17.01.2015 Views

พยาธิวิทยาของระบบประสาท (Pathology of the ... - มหาวิทยาลัยนเรศวร

พยาธิวิทยาของระบบประสาท (Pathology of the ... - มหาวิทยาลัยนเรศวร

พยาธิวิทยาของระบบประสาท (Pathology of the ... - มหาวิทยาลัยนเรศวร

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

<strong>Pathology</strong> <strong>of</strong> <strong>the</strong> Nervous System<br />

พญ.จันทิมา แทนบุญ<br />

ภาควิชาพยาธิวิทยาและนิติเวชศาสตร<br />

คณะแพทยศาสตร<strong>มหาวิทยาลัยนเรศวร</strong><br />

ระบบประสาทแบงตามตําแหนงทางกายวิภาคไดเปนระบบประสาทสวนกลาง (central nervous system:<br />

CNS) ซึ่งไดแกสมองและไขสันหลัง และระบบประสาทสวนปลาย (peripheral nervous system: PNS) ซึ่งหมายรวมถึง<br />

สวนอื่นๆของระบบประสาทที่เหลือทั้งหมดเชน เสนประสาท (nerve) และปมประสาท (ganglion)<br />

การที่จะเขาใจพยาธิสภาพของระบบประสาทจําเปนที่จะตองรูจักเซลลและโครงสรางปกติที่พบไดในระบบ<br />

ประสาทเสียกอน<br />

1. เซลลประสาท (Neuron) พบไดเปนเซลลเดี่ยวในสวน gray matter หรือพบอยูรวมกันเปนกลุมเชนเปน nuclei<br />

ในสมองและไขสันหลัง หรือเปน ganglia ในอวัยวะภายในและตลอดความยาวของaorta เปนตน เซลลประสาท<br />

แบงเปนสวนของ cell body ซึ่งเรียกวา (perikaryon) และสวนของใยประสาท (processes) axons และ<br />

dendrites สําหรับทําหนาที่สงและรับกระแสประสาท ภายใน perikaryon มี ribosome-laden endoplasmic<br />

reticulum ติดสีมวงน้ําเงินเขมจากการยอมโดย H+E เรียกวา Nissl substance นอกจากนี้ยังพบ microtubule,<br />

neur<strong>of</strong>ilament, Golgi apparatus จํานวนมาก, และ synaptic specialization เซลลประสาทที่ substantia<br />

nigra และ locus ceruleus ยังมี neuromelanin ในไซโตพลาสมทําใหเห็นเปนสีน้ําตาล เซลลประสาทจะมี<br />

นิวเคลียสกลมรีอยูกลางเซลล (eccentric nucleus) และ มีนิวคลีโอลัสขนาดใหญเห็นไดชัด สามารถจําแนก<br />

เซลลประสาทออกจากเซลลชนิดอื่นไดโดยการยอมทางอิมมูโนฮิสโตเคมิสตรีเชน neur<strong>of</strong>ilament protein (NFP),<br />

NeuN, synaptophysin<br />

เซลล Glia เปนโครงรางสําคัญของระบบประสาท หนาที่ของ glia จะเกี่ยวของกับปฏิกิริยาการอักเสบ การ<br />

ซอมแซม สมดุลของเหลวและการใชและสังเคราะหพลังงาน แบงเปน (1) macroglia ซึ่งเจริญมาจาก<br />

neuroectoderm ไดแก astrocytes, oligodendrocytes และ ependyma และ (2) microglia เจริญมาจากไข<br />

กระดูกซึ่งเปน mesoderm ทําหนาที่เปน monocytes หรือ macrophages ในระบบประสาทสวนกลาง เมื่อมี<br />

การบาดเจ็บหรือการติดเชื้อเกิดขึ้น microglia จะเพิ่มจํานวนขึ้น (gliosis) และทําหนาที่เก็บกิน neuron ที่ตาย<br />

แลว (neuronophagia) ในการติดเชื้อซิฟลิสจะมีรูปรางเปนแทง (rod cells) และเมื่อ rod cells เหลานี้จะรวมตัว<br />

กันเปนกลุม (microglia nodule)<br />

Astrocyte มีขนาดเล็กกวา neuron สงใยประสาทยื่นออกไปโดยรอบคลายดาว (astro = star) โดยใยประสาทที่<br />

สงไปยัง neuron ทําหนาที่เปน metabolic buffers, detoxifiers, nutrient suppliers และ electrical insulator<br />

สวนใยประสาทที่สงไปยังเสนเลือด capillaries ทําหนาที่เปน barriers ระหวาง เลือด, cerebrospinal fluid<br />

(CSF) และสมอง ทําหนาที่ซอมแซม (repair/scar formation) สวนระบบประสาทที่เสียหายรวมกับ fibroblast<br />

และยังทําหนาที่สงสัญญาณประสายทอีกดวย เซลล astrocyteพบไดทั่วไปโดย protoplasmic astrocyte อาศัย<br />

อยูใน gray matter และ fibrous astrocyte อาศัยอยูในทั้ง gray และ white matter มีนิวเคลียสกลมรี โครมาติน<br />

เอกสารคําสอน<strong>พยาธิวิทยาของระบบประสาท</strong> <strong>Pathology</strong> <strong>of</strong> <strong>the</strong> nervous system<br />

พญ.จันทิมา แทนบุญ ภาควิชาพยาธิวิทยาและนิติเวชศาสตร คณะแพทยศาสตร<strong>มหาวิทยาลัยนเรศวร</strong><br />

1


สี สามารถจําแนกเซลล astrocyte ออกจากเซลลชนิดอื่นไดโดยการยอมพิเศษเชน golgi method และทางอิมมู<br />

โนฮิสโตเคมิสตรีเชน glial fibrillary acidic protein (GFAP)<br />

Oligodendrocyte ทําหนาที่คลาย Schwann cells ใน PNS คือสราง myelin หุม neural axons ทําใหการ<br />

นํากระแสประสาทเปนไปอยางรวดเร็ว สิ่งที่ตางจาก Schwann cell คือ Schwann cell จะหุม axon ของเซลล<br />

ประสาทเซลลเดียวแต oligodendrocyte จะหุม axon ของเซลลประสาทหลายเซลล (หลาย internode)<br />

ลักษณะที่เห็นจาก H+E จะเปนนิวเคลียสกลมขนาดเล็กและเรียงตัวเปนแถวใน white matter ในรายที่เปนโรค<br />

progressive multifocal leukoencephalopathy จะพบวา นิวเคลียสมีขนาดใหญขึ้น และพบ viral inclusion<br />

เปนปนสีน้ําเงินในนิวเคลียส<br />

Ependyma เปนเซลล cuboidal หรือ columnar ที่บุสวน ventricular system ในสมอง และ central canal ใน<br />

ไขสันหลัง การเพิ่มจํานวนขึ้นของ subependymal astrocytes ทําใหเกิดความไมตอเนื่องของ ependyma เห็น<br />

เปนตะปุมตะปาใน ventricle เรียกวา ependymal granulation การติดเชื้อบางชนิดโดยเฉพาะ<br />

cytomegalovirus (CMV) สามารถทําใหเกิดความเสียหายตอ ependyma เปนบริเวณกวางและพบ viral<br />

inclusion ใน ependyma อีกดวย<br />

2. Choroid plexus อยูใน ventricular system ตอเนื่องมาจาก ependyma มีลักษณะเปนเซลลทรงสี่เหลี่ยม<br />

(cuboid) เรียงกัวลอมรอบ fibrovascular core ทําหนาที่สราง CSF (2/3 ของ CSF สรางจาก choroid plexus)<br />

บางครั้งพบ meningo<strong>the</strong>lial cells และ fibroblasts ใน fibrovascular stroma ของ choroid plexus โดย<br />

meningo<strong>the</strong>lial cell ที่พบเชื่อวาเปนตนกําเนิดของ intraventricular meningioma<br />

3. Neuropil คือ เสนใยประสาทที่สานกันไปมาเห็นเปนสีชมพูจากการยอม H+E<br />

4. Meningo<strong>the</strong>lial cells เปนเซลลที่ประกอบกันเปนเยื่อหุมสมอง และเปนเซลลตนกําเนิดของเนื้องอกชนิด<br />

meningioma<br />

ปฏิกิริยาของ neuron ตอการบาดเจ็บ (Acute neuronal change) แมวาเซลลประสาทที่เจริญเต็มที่แลวจะไมแบงตัว<br />

แตความรูในปจจุบันพบวายังมีการสรางเซลลประสาทขึ้นมาใหมหลังคลอด อยางไรก็ดียังไมทราบวาการสรางเซลล<br />

