08.06.2013 Views

ธรรมะใกล้ตัว

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

ภาพปกโดย CимeoнIsAnimDom<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

Free Online Magazine<br />

่ ๐๖๖<br />

๑๖ เม.ย. ๕๒<br />

dharma at hand ฉบับที


ธรรมะจากพระผู้รู้<br />

๙<br />

ก่อนเกิดเป็นดังตฤณ ๑๔<br />

• วิถีแห่งเต๋า<br />

โหรา (ไม่) คาใจ ๑๗<br />

• เมื่อนางร้ายกลายเป็นนางเอก<br />

คำาคมชวนคิด ๒๑<br />

ธรรมะจากคนสู้กิเลส<br />

๒๓<br />

• หนักแน่น เข้าไว้<br />

แง่คิดจากหนัง ๒๗<br />

• Frequency / Operation Love – เวลาไม่ย้อนกลับ<br />

นวนิยายอิงธรรมะ ๓๕<br />

• รัก พ.ศ. ๑๐๐<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

dharma at hand<br />

ที่ปรึกษาและผู<br />

้จุดประกาย: ศรันย์ ไมตรีเวช<br />

หัวหน้าบรรณาธิการ<br />

จากใจบ.ก.ใกล้ตัว: อลิสา ฉัตรานนท์<br />

ธรรมะจากพระผู ้รู ้: อนัญญา เรืองมา<br />

เตรียมเสบียงไว้เลี้ยงตัว:<br />

อนัญญา เรืองมา<br />

เขียนคนให้เป็นเทวดา: อนัญญา เรืองมา<br />

ไดอารี่หมอดู:<br />

จรินทร์ธร ธนชัยหิรัญศิริ<br />

กวีธรรม: ศิราภรณ์ อภิรัฐ<br />

คาคมชวนคิด: ศิราภรณ์ อภิรัฐ<br />

สัพเพเหระธรรม: ชนินทร์ อารีหนู<br />

ธรรมะจากคนสู ้กิเลส: พราวพรรณราย<br />

มัลลิกะมาลย์ ทองเลี่ยมนาค<br />

ของฝากจากหมอ: พริม ทัพวงศ์<br />

แง่คิดจากหนัง: เกสรา เติมสินวาณิช<br />

นิยาย/เรื่องสั้นอิงธรรมะ:<br />

สุปราณี วอง<br />

เที่ยววัด:<br />

เกสรา เติมสินวาณิช<br />

ธรรมะปฏิบัติ: ชนินทร์ อารีหนู<br />

ธรรมะกับไลฟ์สไตล์: ศดานันท์ จารุพูนผล<br />

กองบรรณาธิการ: กนกเรขา กฤษฎารักษ์<br />

กานต์พัทธ์ รัชพันธ • กิษรา รัตนาภิรัต<br />

จรินทร์ธร ธนชัยหิรัญศิริ • ชนินทร์ อารีหนู<br />

ณัฐชญา บุญมานันท์ • ณัฐธีรา ปนิทานเต<br />

ณัฐพร สกุลอุทัยศักดิ์<br />

• ปรียาภรณ์ เจริญบุตร<br />

ปิยมงคล โชติกเสถียร • พราวพรรณราย<br />

มัลลิกะมาลย์ ทองเลี่ยมนาค<br />

พรหมเนตร สมรักษ์ • พิจิตรา โตวิวิชญ์<br />

พิทา จารุพูนผล • พีรยสถ์ อุบลวัตร<br />

มยุรฉัตร พงษ์ผาตินันท์ • เมธี ตั้งตรงจิตร<br />

เยาวลักษณ์ เกิดปราโมทย์ • วรางคณา บุตรดี<br />

วิบูรณ์ศักดิ์<br />

ใจภักดี • วิมล ถาวรวิภาส<br />

วิมุตติยา นิวาดังบงกช • ศดานัน จารุพูนผล<br />

ศศิธร ศิวะนันทากรณ์ • ศิราภรณ์ อภิรัฐ สม<br />

เจตน์ ศฤงคารรัตนะ • สาริณี สาณะเสน สิทธิ<br />

นันท์ ชนะรัตน์ • สุปราณี วอง<br />

อนัญญ์อร ยิ่งชล<br />

• อนัญญา เรืองมา<br />

อมรา ตั้งบริบูรณ์รัตน์<br />

• อัจจนา ผลานุวัตร<br />

ฝ่ายรวบรวมบทความ: สิทธินันท์ ชนะรัตน์<br />

ฝ่ายสื่อเสียงอ่านนิตยสาร:<br />

อนุสรณ์ ตรีโสภา<br />

ฝ่ายสื่อเว็บไซต์:<br />

สมเจตน์ ศฤงคารรัตนะ<br />

ไพลิน ลายสนิทเสรีกุล • กฤษฎ์ อักษรวงศ์<br />

ฝ่ายสื่อ<br />

Word: พีรยสถ์ อุบลวัตร<br />

ฝ่ายสื่อ<br />

PDF: บุณยศักดิ์<br />

ธีรวงศ์กิจ<br />

เกียรติภูมิ จารุเสน • จรรยาณี วิสุทธิกุล<br />

พาณิชย์<br />

โยธิน มรกตอัมพร • วรรณรักษ์ ปัญจชวพร<br />

ฝ่ายระบบ Send mail: สมเจตน์ ศฤงคารรัตนะ<br />

และทีมงานอาสาท่านอื่นๆ<br />

อีกจานวนมาก<br />

ท่านสามารถรับนิตยสารฉบับนี<br />

้ได้ ใน<br />

รูปแบบ เสียงอ่าน · Word


3<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

อ่านบนเว็บ • ฟังเสียงอ่าน<br />

จากใจบ.ก.ใกล้ตัว<br />

สมัยนี<br />

้คนไทยกลัวที<br />

่จะยิ<br />

้มทักคนแปลกหน้าใกล้บ้าน<br />

แม้จะเห็นอีกฝ่ายยิ<br />

้มให้ก็แกล้งทาเป็นไม่เห็น<br />

อาจเพราะไม่พร้อมจะฝืนยิ<br />

้ม<br />

หรืออาจเพราะเกรงจะต้องพูดคุยทาความรู<br />

้จักกันยืดยาว<br />

สมัยก่อนคนไทยอยู<br />

่ในอารมณ์พร้อมจะยิ<br />

้มมากกว่านี<br />

้<br />

แม้จะหลีกทางให้กันตอนเดินสวนก็ยิ<br />

้มถ้อยทีถ้อยอาศัยได้<br />

อาจเพราะชีวิตไม่เคร่งเครียดเท่าปัจจุบัน<br />

หรืออาจเพราะสนุกที<br />

่จะทาคนแปลกหน้าให้เป็นคนคุ<br />

้นเคย<br />

ในอดีตพอยิ<br />

้มให้ใครแล้วเขาทาเมิน<br />

ผมก็เขินเป็นเหมือนกัน<br />

จะแกล้งทาเป็นยิ<br />

้มด้วยเหตุอื<br />

่นก็ไม่ทันเสียแล้ว<br />

เขาเห็นเสียแล้วว่าเรายิ<br />

้มให้เขา<br />

สุดท้ายคือต้องลดรอยยิ<br />

้มลงเป็นเจื<br />

่อนๆ<br />

รู<br />

้สึกเก้อคล้ายเราไม่มีค่าพอให้เขายิ<br />

้มตอบ<br />

ทว่าเมื<br />

่อเห็นค่าของการยิ<br />

้มมากขึ<br />

้น<br />

มองเข้ามาที<br />

่ความรู<br />

้สึกภายในของตัวเองยิ<br />

่งกว่ามองสีหน้าคนอื<br />

่น<br />

ความเก้อเขินหรืออารมณ์อับอายขายหน้าก็หายไป<br />

ทุกครั<br />

้งที<br />

่เรายิ<br />

้ม เราเป็นฝ่ายได้ ไม่เคยเสีย<br />

โดยเฉพาะถ้าอยากยิ<br />

้มออกมาจากใจจริงๆ<br />

ไม่ใช่แค่แกล้งฝืนยิ<br />

้มเพื<br />

่อเอาใจใคร<br />

เดี<br />

๋ยวนี<br />

้ถ้าผมยิ<br />

้มให้ใครแล้วเจอใบหน้าปั<br />

้นปึ<br />

่งไม่รู<br />

้ไม่ชี<br />

้ตอบ<br />

ผมจะยังคงยิ<br />

้มอยู<br />

่อย่างนั<br />

้น<br />

แต่เบนสายตาไปทางอื<br />

่น


4<br />

และหันเหใจมาอยู่กับความสุขของตนเอง<br />

แบบไม่ให้กระแสความสุขขาดสาย<br />

ผมพบความจริงว่าหลังจากเต็มใจยิ้มเพื่อตัวเอง<br />

ไม่ใช่ยิ้มเพื่อให้เกิดการยอมรับไมตรีจากใครอื่น<br />

ชีวิตเราก็มีความสุขได้โดยไม่มีข้อจากัด<br />

เช่น ไม่ต้องรอคนอื่นยิ้มทักเสียก่อน<br />

ใจถึงจะปลื้มว่าเรามีคุณค่าควรแก่รอยยิ้มของเขา<br />

ในเมื่อใจเราเองมีคุณค่าควรแก่รอยยิ้มของตัวเองอยู่แล้ว<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

