13.07.2015 Views

การคำนวณหาตำบลที่เรือด้วยวิธีทางคณิตศาสตร์ - โรงเรียนนายเรือ

การคำนวณหาตำบลที่เรือด้วยวิธีทางคณิตศาสตร์ - โรงเรียนนายเรือ

การคำนวณหาตำบลที่เรือด้วยวิธีทางคณิตศาสตร์ - โรงเรียนนายเรือ

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

ปที่ ๙ ฉบับที่ ๔ ตุลาคม – ธันวาคม ๒๕๕๒๓การคํานวณตําบลที่เรือดวยวิธีคณิตศาสตรแทนการพล็อตตําบลที่เรือในแผนที่นั้น สิ่งที่ตองทราบคือตําบลที่ทางภูมิศาสตรที่แนนอน ซึ่งเปนไปตามประกาศสํานักนายกรัฐมนตรี เรื่อง เสนฐานตรงและนานน้ําภายในของประเทศไทย ปจจุบันมีดวยกัน ๔ พื้นที่ ตําบลที่ภูมิศาสตรดังกลาวจะนําไปเปนเสนฐานในการคํานวณดวยวิธีทางคณิตศาสตร จะใชตําบลที่ใดขึ้นอยูกับความเหมาะสมของตําบลที่เกิดเหตุสําหรับคาพิกัดทางภูมิศาสตรอยางนอย ๒ จุด เมื่อใชเปนตําบลที่ในการคํานวณหาจุดตําบลที่เรือ นั้นไดมาจากประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม ๘๗ ตอนที่ ๕๒ ลง ๑๒ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๑๓เลม ๑๐๙ ตอนที่ ๘๙ ลง ๑๙ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๓๕ และ เลม ๑๑๐ ตอนที่ ๑๘ ลง ๑๘ กุมภาพันธ พ.ศ.๒๕๓๖เปนประกาศสํานักนายกรัฐมนตรี เรื่องเสนฐานตรงและนานน้ําภายในประเทศไทย เมื่อ ๑๑ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๑๓,๑๗ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๓๕ และประกาศยกเลิกและแกไขใหมในบริเวณที่ ๓ จํานวน ๓ ลําดับ เมื่อ๒ กุมภาพันธ พ.ศ.๒๕๓๖ ดังนี้บริเวณที่ ๑ลําดับที่ ชื่อภูมิศาสตรตําบลที่ภูมิศาสตรละติจูด เหนือ ลองจิจูด ตะวันออก๑. แหลมลิง ๑๒ - ๑๒ / .๓ ๑๐๒ -๑๖ / .๗๒. เกาะชางนอย ๑๒ - ๐๙ / .๖ ๑๐๒ -๑๔ / .๙๓. หินราบ ๑๒ - ๐๓ / .๑ ๑๐๒ -๑๔ / .๕๔. หินลูกบาต ๑๑ - ๕๖ / .๗ ๑๐๒ -๑๗ / .๒๕. เกาะรัง ๑๑ - ๔๖ / .๖ ๑๐๒ -๒๓ / .๒๖. หินบางเบา ๑๑ - ๓๕ / .๘ ๑๐๒ -๓๒ / .๐๗. เกาะกูด ๑๑ - ๓๓ / .๖ ๑๐๒ -๓๕ / .๗๘. หลักเขตแดนไทย-เขมร - -บริเวณที่ ๒ลําดับที่ ชื่อภูมิศาสตรตําบลที่ภูมิศาสตรละติจูด เหนือ ลองจิจูด ตะวันออก๑. แหลมใหญ ๑๐ - ๕๓ / .๗ ๙๙ -๓๑ / .๔๒. เกาะรานไก ๑๐ - ๔๗ / .๘ ๙๙ -๓๒ / .๖๓. เกาะรานเปด ๑๐ - ๔๖ / .๕ ๙๙ -๓๒ / .๒๔. เกาะไข ๑๐ - ๔๑ / .๘ ๙๙ -๒๔ / .๘