ประสาทใหมจํานวนเล็กนอยในสมองของผูใหญมีนัยสําคัญหรือไม<br />

เราจะสามารถตรวจพบการเปลี่ยนแปลงของ neuron ในชิ้นเนื้อ H+E ภายใน 12 ชั่วโมง (acute neuronal<br />

change) หลังจากเกิด ischemia/hypoxic injury คือ cell body จะเหี่ยวลง นิวเคลียสมีสีเขมขึ้น นิวคลีโอลัสและ Nissl<br />

substance หายไป และ cytoplasm มีสีแดงเขมขึ้น เรียกลักษณะของ neuron ที่พบนี้วา red neuron หลังจาก 12-24<br />

ชั่วโมง จะเกิด subacute and chronic neuronal injury บางครั้งบริเวณของเนื้อสมองที่เกิด ischemia จะเกิด gliosis<br />

หรือ coagulative necrosis สวนของ axons ที่เกิดการบาดเจ็บจะมีการบวมขึ้นเรียกวาเปน spheroids และ<br />

ความสามารถของการสื่อสารของ axon จะเสียไป ซึ่งการเปลี่ยนแปลงดังกลาวเห็นไดจาก H+E และ อาจใช silver<br />

staining หรือ การยอมหา axonal transport protein เชน amyloid precursor protein (APP) การบาดเจ็บของ axon เอง<br />

ยังอาจทําให cell body มีขนาดใหญขึ้น กลมขึ้น นิวเคลียสถูกดันจากตรงกลางไปอยูดานขาง นิวคลีโอลัสมีขนาดใหญขึ้น<br />

และ Nissl substance ถูกดันไปอยูบริเวณขอบของ cytoplasm เรียกการเปลี่ยนแปลงนี้วา central chromatolysis ซึ่ง<br />

อาจเปน reversible process หรือไมก็ได<br />

เอกสารคําสอน<strong>พยาธิวิทยาของระบบประสาท</strong> <strong>Pathology</strong> <strong>of</strong> <strong>the</strong> nervous system<br />

พญ.จันทิมา แทนบุญ ภาควิชาพยาธิวิทยาและนิติเวชศาสตร คณะแพทยศาสตร<strong>มหาวิทยาลัยนเรศวร</strong><br />

2


ในโรคที่เกี่ยวของกับความเสื่อมหรือ neurodegenerative disease อาจพบ inclusion หรือลักษณะการ<br />

เปลี่ยนแปลง ที่จําเพาะตอโรคเชน Lewy body ใน Parkinson disease, tangles ใน Alzheimer disease, vacuoles ใน<br />

Creutzfeldt-Jakob disease (CJD) ซึ่งในบางโรคอาจพบใยประสาท หนาตัวและหงิกงอมากขึ้นเรียกวา dystrophic<br />

neurites การติดเชื้อไวรัสสามารถทําใหเกิด inclusion ใน neuron เชนเดียวกับที่พบในตําแหนงอื่นของรางกาย เชน<br />

cytomegalovirus intranuclear และ intracytoplasmic inclusion หรือ rabies intracytoplasmic inclusion (Negri<br />

body) เมื่ออายุมากขึ้น จะมีการสะสม complex lipid ใน cytoplasm เปนสารสีน้ําตาลทอง (lip<strong>of</strong>uscin)เชนเดียวกับที่พบ<br />

ในเซลลกลามเนื้อหัวใจ<br />

ปฏิกิริยาของ astrocyte ตอการบาดเจ็บและการซอมแซม Astrocyte เปนเซลลหลักที่รับผิดชอบการซอมแซม<br />

(repair/scar formation) ในสมอง กระบวนดังกลาวเรียกวา gliosis ในการตอบสนองตอการบาดเจ็บเซลลจะมีขนาดใหญ<br />

ขึ้น (hypertrophy)และเพิ่มจํานวนมากขึ้น (hyperplasia) นิวเคลียสมีขนาดใหญขึ้นและมีลักษณะใส (vesicular) และ<br />

เห็นนิวคลีโอลัสไดอยางชัดเจน จากเดิมที่มีปริมาณ cytoplasm เพียงเล็กนอยก็จะมองเห็นวามีมากขึ้นและติดสีชมพู<br />

ลอมรอบนิวเคลียสซึ่งอยูตรงกลาง และยังงอกปลายประสาท (stout) ออกไปมากมาย เรียกวา gemistocytic astrocyte<br />

จะพบ extracellular matrix สะสมเพียงเล็กนอย ความแตกตางของการบาดเจ็บที่สมองและการบาดเจ็บบริเวณอื่นคือ<br />

fibroblast จะมีสวนรวมในกระบวนการซอมแซมอยางจํากัด โดยมากจะตามหลัง penetrating trauma หรือลอมรอบ<br />

abscess ในรายที่มี gliosis เปนเวลานานๆ จะเห็น cytoplasm ของ astrocytes มีปริมาณลดลงและตัว cell มีลักษณะ<br />

เปนเสนสายมากขึ้น (fibrillar) เรียกวา fibrillary astrocytes<br />

Rosenthal fiber คือโปรตีนที่รวมตัวกันหนาเปนแทงยาวจาก H+E เราจะเห็นเปนสีชมพูเขมใน astrocytic process ใน<br />

รายที่มี gliosis เปนเวลานานๆ และในเนื้องอก glioma ชนิดที่ไมรายแรง<br />

Corpora amylacea มีขนาด 5-50 μm กลม ซอนกันเปนวงเปนชั้นๆ ติดสีมวงจางใน H+E และยอมติดสี periodic acid-<br />

Schiff (PAS) บงถึง degenerative change ใน astrocyte ซึ่งจะเพิ่มจํานวนมากขึ้นตามอายุ พบไดทุกที่ที่มี astrocytic<br />

end process โดยเฉพาะที่ บริเวณใตเยื่อหุมสมองชั้น pia matter และ รอบๆ ventricle<br />

Cerebral edema (สมองบวม) คือการที่มีสารน้ําสะสมในเนื้อสมอง ตองแยกจาก hydrocephalus ซึ่งเกิดจากการ<br />

เพิ่มขึ้นของ CSF ในบางสวนหรือทุกสวนของ ventricular system แบงกลไกในการเกิด cerebral edema ออกเปน<br />

• Vasogenic edema เกิดเมื่อ blood-brain barrier เสียไป เมื่อมี vascular permeability เพิ่มขึ้น สารน้ําก็จะ<br />

เปลี่ยนที่จาก vascular compartment ไปอยูใน intercellular spaces โดย vasogenic edema สามารถเปนได<br />

ทั้งแบบเฉพาะที่ (เนื่องจาก permeability ของเสนเลือดบริเวณรอบๆบริเวณที่เกิดการอักเสบหรือเนื้องอกนั้นเสีย<br />

ไป) และเปนไดทั่วๆไป<br />

• Cytotoxic edema เกิดจากการบาดเจ็บของ neuron, glial cell หรือ endo<strong>the</strong>lial cell membrane เชนที่พบใน<br />

รายที่ไดรับสารพิษแลวทําใหเกิด hypoxic/ischemic injury ทําให intracellular fluid เพิ่มขึ้น<br />

ลักษณะของสมองจากการตรวจภายนอกจะนุมกวาปกติและบวมใหญขึ้น ในรายที่เปนทั่วทั้งสมองจะพบวา gyri ของ<br />

สมองจะแบนลง, sulci จะตีบแคบ และ ventricle จะถูกกดเบียด<br />

Hydrocephalus โดยปกติ CSFมีหนาที่ปองกันการกระทบกระแทกของเนื้อสมองกับกระโหลกศรีษะ หลังจากที่ CSF ถูก<br />

สรางขึ้นมาจาก choroid plexus ใน ventricle CSF จะไหลไปตาม ventricular system และผาน foramen <strong>of</strong> Luschka<br />

เอกสารคําสอน<strong>พยาธิวิทยาของระบบประสาท</strong> <strong>Pathology</strong> <strong>of</strong> <strong>the</strong> nervous system<br />

พญ.จันทิมา แทนบุญ ภาควิชาพยาธิวิทยาและนิติเวชศาสตร คณะแพทยศาสตร<strong>มหาวิทยาลัยนเรศวร</strong><br />

3


และ Magendie ไปยัง subarachnoid space เพื่อหลอเลี้ยงสมองและไขสันหลัง และถูกดูดซึมกลับโดย arachnoid<br />

granulation การสรางและการดูดซึม CSF ทําให CSF อยูในระดับสมดุล hydrocephalus เกิดจากการเพิ่มขึ้นของ CSF<br />

ใน ventricular system เชนการสรางโดยเนื้องอกของ choroid plexus หรือจากความผิดปกติของการดูดซึมกลับของ<br />

CSF (communicating hydrocephalus) หรือมีการอุดกั้นทางเดินของ CSF (non-communicating hydrocephalus)<br />

โดยเนื้องอก หรือความผิดปกติแตกําเนิดเชน congenital atresia <strong>of</strong> aqueduct <strong>of</strong> Sylvius ซึ่งเปนสาเหตุที่พบบอยที่สุดวา<br />

ทําใหเกิด congenital hydrocephalus ถา hydrocephalus เกิดขึ้นในเด็กที่รอยตอของกะโหลกศีรษะ (sutures) ยังไมปด<br />