<br />

มีกระทู้เกี่ยวกับละครเรื่องกรรมพยากรณ์<br />

ตอน ชนะกรรม กันหลายครั้ง<br />

ซึ่งก็ช่วยสะท้อนให้ผมเห็นมุมมองของแฟนกรรมพยากรณ์พอสมควร<br />

อย่างน้อยก็เทียบเคียงถูกว่าภาพในใจตอนผมสร้างตัวละครขึ้นมา<br />

ตรงกับสิ่งที่คุณๆเห็นอยู่ในใจตัวเองหรือไม่<br />

ถ้าใครอยากรู้ว่าลานดาวและตัวละครอื่นๆตรงใจหรือไม่<br />

ก็ขอเชื้อเชิญให้ไปดูในวันบวงสรวงละครกรรมพยากรณ์กันนะครับ<br />

ในเวลา ๐๙.๐๙ น. วันที่<br />

๒๙<br />

ที่วัดพระราม<br />

๙ กาญจนาภิเษก<br />

http://map.longdo.com/p/A00084598/<br />

โดยจะเป็นงานบวงสรวงแบบพุทธ ไม่มีหัวหมูมาตั้ง<br />

มีแต่การเจริญพระพุทธมนต์เท่านั้น<br />

สาหรับคนเล่นเป็นลานดาวนั้น<br />

บอกได้อย่างหนึ่งคือตัวจริงเป็นคนมีบุญในทางเลี้ยงความทรงจาของแฟนๆดี<br />

แสดงแค่เรื่องเดียวแต่ใครต่อใครยังคงจาได้ไม่ลืม<br />

แถมมีแฟนคลับอยู่ทั่วประเทศด้วย<br />

ส่วนคนเล่นเป็นมาวันทา<br />

ก็กาลังเป็นที่ชื่นชมอยู่ในละครดังข้ามปีเรื่องหนึ่ง


บอกชื่อไปใครๆก็รู้จักแน่นอน<br />

และแฟนๆของเธอคงรู้ดีว่าเธอเอาดีทางธรรมได้ไม่แพ้ความสาเร็จทางละครเลย<br />

แต่เห็นว่าวันออกนิตยสารไม่ทัน จึงต้องแจ้งในฉบับนี้<br />

หากใครว่างก็ขอเชื้อเชิญครับ<br />

ดังตฤณ<br />

เมษายน ๕๒<br />

<br />

เรื่องน่าสนใจประจาฉบับ<br />

(แนะนำโดย kolf)<br />

ไม่เคยได้ใช้พื้นที่ตรงนี้โปรโมทเลย<br />

คราวนี้ขอพูดถึงหน่อย<br />

สาหรับคอลัมน์ “ธรรมะจากพระผู้รู้”<br />

ที่ได้รับความเมตตาจาก<br />

“หลวงพ่อปราโมทย์ ปาโมชฺโช”<br />

อนุญาตให้นามาเผยแพร่ในนิตยสารของเรา<br />

ฉบับนี้ถอดเสียงมาจากพระธรรมเทศนา<br />

ณ โรงพยาบาลกลาง<br />

๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๒<br />

คราวนี้มีคาถามซึ่งหลายคนที่ปกติไม่ได้เจริญสติอาจจะสนใจ<br />

กับคาถามที่ว่า<br />

“การนั่งวิปัสสนากรรมฐาน<br />

สามารถแก้กรรมได้หรือไม่”<br />

หลวงพ่อท่านจะให้คาตอบว่าอย่างไร ลองไปอ่านกัน<br />

และอีกคอลัมน์ที่อยากให้ได้ติดตาม<br />

สาหรับคอลัมน์ “ก่อนเกิดเป็นดังตฤณ”<br />

ที่คุณดังตฤณมาเขียนเล่าเรื่องราวแนวอัตชีวประวัติ<br />

แต่สอดแทรกทั้งสาระ<br />

ข้อคิด และหลืบมุมในชีวิตคุณดังตฤณที่น้อยคนนักจะได้รู้<br />

โดยแบ่งออกเป็นตอนๆ ในฉบับนี้คุณดังตฤณเล่าถึงช่วงที่ไปอ่านหนังสือเต๋า<br />

และหลงอยู่ในวิถีแห่งเต๋า<br />

ลองดูกันว่าเป็นอย่างไร<br />

คอลัมน์ “แง่คิดจากหนัง” ฉบับนี<br />

้พบกับ Frequency /<br />

Operation Love – เวลาไม่ย้อนกลับ<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

5


6<br />

สองหนังย้อนเวลาแต่ต่างแนว ต่างอารมณ์กันคนละขั้ว<br />

Frequency เป็นหนังแนวสืบสวน แอคชั่น<br />

ที่สนุกตื่นเต้นแบบไม่ปิดบังสาระของตน<br />

Operation Love เป็นหนังโรแมนติกแบบสุด ๆ<br />

ที่ซ่อนนัยเรื่องการเรียนรู้หัวใจตนเองอย่างแนบเนียน<br />

บทสรุปของหนังทั้งสอง<br />

ก็ชัดเจนในสิ่งที่ต้องการจะสื่อ...<br />

นอกจากสองเรื่องจะสื่อเกี่ยวกับการย้อนเวลาสู่อดีต<br />

ได้อย่างชัดเจนคนละแบบคนละแนวแล้ว<br />

แง่คิดจากคุณชลนิลยังช่วยให้เราเห็นสาระ ข้อคิด<br />

จากทั้งสองเรื่องได้อย่างที่ถ้าเราคิดพิจารณาตามแล้ว<br />

จะทาให้ไม่เกิดความคิดอยากย้อนเวลาอีกเลย<br />

“ธรรมะจากคนสู้กิเลส”<br />

ฉบับนี้<br />

นาเสนอเรื่องราวที่ชื่อเรื่องเหมือนจะบอกวิธีที่พูดง่ายแต่ทายาก<br />

“หนักแน่น เข้าไว้” โดยคุณขอตามรอยท่านพ่อจะมาเล่าเรื่องราว<br />

แนวทาง และวิธีสู้กิเลส<br />

ในศีลข้อที่น้อยคนนักเมื่อตกหลุมพรางไปแล้ว<br />

จะถอนตัวได้โดยง่าย<br />

เมื่อว่าที่เจ้าสาวไปตกหลุมรักกิ๊กใหม่<br />

เธอจะเลือกใคร? แล้วเธอจะเหลือใคร?<br />

สุดท้ายเธอได้แต่งงานหรือไม่? ลองพลิก (คลิก) เข้าไปอ่านกันเลย<br />

<br />

ข่าวสารและกิจกรรมที่น่าสนใจ<br />

(โดย ทีมงานจากใจ บ.ก. ใกล้ตัว)<br />

สานักวิชาการ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช<br />

ขอเชิญผู้สนใจเข้าร่วมฟังธรรมเทศนา<br />

ในหัวข้อ<br />

“การปฎิบัติธรรมในชีวิตประจาวัน<br />

และวิธีการฝึกสติเพื่อการเจริญปัญญา”<br />

โดยหลวงพ่อปราโมทย์ ปาโมชฺโช<br />

ในวันพุธที่<br />

๒๙ เมษายน ๒๕๕๒ ณ ห้องพระปกเกล้า อาคารอเนกนิทัศน์<br />

ตั้งแต่เวลา<br />

๑๒.๐๐ – ๑๓.๓๐ น.<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong>


งานนี้ไม่ต้องสารองที่นั่ง<br />

แต่ให้ไปลงทะเบียนตั้งแต่เวลา<br />

๑๑.๐๐ น.<br />

สอบถามเพิ่มเติมได้ที่หมายเลข<br />

๐๒-๕๐๔๗๕๑๕-๘<br />

ส่วนผู้ที่ไม่ทราบเส้นทางสามารถดูแผนที่ได้ที่ด้านล่างค่ะ<br />

*แผนที่<br />

http://i605.photobucket.com/albums/tt133/Yaowalak_K/019cb3db.jpg<br />

และในวันจันทร์ที่<br />

๒๐ เมษายน ๒๕๕๒ ใครที่พอมีเวลาว่างหลังเลิกงาน<br />

ขอเชิญร่วมฟังธรรม โดยพระอาจารย์มิตซูโอะ คเวสโก<br />

ณ ศาลาปันมี บ้านอารีย์ ตั้งแต่เวลา<br />

๑๘.๐๐ น. เป็นต้นไปค่ะ<br />

<br />

ร่วมสนุกท้ายฉบับ<br />

ฉบับนี้<br />

คุณแป้ง-ภัทริน ซอโสตถิกุล ได้กรุณามอบหนังสือ “กล่องบุญ ๔”<br />

ซึ่งเป็นผลงานเล่มล่าสุดของเธอ<br />

ให้กับผู้อ่านนิตยสาร<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

จานวน ๑๐ เล่มค่ะ<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

7


8<br />

กติกา:<br />

เนื่องจาก<br />

“กล่องบุญ ๔” เป็นการนาเสนอเรื่องของโลกธรรม<br />

๘<br />

จึงอยากให้คุณผู้อ่าน<br />

เล่าเรื่องหรือเหตุการณ์สั้นๆ<br />

ที่เกิดขึ้นจริงในชีวิตของคุณ<br />

ที่เกี่ยวข้องกับโลกธรรม<br />

๘<br />

อันมีผลให้ชีวิตของคุณหรือคนรอบข้างเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น<br />