ปที่ ๙ ฉบับที่ ๔ ตุลาคม – ธันวาคม ๒๕๕๒๔ํ ํํ ํํ ํํ ํํ ํํ ํํ ํํ ํํ ํํ ํํ ํํ ํลําดับที่ ชื่อภูมิศาสตรตําบลที่ภูมิศาสตรละติจูด เหนือ ลองจิจูด ตะวันออก๕. เกาะจระเข ๑๐ - ๓๓ / .๖ ๙๙ -๒๓ / .๒๖. หินหลักงาม ๑๐ - ๓๐ / .๐ ๙๙ -๒๕ / .๖๗. เกาะเตา ๑๐ - ๐๗ / .๕ ๙๙ -๕๐ / .๗๘. หินใบ ๐๙ - ๕๖ / .๖ ๙๙ -๕๙ / .๗๙. เกาะกงธารเสด็จ ๐๙ - ๔๕ / .๘ ๑๐๐ -๐๔ / .๗๑๐. เกาะพงัน ๐๙ - ๔๔ / .๐ ๑๐๐ -๐๕ / .๒๑๑. เกาะกงออก ๐๙ - ๓๖ / .๑ ๑๐๐ -๐๕ / .๘๑๒. เกาะมัดหลัง ๐๙ - ๓๒ / .๐ ๑๐๐ -๐๕ / .๓๑๓. เกาะสมุย ๐๙ - ๒๘ / .๓ ๑๐๐ -๐๔ / .๗๑๔. หินอาววัง ๐๙ - ๒๓ / .๔ ๑๐๐ -๐๑ / .๘๑๕. เกาะราบ ๐๙ - ๑๗ / .๙ ๙๙ -๕๗ / .๘๑๖. แหลมหนาถ้ํา ๐๙ - ๑๒ / .๔ ๙๙ -๕๓ / .๒บริเวณที่ ๓ลําดับที่ ชื่อภูมิศาสตรตําบลที่ภูมิศาสตรละติจูด เหนือ ลองจิจูด ตะวันออก๑. เกาะภูเก็ต ๐๗ - ๔๖ / .๕ ๙๘ -๑๗ / .๕๒. เกาะแกวนอย ๐๗ - ๔๓ / .๙ ๙๘ -๑๘ / .๐๓. เกาะฮี ๐๗ - ๔๔ / .๐ ๙๘ -๒๑ / .๗๔. เกาะไมทอน ๐๗ - ๔๔ / .๙ ๙๘ -๒๘ / .๗๕. เกาะไก ๐๗ - ๔๔ / .๖ ๙๘ -๓๗ / .๑๖. เกาะบิดะนอก ๐๗ - ๓๙ / .๒ ๙๘ -๔๖ / .๒๗. เกาะหมา ๐๗ - ๓๖ / .๖ ๙๘ -๕๒ / .๑๘. เกาะลันตาใหญ ๐๗ - ๒๗ / .๘ ๙๙ -๐๖ / .๐๙. เกาะไหง ๐๗ - ๒๓ / .๙ ๙๙ -๑๒ / .๑๑๐. เกาะกระดาน ๐๗ - ๑๗ / .๗ ๙๙ -๑๕ / .๔๑๑. เกาะกวาง ๐๗ - ๑๓ / .๓ ๙๙ -๒๑ / .๗