ขนาดของศีรษะจะใหญขึ้น แตถาในรายที่ sutures ปดแลว จะพบวาชอง ventricles ในสมองมีขนาดใหญขึ้น เนื้อสมอง<br />

บางลง และมีความดันในสมองเพิ่มขึ้นโดยขนาดของศีรษะไมเปลี่ยนแปลง<br />

Herniation เนื่องจากชองในกะโหลกศีรษะถูกแบงออกเปนสวนๆโดย dural folds (falx และ tentorium )ถาปริมาตรของ<br />

เนื้อสมองที่เพิ่มขึ้นจากการบวม การอักเสบหรือเนื้องอก ทําใหความดันในสมองเพิ่มขึ้น และมักทําใหเนื้อสมองบางสวน<br />

เลื่อนลงไปอยูในชองที่เกิดจาก dural folds เหลานี้ และเกิดการกดเบียดโครงสรางในเนื้อสมองกับ dural folds และอาจ<br />

ทําใหเกิด infarction ของบริเวณดังกลาวหรือทําใหเสียชีวิต แบงชนิดของ hernaition ตามตําแหนงที่เกิด<br />

• Subfalcine (Cingulate) herniation คือการเลื่อนของเนื้อสมองสวน cingulated gyrus ลงมาอยูใต falx cerbri<br />

อาจสัมพันธกับการกดเบียด anterior cerebral artery<br />

• Trans tentorial (Uncinate) herniation เกิดเมื่อ medial aspect ของ temporal lobe กดเบียดเขากับ<br />

tentorium ทําใหเกิดการกดเบียดเสนประสาทสมองคูที่ 3 ทําใหมานตาขยายและกลามเนื้อควบคุมลูกตา<br />

ผิดปกติ นอกจากนี้ยังอาจกด posterior cerebral artery ทําใหเนื้อสมองสวนที่เลี้ยงดวยเสนเลือดนี้ขาดเลือด<br />

เชนบริเวณ primary visual cortex ถา herniation เปนมากขึ้นสวนของ cerebral peduncle ดานตรงขามจะถูก<br />

กดเบียด (Kernohan’s notch) ทําใหเกิดอาการอัมพาตของรางกายดานที่เกิด herniation อาจทําใหเกิดความ<br />

สับสนในการประเมินรอยโรคตั้งตนที่ทําใหเกิดความผิดปกตินี้ ระดับของ tentorial herniation ที่มากขึ้นทําให<br />

เกิดการดึงรั้งของหลอดเลือดที่เลี้ยง upper brainstem เกิดการฉีกขาดและเลือดออกเปน lineat-flame shape<br />

hemorrhage ที่บริเวณ mid brain และ pons เรียกวา Duret hemorrhage<br />

• Tonsillar herniation คือการเลื่อนของ cerebellar tonsil ลงมาอยูใน foramen magnum ซึ่งเปนภาวะคุกคาม<br />

ตอชีวิตผูปวยเนื่องจากจะทําให brainstem และ medulla ซึ่งมีศูนยควบคุมหัวใจและการหายใจถูกกดเบียด<br />

ความผิดปกติแตกําเนิดของระบบประสาทสวนกลาง เกิดไดจากหลายสาเหตุ และสาเหตุตั้งตนชนิดเดียวกันทําให<br />

เกิดความผิดปกติไดหลายระดับขึ้นกับอายุของทารกในครรภขณะที่เผชิญกับสาเหตุนั้นๆ<br />

NEURAL TUBE DEFECTS เปนความผิดปกติในระบบประสาทสวนกลางที่พบไดบอยที่สุด เกิดจากความผิอกปติ<br />

ของการปดของ neural tube (ไมปด หรือปดไปแลวแตมีการเปดขึ้นมาใหม) อาจมีสาเหตุจากการไดรับวิตามิน A มาก<br />

เกินไป หรือการขาด folic acid ตรวจพบในระหวางตั้งครรภโดย ultrasound หรือการตรวจหาระดับ alpha fetoprotein ที่<br />

เพิ่มขึ้นในมารดา ในรายที่มีบุตรเปน neural tube defect โอกาสที่จะตรวจพบ neural tube defect ในการตั้งครรภครั้ง<br />

ตอไปมีประมาณรอยละ 4 ถึง 5<br />

• Spina bifida เปนความผิดปกติของกระดูกสันหลังสวน vertebral arch (ไมปด)มักพบที่ตําแหนงกระดูกสันหลัง<br />

สวนเอว (lumbosacral region) เปนความผิดปกติที่พบไดบอยที่สุด<br />

เอกสารคําสอน<strong>พยาธิวิทยาของระบบประสาท</strong> <strong>Pathology</strong> <strong>of</strong> <strong>the</strong> nervous system<br />

พญ.จันทิมา แทนบุญ ภาควิชาพยาธิวิทยาและนิติเวชศาสตร คณะแพทยศาสตร<strong>มหาวิทยาลัยนเรศวร</strong><br />

4


• Spina bifida occulta เปนความผิดปกติของกระดูกสันหลังสวน vertebral arch (ไมปด) พบรวมกับรอยบุมที่<br />

ผิวหนังหรือกลุมขนงอกในบริเวณที่เกิดความผิดปกติ ไมมีอาการอื่น<br />

• Meningocele มีเยื่อหุมสมองยื่นออกไปเปนถุงในบริเวณที่เกิดความผิดปกติของ vertebral arch หรือ facial<br />

defect<br />

• Myelomeningocele มีสวนของไขสันหลังหรือเสนประสาทไขสันหลังยื่นไปอยูในถุง meningocele มักพบที่<br />

ตําแหนงกระดูกสันหลังสวนเอว (lumbosacral region)<br />

• Encephalocele/Encephalomeningocele มีสวนของเนื้อสมองยื่นไปอยูในถุง meningocele เกิดจากความ<br />

ผิดปกติของกะโหลกมักพบที่ occipital region หรือ posterior fossa<br />

• Anencephaly เกิดจากการไมปดตัวของ anterior neuropore หรือความผิดปกติของการสรางหลอดเลือด<br />

(angiogenesis) ไมมีกะโหลกและเนื้อสมองสวนบน เห็นเปนกลุมกอนของหลอดเลือดและเนื้อเยื่อเรียกวา<br />

cerebrovasculosa<br />

• Rachischisis คือภาวะที่ spinal column กลายเปนทอเปดตอเนื่องกัน (มีความผิดปกติของ vertebral arches<br />

หลายๆอันตอกัน) และมักตรวจไมพบ spinal cord<br />

• Hydromyelia ชอง central canal ในไขสันหลังขยายกวางขึ้น<br />

• Syringomyelia/syrinx เกิดชองวางเปนทางตลอดความยาวของไขสันหลัง อาจติดตอกับ central canal หรือไม<br />

ก็ได เกิดไดจากการบาดเจ็บ การขาดเลือดหรือ เนื้องอก<br />

• Syringobulbia เปนลักษณะหนึ่งของ syringobulbia แตเปนการารตรวจพบ slit-like cavity ใน medulla<br />

• Arnold Chiari malformation (Chiari type II malformation) เกิดจากการที่ posterior fossa มี ขนาดเล็ก ตรวจ<br />

พบสวนทายของ cerebellar vermis ยื่นลงไปใน foramen magnum (shallow, bowel shaped posterior<br />

fossa with a low-positioned tentorium) กดเบียด quadrigeminal plate และ inferior colliculus ทําใหสมอง<br />

สวน brain stem เลื่อนตําแหนงลงไป มักพบรวมกับ hydrocephalus และ myelomeningocele สําหรับ Chiari<br />

type I malformation เปนการเลื่อนของ cerebellar tonsil ลงใน foramen magnum<br />

• Dandy-Walker malformation เกิดจากการมี posterior fossa ขนาดใหญตรวจไมพบ cerebellar vermis หรือ<br />

พบเฉพาะสวน anterior portion และเห็นเปนถุงน้ําที่ภายในบุดวย ependyma และขางนอกคลุมดวย<br />

leptomeninges ในบริเวณที่ควรจะเปน vermis มักพบรวมกับความผิดปกติของ brainstem<br />

FOREBRAIN MALFORMATION<br />

• Megalencephaly สมองมีขนาดใหญผิดปกติ<br />

• Microencephaly สมองมีขนาดเล็กกวาปกติ พบไดบอยกวา macroencephaly มักสัมพันธกับการมีศีรษะขนาด<br />

เล็ก (microencephaly) พบไดในหลายภาวะเชน โครโมโซมผิดปกติ fetal alcohol syndrome และ การติดเชื้อ<br />

human immunodeficiency virus 1 (HIV-1) ในครรภ ซึ่งสาเหตุเหลานี้จะทําใหจํานวนเซลลประสาทที่จะไปอยู<br />