ร่วมแบ่งปันเรื่องเล่าอันน่าประทับใจของคุณ<br />

โดยโพสต์คาตอบได้ที่กระดานสนทนานี้นะคะ<br />

http://www.howfarbooks.com/dharmamag/viewtopic.php?f=3&t=169<br />

แจ้ง ชื่อ<br />

(นามสมมติก็ได้ค่ะ) และ อีเมล์ ที่ติดต่อกลับได้<br />

ภายในวันที่<br />

๓๐ เมษายนนี้นะคะ<br />

ผู้ได้รับคัดเลือก<br />

๑๐ ท่าน จะได้รับหนังสือกล่องบุญ ๔ (Life Box 4)<br />

พร้อมกล่อง ส่งให้ถึงที่บ้านเลยค่ะ<br />

ขอขอบคุณ คุณแป้ง-ภัทริน ซอโสตถิกุล สาหรับหนังสือดีๆ<br />

ที่มอบให้กับผู้อ่านหนังสือนิตยสาร<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong>ด้วยค่ะ<br />

_/|\_<br />

พบกันใหม่ฉบับหน้านะคะ<br />

สวัสดีค่ะ<br />

ทีมงานนิตยสาร<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

สารบัญ


ธรรมะจากพระผู้รู้<br />

อ่านบนเว็บ • ฟังเสียงอ่าน<br />

ธรรมเทศนา ณ โรงพยาบาลกลาง<br />

ถาม : มีคนแสดงความเห็นว่า วิธีการปฏิบัติของหลวงพ่อ<br />

เหมาะกับคนที่เกษียณแล้ว<br />

ก็เลยอยากถามว่า<br />

หากเราเป็นหัวหน้างาน ต้องคุมลูกน้องให้ทางานตามเป้าขององค์กร<br />

ต้องทาอย่างไร ถึงจะเชื่อมโยงเรื่องงานกับเรื่องสติได้คะ<br />

ตอบ : เข้าใจผิดนะ ว่าการเจริญสติเป็นเรื่องของคนเกษียณ<br />

หลวงพ่อหัดเจริญสติ ตอนนั้น<br />

ทางานอยู่สภาความมั่นคง<br />

ชื่อมันก็น่ากลัวแล้วนะ<br />

งานน่ะซีเรียสที่สุดเลย<br />

คือถ้าทาอะไรผิดพลาด บ้านเมืองเสียหายได้เยอะเลยนะ<br />

อาจจะจลาจลหรือเสียดินแดน หรืออะไรอย่างนั้นได้เลยถ้าทาผิด<br />

งานนี่เครียดสุดๆเลย<br />

แล้วก็ทางานอยู่กับคนที่เครียดสุดๆด้วย<br />

หลวงพ่อภาวนาได้ดีที่สุดช่วงนั้นนะ<br />

เวลาที่เราทางาน<br />

การทางานไม่ได้เบียดบังเวลาเจริญสติเลย<br />

ถ้าเราไม่มีสติ เราจะทางานแบบเอาหัวเข้าไปมุดๆ<br />

ตะลุย ตะลุมบอนกับมันนะ งานไม่ดีหรอก<br />

เพราะฉะนั้นเวลาทางาน<br />

หลวงพ่อเล่าให้ฟังนะ<br />

ตอนนั้น<br />

หลวงพ่อรับราชการอยู่<br />

ตื่นเช้าขึ้นมาเราก็มีสติ<br />

ตอนตื่นนอนนี่<br />

เรายังไม่ต้องคุมลูกน้องทางานใช่มั้ย<br />

ตื่นนอนขึ้นมานี่เรารู้สึกเลย<br />

จิตใจเรานึกขึ้นได้ว่าวันนี้วันจันทร์<br />

จิตใจแห้งแล้งเลย<br />

พอนึกได้ว่าวันนี้วันศุกร์นะ<br />

แหม ชุ่มฉ่าเลย<br />

วันอังคารนี่ก็เซ็งมากใช่มั้ย<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

9


10<br />

วันพุธเซ็งที่สุด<br />

วันพฤหัสสดชื่น<br />

ใช่มั้ย<br />

วันศุกร์นี่กระดี๊กระด๊าแล้ว<br />

นี่แต่ละวันนะ<br />

ตื่นขึ้นมา<br />

แค่นึกถึงใจเราไม่เหมือนกัน<br />

เวลากินข้าว นักบริหารทั้งหลายกินข้าวมั้ย<br />

ก็กินใช่มั้ย<br />

เวลากินข้าว เจออาหารนี้ถูกใจ<br />

แหม เลขาจัดมาให้ถูกใจ<br />

มันพอใจขึ้นมา<br />

ให้รู้ว่าพอใจ<br />

วันนี้จัดอะไรมาให้เรากินไม่รู้<br />

ไม่ชอบเลยนะ<br />

โมโห รู้ว่าโมโห<br />

เห็นมั้ย<br />

มันไม่ได้เบียดบังนะ ทางานได้<br />

หรือขับรถมาจากบ้านมาที่ทางาน<br />

รถติดตลอดเลย<br />

หงุดหงิด แล้วรู้ว่าหงุดหงิด<br />

กังวลแล้วกลัวจะมาต้อนรับผู้ว่าไม่ทัน<br />

ได้ข่าวว่าผู้ว่าจะมา<br />

กลัวจะมาไม่ทัน กระวนกระวาย รู้ว่ากระวนกระวาย<br />

นี่ปฏิบัติได้<br />

แต่เวลาทางาน จดจ่ออยู่กับงาน<br />

ไม่ใช่เวลาเจริญสติ<br />

จดจ่ออยู่กับงานเวลาทางานต้องคิดเรื่องงาน<br />

ฉะนั้น<br />

คิดไป คิดไป ทางานไป ทางานไป ลูกน้องมากวนเราอีกแล้ว<br />

ถือแฟ้มมาอีกแล้ว เอ๊ะ เราจะเริ่มคิดงานเรื่องนี้อยู่<br />

กาลังยุ่งยากอยู่<br />

เอางานอื่นมาแทรกเรา<br />

โมโห เรารู้ว่าโมโห<br />

นี่<br />

เราปฏิบัติอย่างนี้<br />

หรือเราตั้งใจจะทางานให้เสร็จนะ<br />

โทรศัพท์มาอีกแล้ว<br />

เดี๋ยวก็โทรศัพท์ๆ<br />

โมโหอีกแล้ว รู้ว่าโมโห<br />

เราทางานเสร็จ เราเอาไป present ในที่ประชุม<br />

เข้าไปเจอรัฐมนตรีเราก็สั่นแล้ว<br />

กลัว รู้ว่ากลัว<br />

เราจะหายกลัวรัฐมนตรีเลยตอนเรารู้ทันนะ<br />

ไม่ต้องไปกลัวมันหรอก เราสะอาดกว่านะ<br />

ฉะนั้น<br />

เรารู้ทันตัวเองนะ<br />

พอเราเสนอ present งาน<br />

เขาชม ใจเราพอง เรารู้ว่าพอง<br />

เขาติโน่นตินี่<br />

เราโมโห หรือเสียอกเสียใจ รู้ว่าเสียใจ<br />

นี่<br />

หัดไปอย่างนี้ซิ<br />

หัดไป ไม่ได้เบียดบังเวลาทางานเลยนะ<br />

ถ้าคิดว่าการเจริญสติเป็นเรื่องของคนเกษียณแล้วน่าสงสารที่สุดเลย<br />

พระเจ้าอยู่หัวของเราเจริญสติเก่งที่สุดเลยนะ<br />

ท่านไม่ได้เกษียณใช่มั้ย<br />

ท่านก็อายุเยอะ แต่ท่านยังไม่ได้เกษียณ นั่นท่านเจริญสตินะ<br />

ท่านไม่ได้ทิ้ง<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong>


หลวงพ่อเคยอ่านงานอันหนึ่ง<br />

เป็นประวัติหลวงพ่อเกษม เขมโก<br />

การไฟฟ้าฝ่ายผลิตเขาพิมพ์แจกหลายปีแล้ว<br />

ในหลวงท่านเจอหลวงพ่อเกษม ท่านเล่าให้หลวงพ่อเกษมฟังว่า<br />

ท่านใช้ปฏิบัตินี่<br />

งานท่านเยอะ ท่านแบ่งชีวิตของท่านเป็นช่วงเล็กๆ<br />

เช่น ท่านมีเวลาเหลืออยู่สองนาทีนะ<br />

ท่านเอาสองนาทีนี้มาดู<br />

ท่านมีสามนาที ท่านดูสามนาที ท่านมีหนึ่งนาที<br />

ท่านดูหนึ่งนาที<br />

ท่านเก็บช่วงเล็กๆๆๆ ท่านภาวนาเก่ง<br />

ของเราเป็นนักบริหารว่างานเยอะ สู้ท่านไม่ได้หรอก<br />

งานน้อยกว่าท่านนะ<br />

เพราะฉะนั้น<br />

ถ้าบอกว่า<br />

ทางานจนไม่มีเวลาเจริญสติ อันนั้นไม่เข้าใจการเจริญสตินะ<br />

ถ้าเข้าใจการเจริญสติเราจะรู้ว่า<br />

การเจริญสตินั่นแหละ<br />

คือชีวิตของเราล่ะ<br />

มีชีวิตอยู่แล้วก็ยังมีการเจริญสติอยู่<br />

ถาม : การนั่งวิปัสสนากรรมฐาน<br />

สามารถแก้กรรมได้มั้ยคะ<br />

ตอบ : กรรมที่ทาแล้วแก้ไขไม่ได้นะ<br />

แต่มันแก้กรรมใหม่ได้<br />

เช่น เดินๆไป โดนเขาด่า ถูกเขาด่า นี่เป็นกรรมเก่า<br />

แก้ไม่ได้ จะไปแก้ยังไงในชาติก่อน<br />

เราทากรรมใหม่ที่ดี<br />

ถูกเขาด่า แล้วเราก็รู้ทันใจที่โกรธ<br />

เราก็ไม่โกรธตอบนะ อยากด่าก็เชิญด่าไป เดี๋ยวมันก็เลิกไปเอง<br />

เพราะฉะนั้น<br />

เราชาวพุทธไม่ยุ่งกับกรรมเก่านะ<br />

ชาวพุทธเราทากรรมใหม่ที่ดี<br />

กรรมเก่านี้ส่งผลให้เราต้องเจอปรากฏการณ์ในปัจจุบัน<br />

เมื่อเจอปรากฏการณ์ปัจจุบันแล้วมีสติมีปัญญา<br />

เราได้ทากรรมใหม่ที่ดี<br />

กรรมเก่าที่เลวก็จะค่อยๆถูกบั่นทอนหมดกาลังไปเอง<br />

ในที่สุดกรรมใหม่ที่ดีนั้น<br />

จะมีพลังแรง แล้วก็ทาลายผลของกรรมเก่า<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

