12.07.2015 Views

ฤทธิ์กันเสียของฝาง(Caesalpinia sappan L.) - Faculty of Pharmacy ...

ฤทธิ์กันเสียของฝาง(Caesalpinia sappan L.) - Faculty of Pharmacy ...

ฤทธิ์กันเสียของฝาง(Caesalpinia sappan L.) - Faculty of Pharmacy ...

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

12Spectrophotometryการวิเคราะหสารเคมีตางๆสามารถแบงออกเปน 2 ประเภทใหญ ๆ ตามผลของการวิเคราะห คือ1. คุณภาพวิเคราะห (qualitative analysis) เปนการวิเคราะหโดยมีวัตถุประสงค เพื่อตองการตรวจสอบวามี สารชนิดนั้น ๆ อยูในตัวอยางที่สงตรวจหรือไมผลการวิเคราะหจึงมักรายงานเปน ผลบวก หรือผลลบแตบางครั้งอาจมีการจัดลําดับขั้นของผลบวกออกเปนชองกวาง ๆ ตามปริมาณของสารที่มีอยูในสารตัวอยางคือ 1 + , 2 + , 3 + และ 4 +วิธีวิเคราะหใหไดผลประเภทนี้มีใชอยูไมมากนัก แตก็มีประโยชนมากในการตรวจสอบเบื้องตน (screening test) จึงเปนที่นิยมใชกันทั่วไป เนื่องจากวิธีวิเคราะหประเภทนี้มักทําไดงายรวดเร็ว และประหยัด2. ปริมาณวิเคราะห (quantitative analysis) เปนวิธีที่ใชกันมากโดยเฉพาะอยางยิ่งในการวิเคราะหสารเคมี โดยอาศัยปฏิกิริยาทางเคมี เนื่องจากการวิเคราะหประเภทนี้ใหผลเปนปริมาณของสารนั้น ๆ ดังนั้นวิธีวิเคราะหจึงตองใชเครื่องมือเปนเครื่องชวยในการวิเคราะหเพื่อใหไดผลการวิเคราะหที่ถูกตองแมนยําเครื่องมือทางวิทยาศาสตรที่นํามาใชประโยชนในการวิเคราะหสารเคมีในรางกายนั้น มีอยูมากมายหลายชนิด และมีหลักการวิเคราะหที่แตกตางกันไป อยางไรก็ตาม หลักการตรวจวิเคราะหที่ใชมากก็คือ สเปกโทรโฟโตเมตรีของการดูดกลืนแสง (absorption spectrophotometry) และสเปกโทรเมตรีของการคายคลื่นแสง (emission spectrophotomety)สเปกโทรโฟโตเมตรีของการดูดกลืนแสงเปนการเปรียบเทียบสีที่เกิดขึ้นจากตัวอยางสงตรวจกับสีของน้ํายามาตรฐาน สีที่เปรียบเทียบนี้อาจเปนสีของตัวอยางสงตรวจเอง หรือสีที่เกิดขึ้นจากปฏิกิริยาทางเคมีก็ได โดยความเขมของสีที่เกิดขึ้นนั้น จะเปนปฏิภาคกับปริมาณของสารนั้น ๆที่มีอยูในตัวอยางสงตรวจการเปรียบเทียบตามความเขมของสีนั้น อาศัยหลักของการดูดกลืนแสง (absorbtion)ในชวงคลื่นบางขนาด อาทิเชน การที่เราเห็นสารละลายบางชนิดมีสีน้ําเงินก็เพราะสารละลายนั้นดูดกลืนเอาแสงที่มีความยาวคลื่นในชวยของแสงสีเหลือง สม แดง ไปและยอมใหแสงที่มีสีน้ําเงินลอดผานไปไดเราจึงเห็นสารละลายนั้นมีสีน้ําเงิน ยิ่งสารละลายนั้นดูดกลืนแสงสีเหลืองและแดงไปมากเทาใด เราก็จะเห็นสารละลายนั้นมีสีน้ําเงินเขมยิ่งขึ้น ปริมาณการดูดกลืนแสงดังกลาวนี้จึง

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!