ที่ cerebral cortex ลดลง<br />

เอกสารคําสอน<strong>พยาธิวิทยาของระบบประสาท</strong> <strong>Pathology</strong> <strong>of</strong> <strong>the</strong> nervous system<br />

พญ.จันทิมา แทนบุญ ภาควิชาพยาธิวิทยาและนิติเวชศาสตร คณะแพทยศาสตร<strong>มหาวิทยาลัยนเรศวร</strong><br />

5


• Lissencephaly (Agyria) สมองมีผิวเรียบ เกิดจากความผิดปกติของ migration ของเซลลประสาทในระหวางที่มี<br />

การพัฒนา ทําใหลักษณะรอยหยักของสมอง (gyrus) และการเรียงตัวของเซลลประสาทใน neocortex ผิดปกติ<br />

ชั้นของcortex หนาแตไมเรียงตัวเปน 6 ชั้นตามปกติมักพบการเรียงตัวของเซลลประสาทเพียง 4 ชั้น<br />

• Pachygyria สมองมีลักษณะผิวเรียบบางสวน เนื่องจากปริมาณ gyri ลดลง และมีขนาดกวางขึ้น<br />

• Polymicrogyria สมองมีรอยหยักเพิ่มขึ้น อาจเปนเพียงบางสวนหรือทั้งสมอง<br />

• Holoprosencephaly สมองไมมีโครงสรางที่อยูตรงกลาง ในรายที่เปนไมมากอาจมี olfactory bulb และ<br />

olfactory bulbs (rhinencephalon) หายไป (Arrhinencephaly) ในรายที่เปนมากสมองมีลักษณะเปนกอนเดียว<br />

ไมมีการแบงซายขวามีลักษณะคลายเกือกมา (horse shoe-shaped cerebral hemispheres) มีการเชื่อมกัน<br />

ของ frontal lobes และ ventricles รวมกันเปนชองเดียว (common ventricle) อาจสัมพันธกับภาวะ midline<br />

defect เชน cyclopia<br />

• Heterotopia เปนความผิดปกติเนื่องจากการ migration ของ neuron และ glia ไปผิดที่มักพบใน white matter<br />

เห็นเปนกอน ผูปวยมักมีปญญาออนและชัก<br />

PERINATAL BRAIN INJURY ความผิดปกติที่เกิดจากการบาดเจ็บของสมองทารกในระยะแรกของการตั้งครรภ อาจ<br />

ตรวจไมพบลักษณะการตอบสนองของเซลลในเนื้อสมอง (reactive changes) ทําใหไมสามารถแยกไดจากความผิดปกติ<br />

จากสาเหตุอื่น (malformation) ความผิดปกติในชวงปริกําเนิด เปนสาเหตุสําคัญที่ทําใหเกิดความผิดปกติของพัฒนาการ<br />

ระบบประสาทในเด็ก<br />

• Cerebral palsy ใชเรียกภาวะความผิดปกติของ motor system ที่ไมมีการเปลี่ยนแปลงเปนมากขึ้น เกิดจากการ<br />

บาดเจ็บในระวางตั้งครรภหรือชวงปริกําเนิด ประกอบดวยอาการ spasticity, dystonia, ataxia/a<strong>the</strong>tosis และ<br />

paresis<br />

• การบาดเจ็บของสมองในชวงปริกําเนิดแบงออกเปน 2 ชนิดใหญๆคือ 1) เลือดออก 2) ขาดเลือด ในเด็กที่<br />

คลอดกอนกําหนดมักพบ intraparenchymal hemorrhage ที่ germinal matrix ซึ่งอยูบริเวณรอยตอของ<br />

thalamus และ caudate nucleus และเลือดที่ออกอาจทะลักเขาสู ventricular system ที่อยูใกลเคียงและเขาสู<br />

subarachnoid spaces และอาจทําใหเกิด hydrocephalus เปนลําดับตอไป ภาวะขาดเลือดมักเกิดในเด็ก<br />

คลอดกอนกําหนดในบริเวณ supratentorial periventricular white matter (periventricular leukomalacia)<br />

เมื่อเวลาผานไปจะเห็นเปน chalky yellow plaque ใน white matter ซึ่งเปนบริเวณที่เกิด necrosis และ<br />

mineralization ถาเปนมากอาจลุกลามไปถึง gray matter และทําใหเกิดเปนถุงน้ําในเนื้อสมอง เรียกภาวะนี้วา<br />

multicystic encephalopathy<br />

CERBROVASCULAR DISEASES หมายรวมถึงความผิดปกติที่เกิดขึ้นในสมองเนื่องจากหลอดเลือดที่ผิดปกติ โดยมี<br />

กลไกใหญๆ 3 ชนิดไดแก 1. thrombotic occlusion <strong>of</strong> <strong>the</strong> vessels 2. embolic occlusion <strong>of</strong> vessels 3. vascular<br />

rupture โดย thrombus และ emboli จะสงผลตอสมองเหมือนๆกันคือทําใหสมองขาดออกซิเจนและสารอาหารทําใหเกิด<br />

ischemic injury หรือ brain infarction ในที่สุด สวนการฉีกขาดของหลอดเลือดทําใหเกิดเลือดออก (hemorrhage) ใน<br />

บริเวณนั้นๆ<br />

อาการขึ้นกับตําแหนงของสมองที่เลี้ยงดวยหลอดเลือดที่เกิดความผิดปกติ<br />

เอกสารคําสอน<strong>พยาธิวิทยาของระบบประสาท</strong> <strong>Pathology</strong> <strong>of</strong> <strong>the</strong> nervous system<br />

พญ.จันทิมา แทนบุญ ภาควิชาพยาธิวิทยาและนิติเวชศาสตร คณะแพทยศาสตร<strong>มหาวิทยาลัยนเรศวร</strong><br />

6


HYPOXIA ISCHEMIA AND INFARCTION สมองอาจขาดออกซิเจนไดจากหลายกลไก เชนในกรณีที่มีออกซิเจนใน<br />

อากาศปริมาณนอย (functional hypoxia) การที่เลือดไมสามารถนําออกซิเจน ไปยังเนื้อเยื่อได การที่เนื้อเยื่อไมสามารถใช<br />

ออกซิเจนได หรือการขาดเลือด<br />

Global cerebral ischemia เปนการขาดเลือดที่พบเปนบริเวณกวางในเนื้อสมอง มีสาเหตุจาก การที่เลือดไปเลี้ยงสมอง<br />

ลดลง มักพบในรายที่มีความดันโลหิต systolic ต่ํากวา 50 mmHg เชนในผูปวยที่หัวใจหยุดเตน ช็อค หรือ มีความดัน<br />

โลหิตต่ํามากๆ ผลทางคลินิกขึ้นกับระดับความรุนแรงของสาเหตุ ในรายที่เปนไมมากอาจมีอาการสับสนเล็กนอยและหาย<br />

เปนปกติในเวลาตอมา แตความผิดปกติตอเนื้อเยื่อระบบประสาทอยางถาวรเกิดขึ้นในผูปวยบางราย โดยเซลลประสาทจะ<br />

มีสามารถตานทานการขาดเลือดไดนอยกวาเซลล glia บริเวณของเนื้อสมองที่มีความไวตอการขาดออกซิเจนแมเพียง<br />

ระยะสั้นๆไดแก pyramidal cell ที่ Sommer sector (CA1) ใน hippocampus, Purkinje cell ใน cerebellum, และ<br />

pyramidal neurons ใน neocortex หากภาวะขาดออกซิเจนมีความรุนแรงมากขึ้นจะมีการตายของเซลลประสาทเปน<br />

บริเวณกวางและทําใหเกิดความผิดปกติทางคลินิกอยางถาวร และอยูในภาวะไมรูสึกตัว (comatose-pesistent<br />

vegetative state) หรืออยูในภาวะสมองตาย หากผูปวยดังกลาวมีชีวิตอยูไดดวยเครื่องชวยหายใจสมองจะเริ่มเกิด<br />

autolysis เรียกวา respirator brain<br />

พยาธิสภาพที่ตรวจพบไดแก สมองบวม มี gyri ที่กวางขึ้นและ sulci แคบลง เห็นรอยตอของ gray และ white matter<br />

ไมชัดเทาปกติ การเปลี่ยนแปลงจาก irreversible ischemic injury (infarction) แบงได 3 ระยะ โดยการเปลี่ยนแปลง<br />

ระยะแรกเกิดขึ้นระหวาง 12 ถึง 24 ชั่วโมงแรก(Early changes)หลังจากขาดเลือด จะตรวจพบ red neuron หลังจาก 24<br />

ชั่วโมงพบมีเซลลอักเสบชนิด neurtrophil เขาไปที่บริเวณเนื้อเยื่อที่ถูกทําลาย ในระหวาง 24 ชั่วโมง ถึง 2 สัปดาห<br />

(Subacute changes) ตรวจพบเนื้อตายและมี macrophages เขามาในบริเวณดังกลาว หลอดเลือดเพิ่มจํานวนมาขึ้น<br />