11


12<br />

ไม่ใช่ทาลายตัวกรรมเก่านะ ทาลายการให้ผลของกรรมเก่าไป<br />

เช่น เขาด่าเราหลายวันแล้ว เราก็ใจเย็นยิ้มกับเขาไปเรื่อยๆนะ<br />

วันหนึ่งเขาก็เลิกด่า<br />

มันหมดกรรมเก่าแล้ว หมดเพราะเราไม่ทากรรมใหม่<br />

ชาวพุทธอย่าไปเล่นเรื่องกรรมเก่านะ<br />

ไม่มีเจ้ากรรมนายเวร<br />

เจ้ากรรมนายเวรของชาวพุทธนี่ชื่อว่า<br />

ชนกกรรม (ชะ-นก-กา)<br />

คือ กรรมที่บันดาลให้เรามีกายมีใจอันนี้มา<br />

นี่แหละ<br />

คือเจ้ากรรมนายเวรของเราตัวจริง<br />

เมื่อเรามีกายมีใจอันนี้มาแล้ว<br />

เราจะใช้กายนี้ใจนี้<br />

ก่อกรรมทาชั่วก็ได้<br />

เราจะใช้กายนี้ใจนี้<br />

มาพัฒนาตัวเองก็ได้ มาทากรรมใหม่ที่ดีหรือที่เลว<br />

เพราะฉะนั้น<br />

เราฝึกนะ มีสติรู้กายรู้ใจ<br />

เราทากรรมใหม่ที่ดีไปเรื่อยๆ<br />

แล้วชีวิตเราจะดีขึ้น<br />

อย่างหลายบ้านนะมีปัญหาในครอบครัว ง้องแง้งๆตลอดเลยนะ<br />

มาหัดภาวนาสักคนหนึ่ง<br />

สามีหรือภรรยาอะไรนี่มาหัดสักคนหนึ่ง<br />

แต่เดิมภรรยานะ ขี้บ่นมากเลย<br />

สามีก็เลยทนอยู่ในบ้านไม่ได้<br />

หนีออกบ้านไปเรื่อย<br />

ไปมีอีหนู อีหนูมันไม่บ่นนะ<br />

ต่อมานี่<br />

ภรรยามาหัดดูของตัวเองเรื่อยๆ<br />

ปากเริ่มหุบลงเรื่อยๆ<br />

อ้าช้าขึ้น<br />

ใจก็สงบ ใจก็ร่มเย็น<br />

หน้าตาผ่องใสขึ้นๆ<br />

สามีกลับบ้านเลยนะ นี่เสน่ห์ร้ายแรงเลย<br />

ฉะนั้น<br />

หัดเจริญสตินะ จะสวยกว่าเก่า จะสาวกว่าเก่า<br />

นี่แก้กรรมแบบนี้นะ<br />

แก้กรรมของชาวพุทธ คือทากรรมใหม่ที่ดี<br />

ไม่ใช่พยายามไปล้างกรรมเก่าที่ไม่ดีที่ผ่านมาแล้ว<br />

เพราะของที่ผ่านมาแล้วทาอะไรไม่ได้<br />

ใช้ปัจจุบันให้ดีที่สุด<br />

นี่แหละ<br />

คือทางแก้กรรมของชาวพุทธ<br />

ความจริงไม่มีการแก้กรรมหรอก กรรมทั้งหลายให้ผลมาถึงจุดหนึ่ง<br />

มันก็ต้องหมดผล ต้องสลายตัวไป แต่ถ้าเราทากรรมใหม่ที่มีกาลังเข้มแข็งนะ<br />

กรรมใหม่ที่มีกาลังเข้มแข็งมันให้ผลขึ้นมา<br />

มันแทรกขึ้นมา<br />

มันแซงขึ้นมา<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong>


อิทธิพลของกรรมเก่าที่ไม่ดีก็สลายตัวไป<br />

ไม่ใช่ว่าไปล้างกันนะ ไม่ใช่กรรมใหม่ กรรมดี ไปล้างกรรมชั่ว<br />

ไม่ใช่<br />

ยกตัวอย่างนะ อย่างพระองคุลีมาล ฆ่าคนเยอะแยะใช่มั้ย<br />

พอท่านเป็นพระโสดาบัน สกทาคามี อนาคามี เป็นพระอรหันต์นี่<br />

กรรมที่ท่านฆ่าคนมันก็ยังอยู่<br />

แก้ไม่ได้ เพราะฆ่าไปแล้ว<br />

แต่กรรมใหม่ของท่านดี ท่านบรรลุพระอรหันต์ เป็นกรรมดีที่ยิ่งใหญ่<br />

ท่านไม่ต้องไปตกนรกอีกแล้ว นี่แก้กรรมกันแบบนี้นะ<br />

ไม่ใช่แก้อย่างอื่น<br />

ไม่ใช่ถอดจิตไปเจรจากับผีตัวที่หนึ่งที่ฆ่าไว้ว่า<br />

ขออโหสินะ เอ้า ตัวที่หนึ่งยอม<br />

ตัวที่สองทายังไงจะยอม<br />

กว่าจะหมดพันตัวท่านคงไม่ได้เป็นพระอรหันต์นะ<br />

ใช้ปัจจุบันให้ดีที่สุดนะ<br />

พระอาจารย์ปราโมทย์ ปาโมชฺโช<br />

๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๒<br />

สารบัญ <br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

13


14<br />

วิถีแห่งเต๋า<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

อ่านบนเว็บ • ฟังเสียงอ่าน<br />

ในวันที่งงๆกับชีวิต<br />

เหมือนลอยเคว้งคว้างอยู่ที่ไหนก็ไม่รู้<br />

ผมจาวันนั้นได้ดี<br />

ขณะนึกสนุกหยิบหนังสือ ‘วิถีแห่งเต๋า’ ออกมาจากหิ้งในห้องสมุดของโรงเรียน<br />

เซนต์จอห์น เป็นความรู้สึกสะเทือนคล้ายเกิดแผ่นดินไหวขึ้นน้อยๆอยู่ข้างใน<br />

และ<br />

ผุดความคิดในหัวบอกตนเองว่าการเอื้อมหยิบหนังสือแค่เล่มเดียว<br />

อาจเป็นก้าวแรก<br />

ของชีวิตอีกแบบหนึ่งก็ได้<br />

ความรู้สึกต่อความคิดที่คล้ายสังหรณ์นั้น<br />

คือเชื่อครึ่งไม่เชื่อครึ่ง<br />

สังหรณ์ของ<br />

คนเราแม่นได้ก็มั่วได้<br />

ทว่าความคิดนั้นก็ทาให้ผมตื่นเต้นกว่าการอ่านหนังสือเล่มใหม่<br />

อย่างเคยๆ<br />

เมื่อมานั่งลงที่โต๊ะและพลิกอ่านแค่บทแรก<br />

ตัวหนังสือก็สร้างความตะลึงงันให้<br />

กับผมชนิดที่เกิดมาไม่เคยพบจากไหนมาก่อน<br />

นั่นคือ<br />

เต๋ำที่อธิบำยได้มิใช่เต๋ำอันอมตะ<br />

ที่ตั้งชื่อให้กันได้ก็มิใช่ชื่ออันสูงส่ง<br />

เต๋ำนั้นมิอำจอธิบำยและมิอำจตั้งชื่อ<br />

เมื่อไร้ชื่อ<br />

ทำฉันใดจักให้ผู้อื่นรู้<br />

ข้ำพเจ้ำขอเรียกสิ่งนั้นว่ำ<br />

‘เต๋ำ’ ไปพลำงๆ<br />

ก่อนเกิดเป็นดังตฤณ<br />

ในการเริ่มต้นหนังสือหรือคัมภีร์ใดๆ<br />

หากคุณสร้างความงุนงงให้คนอ่านในแบบ<br />

ที่จะทาให้พวกเขาอยากติดตามคุณไปจนกว่าหายงงได้<br />

ก็นับว่าคุณประสบความ<br />

สาเร็จเกินครึ่งในการเขียนหนังสือหรือคัมภีร์เล่มนั้นแล้ว<br />

ท่านเหลาจื๊อผู<br />

้รจนาคัมภีร์ ‘เต๋าเต็กเก็ง’ อาจไม่มีเจตนาเรียกร้องความสนใจจาก<br />

ใคร ท่านก็แค่เริ่มเขียนตามความปรารถนาของท่าน<br />

คือถ่ายทอดสิ่งที่ท่านประสบ


มาให้คนอ่าน ‘รับ’ ส่วนคนอ่านจะ ‘รู้’ ตามหรือไม่ ก็พ้นไปจากความสนใจ<br />

