29.06.2013 Views

Ariocarpus

Ariocarpus

Ariocarpus

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

500 .0<br />

400 .0<br />

300 .0<br />

200 .0<br />

100 .0<br />

0.0<br />

แผนภาพที่<br />

2 การเปลี่ยนแปลงพื้นที่รวมของเนินหนามของตนกลาลูกผสม<br />

<strong>Ariocarpus</strong> ที่เลี้ยงในวัสดุ<br />

ปลูก และมีการใหธาตุอาหารแบบตาง ๆ<br />

สรุป และวิจารณผลการทดลอง<br />

wk8 wk12 wk16 wk20 wk24 wk28<br />

จากการทดลองปลูกเลี้ยงตนกลาลูกผสม<br />

<strong>Ariocarpus</strong> ตามกรรมวิธีตาง ๆ พบวา ตนกลา<br />

มีอาการเหี่ยวเฉาลงเล็กนอยในชวงแรกหลังจากการยายปลูก<br />

ทั้งนี้เนื่องจากตนกลาที่ใชทดลองถูก<br />

เพาะเมล็ดและเลี้ยงมาในสภาพที<br />

่มีความชื้นสูงภายในถุงพลาสติกใส<br />

แมวากอนเริ่มทําการทดลองจะ<br />

ไดคอย ๆ เปดถุงออกเพื่อปรับลดความชื้นภายในลงเปนเวลากวา<br />

1 เดือนแลวก็ตาม แตภายหลังจาก<br />

การแยกปลูกเปนตนเดี่ยวเพื่อทดลองและเริ่มใหไดรับแสงเพิ่มมากขึ้น<br />

ประกอบกับชวงที่เริ่มทดลองมี<br />

อากาศรอนและแหงแลงจึงสงผลให ตนกลามีอาการเหี่ยวเฉาดังกลาว<br />

อยางไรก็ตามตนกลาก็ฟนตัว<br />

และเจริญเติบเติบขึ้นในเวลาตอมา<br />

ในระหวางชวงเวลาที่ทดสอบซึ่งมีการควบคุมสภาพแวดลอมและ<br />

ใหการปฏิบัติดูแลเชนเดียวกันพบวา การปลูกเลี้ยงตามกรรมวิธีที่<br />

5 ซึ่งใชทรายและเพอไรทเปนวัสดุ<br />

ปลูก จะมีการแหงตัวของวัสดุปลูกเร็วกวาการปลูกในกรรมวิธีอื่น<br />

ซึ่งสามารถสังเกตไดจากเศษกอนอิฐ<br />

ขนาดเล็กที่ใชปกคลุมผิวหนาวัสดุปลูกไว<br />

จึงทําใหตนกลาเจริญเติบโตไดไมดีเมื่อเทียบกับกรรมวิธีอื่น<br />

หลังจากการทดสอบนาน 28 สัปดาหพบวา ตนกลา <strong>Ariocarpus</strong> ที่ปลูกเลี้ยงโดยใชวัสดุผสมสูตร<br />

Cactus1 ที่ใหสารละลายธาตุอาหารพืชทั้งโดยวิธีการใหปุยออสโมโคส<br />

และการใหปุยน้ํา<br />

มีการ<br />

เจริญเติบโตดีที่สุด<br />

ดีกวาเมื่อผสมเพอไรทเพิ่มลงในวัสดุผสมสูตร<br />

Cactus1 ในอัตราสวน 1:1 ซึ่งอาจ<br />

T1<br />

T2<br />

T3<br />

T4<br />

T5

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!