และ reactive gliosis หลังจาก 2 สัปดาห (Repair)จะเริ่มมีการซอมแซมโดยการกําจัดเนื้อตายออกไป โครงสรางเนื้อ<br />

สมองปกติหายไป และมี gliosis เกิดขึ้น<br />

Border zone (“watershed”) infarcts เปนการตายของเนื้อสมองหรือไขสันหลัง มีลักษณะเปนรูปลิ่มในบริเวณ<br />

ที่อยูหางไกลจากหลอดเลือด (distal fields <strong>of</strong> arterial perfusion )ในเนื้อสมองพบวาบริเวณระหวาง anterior และ<br />

middle cerebral artery เปนตําแหนงที่เสี่ยงที่สุด<br />

Focal cerebral ischemia<br />

การอุดกั้นของหลอดเลือดทําใหเกิด ischemia และ พัฒนาไปเปน infarction ในที่สุด โดยปจจัยที่มีผลตอผลลัพธของการ<br />

ขาดเลือดไดแก ขนาด ตําแหนง และรูปรางของบริเวณที่เกิดการขาดเลือด และ หลอดเลือดอื่นที่มาเลี้ยงบริเวณนั้นๆ<br />

(collateral flow) สาเหตุที่ทําใหเกิดการอุดกั้นของหลอดเลือดไดแก การเกิดลิ่มเลือดในบริเวณนั้นๆ (in situ thrombus)<br />

และจาก emboli ที่ลอยมาจากตําแหนงอื่นซึ่งพบไดบอยกวา โดยแหลงสําคัญของ emboli ไดแกลิ่มเลือดที ่เกิดในหัวใจ<br />

(cardiac mural thrombi) ซึ่งพบไดในรายที่มีกลามเนื้อหัวใจขาดเลือด มีความผิดปกติของลิ้นหัวใจ หรือมีจะงหวะการ<br />

เตนของหัวใจผิดปกติ (โดยเฉพาะ arterial fibrillation) thromboembloism ในสมองยังเกิดในรายที่มีภาวะหลอดเลือด<br />

แข็ง (a<strong>the</strong>romatous plaque)ที่ carotid arteries นอกจากนี้ยังพบแหลงของ emboli จาก paradoxical emboli (ในรายที่<br />

มีความผิดปกติของการกั้นหองหัวใจ), ในรายที่มีการผาตัดหัวใจ และ emboli จากสารหรือวัตถุอื่นที่ไมใชลิ่มเลือด เชน<br />

เนื้องอก (tumor emboli) ไขมัน (fat emboli) และฟองอากาศ (air emboli)<br />

Thrombotic occlusion สวนใหญเกิดจาก ar<strong>the</strong>rosclerosis โดยตําแหนงที่พบบอยไดแก carotid bifurcation,, middle<br />

cerebral artery และ basilar artery<br />

เอกสารคําสอน<strong>พยาธิวิทยาของระบบประสาท</strong> <strong>Pathology</strong> <strong>of</strong> <strong>the</strong> nervous system<br />

พญ.จันทิมา แทนบุญ ภาควิชาพยาธิวิทยาและนิติเวชศาสตร คณะแพทยศาสตร<strong>มหาวิทยาลัยนเรศวร</strong><br />

7


Infarct แบงออกเปน non hemorrhagic infarct และ hemorrhagic infarct โดย hemorrhagic infarct สามารถรักษาได<br />

โดย thrombolytic <strong>the</strong>rapy หากตรวจพบในระยะแรก แตการให thrombolytic <strong>the</strong>rapy ถือเปนขอหามถามีเลือดออก<br />

(hemorrhage) การที่มีเลือดออกในรอยโรคที่เกิดจาก infarction (hemorrhagic infarction) เปนผลจาก reperfusion เขา<br />

ไปยัง ischemic tissue ซึ่งอาจเขาไปตามหลอดเลือด collateral หรือหลังจากการที่สิ่งอุดกั้นหลอดเลือดสลายไป<br />

(dissolution <strong>of</strong> intravascular occlusions)<br />

ลักษณะทางพยาธิสภาพที่เห็นจากตาเปลาของ nonhemorrhagic infarct จะเปลี่ยนแปลงไปตามระยะเวลา โดยในชวง 6<br />

ชั่วโมงแรก หลังจากที่เกิด irreversible injury จะไมสามารถตรวจพบความผิดปกติ หลังจาก 48 ชั่วโมงรอยโรคจะมีสีจาง<br />

นุม และบวมและรอยตอของเนื้อสมองสวน gray และ white matter แยกไดไมชัดเจน ในระหวาง 2 ถึง 10 วัน รอยโรคจะ<br />

เริ่มเปลี่ยนเปนวุน เละๆ และจะแยกระหวางสวนเนื้อเยื่อที่ปกติและเนื้อเยื่อที่ขาดเลือดไดชัดเจนยิ่งขึ้น ในระหวาง 10 วัน<br />

ถึง 3 สัปดาห เนื้อเยื่อจะสลายไป (liquefy) เหลือเปนชองวาง หรือถุงน้ําขอบสีเทาเขม<br />

ลักษณะทางพยาธิกายวิภาคจากกลองจุลทรรศน ตรวจพบหลัง 12 ชั่วโมงแรก โดยจะพบ red neuron (eosinophilic<br />

change) และ cytotoxic และ vasogenic edema การติดสีของ white และ gray matter เปลี่ยนแปลงไป endo<strong>the</strong>lial<br />

cell และ glial cell (โดยเฉพาะ astrocyte) จะบวมขึ้น และ myelinated fiber จะเริ่มสลาย เมื่อเวลาผานไป 48 ชั่วโมง<br />

เซลลอักเสบชนิด neutrophil จะเขามาในรอยโรค ตามดวย mononuclear phagocytic cell เมื่อเวลาผานไป 2 ถึง 3<br />

สัปดาห เซลล astrocyte ที่บริเวณขอบของรอยโรคจะมีขนาดใหญขึ้น และแบงตัว หลังจากเวลาผานไปหลายเดือน เซลล<br />

astrocyte เหลานี้จะมีขนาดเล็กลง ที่ผนังของรอยโรค astrocyte process จะเรียงตัวสานกันเปนรางแหรวมกับหลอด<br />

เลือดที่สรางใหมและ เนื้อเยื่อรอบๆหลอดเลือด<br />

ลักษณะทางพยาธิกายวิภาคของ hemorrhagic infarction จากกลองจุลทรรศน เหมือนกับที่พบใน ischemic infarction<br />

แตพบมีเลือดออกรวมดวย<br />

INTRACRANIAL HEMORRHAGE ภาวะเลือดออกในกะโหลกศีรษะสามารถเกิดไดในหลายตําแหนง ซึ่งอาจเปนผล<br />

จากภาวะความดันโลหิตสูงหรือ จากการบาดเจ็บของหลอดเลือด หรือจากความผิดปกติของหลอดเลือดโยตรงเชน<br />

arteriovenous malformation, cavernous malformationหรือเนื้องอกในสมอง<br />

Primary brain parenchymal hemorrhage ภาวะเลือดออกในเนื้อสมองโดยไมไดมีสาเหตุจากการบาดเจ็บ มักพบในวัย<br />

กลางคนหรือผูสูงอายุ สวนใหญมักเปนผลจากการฉีกขาดของหลอดเลือดเล็กๆในเนื้อสมอง สาเหตุหลักคือภาวะความดัน<br />

โลหิตสูง ตําแหนงที่พบเลือดออกไดบอยไดแก basal ganglia, thalamus, pons และ cerebellum<br />

ลักษณะพยาธิสภาพที่ตรวจพบไดแก เลือดออกกดเบียดเนื้อสมองขางเคียง ถาเปนบริเวณที่มีเลือดออกอยูเกาจะเห็นเปน<br />

ชองวางในเนื้อสมองและมีขอบสีน้ําตาล จากกลองจุลทรรศนจะพบกอนเลือดลอมรอบดวยเนื้อสมองที่มีลักษณะบวมและ<br />

พบ anoxic neuron และ glia cell และ หลังจากที่การบวมของเนื้อสมองลดลงจะพบมี hemosiderin pigment –laden<br />

macrophages และ lipid-laden macrophages และจะเริ่มมองเห็น reactive astrocyte proliferation ชัดขึ้นที่บรเวณ<br />

ขอบของรอยโรค<br />

• Cerebral amyloid angiopathy (CAA) เปนรอยโรคที่เกิดจากการมี amyloidogenic peptides ชนิดเดียวกับที่<br />

พบใน Alzheimer disease ไปสะสมที่ผนังของหลอดเลือดขนาดกลางและขนาดเล็กในเยื่อหุมสมองและในเนื้อ<br />

สมองชั้นบน การสะสมของสารดังกลาวทําใหผนังหลอดเลือดออนแอลงและเสี่ยงตอการเกิดเลือดออกมากขึ้น<br />