ของท่านแล้ว<br />

การถ่ายทอดประสบการณ์ตรงให้คนอื่นรู้ตามไม่ใช่เรื่องง่าย<br />

มันเป็นศิลปะ<br />

เฉพาะตัว ขอให้นึกถึงอากาศว่างที่ปรากฏอยู่ต่อหน้าต่อตาตรงหน้าคุณ<br />

แล้วลอง<br />

เขียนอธิบายเกี่ยวกับอากาศว่างนั้นจากประสบการณ์ส่วนตัว<br />

แม้จะเห็นอากาศว่าง<br />

อยู่กับตาเดี๋ยวนี้<br />

ก็ไม่ง่ายนะครับที่จะพูดถึงมัน<br />

คุณต้องใช้ภาษาเป็น แล้วก็ต้องมี<br />

ความรู้เชิงวิทยาศาสตร์พอควร<br />

จึงอาจกล่าวถึงอากาศว่าเป็น “ช่องว่าง หรือที่ที่<br />

ว่างเปล่า อันเป็นต่างหากจากบรรดาสสารที่จับต้องได้ทั้งหลาย”<br />

หรือหากจะอธิบาย<br />

เป็นรูปธรรมชัดเจนและเจาะจงขึ้น<br />

ก็อาจกล่าวว่าอากาศเป็น “แก๊สผสมที่ประกอบ<br />

ด้วยไนโตรเจนและออกซิเจนเป็นส่วนใหญ่ สิ่งมีชีวิตทั้งหลายเกี่ยวข้องกับอากาศใน<br />

เรื่องของการหายใจเป็นสาคัญ”<br />

แม้จะกล่าวอย่างเป็นวิทยาศาสตร์แล้วก็ตาม คุณยังได้ชื่อว่าพูดถึงอากาศไม่ครบ<br />

ถ้วนอยู ่ดี มีแง่มุมต่างๆอีกมากมายที่จะให้พูดถึงอากาศได้ไม่รู<br />

้จบ เช่น ด้วยทฤษฎีของ<br />

ไอน์สไตน์ เราต้องทาความเข้าใจว่าอวกาศหรืออากาศนอกโลกนั้น<br />

เป็นสิ่งเดียวกัน<br />

กับกาลเวลา!<br />

เพื่อให้เข้าใจตรงนี้กระจ่างขึ้น<br />

ก็ต้องหาเรื่องน่าทึ่งมาแสดงกันหน่อย<br />

ทราบ<br />

ไหมครับว่าทฤษฎีสัมพัทธภาพของไอน์สไตน์พยากรณ์ไว้อย่างไร? คุณจะเชื่อไหม<br />

ล่ะว่าวัตถุขนาดใหญ่เช่นดาวเคราะห์นั้น<br />

ทุกขณะที่หมุนรอบตัวอยู่<br />

จะลากพาเอา<br />

อากาศและเวลาตามตัวไปด้วย ไม่ต่างอะไรกับลูกบาสที่กลิ้งไปก็พอกโคลนเหนียว<br />

ติดผิวมากขึ้นเรื่อยๆ!<br />

การพยากรณ์ของไอน์สไตน์เพิ่งได้รับการพิสูจน์เมื่อเดือนมีนาคมปี<br />

๑๙๙๘ นี่เอง<br />

กล่าวคือเมื่อองค์กรนาซ่าวัดระยะวงโคจรของดาวเทียมสองดวงเป็นหลักฐานอย่าง<br />

ละเอียดทุกปี ก็พบว่าดาวเทียมของตนห่างขึ้นจากเดิมไปเรื่อยๆ<br />

๖ ฟุตต่อปี (ทั้งที่<br />

ตามหลักการมันควรจะอยู่ตาแหน่งเดิมตลอดไป)<br />

และมันจะเป็นเช่นนั้นไปไม่ได้เลย<br />

หากอากาศและเวลาเป็นสิ่งแยกต่างหากจากกัน<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

15


16<br />

สรุปแล้วอากาศเป็นสิ่งลึกลับกว่าที่คุณคิดใช่ไหมครับ?<br />

พวกเราพากันนึกว่าเห็น<br />

และพูดถึงมันได้ แต่แท้จริงแล้วอาจไม่รู้จักมันเลยแม้แต่นิดเดียว!<br />

คัมภีร์เต๋าเต็กเก็งไปไกลกว่าการกล่าวถึงอากาศธาตุ เหลาจื๊อพยายามฉาย<br />

ภาพของความว่างอันเป็นต้นกาเนิดของสรรพสิ่ง<br />

ความว่างที่มิใช่เพียง<br />

‘ช่องว่าง’<br />

อย่างที่เราเห็นด้วยตาเปล่าอยู่อย่างนี้<br />

ดังท่านระบุไว้อย่างชัดเจนว่าเต๋าเป็นอะไรที่<br />

“จ้องมองแต่มิอาจเห็น นี่เรียกว่าไร้รูป”<br />

วิธีฉายภาพของเหลาจื๊อ<br />

คือการร้อยเรียงคา สร้างวลีชวนฉงนเพื่อ<br />

‘ตบหน้า’<br />

ผู้อ่านที่กาลังหลับใหลยึดมายาฝันตรงหน้า<br />

ให้ตื่นขึ้นรู้จักความจริง<br />

และท่านก็<br />

ไม่เกรงจะถูกหัวเราะเยาะ ดังที่ดักคอไว้ว่า<br />

“เมื่อคนในระดับสูงได้รับฟังเต๋า<br />

ก็<br />

ปฎิบัติตามอย่างมีมานะ เมื่อคนในระดับปานกลางได้รับฟังเต๋า<br />

บางครั้งก็เข้าใจ<br />

บางครั้งก็ไม่เข้าใจ<br />

เมื่อคนในระดับต่าสุดได้รับฟังเต๋า<br />

ก็หัวเราะเยาะด้วยเสียง<br />

อันดัง!”<br />

สาหรับผม เมื่อสารวจตัวเองในขณะนั้น<br />

ก็ไม่รู้จะจาแนกให้ตนเป็นคนระดับใดดี<br />

ทราบแต่สนใจใคร่รู้<br />

และไม่ได้นึกอยากหัวเราะเยาะแต่อย่างใด<br />

และท่านเหลาจื๊อก็ไม่ได้จาแนกไว้อย่างหนึ่ง<br />

คือพวกที่ไม่รู้จะปฏิบัติตามวิธีแห่ง<br />

เต๋าอย่างไร แต่อ่านเต๋าอย่างนึกว่าเข้าถึงแล้ว จะกลายเป็นพวกหลงตัว สาคัญตน<br />

ผิดคิดว่ารู้มากกว่าคนอื่น<br />

เหนือกว่าคนอื่น<br />

ดังเช่นผมที่อ่านเต๋าแล้กลายเป็นพวก<br />

หลงตัวเข้าให้เต็มเปา<br />

ดัง ตฤณ<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

สารบัญ


โหรา (ไม่) คาใจ<br />

อ่านบนเว็บ • ฟังเสียงอ่าน<br />

เมื่อนางร้ายกลายเป็นนางเอก<br />

โดย Aims Astro<br />

ถาม – ดิฉันมีความสัมพันธ์ลึกซึ้งกับผู<br />

้ชายที่แต่งงานแล้ว<br />

นับวันความละอายใจที่<br />

ผิดศีลธรรมและรู้สึกผิดต่อภรรยาหลวง<br />

ก็ยิ่งทาให้ทุกข์ทรมานมากขึ้น<br />

แต่ก็ตัดใจ<br />

ไม่ได้เสียที ทั้งที่ดิฉันเองก็ไม่จาเป็นต้องพึ่งพาเขาในด้านการเงินและอื่นๆ<br />

เลย เคย<br />

ไปดูดวงหมอดูก็บอกว่าดวงดิฉันต้องเป็นเมียน้อย ถ้ากรรมลิขิตมาแบบนี้<br />

แล้วจะ<br />

มีทางไหนทาให้สามารถพ้นไปได้ไหมคะ<br />

สาหรับผู้หญิงที่คิดจะมีคู่<br />

คงไม่มีใครอยากตกในสภาพมือที่สาม<br />

ต้องปกปิดไม่<br />

สามารถเปิดเผยความสัมพันธ์ได้หรอกนะคะ ผู้หญิงบางคนถูกผู้ชายหลอกว่ายังโสด<br />

ต่อมาความลับเปิดเผยว่าเขามีภรรยาแล้ว เมื่อตัดใจไม่ได้ก็ต้องยอมรับสภาพเป็นทั้ง<br />

