17.01.2015 Views

พยาธิวิทยาของระบบประสาท (Pathology of the ... - มหาวิทยาลัยนเรศวร

พยาธิวิทยาของระบบประสาท (Pathology of the ... - มหาวิทยาลัยนเรศวร

พยาธิวิทยาของระบบประสาท (Pathology of the ... - มหาวิทยาลัยนเรศวร

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

Infarct แบงออกเปน non hemorrhagic infarct และ hemorrhagic infarct โดย hemorrhagic infarct สามารถรักษาได<br />

โดย thrombolytic <strong>the</strong>rapy หากตรวจพบในระยะแรก แตการให thrombolytic <strong>the</strong>rapy ถือเปนขอหามถามีเลือดออก<br />

(hemorrhage) การที่มีเลือดออกในรอยโรคที่เกิดจาก infarction (hemorrhagic infarction) เปนผลจาก reperfusion เขา<br />

ไปยัง ischemic tissue ซึ่งอาจเขาไปตามหลอดเลือด collateral หรือหลังจากการที่สิ่งอุดกั้นหลอดเลือดสลายไป<br />

(dissolution <strong>of</strong> intravascular occlusions)<br />

ลักษณะทางพยาธิสภาพที่เห็นจากตาเปลาของ nonhemorrhagic infarct จะเปลี่ยนแปลงไปตามระยะเวลา โดยในชวง 6<br />

ชั่วโมงแรก หลังจากที่เกิด irreversible injury จะไมสามารถตรวจพบความผิดปกติ หลังจาก 48 ชั่วโมงรอยโรคจะมีสีจาง<br />

นุม และบวมและรอยตอของเนื้อสมองสวน gray และ white matter แยกไดไมชัดเจน ในระหวาง 2 ถึง 10 วัน รอยโรคจะ<br />

เริ่มเปลี่ยนเปนวุน เละๆ และจะแยกระหวางสวนเนื้อเยื่อที่ปกติและเนื้อเยื่อที่ขาดเลือดไดชัดเจนยิ่งขึ้น ในระหวาง 10 วัน<br />

ถึง 3 สัปดาห เนื้อเยื่อจะสลายไป (liquefy) เหลือเปนชองวาง หรือถุงน้ําขอบสีเทาเขม<br />

ลักษณะทางพยาธิกายวิภาคจากกลองจุลทรรศน ตรวจพบหลัง 12 ชั่วโมงแรก โดยจะพบ red neuron (eosinophilic<br />

change) และ cytotoxic และ vasogenic edema การติดสีของ white และ gray matter เปลี่ยนแปลงไป endo<strong>the</strong>lial<br />

cell และ glial cell (โดยเฉพาะ astrocyte) จะบวมขึ้น และ myelinated fiber จะเริ่มสลาย เมื่อเวลาผานไป 48 ชั่วโมง<br />

เซลลอักเสบชนิด neutrophil จะเขามาในรอยโรค ตามดวย mononuclear phagocytic cell เมื่อเวลาผานไป 2 ถึง 3<br />

สัปดาห เซลล astrocyte ที่บริเวณขอบของรอยโรคจะมีขนาดใหญขึ้น และแบงตัว หลังจากเวลาผานไปหลายเดือน เซลล<br />

astrocyte เหลานี้จะมีขนาดเล็กลง ที่ผนังของรอยโรค astrocyte process จะเรียงตัวสานกันเปนรางแหรวมกับหลอด<br />

เลือดที่สรางใหมและ เนื้อเยื่อรอบๆหลอดเลือด<br />

ลักษณะทางพยาธิกายวิภาคของ hemorrhagic infarction จากกลองจุลทรรศน เหมือนกับที่พบใน ischemic infarction<br />

แตพบมีเลือดออกรวมดวย<br />

INTRACRANIAL HEMORRHAGE ภาวะเลือดออกในกะโหลกศีรษะสามารถเกิดไดในหลายตําแหนง ซึ่งอาจเปนผล<br />

จากภาวะความดันโลหิตสูงหรือ จากการบาดเจ็บของหลอดเลือด หรือจากความผิดปกติของหลอดเลือดโยตรงเชน<br />

arteriovenous malformation, cavernous malformationหรือเนื้องอกในสมอง<br />

Primary brain parenchymal hemorrhage ภาวะเลือดออกในเนื้อสมองโดยไมไดมีสาเหตุจากการบาดเจ็บ มักพบในวัย<br />

กลางคนหรือผูสูงอายุ สวนใหญมักเปนผลจากการฉีกขาดของหลอดเลือดเล็กๆในเนื้อสมอง สาเหตุหลักคือภาวะความดัน<br />

โลหิตสูง ตําแหนงที่พบเลือดออกไดบอยไดแก basal ganglia, thalamus, pons และ cerebellum<br />

ลักษณะพยาธิสภาพที่ตรวจพบไดแก เลือดออกกดเบียดเนื้อสมองขางเคียง ถาเปนบริเวณที่มีเลือดออกอยูเกาจะเห็นเปน<br />

ชองวางในเนื้อสมองและมีขอบสีน้ําตาล จากกลองจุลทรรศนจะพบกอนเลือดลอมรอบดวยเนื้อสมองที่มีลักษณะบวมและ<br />

พบ anoxic neuron และ glia cell และ หลังจากที่การบวมของเนื้อสมองลดลงจะพบมี hemosiderin pigment –laden<br />

macrophages และ lipid-laden macrophages และจะเริ่มมองเห็น reactive astrocyte proliferation ชัดขึ้นที่บรเวณ<br />

ขอบของรอยโรค<br />

• Cerebral amyloid angiopathy (CAA) เปนรอยโรคที่เกิดจากการมี amyloidogenic peptides ชนิดเดียวกับที่<br />

พบใน Alzheimer disease ไปสะสมที่ผนังของหลอดเลือดขนาดกลางและขนาดเล็กในเยื่อหุมสมองและในเนื้อ<br />

สมองชั้นบน การสะสมของสารดังกลาวทําใหผนังหลอดเลือดออนแอลงและเสี่ยงตอการเกิดเลือดออกมากขึ้น<br />

เนื่องจาก CAA เกิดกับหลอดเลือดในชั้นเยื่อหุมสมองและเนื้อสมองสวนบน (leptomeningeal vessels และ<br />

เอกสารคําสอน<strong>พยาธิวิทยาของระบบประสาท</strong> <strong>Pathology</strong> <strong>of</strong> <strong>the</strong> nervous system<br />

พญ.จันทิมา แทนบุญ ภาควิชาพยาธิวิทยาและนิติเวชศาสตร คณะแพทยศาสตร<strong>มหาวิทยาลัยนเรศวร</strong><br />

8

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!