เนื่องจาก CAA เกิดกับหลอดเลือดในชั้นเยื่อหุมสมองและเนื้อสมองสวนบน (leptomeningeal vessels และ<br />

เอกสารคําสอน<strong>พยาธิวิทยาของระบบประสาท</strong> <strong>Pathology</strong> <strong>of</strong> <strong>the</strong> nervous system<br />

พญ.จันทิมา แทนบุญ ภาควิชาพยาธิวิทยาและนิติเวชศาสตร คณะแพทยศาสตร<strong>มหาวิทยาลัยนเรศวร</strong><br />

8


cortical vessels) ตําแหนงของรอยโรคจึงตางจากภาวะเลือดออกที่เกิดในผูปวยความดันโลหิตสูง ภาวะ<br />

เลือดออกใน CAA มักถูกเรียกวา lobar hemorrhage เนื่องจากตําแหนงที่เลือดออกเปนที่ cerebral cortex<br />

Subarachnoid hemorrhage and saccular aneurysms สาเหตุของ subarachnoid hemorrhage ที่สําคัญคือ การแตก<br />

ของ saccular (berry) aneurysm สาเหตุอื่นๆไดแก vascular malformation, การบาดเจ็บ, เลือดที่ออกในเนื้อสมอง<br />

ทะลักเขามาใน ventricular system, ความผิดปกติของระบบไหลเวียนโลหิต, และ เนื้องอก<br />

saccular aneurysm เปรียบไดกับระเบิดที่ไมสามารถคาดเดาเวลาระเบิดได โดย 1/3 ของจํานวนผูปวยมีการ<br />

แตกของ aneurysm ในระหวางที่มีการเพิ่มขึ้นของความดันในกะโหลกศีรษะเชน การเบงถายอุจจาระหรือการถึงจุดสุด<br />

ยอด ผูปวยจะมีอาการปวดศีรษะเฉียบพลัน (ปวดมากแบบที่ไมเคยเปนมากอน) และหมดสติอยางรวดเร็ว 25-50% ของ<br />

ผูปวยจะเสียชีวิตในครั้งแรก 90% ของ saccular aneurysm พบที่ anterior circulation (anterior cerebral artery และ<br />

anterior communicating artery ใน circle <strong>of</strong> Willis)ใกลกับ major arterial branch point โดย 20-30% ของผูปวยพบมี<br />

aneurysm หลายตําแหนง แมบางครั้ง saccular aneurysm จะถูกเรียกวา congenital aneurysm แตก็ไมไดพบตั้งแต<br />

แรกเกิดทุกราย ในทางตรงขามกอน aneurysm จะคอยเติบโตหลังจากเวลาผานไปเนื่องจากความผิดปกติของชั้น media<br />

พบวาผูปวย autosomal dominant polycystic kidney disease จะมีอุบัติการณ ของ aneurysm มากขึ้น<br />

Aneurysm ที่มีขนาดใหญกวา 10 mm จะมีโอกาสแตกมากถึง 50% ในแตละป ในชวงแรกที่มี subarachnoid<br />

hemorrhage เนื้อสมองจะ มีโอกาสเสี่ยงจาก ischemic injury เนื่องจากปฏิกิริยาจาก vasospasm ของหลอดเลือดอื่นๆ<br />

บริเวณใกลเคียง .ในชวง healing phase ของ subarachnoid hemorrhage จะพบมี meningeal fibrosis และ scar ใน<br />

บางครั้งอาจทําใหเกิดการอุดกั้นทางเดินของ CSF<br />

ลักษณะทางพยาธิวิทยากายวิภาคของ saccular aneurysm เปนถุงบางๆยื่นออกจากผนังหลอดเลือดแดง โดย<br />

ขาด muscular wall และ intimal elastic lamina ในบริเวณผนังของ aneurysm แตยังมี adventitia ตอเนื่องกับผนังหลอด<br />

เลือดปกติ<br />

นอกเหนือจาก saccular aneurysm ซึ่งเปน intracranial aneurysm ที่พบไดบอยที่สุดแลว ชนิดของ aneurysm ที่พบใน<br />

ตําแหนงอื่นไดแก (fusiform aneurysm โดยเฉพาะที่ basilar artery) , mycotic aneurysm, traumatic aneurysm และ<br />

dissecting aneurysm<br />

Vascular malformation ในสมองแบง vascular malformation ออกเปน 4 ชนิดไดแก 1. arteriovenous malformation<br />

(AVM), 2. cavernous angioma, 3. capillary telangiectasia และ 4. venous angioma<br />

• Arteriovascular malformation เปน ชนิดที่พบบอยที่สุด พบในเพศชายไดมากกวาเพศหญิงถึง 2 เทา โดยผูปวย<br />

มักแสดงอาการในชวงอายุ 10 ถึง 30 ป ดวยอาการชัก, intracerebral hemorrhage หรือ subarachnoid<br />

hemorrhage แต capillary telangiectasia และ venous angioma จะไมแสดงอาการและมักตรวจพบโดย<br />

บังเอิญ หลอดเลือดที่เปน AVM อาจอยูใน subarachnoid space หรือในเนื้อสมองก็ได<br />

ลักษณะทางพยาธิสภาพที่ตรวจพบไดแกกลุมของหลอดเลือดที่ขดไปมาคลายหนอน จากกลองจุลทรรศนจะพบ<br />

หลอดเลือดขนาดตางๆใน เนื้อสมองที่มี gliosis อาจพบหลักฐานวามีรองรอยเลือดออกมากอนหนานี้เชน<br />

hemosiderin-laden macrophages หลอดเลือดบางอันพิสูจนไดวาเปน artery เนื่องจากตรวจพบ duplicated<br />

and fragmented internal elastic lamina ในขณะที่หลอดเลือดอื่นมีผนังหนา หรือชั้น tunica media ถูกแทนที่<br />

ดวย hyalinized connective tissue<br />

เอกสารคําสอน<strong>พยาธิวิทยาของระบบประสาท</strong> <strong>Pathology</strong> <strong>of</strong> <strong>the</strong> nervous system<br />

พญ.จันทิมา แทนบุญ ภาควิชาพยาธิวิทยาและนิติเวชศาสตร คณะแพทยศาสตร<strong>มหาวิทยาลัยนเรศวร</strong><br />

9


• Cavernous hemangioma ประกอบไปดวยกลุมของหลอดเลือดผนังบางที่รวมกลุมกันอยูโดยไมมีสวนของเนื้อ<br />

ของสมองกั้นระหวางหลอดเลือด (ลักษณะนี้ใชแยกจาก capillary telangiectasia) มักพบใน cerebellum,<br />

pons, subcortical region มักพบวาเนื้อสมองที่อยูโดยรอบมีรองรอยเลือดออก infarction และ calcification<br />

• Capillary telangiectasia เปนกลุมของหลอดเลือดผนังบางขนาดเล็กที่มีเนื้อสมองกั้นแยกระหวางหลอดเลือด<br />

มักพบที่บริเวณ pons<br />

• Venous angioma (varices) ประกอบไปดวยกลุมของหลอดเลือด vein ที่ขยายขนาดขึ้น (ectatic)<br />

O<strong>the</strong>r vascular diseases<br />

• Hypertensive cerebrovascular disease ความผิดปกติของหลอดเลือดในภาวะความดันโลหิตสูงมักพบที่<br />

deep penetrating artery และ arteriole ที่เลี้ยง basal ganglia, hemispheric white matter และ brain stem<br />

ความดันโลหิตที่สูงขึ้นทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงในหลอดเลือดหลายอยางไดแก hyaline arteriolar sclerosis<br />

ในหลอดเลือด arterioles ทําใหผนังหลอดเลือดออนแอและเสี่ยงตอการฉีกขาดมากกวาหลอดเลือดปกติ ในราย<br />

ที่มีความดันโลหิตสูงเปนเวลานานหลอดเลือดเล็กๆจะมีการโปงพองออกเปน aneurysm ขนาดไมเกิน 300 μm<br />

เรียกวา Chacot-Bouchard microaneurysm ซึ่งจะมีโอกาสแตกไดเชนเดียวกับ aneurysm ชนิดอื่น ผลของ<br />

arteriolar sclerosis ทําใหเกิด lacunes หรือ lacunar infarcts เปนชองวางที่เกิดจากเนื้อสมองตายจากการ<br />

ขาดเลือดขนาดไมเกิน 15 mm มักพบใน deep gray matter (basal ganglia และ thalamus), deep white<br />

matter, internal capsule และ pons การที่ lacunar infarct จะมีความสําคัญทางคลินิกหรือไมนั้นขึ้นกับ<br />

ตําแหนงที่เกิด infarction ภาวะความดันโลหิตสูงยังทําใหเกิดการฉีกขาดของ small penetrating vessels และ<br />

ทําใหเกิดเลือดออกเปนบริเวณเล็กๆ เมื่อเวลาผานไปบริเวณที่เกิดเลือดออกนี้กลายเปนชองวางเปนแนวสั้นๆ<br />