นางรองและนางร้ายในคนเดียวกัน เพราะเป็นคนที่มาทีหลังและถูกสังคมตราหน้าว่า<br />

เป็นเหตุที่ทาให้ครอบครัวคนอื่นเขาแตกแยก<br />

ซึ่งจริงๆ<br />

ผู้ชายก็ผิดด้วย<br />

เพราะตบมือ<br />

ข้างเดียวไม่ดังหรอกค่ะ<br />

ผู้หญิงบางคนตกอยู่ในสถานะนี้<br />

เพราะมีผู้ชายที่มีครอบครัวแล้วมาจีบ<br />

โดยที่เขา<br />

เปิดเผยมาตั้งแต่แรกว่าไม่โสดซะแล้ว<br />

แต่กาลังมีปัญหากันอยู่กับคู่สมรส<br />

โดยมักจะมี<br />

ข้ออ้างตามที่ยกตัวอย่างมานี้...<br />

“ไม่ได้รักภรรยาแล้ว แต่เขายังไม่ยอมหย่าให้ผม”<br />

“อยู่กันเพื่อลูก<br />

แต่ไม่มีความสัมพันธ์ฉันสามีภรรยามานานแล้ว”<br />

“อยู่เพราะสงสาร<br />

เขาไม่มีที่ไป”<br />

“ภรรยาเป็นคนร้ายกาจมาก ทาไม่ดีกับผมหลายๆ อย่าง”<br />

“หมอดูบอกว่าผมกับภรรยาไม่ใช่เนื้อคู่กัน”<br />

(- -‘’)<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

17


18<br />

ซึ่งกรณีที่ผู้ชายยอมรับว่ามีภรรยาแล้ว<br />

ทาให้ผู้หญิงหลายคนเข้าใจผิด คิดไปว่า<br />

เขาเป็นคนดี ไม่หลอกลวงว่ายังโสด แต่สาหรับผู้ชาย<br />

การให้ข้อมูลไปตามตรงแบบนี้<br />

อาจหมายความว่าเขาเตือนแล้วนะว่าเขามีพันธะแล้ว เมื่อเธอคิดจะก้าวเข้ามาในชีวิต<br />

ก็ต้องยอมรับสภาพคนมาทีหลัง จะมาโวยวายไม่ได้ว่าถูกหลอก เพราะเขาไม่ได้หลอก<br />

ก็บอกว่ามีเมียอยู่แล้วแต่เธอเต็มใจยุ่งกับเขาเอง!<br />

ในกรณีที่รู้ว่าชายคนรักมีภรรยาแล้ว<br />

ก็มีผู้หญิงบางคนเชื่อว่าเขาจะหย่าแล้วมา<br />

อยู่กับเธอ ซึ่งโดยมากผู้ชายจะไม่มีทางเลิกกับภรรยาเดิม<br />

และในขณะเดียวกันก็จะ<br />

ไม่ปล่อยผู้หญิงคนใหม่ไปด้วย<br />

จับปลาสองมือ (หรือเกินสองมือ) ไปเรื่อยๆ<br />

จนทุกข์<br />

ทรมานกันทุกฝ่าย มีแต่ฝ่ายชายเท่านั้นที่มักลอยตัวอยู่เหนือปัญหา<br />

ลูกค้าหญิงท่านหนึ่งที่กาลังทุกข์ทางใจเพราะตกเป็นนางรอง<br />

ตามดวงแล้วเธอเป็น<br />

คนที่ชอบมีความรัก<br />

อยากมีชีวิตคู่ที่มีความสุข<br />

แต่ในเรื่องความรักและการครองคู่<br />

ดาวเจ้าเรือนไปสัมพันธ์ในมุมของการเป็นรักซ้อน คือถ้าไม่ไปเป็นมือที่สามของคู่อื่น<br />

ก็จะมีคนอื่นมาเป็นมือที่สามระหว่างเธอกับคนรัก<br />

ในขณะที่มาดูดวงกันนี้<br />

ก็กาลังมีความสัมพันธ์แบบปกปิดกับชายที่แต่งงานแล้ว<br />

ซึ่ง<br />

เธอบอกว่าแค่ต้องการความอบอุ ่นใจบ้างเท่านั้น<br />

ไม่เคยคิดจะระรานบ้านใหญ่ ดิฉันฟัง<br />

แล้วพยายามให้สติว่า จริงๆ การที่ละเมิดคู่ครองของผู้อื่น<br />

ก็คือการระรานให้ใจของ<br />

ภรรยาเขาร้าวรานมากแล้ว และควรมีความเมตตากรุณาต่อลูกผู้หญิงด้วยกัน<br />

ขอให้<br />

เชื่อว่าวิบากกรรมมีจริง<br />

เพราะเห็นว่าขณะนี้เธอก็ตกนรกทั้งเป็นตั้งแต่ยังไม่ตาย<br />

ทั้ง<br />

ฟุ้งซ่านและร้อนรนในหัวใจ<br />

ถูกไฟบาปเผาจนทรมานจะแย่อยู่แล้ว<br />

สาหรับการตัดใจไม่ขาด ด้วยเหตุผลคือ “มันรักไปแล้ว” ก็ชี้ให้เห็นว่าแต่เดิม<br />

ความรักที่มีอยู่นี้ก็ไม่เคยมีมาก่อน<br />

แต่เกิดขึ้นเพราะมีเหตุให้เกิด<br />

เช่น มีการพบปะ<br />

พูดคุย มีกิจกรรมต่างๆ ร่วมกัน ฉะนั้นถ้าอยากให้ความรักที่ผิดศีลธรรมนี้ค่อยๆ<br />

จืดจางลง จนดับไปในที่สุด<br />

ก็ขอตั้งใจมุ<br />

่งมั่นว่าต่อแต่นี้จะรักษาศีลห้าให้ครบ<br />

แล้ว<br />

เลิกยุ่งเกี่ยวไม่ติดต่อกันทุกทาง<br />

เวลาจะช่วยทาให้ความรักเลือนลางลงไป ทุกข์<br />

ทรมานเพราะความคิดถึงน้อยลง แต่ต้องอาศัยจิตใจที่เข้มแข็ง<br />

เพราะช่วงแรกๆ<br />

จะทรมานมาก ต้องอดทน หัวเด็ดตีนขาดก็ไม่กลับไปหาเขาอีก<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong>