ปที่ ๙ ฉบับที่ ๔ ตุลาคม – ธันวาคม ๒๕๕๒๕ํ ํํ ํํ ํํ ํํ ํํ ํํ ํํ ํํ ํํ ํํ ํํ ํลําดับที่ ชื่อภูมิศาสตรตําบลที่ภูมิศาสตรละติจูด เหนือ ลองจิจูด ตะวันออก๑๒. เกาะเบ็ง ๐๗ - ๐๔ / .๓ ๙๙ -๒๓ / .๗๑๓. หินแบวะ ๐๗ - ๐๓ / .๗ ๙๙ -๒๔ / .๐๑๔. เกาะตูลุยใหญ ๐๗ - ๐๐ / .๙ ๙๙ -๒๖ / .๘๑๕. เกาะตาใบ ๐๖ - ๕๘ / .๘ ๙๙ -๒๘ / .๗๑๖. เกาะอายํา ๐๖ - ๔๗ / .๖ ๙๙ -๓๐ / .๑๑๗. หินออสบอน ๐๖ - ๓๘ / .๘ ๙๙ -๓๒ / .๕๑๘. เกาะตะรุเตา ๐๖ - ๓๐ / .๒ ๙๙ -๓๙ / .๑๑๙. หินใบ ๐๖ - ๓๐ / .๐ ๙๙ -๔๒ / .๑๒๐. เกาะโกยใหญ ๐๖ - ๓๓ / .๙ ๙๙ -๕๐ / .๗๒๑. เกาะลิมา ๐๖ - ๓๒ / .๒ ๙๙ -๕๗ / .๔๒๒. เกาะคูนิง ๐๖ - ๒๖ / .๗ ๑๐๐ -๐๓ / .๗๒๓. เกาะปรัศมานา ๐๖ - ๒๕ / .๔ ๑๐๐ -๐๕ / .๒๒๔. พรมแดนไทย-มาเลเซีย - -หมายเหตุ ตําบลที่ลองจิจูดลําดับที่ ๕, ๑๒, ๒๓ ไดแกไขใหถูกตองแลว ตามประกาศสํานักนายกรัฐมนตรีเรื่อง เสนตรงและนานน้ําภายในของประเทศไทย ฉบับที่ ๒ (พ.ศ.๒๕๓๖)บริเวณที่ ๔ลําดับที่ ชื่อภูมิศาสตรตําบลที่ภูมิศาสตรละติจูด เหนือ ลองจิจูด ตะวันออก๑. เกาะกงออก ๙ - ๓๖ / -๐๖ // ๑๐๐ -๐๕ / -๔๘ //๒. เกาะกระ ๘ - ๒๓ / -๔๙ // ๑๐๐ -๔๔ / -๑๓ //๓. เกาะโลซิน ๗ - ๑๙ / -๕๔ // ๑๐๑ -๕๙ / -๕๔ //๔. พรมแดนไทย-มาเลเซีย ๖ - ๑๔ / -๓๐ // ๑๐๒ -๐๕ / -๓๖ //


ปที่ ๙ ฉบับที่ ๔ ตุลาคม – ธันวาคม ๒๕๕๒๖ตัวอยางการหาระยะเรือประมงหางจากเสนฐานเกาะกระไปเกาะโลซิน๑. จุดพิกัดของเรือประมงขณะเกิดเหตุ บริเวณแลตติจูด ๘ องศา ๐๐ ลิปดาเหนือ ลองจิจูด ๑๐๑ องศา๕๐ ลิปดาตะวันออก๒. เมื่อพล็อตตําบลที่เรือดวยดาวเทียมในแผนที่หมายเลข ๐๔๕ มีตัวแกแลตติจูด = -๐.๑๓ / ลองจิจูด =+๐.๒๑ /๓. จุดพิกัดของเรือประมงเมื่อแกคาพิกัดดาวเทียม แลวจะอยูที่แลตติจูด ๗ ํ ๕๙.๘๗ / N ลองจิจูด ๑๐๐ ํ๕๐.๒๑ / E๔. เสนฐานในการคํานวณ คือเกาะกระและเกาะโลซิน๒.๑ เกาะกระ แลตติจูด ๘ ํ ๒๓ / ๔๙ // = ๘ ํ ๒๓.๘๑๖๖ / Nลองจิจูด ๑๐๐ ํ ๔๔ / ๑๓ // = ๑๐๐ ํ ๔๔.๒๑๖๖ / E๒.๒ เกาะโลซิน แลตติจูด ๗ ํ ๑๙ / ๕๔ // = ๑๐๐ ํ ๔๔.๒๑๖๖ / Nลองจิจูด ๑๐๑ ํ ๕๙ / ๕๔ // = ๑๐๑ ํ ๕๙.๙๐๐๐ / E๕. สูตรที่ใชในการคํานวณทฤษฎีบทของปทาโกรัส (Pythagoras) หรือทฤษฎีสามเหลี่ยมมุมฉากวา “ในรูปสามเหลี่ยมมุมฉากใด ๆ กําลังสองของความยาวของดานตรงขามมุมฉาก (c) เทากับผลบวกของกําลังสองของความยาวดานประกอบมุมฉาก (a, b)”AcbBaC2 2C = a +b2