(slit hemorrhage) ลอมรอบดวยสีน้ําตาลซึ่งเกิดจากการสะสมของ hemosiderin-laden macrophages<br />

Acute hypertensive encephalopathy เปนกลุมอาการที่ประกอบดวย การสูญเสียการทํางานของสมอง<br />

ตามปกติในหลายๆดาน ปวดศีรษะ สับสน อาเจียนและ ชัก บางครั้งจะนําไปสูภาวะ coma<br />

• Vasculitis ปฏิกิริยาการอักเสบที่เกิดขึ้นในหลอดเลือดอาจทําใหหลอดเลือดตีบและเกิด cerebral infarcts เชน<br />

การอักเสบที่เกิดจากการติดเชื้อ syphilis, tuberculosis, toxoplasmosis, aspergillosis และ CMV vasculitis .<br />

ในบางครั้ง systemic form ของ vasculitis เชน polyarteritis nodosa อาจทําใหเกิดการอักเสบของหลอดเลือด<br />

ในสมองและนําไปสู การเกิด infarcts หลายตําแหนงในเนื้อสมอง การอักเสบของหลอดเลือดที่มีเฉพาะในหลอด<br />

เลือดสมอง (primary angiitis <strong>of</strong> CNS) เปนการอักเสบที่เกิดกับ เสนเลือดขนาดกลางและเล็ก ในเนื้อสมองและ<br />

subarachnoid ลักษณะพยาธิวิทยาที่ตรวจพบไดแก การอักเสบแบบเรื้อรัง (chronic inflammation),<br />

multinucleated giant cell (อาจพบมี granuloma รวมดวยหรือไมก็ได) และมีการทําลายของผนังหลอดเลือด<br />

ผูปวยมักมีอาการทางสมองเชน cognitive function ลดลง อาการจะดีขึ้นหลังจากไดรับการรักษาโดย steroids<br />

และ immunosuppressive treatments<br />

เอกสารคําสอน<strong>พยาธิวิทยาของระบบประสาท</strong> <strong>Pathology</strong> <strong>of</strong> <strong>the</strong> nervous system<br />

พญ.จันทิมา แทนบุญ ภาควิชาพยาธิวิทยาและนิติเวชศาสตร คณะแพทยศาสตร<strong>มหาวิทยาลัยนเรศวร</strong><br />

10


Central Nervous System Trauma การบาดเจ็บที่เกิดกับสมองและไขสันหลังเปนสาเหตุที่ทําใหเกิดความพิการหรือ<br />

เสียชีวิต ความรุนแรงของการบาดเจ็บขึ้นกับชนิดและรูปรางของวัตถุที่เปนสาเหตุ แรงที่มากระทบ และสภาพการ<br />

เคลื่อนไหว ในขณะนั้น การบาดเจ็บอาจเกิดจาก penetrating trauma (เชนถูกยิง) หรือ จาก blunt force trauma (มี<br />

ของแข็งมากระทบเชนถูกตีดวยไมหนาสาม) และอาจทําใหเกิด open injury (กะโหลกศีรษะมีแผลเปด) หรือ close injury<br />

ก็ได<br />

TRAUMATIC PARENCHYMAL INJURIES<br />

Cerebral contusion เนื่องจากเนื้อสมองลอยอยูใน CSF การบาดเจ็บที่เกิดจากการหยุดอยางรวดเร็วของสมองที่กําลัง<br />

เคลื่อนที่ หรือการถูกทําใหเคลื่อนที่อยางรวดเร็ว (rapid deceleration or acceleration) ทําใหมี rapid tissue<br />

displacement, disruption <strong>of</strong> vascular channels, subsequent hemorrhage, tissue injury และ edema การบาดเจ็บ<br />

อาจเกิดที่ตําแหนงที่วัตถุมากระทบโดยตรง (Coup lesion) หรือที่สมองดานตรงขาม (Contrecoup lesion) ทั้ง coup<br />

และ contrcoup lesion เปนการบาดเจ็บที่ทําใหเกิดการช้ํา (contusion) ของเนื้อสมองซึ่งเปนการบาดเจ็บแบบถาวร<br />

ความรุนแรงของการบาดเจ็บขึ้นกับความเร็วที่ทําใหเกอดการเคลื่อนที่หรือระยะเวลาที่ทําใหหยุดเคลื่อนที่วากะทันหันมาก<br />

นอยเพียงใด มีลักษณะพยาธิสภาพที่มองเห็นดวยตาเปลาและจากกลองจุลทรรศนเหมือนกัน บริเวณสันของรอยหยัก<br />

สมอง (crest <strong>of</strong> gyri) เปนสวนที่จะไดรับผลกระทบมากกวา sulci ตําแหนงที่พบ contusion ไดบอยมักเปนตําแหนงที่งาย<br />

ตอการถูกทํารายและเปนบริเวณที่ผนังกะโหลกศีรษะไมเรียบ ไดแก frontal lobes along orbital gyri และ temporal<br />

lobes<br />

ลักษณะที่ตรวจพบจากตาเปลาจะพบวาหนาตัดของบริเวณดังกลาวจะมีลักษณะเปนรูปลิ่มที่มีฐานอยูบน cortical<br />

surface ลักษณะที่ตรวจพบจากกลองจุลทรรศนที่เร็วที่สุดไดแก สมองบวมและมีเลือดออก เมื่อเวลาผานไปหลังจากนั้น 2-<br />

3 ชั่วโมงเลือดที่ออกจะ เขาสู white matter และ subarachnoid space และมีลักษณะการตอบสนองที่ตรวจพบ<br />

เหมือนกับใน infarction แตไมพบมี gliotic tissue บริเวณผิวของ cortex ในรายที่มีการบาดเจ็บอยูเกาลักษณะที่มองเห็น<br />

ดวยตาเปลาไดแก เนื้อสมองที่มีการบาดเจ็บจะเปนรอยบุม หดรั้ง และเห็นเปนแผนสีน้ําตาลเหลือง (จากการสะสมของ<br />

hemosiderin-laden macrophages)ที่บริเวณ creast <strong>of</strong> gyri ถาเคยมีเลือดออกมากเนื้อสมองสวนนั้นอาจกลายเปน<br />

ชองวางเหมือนกับที่ตรวจพบใน old infarcts<br />

Diffuse axonal injury เปนการบาดเจ็บที่ white matter เปนบริเวณกวาง เนื่องจาก parasagittal cortex จะถูกยึดอยูกับ<br />

ที่ดวย arachnoid villi ในขณะที่สมองดานขางสามารถเคลื่อนไหวไดอยางอิสระเมื่อเกิด angulation movement เชนใน<br />

อุบัติเหตุรถยนต) แมจะไมมีการกระทบดวยของแข็งบริเวณศีรษะ จะเกิด shearing force ทําใหเกิดอันตรายตอ axon ใน<br />

white matter เชื่อวารอยละ 50 ของผูบาดเจ็บที่เขาสูภาวะ coma ในเกือบจะทันทีหลังอุบัติเหตุโดยไมพบบาดแผล<br />

ภายนอกเปนผลจาก axonal injury ลักษณะที่ตรวจโดยภาพถายรังสีอาจพบแคสมองบวมและมีจุดเลือดออกเพียง<br />

เล็กนอย จากกลองจุลทรรศนจะตรวจพบ axonal spheroids และจุดเลือดออกเล็กๆใน parasagittal sinus , angle <strong>of</strong><br />

lateral ventriclesและ brainstem<br />

Concussion เปนการหมดสติเพียงชั่วคราวหลังจากไดรับการบาดเจ็บที่ศีรษะโดยตรวจไมพบ contusion ลักษณะอาการ<br />

ที่ตรวจพบไดแก หมดสติ หยุดหายใจ และไมมี reflex และอาการทางระบบประสาทหายเปนปกติในเวลาตอมา อาจพบวา<br />

ไมมีความทรงจําในระหวางที่เกิดเหตุ พยาธิกําเนิดของ concussion ยังไมเปนที่ทราบแนชัด<br />

Penetrating woundถามีการทะลุหรือฉีกขาดของเนื้อสมองเชนจากกระสุน มีด หรือจากการบาดของชิ้นกะโหลกที่แตกจะ<br />

ทําใหเกิด laceration คือมีการฉีกขาดของเนื้อสมอง, vascular disruption, hemorrhage และการบาดเจ็บตามแนววิถี<br />

เอกสารคําสอน<strong>พยาธิวิทยาของระบบประสาท</strong> <strong>Pathology</strong> <strong>of</strong> <strong>the</strong> nervous system<br />

พญ.จันทิมา แทนบุญ ภาควิชาพยาธิวิทยาและนิติเวชศาสตร คณะแพทยศาสตร<strong>มหาวิทยาลัยนเรศวร</strong><br />

11


กระสุนหรือตามรอยที่ถูกกะโหลกบาด แมไมโดนตําแหนงที่สําคัญทันทีปริมาณเลือดที่เลือดออกในสมองจะมีผลตอโอกาส<br />