หลายคนไม่สามารถผ่านกระบวนการในการตัดใจนี้ได้<br />

เพราะเมื่อต้องห่างหาย<br />

จากคนที่เคยห่วงหา<br />

ช่วงแรกๆ จะรู ้สึกว้าเหว่มาก แม้รู ้เต็มอกว่ามันไม่ดี แต่ก็โหยหา<br />

เกินกว่าจะยอมทน สุดท้ายเลยปล่อยเลยตามเลย กลับไปรับตาแหน่งนางร้าย เป็น<br />

ทาสกิเลสยอมให้มันดึงลงต่ากันต่อไป<br />

ซึ่งปลายทางของความรักและความสัมพันธ์<br />

ทานองนี้<br />

มันทุกข์ทนยิ่งกว่าตรงที่ต้องตัดใจนี่อีกค่ะ<br />

ทั้งในเรื่องของผลกรรมและความ<br />

รู ้สึกไม่เคารพตัวเอง ตราบใดที่ยังต้องอยู<br />

่ในสภาพแบบนี้<br />

ก็คงยังไม่พ้นจากทุกข์ทรมาน<br />

ในใจไปได้<br />

ถ้ารักตัวเองจริงๆ แล้ว ก็ควรตัดใจแล้วตีตัวออกมา ยิ่งถ้าคิดว่ารักผู้ชาย<br />

คนนี้มาก<br />

ยิ่งไม่ควรไปผิดศีลร่วมกัน<br />

เพราะถ้าเริ่มความสัมพันธ์ด้วยการลักกิน<br />

ขโมยกิน มันร่วมบุญกันยาก เพราะเสพกามบนความทุกข์ของภรรยาหลวงอยู่ค่ะ<br />

ว่าแล้วก็ขอเล่าถึงคนที่สามารถเอาชนะกรรม<br />

พลิกเส้นทางจากนางร้ายกลายเป็น<br />

นางเอกได้ ให้ท่านที่มีปัญหาเดียวกันนี้<br />

ได้มีแรงบันดาลใจกันนะคะ : )<br />

ลูกค้าหญิงท่านหนึ่ง<br />

เมื่อตรวจดวงแล้วเห็นว่ามีปัญหายุ<br />

่งยากเกี่ยวกับเรื่องความรัก<br />

มีดาวราหูและดาวเสาร์ร่วมให้ความหมายที่เป็นโทษและเป็นทุกข์ในเรื่องคู่<br />

อีกทั้ง<br />

ดาวคู่ครองของตัวเองก็อยู่ในมุมวินาสน์<br />

(วินาสน์ แปลง่ายๆ ว่า ปกปิด, แอบซ่อน,<br />

ชั่วคราว)<br />

อ่านดาวทุกดวงประกอบกันแล้วเห็นว่ามีวิบากเรื่องความรัก<br />

มีคู่แล้วไม่มี<br />

ความสุข มีแล้วจะต้องไม่เป็นที่เปิดเผย<br />

อีกทั้งตาแหน่งของดาวที่แทนตัวเธอ<br />

มี<br />

ความหมายพิเศษว่า มักจะต้องยอมคนอื่น<br />

การยอมประการหนึ่งก็คือ<br />

ยอมเป็น<br />

“นางรอง” ของชายคนหนึ่งที่มีครอบครัวแล้ว<br />

เธออยู่ในสถานะนี้มาหลายปีค่ะ<br />

เธอเล่าว่าปัจจุบันได้เดินออกมาจากเส้นทางนี้แล้ว<br />

ดิฉันรู ้สึกดีใจด้วยจริงๆ เพราะ<br />

ด้วยกาลังของดาวที่แทนตัวเธอ<br />

และเส้นทางกรรมที่สร้างมาแบบนี้<br />

การพาตนเองให้<br />

พ้นจากการประพฤติผิดในกามจะต้องใช้กาลังใจใหญ่หลวง เธอบอกว่าได้ปฏิบัติธรรม<br />

และรู้สึกละอายที่ต้องผิดศีล<br />

ในที่สุดก็บอกเลิกกับผู้ชายคนนี้ได้<br />

ทั้งๆ<br />

ที่เขาคิดว่าเธอ<br />

คงไปไหนไม่รอด ตอนนี้เธอพยายามรักษาศีลห้าและปฏิบัติธรรมต่อไป<br />

ลูกค้าหญิงอีกท่านหนึ่งที่มีปัญหาเดียวกันนี้<br />

วันที่ตรวจดวงกับดิฉัน<br />

เธอถามว่า<br />

มีอะไรที่น่าเป็นห่วงบ้างหรือเปล่า<br />

อ่านดวงแล้วเห็นว่าเรื่องอื่นดีทุกอย่าง<br />

มีปัญหา<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

19


20<br />

เรื่องเดียวคือความรัก<br />

เพราะดาวตนเองและคู่ครองอยู่ร่วมกันในภพวินาสน์<br />

อ่านดาว<br />

ทุกดวงประกอบกันแล้วสรุปความได้ว่า ความรักอันหวานชื่นเป็นไปโดยปกปิด<br />

และ<br />

เป็นเรื่องราวที่เกิดขึ้นต่อเนื่องเป็นเวลานาน<br />

เธอยอมรับว่าใช่ เพราะเคยคบชายที่มีภรรยาแล้วและมีความสัมพันธ์กันมาร่วม<br />

สิบปี เรื่องราวความรักนี้มาสิ้นสุดลงเมื่อเธอหันมาปฏิบัติธรรม<br />

รักษาศีล ทาทาน<br />

พร้อมทั้งตั้งใจเด็ดขาดว่าจะต้องเลิกกับเขาให้จงได้<br />

และแล้วในวันนี้ก็ไม่ต้องข้องเกี่ยว<br />

กันในฐานะเดิมอีก เหลือไว้เพียงความเป็นเพื่อนเท่านั้น<br />

และตอนนี้เธอก็มีความสุข<br />

ขึ้นมากด้วยค่ะ<br />

ใครก็ตามที่มีโอกาสเดิน<br />

หรือกาลังเดินอยู่บนทางสายนางร้าย ก็ขอให้หักใจ<br />

เดินให้พ้นเส้นทางนี้เถิดนะคะ<br />

ถ้าคิดว่าเราอยากมีชีวิตคู ่ที่อบอุ<br />

่น ก็อย่าได้สร้างเหตุ<br />

อันไม่ดีนี้เลย<br />

เพราะถ้าอยากมีความรักที่ดี<br />

เราก็ต้องไม่เป็นเหตุที่ทาให้ครอบครัว<br />

คนอื่นเขาแตกแยกกัน<br />

ผลที่เห็นได้ชัดทันตาเห็นก็คือจิตใจที่สบายขึ้น<br />

ไม่ต้องใช้<br />

ชีวิตแบบหลบๆ ซ่อนๆ หรือมีความรู้สึกไม่ภูมิใจ<br />

บอกใครก็ไม่ได้ว่าคนรักของเรา<br />

เขาเป็นสามีของคนอื่น<br />

ขอให้เราเป็นอดีตนางร้ายที่ผันตัวมาเป็นนางเอก<br />

เป็นนางที่เดินอยู่บนทาง<br />

สายเอก ที่ถึงแม้ว่าจะต้องเดินคนเดียว<br />

ไม่มีใครคู่เคียงข้าง แต่ก็เดินได้อย่าง<br />

สบายใจ เพราะรู้ว่าทางเส้นนี้ปลอดภัยไม่ผิดศีลเถิดนะคะ<br />

: )<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

สารบัญ


คำาคมชวนคิด<br />

อ่านบนเว็บ • ฟังเสียงอ่าน<br />

บุคคลพึงรีบทาความดี พึงห้ามจิตจากบาป<br />

เพราะเมื่อทาบุญช้าไป<br />

ใจย่อมยินดีในบาป<br />

คาถาธรรมบท ปาปวรรคที่<br />

๙<br />

จากธรรมบท ในพระสุตตันตปิฎก<br />

จากพระไตรปิฎก ฉบับสยามรัฐ เล่มที่<br />

๒๕<br />

สืบค้นข้อมูล จาก http://84000.org<br />

<br />

Decorate yourself from the inside out.<br />

จงเติมแต่งความงามให้แก่ตนเองจากภายใน<br />

โดย Andrei Turnhollow<br />

ถอดความโดย อภิวันท์<br />

<br />

Your future depends on many things, but mostly on you.<br />

อนาคตของท่านขึ้นอยู่กับหลายสิ่ง<br />

แต่สิ่งที่สาคัญที่สุดคือตัวท่านเอง<br />

โดย Frank Tyger<br />

ถอดความโดย เบิกบานบุญ<br />

<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

21


22<br />

If you ever need a helping hand,<br />

you’ll find one at the end of your arm.<br />

หากท่านต้องการมือของใครสักคนเข้ามาช่วย<br />

ท่านจะพบได้ที่ปลายแขนของตนเอง<br />

สุภาษิตยิดดิช<br />

ถอดความโดย ภริมา<br />

<br />

A creative man is motivated by the desire to achieve,<br />

not by the desire to beat others.<br />

แรงจูงใจของผู้ที่มีความคิดสร้างสรรค์<br />

เกิดจากความปรารถนาที่จะทางานให้ประสบผลสาเร็จ<br />

มิใช่ความปรารถนาที่จะเอาชนะผู้อื่น<br />

โดย Ayn Rand<br />

ถอดความโดย ศิราภรณ์ อภิรัฐ<br />

สารบัญ <br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong>


ธรรมะจากคนสู้กิเลส<br />

อ่านบนเว็บ • ฟังเสียงอ่าน<br />

หนักแน่น เข้าไว้<br />

โดย ขอตามรอยท่านพ่อ<br />

ข้าพเจ้าเป็นคนธรรมดาคนหนึ่งที่โชคดี<br />

ตรงที่ตั้งแต่เด็กมาคุณแม่จะสอนให้<br />

หมั่นสวดมนต์<br />

ไหว้พระ และทาทานเสมอ พอโตขึ้นมาหน่อยก็ได้กัลยาณมิตรที่ดี<br />

ที่ชี้แนะธรรมะดีๆ<br />

หลายอย่างให้ปฏิบัติ สิ่งหนึ่งที่ตั้งใจไว้คือการตั้งใจที่จะรักษา<br />

ศีลห้าให้ได้ แต่อย่างโบราณท่านว่าไว้ ตั้งใจจะทาสิ่งใด<br />

สิ่งนั้นจากที่เคยดูเหมือน<br />

ง่ายก็กลับกลายเป็นยาก เหมือนมีมารผจญ<br />

แต่ก่อนเคยถามตัวเองว่าศีลข้อไหนที่มั่นใจว่ารักษาได้ง่ายที่สุด<br />

ตอบทันใจทันที<br />

แบบไม่ต้องคิดว่า “ข้อสาม” เนื่องจากว่าพื้นฐานนิสัยเป็นคนไม่ค่อยสนใจเพศตรงข้าม<br />

กับทั้งประกอบด้วยรูปลักษณ์ของตัวเอง<br />

ก็ต้องยอม รับกันตามตรงแบบภาษา<br />

ชาวบ้านว่า “ขี้เหร่”<br />

จึงคิดว่าคงไม่มีใครมาแลเหลียวให้ต้องไปมีอันแย่งชิงกับใคร<br />

แต่เมื่อตั้งใจรักษาศีลไปซักระยะหนึ่ง<br />

ก็มีเหตุให้ต้องวัดใจกันว่าจะไปรอดหรือไม่รอด<br />

คือเมื่อข้าพเจ้าย่างเข้าวัยรุ่นตอนกลาง<br />

อายุประมาณ ๒๕ ปี ก็มีโอกาสได้เจอ<br />

เพศตรงข้ามที่ถูกใจและไม่มีพันธะ<br />

จึงได้คบหาดูใจกันและตกลงเป็นแฟนกันมาเป็น<br />

ระยะเวลา ๘ ปี จนถึงปีที่<br />

๙ ที่ผู้ใหญ่ทั้งสองฝ่ายได้มีการคุยกันเรื่องการแต่งงาน<br />

ของเราทั้งสองคนและได้มาทาบทามสู่ขอ<br />

และมีกาหนดที่จะแต่งงานในอีกไม่กี่เดือน<br />

ข้างหน้า ซึ่งมันควรจะทาให้ข้าพเจ้าดีใจ<br />

ที่อุตส่าห์คบกันมา<br />

เกือบ ๙ ปีก็จะได้<br />

แต่งงานเป็นฝั่งเป็นฝากับเค้าเสียที<br />

ไม่เสียแรงที่คบกันมา<br />

แต่ก็มีเหตุให้ข้าพเจ้าไม่มีความยินดี แถมพกมาด้วยความวุ่นวายใจเป็นยิ่งนัก<br />

นั่นก็คือ<br />

ในช่วงปีท้ายๆ ของการคบกัน ข้าพเจ้าได้มีแอบปันใจให้กับเพื่อนร่วมงาน<br />

ซึ่งเค้าก็มีแฟนตัวจริงเสียงจริงของเค้าอยู่แล้ว<br />

รู้ทั้งรู้ก็ยังอยากจะดันทุรัง<br />

ทายังไง<br />

ได้ตอนนั้นกิเลสมันพาให้หลงผิดเข้าข้างตัวเองว่า<br />

ขนาดแต่งงานกันแล้วก็ยังเลิกกัน<br />

ได้ นับประสาอะไร กับแค่เป็นแฟน ตอนนั้นไม่รู้อะไรทาให้หลงผิดคิดไปได้เช่นนั้น<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