ปที่ ๙ ฉบับที่ ๔ ตุลาคม – ธันวาคม ๒๕๕๒๗รูปที่ ๑ (แผนที่บริเวณที่ ๑)


ปที่ ๙ ฉบับที่ ๔ ตุลาคม – ธันวาคม ๒๕๕๒๘รูปที่ ๒ (แผนที่บริเวณที่ ๒)


ปที่ ๙ ฉบับที่ ๔ ตุลาคม – ธันวาคม ๒๕๕๒๙รูปที่ ๓ (แผนที่บริเวณที่ ๓)


ปที่ ๙ ฉบับที่ ๔ ตุลาคม – ธันวาคม ๒๕๕๒๑๐รูปที่ ๔ (แผนที่บริเวณที่ ๔)


ปที่ ๙ ฉบับที่ ๔ ตุลาคม – ธันวาคม ๒๕๕๒๑๑


ปที่ ๙ ฉบับที่ ๔ ตุลาคม – ธันวาคม ๒๕๕๒๑๒


ปที่ ๙ ฉบับที่ ๔ ตุลาคม – ธันวาคม ๒๕๕๒๑๓


ปที่ ๙ ฉบับที่ ๔ ตุลาคม – ธันวาคม ๒๕๕๒๑๔


ปที่ ๙ ฉบับที่ ๔ ตุลาคม – ธันวาคม ๒๕๕๒๑๕


ปที่ ๙ ฉบับที่ ๔ ตุลาคม – ธันวาคม ๒๕๕๒๑๖โดยปกติเมื่อทหารเรือออกปฏิบัติราชการในทะเล การหาตําบลที่เรือดวยวิธีการพล็อตคาแลตติจูดลองจิจูด บนแผนที่เดินเรือ เพื่อใหทราบวาตําบลที่เรืออยูในบริเวณใดของแผนที่นั้นถือวาเหมาะสมในขณะนั้นแตถาหากมีกรณีพิเศษในกรณีปฏิบัติหนาที่ที่กฎหมายไดมอบอํานาจใหทหารเรือบางตําแหนงมีอํานาจเชนเดียวกับพนักงานฝายปกครองหรือตํารวจในการตรวจคน จับกุม ยึดสิ่งของผิดกฎหมาย การหาตําบลที่เกิดเหตุที่แนนอนดวยวิธีการคํานวณตําบลที่เรือดวยวิธีทางคณิตศาสตรจะชวยใหการปฏิบัติการตาง ๆในการบังคับใชกฎหมายเปนไปดวยความรอบคอบ ถูกตอง และรัดกุมและที่สําคัญจะไดไมตกเปนผูตองหาเสียเอง----------------------------------------------เอกสารอางอิงจรินทร บุญเหมาะ, นาวาเอก. เดินเรือ. สมุทรปราการ, กองวิชาการเรือและเดินเรือ ฝายศึกษา<strong>โรงเรียนนายเรือ</strong> (ม.ป.ป.)ศิริชัย เนยทอง, นาวาเอก. กรณีศึกษาแนวทางการตอบปญหาเขตแดนทางทะเล.(ม.ป.ท., ม.ป.ป.)

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!