การเสียชีวิต เนื่องจากสมองอยูในกะโหลกศีรษะเหมือนกับภาชนะปดและมีพื้นที่จํากัด เลือดที่ออกจึงเหมือนกับ spaceoccupying<br />

lesion อาจทําใหเกิด herniation ตามมา ถาถูกยิงดวยกระสุนความเร็วสูงสมองตามแนวกระสุนจะฉีกขาด<br />

และความเร็วและแรงของกระสุนที่ผานจะทําใหเนื้อสมองตามแนววิถีกระสุนขยายออกทันที (blast effect) ทําใหความดัน<br />

ในกะโหลกศีรษะเพิ่มขึ้นฉับพลันและผูบาดเจ็บจะเสียชีวิตทันทีเนื่องจาก herniation แตในรายที่ถูกยิงดวยกระสุน<br />

ความเร็วต่ําจะเสียชีวิตชากวา<br />

TRAUMATIC VASCULAR INJURY ตําแหนงของเลือดที่ออกขึ้นกับหลอดเลือดที่ไดรับการบาดเจ็บ และในบางครั้ง<br />

อาจพบมีเลือดออกหลายตําแหนงพรอมกันได<br />

Epidural hematoma dura เปนเยื่อหุมสมองชั้นนอกสุด โดยปกติจะติดแนนอยูกับ periosteum ของกะโหลก เสนเลือดที่<br />

สําคัญบริเวณ dura ที่มักไดรับการบาดเจ็บเมื่อมีการแตกของกระโหลกศีรษะคือ middle meningeal artery ในเด็กซึ่ง<br />

กะโหลกศีรษะยังมีความยืดหยุน การผิดรูปของกะโหลกศีรษะเพียงชั่วครูอาจทําใหเกิดการฉีกขาดของหลอดเลือดนี้โดยไม<br />

มีกะโหลกศีรษะแตกก็ได เลือดที่ออกจะเซาะแยกเยื่อหุมสมองชั้น dura ออกจาก periosteum เห็นเปนรูปเลนสจาก CT<br />

หรือ MRI ในชวงแรกผูบาดเจ็บมักไมมีอาการผิดปกติ (lucid interval) เนื่องจากชั้นระหวาง dura กับ periosteum แยก<br />

ออกจากกันไดยาก และ ผลของ Cushiing reflex ซึ่งทําใหหัวใจเตนชาลงเพื่อใหมี ventricular filling นานขึ้น และหัวใจ<br />

บีบตัวแรงขึ้น ทําให systolic blood pressure เพิ่มขึ้น เลือดและออกซิเจนจะไปเลี้ยงสมองไดมากขึ้น จนกระทั่งเวลาผาน<br />

ไป 4-8 ชั่วโมงหรือปริมาณเลือดที่ออกอยูที่ 30-50 ml เมื่อกลไกดังกลาวไมสามารถตานทานความรุนแรงของเลือดที่ออก<br />

ตอไปไดจึงเริ่มแสดงอาการ หรือในบางราย epidural hematoma อาจขยายตัวอยางรวดเร็วและตองไดรับการรักษาอยาง<br />

ทันทวงที ผูปวยมักเสียชีวิตภายใน 24 – 48 ชั่วโมง<br />

Subdural hematoma สมองแมจะลอยอยูใน CSF แตยังถูกยึดอยูอยางหลวมๆโดยเสนเลือดและเสนประสาทสมอง<br />

bridging vein เปนหลอดเลือดที่สงเลือดผาน cerebral hemisphere ผาน subarachnoid และ subdural space ไปยัง<br />

dural sinus เมื่อมีการฉีกขาดของ bridging vein จะทําใหเกิดเลือดออกใน subdural space ในผูสูงอายุซึ่งมี brain<br />

atrophy เสนเลือดเหลานี้จะถูกทําใหตึงมากขึ้นเนื่งอจากเนื้อสมองที่หดเล็กลงทําใหเกิดการฉีกขาดไดงาย ในเด็กเล็กซึ่ง<br />

เสนเลือดยังเปราะบางก็สามารถเกิดเลือดออกใน subarachnoid space ไดงายเชนเดียวกัน แมวา subdural space จะ<br />

สามารถขยายไดงายกวา epidural space แตเนื่องจากเลือดที่ออกเปนหลอดเลือดดําจึงมักหยุดไหลเองเมื่อมีปริมาณ<br />

ประมาณ 25-50 ml จาก local temponade effect จะตรวจพบ subdural hematoma ภายใน 48 ชั่วโมงหลังจากการ<br />

บาดเจ็บโดยตําแหนงที่เลือดออกมักเปนที่ดานขางของ cerebral hemisphere และ พบวาเกิดขึ้นทั้งสองขางในคราวเดียว<br />

(bilateral) ไดรอยละ 10 อาการที่ตรวจพบทางระบบประสาทมักจะคอยๆเปนคอยๆไป มีบางรายที่อาการดําเนินไปอยาง<br />

รวดเร็วแตกรณีดังกลาวพบไดนอย จากการตรวจทางพยาธิวิทยาในระยะเริ่มแรกจะพบมีเลือดสดอยูบนผิวของสมองโดย<br />

ไมซึมลึกลงไปในบริเวณ sulci สมองสวนที่ถูกกดดวยกอน hematoma จะ แบนลง และ subarachnoid space จะ ใส เมื่อ<br />

เลือดหยุดไหล subdural hematoma จะเริ่มมีการ organization โดยที่ระยะเวลา 1 สัปดาหจะมีการสลายลิ่มเลือด (lysis<br />

<strong>of</strong> clot) ที่ 2 สัปดาหจะมี fibroblast เขาไปอยูในกอน hematoma และเริ่มมี hyalinized connective tissue เมื่อเวลาผาน<br />

ไป 1-3 เดือน โดยกอน organized hematoma จะเกาะติดกับ ดานในของ dura แตไมเกาะกับ arachnoid เมื่อระยะเวลา<br />

ผานไปรอยโรคอาจหดเล็กลง และเหลือเพียงเนื่อเยื่อบางๆคลุมบริเวณดังกลาวไวเรียกวา subdural membrane มักมี<br />

เลือดออกใน subdural hematoma เดิมซ้ําอีกเนื่องจากหลอดเลือดที่สรางใน granulation tissue ยังไมแข็งแรง เรียกวา<br />

chronic subdural hematoma<br />

เอกสารคําสอน<strong>พยาธิวิทยาของระบบประสาท</strong> <strong>Pathology</strong> <strong>of</strong> <strong>the</strong> nervous system<br />

พญ.จันทิมา แทนบุญ ภาควิชาพยาธิวิทยาและนิติเวชศาสตร คณะแพทยศาสตร<strong>มหาวิทยาลัยนเรศวร</strong><br />

12


SPINAL CORD INJURIES นอกเหนือจากการบาดเจ็บโดยตรง(จากของแข็งหรือ ถูกยิง/แทง)แลว ไขสันหลังยังไดรับ<br />

บาดเจ็บจากการเคลื่อนไหว อาจเกิดการบาดเจ็บในสวนที่อยูเหนือหรือใตตอบริเวณที่ไดรับการบาดเจ็บโดยตรงรวมดวย<br />

Hyperextension injury ในกรณีที่หนาผากถูกทําใหแหงนไปดานหลังในระหวางที่ไดรับอุบัติเหตุ จะทําใหเกิดการฉีกขาด<br />

ของ anterior spinal ligament ทําใหไขสันหลังงอพับไปดานหลัง และไดรับการบาดเจ็บที่ posterior part ของ spinal<br />

cord<br />

Hyperflexion injury เมื่อมีการงอพับของคอไปดานหนาในระหวางที่มีอุบัติเหตุ จะทําใหเกิดการแตกของ anterior lip ของ<br />

vertebral body และเกิดการเลื่อนของ กระดูกสันหลังไปชนกับ anterior part ของ spinal cord<br />

ผลของการบาดเจ็บอาจทําใหเกิดการช้ําเพียงเล็กนอยซึ่งเปนเพียงชั่วคราว (concussion), การช้ําที่มีการเปลี่ยนแปลงทาง<br />

พยาธิสภาพอยางถาวร (contusion) ซึ่งอาจทําใหเกิดเลือดออก( hematomyelia) และ อาการบวมหรือเนื้อตาย<br />

(myelomalacia) ตามมา, และ การฉีกขาด (laceration) หรือการขาดของไขสันหลังออกจากกัน (transaction)<br />

เอกสารคําสอน<strong>พยาธิวิทยาของระบบประสาท</strong> <strong>Pathology</strong> <strong>of</strong> <strong>the</strong> nervous system<br />

พญ.จันทิมา แทนบุญ ภาควิชาพยาธิวิทยาและนิติเวชศาสตร คณะแพทยศาสตร<strong>มหาวิทยาลัยนเรศวร</strong><br />

13

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!