluorochromatic reaction (FCR) test โดยยอมเกสรตัวผูดวย<br />

สารละลาย Fluorescein diacetate (FDA) ความเขมขน 0.5 % ที่นํามาหยดลงในน้ํากลั่นจนกะทั่ง<br />

เปนสีขาว นําไปตรวจนับและคํานวณเหาเปอรเซนตความมีชีวิต โดยการนับละอองเกสรตัวผูที่มีการ<br />

เรืองแสงเทียบกับจํานวนทั้งหมดภายใตกลองจุลทรรศนฟลูออเรสเซนต<br />

ในพื้นที่ขนาด<br />

1 ตาราง<br />

มิลลิเมตร จํานวน 10 แหงแบบสุม<br />

พืชทดลอง<br />

ทําการทดสอบวิธีการเก็บรักษาละอองเกสรตัวผู<br />

ในตนแคคตัส จํานวน 3 ชนิดคือ<br />

1. <strong>Ariocarpus</strong> retusus subsp. trigonus (F.A.C.Weber) E.F.Anderson & W.A.Fitz<br />

Maurice 1997<br />

2. <strong>Ariocarpus</strong> bravoanus H.M.Hernández & E.F.Anderson 1992<br />

3. Turbinicarpus laui Glass & R.Foster 1975

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!