17.01.2015 Views

พยาธิวิทยาของระบบประสาท (Pathology of the ... - มหาวิทยาลัยนเรศวร

พยาธิวิทยาของระบบประสาท (Pathology of the ... - มหาวิทยาลัยนเรศวร

พยาธิวิทยาของระบบประสาท (Pathology of the ... - มหาวิทยาลัยนเรศวร

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

• Cavernous hemangioma ประกอบไปดวยกลุมของหลอดเลือดผนังบางที่รวมกลุมกันอยูโดยไมมีสวนของเนื้อ<br />

ของสมองกั้นระหวางหลอดเลือด (ลักษณะนี้ใชแยกจาก capillary telangiectasia) มักพบใน cerebellum,<br />

pons, subcortical region มักพบวาเนื้อสมองที่อยูโดยรอบมีรองรอยเลือดออก infarction และ calcification<br />

• Capillary telangiectasia เปนกลุมของหลอดเลือดผนังบางขนาดเล็กที่มีเนื้อสมองกั้นแยกระหวางหลอดเลือด<br />

มักพบที่บริเวณ pons<br />

• Venous angioma (varices) ประกอบไปดวยกลุมของหลอดเลือด vein ที่ขยายขนาดขึ้น (ectatic)<br />

O<strong>the</strong>r vascular diseases<br />

• Hypertensive cerebrovascular disease ความผิดปกติของหลอดเลือดในภาวะความดันโลหิตสูงมักพบที่<br />

deep penetrating artery และ arteriole ที่เลี้ยง basal ganglia, hemispheric white matter และ brain stem<br />

ความดันโลหิตที่สูงขึ้นทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงในหลอดเลือดหลายอยางไดแก hyaline arteriolar sclerosis<br />

ในหลอดเลือด arterioles ทําใหผนังหลอดเลือดออนแอและเสี่ยงตอการฉีกขาดมากกวาหลอดเลือดปกติ ในราย<br />

ที่มีความดันโลหิตสูงเปนเวลานานหลอดเลือดเล็กๆจะมีการโปงพองออกเปน aneurysm ขนาดไมเกิน 300 μm<br />

เรียกวา Chacot-Bouchard microaneurysm ซึ่งจะมีโอกาสแตกไดเชนเดียวกับ aneurysm ชนิดอื่น ผลของ<br />

arteriolar sclerosis ทําใหเกิด lacunes หรือ lacunar infarcts เปนชองวางที่เกิดจากเนื้อสมองตายจากการ<br />

ขาดเลือดขนาดไมเกิน 15 mm มักพบใน deep gray matter (basal ganglia และ thalamus), deep white<br />

matter, internal capsule และ pons การที่ lacunar infarct จะมีความสําคัญทางคลินิกหรือไมนั้นขึ้นกับ<br />

ตําแหนงที่เกิด infarction ภาวะความดันโลหิตสูงยังทําใหเกิดการฉีกขาดของ small penetrating vessels และ<br />

ทําใหเกิดเลือดออกเปนบริเวณเล็กๆ เมื่อเวลาผานไปบริเวณที่เกิดเลือดออกนี้กลายเปนชองวางเปนแนวสั้นๆ<br />

(slit hemorrhage) ลอมรอบดวยสีน้ําตาลซึ่งเกิดจากการสะสมของ hemosiderin-laden macrophages<br />

Acute hypertensive encephalopathy เปนกลุมอาการที่ประกอบดวย การสูญเสียการทํางานของสมอง<br />

ตามปกติในหลายๆดาน ปวดศีรษะ สับสน อาเจียนและ ชัก บางครั้งจะนําไปสูภาวะ coma<br />

• Vasculitis ปฏิกิริยาการอักเสบที่เกิดขึ้นในหลอดเลือดอาจทําใหหลอดเลือดตีบและเกิด cerebral infarcts เชน<br />

การอักเสบที่เกิดจากการติดเชื้อ syphilis, tuberculosis, toxoplasmosis, aspergillosis และ CMV vasculitis .<br />

ในบางครั้ง systemic form ของ vasculitis เชน polyarteritis nodosa อาจทําใหเกิดการอักเสบของหลอดเลือด<br />

ในสมองและนําไปสู การเกิด infarcts หลายตําแหนงในเนื้อสมอง การอักเสบของหลอดเลือดที่มีเฉพาะในหลอด<br />

เลือดสมอง (primary angiitis <strong>of</strong> CNS) เปนการอักเสบที่เกิดกับ เสนเลือดขนาดกลางและเล็ก ในเนื้อสมองและ<br />

subarachnoid ลักษณะพยาธิวิทยาที่ตรวจพบไดแก การอักเสบแบบเรื้อรัง (chronic inflammation),<br />

multinucleated giant cell (อาจพบมี granuloma รวมดวยหรือไมก็ได) และมีการทําลายของผนังหลอดเลือด<br />

ผูปวยมักมีอาการทางสมองเชน cognitive function ลดลง อาการจะดีขึ้นหลังจากไดรับการรักษาโดย steroids<br />

และ immunosuppressive treatments<br />

เอกสารคําสอน<strong>พยาธิวิทยาของระบบประสาท</strong> <strong>Pathology</strong> <strong>of</strong> <strong>the</strong> nervous system<br />

พญ.จันทิมา แทนบุญ ภาควิชาพยาธิวิทยาและนิติเวชศาสตร คณะแพทยศาสตร<strong>มหาวิทยาลัยนเรศวร</strong><br />

10

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!