23


24<br />

ประกอบกับฝ่ายนั้นก็มีใจสัมพันธ์กับข้าพเจ้าด้วยเช่นกัน<br />

(ภาษาสมัยรุ่นสมัยนี้เค้า<br />

เรียกว่า “กิ๊ก”)<br />

จึงทาให้ข้าพเจ้าเกิดอาการกระอักกระอ่วนใจมากกว่าที่จะยินดี<br />

หรือดีใจที่จะได้แต่งงาน<br />

และข้าพเจ้าเองก็ไม่กล้าบอกกับแฟน ได้แต่คิดในใจว่า<br />

ข้าพเจ้าจะพยายามจัดการเรื่องนี้ให้ดีที่สุด<br />

โดยคิดว่าในเมื่อฝั่งโน้นก็มีเจ้าของแล้ว<br />

ส่วนตัวข้าพเจ้าอีกไม่เกิน หนึ่งเดือนก็จะแต่งงานมีคู่แล้ว<br />

หากยังสานสัมพันธ์กัน<br />

ต่อไปโอกาสที่จะล่วงละเมิดต่อกัน<br />

คงมีสูงมาก เพราะกิเลสมันไม่เข้าใครออกใคร<br />

เสียด้วย จึงคิดตัดสินใจเด็ดขาดที่จะยุติความสัมพันธ์นั้นเสีย<br />

แต่ให้ตายเถอะ คิดเอาน่ะ มันแสนง่าย แต่เวลาทาจริงนี่สิใจแทบขาด<br />

จาได้ว่า<br />

ความรู้สึกตอนนั้นมันทรมานมาก<br />

ที่จะไม่พูด<br />

ไม่มองหน้า และได้แจ้งกับฝ่ายโน้นว่า<br />

ข้าพเจ้าจะแต่งงานในไม่ช้านี้<br />

ซึ่งทาให้เค้าผิดหวังอย่างมากทีเดียว<br />

แต่ก็เหมือนเค้า<br />

จะไม่ยอมยุติความสัมพันธ์นั้นง่ายๆ<br />

ข้าพเจ้าเองก็กลัวว่าจะตัดใจจากเค้าไม่ขาด<br />

เช่นกัน ด้วยเหตุที่ว่าเพิ่งคบกัน<br />

มันก็เหมือนข้าวใหม่ปลามัน และยิ่งมีความสัมพันธ์<br />

แบบหลบซ่อนยิ่งทาให้ตื่นเต้นเร้าใจ<br />

คล้ายอาหารรสชาติแสนอร่อยให้เลิกกินคง<br />

ยากนัก แต่ด้วยใจที่ตั้งมั่นไว้ว่าจะไม่ยอมผิดศีลเด็ดขาดเพราะใจลึกๆ<br />

ก็รู้สึกตัวว่า<br />

กาลังมีเงาดาปกคลุมในใจ ศีลถึงไม่ขาดก็เริ่มด่างพร้อยแล้ว<br />

เกรงว่าอีกไม่นานคง<br />

จะทะลุแน่หากยังอยู่เห็นหน้ากัน ทางานด้วยกันเช่นนี้ทุกวัน<br />

จึงตัดสินใจลาออก<br />

จากงานอย่างกะทันหัน พอดีที่ข้าพเจ้าได้งานใหม่ในทันทีที่ลาออก<br />

จึงทาให้ข้าพเจ้า<br />

ไม่พบเจอเค้าอีกเลย<br />

จริงๆ เรื่องก็ควรจบ<br />

แต่มันกลับไม่เป็นเช่นนั้น<br />

ถ้าใครเคยได้ยินคาโบราณท่าน<br />

ว่าไว้ว่าอย่าเล่นกับไฟ ไฟจะไหม้มือ ฉันใด ก็เช่นกัน อย่าเล่นกับความหลงเพราะ<br />

ความหลงจะกินหัวเอา (เวลานั้นเข้าใจว่าเป็นความรัก)<br />

ข้าพเจ้ากลับยิ่งมีความ<br />

ทุรนทุรายใจมากกว่าเดิม ทั้งเสียใจที่ลาออกจากงาน<br />

ทั้งเสียใจที่ตกลงแต่งงานมี<br />

ครอบครัวกับสามี(ปัจจุบัน) ที่แสนดี(ที่เพิ่งคิดได้)<br />

ไปทางานที่ใหม่ก็ไม่ได้งานได้การ<br />

เสียใจมากจนร้องไห้ทุกวันแต่พยายามอย่างมากที่จะข่มใจไม่โทรหา<br />

แต่ก็เหมือน<br />

ใจเราตรงกัน เค้ากลับเป็นคนโทรมาหาเอง ทาให้ข้าพเจ้าดีใจ จนลืมตัวรับโทรศัพท์<br />

แล้วก็มีความสุขกับการได้พูดคุย เจ๊าะแจ๊ะ แต่หลังจากวางสายนี่สิ<br />

อาการตาม<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong>


มาด้วยความเศร้าอย่างมากมาย เรียกว่าถ้าใครเคยเศร้าเพราะความรักไม่สมหวัง เช่น<br />

ไรก็เช่นนั้นทีเดียว<br />

อกไหม้ไส้ขม เป็นอย่างที่คนโบราณว่าไว้<br />

แต่ก่อนไม่เข้าใจ แต่มาซึ้งกับคาที่ว่านี่ก็ครั้งนี้เลย<br />

เพราะมันเป็นแบบนั้นจริงๆ<br />

ความรู้สึกมีแต่ความรุ่มร้อน แผดเผาอยู่ภายในตลอดเวลา กินไม่ได้ นอนไม่ได้<br />

คิดถึงชู้ทางใจ(คนนั้น)<br />

ทั้งวันทั้งคืน<br />

พยายามหาธรรมะเข้าข่มสุดฤทธิ์ก็เอาไม่อยู่<br />

พยายามอ่านหนังสือธรรมะหาวิธีดับทุกข์ในใจก็ทาไม่ได้ อ่านก็ไม่รู้เรื่อง<br />

ธรรมะ<br />

ที่เคยปฏิบัติมาแต่น้อยเป็น<br />

อันหายสาบสูญไปหมด ช่วงเวลานั้นมันมืดมน<br />

รู้ตัว<br />

ว่ากาลังทาผิด รู้ดี แต่จะหยุดก็ทาไม่ได้ สู้กันภายในใจระหว่างความถูกต้องดีงาม<br />

กับความต้องการส่วนลึกของใจ ที่กาลังจะฝืนไม่ไหว<br />

ทรมานอยู่เช่นนี้เป็นเวลา<br />

๓ เดือนเต็มๆ ระหว่างนี้ข้าพเจ้าก็<br />

เข้ามาสมัครเป็นสมาชิกของลานธรรมเสวนา<br />

อ่านกระทู้ต่างๆ เพื่อหาอะไรก็ได้มาฉุดมาดึงตัวเองไว้<br />

ดิ้นรนสุดๆ<br />

จนในที่สุด<br />

หลังจากที่ใจทรมานมา<br />

๓ เดือนเกือบ ๔ เดือน ก็ไปสะดุดกับธรรมะของครูบาอาจารย์<br />

จาก กระทู้นี้<br />

http://www.larndham.net/cgi-bin/kratoo.pl/005026.htm ว่า<br />

“สิ่งที่ล่วงไปแล้ว<br />

ไม่ควรทาความผูกพัน เพราะเป็นสิ่งที่ล่วงไปแล้วอย่างแท้จริง<br />

แม้กระทาความผูกพันและหมายมั่นให้สิ่งนั้นกลับมาเป็นปัจจุบัน<br />

ก็เป็นไปไม่ได้<br />

ผู้ทาความสาคัญมั่นหมายนั้นเป็นทุกข์แต่ผู้เดียว<br />

โดยความไม่สมหวังตลอดไป<br />

อนาคตที่ยังมาไม่ถึงนั้น<br />

เป็นสิ่งไม่ควรไปยึดเหนี่ยว<br />

เกี่ยวข้องเช่นกัน<br />

อดีตปล่อย<br />

ไว้ตามอดีต อนาคตปล่อยไว้ตามกาลของมัน ปัจจุบันเท่านั้นจะสาเร็จประโยชน์ได้<br />

เพราะอยู่ในฐานะที่ควรทาได้<br />

ไม่สุดวิสัย”<br />

โอ! พออ่านจบเท่านั้นแหละ<br />

วลี ที่ผุดในความคิดของข้าพเจ้า<br />

ณ เวลานั้น<br />

คือ เออจริงด้วย เพราะตอนนั้นตรงกับอาการข้าพเจ้าพอดิบพอดี<br />

ข้าพเจ้าเหมือน<br />

มีคนมาจุดไฟนาทาง มองเห็นกระจ่างชัดในความมืด แจ้งเข้าไปถึงใจว่าที่ผ่านมา<br />

ข้าพเจ้าสาคัญมั่นหมาย<br />

พยายามยื้อยุดสิ่งที่ผ่านไปแล้ว<br />

จะให้หวนคืน จะให้ตัวเอง<br />

กลับไปเป็นโสด กลับไปก่อนแต่งงาน จะให้ตัวเองได้กลับไปทางานที่เดิมอีกครั้ง<br />

เพื่อจะได้พบคนๆนั้นอีก<br />

แต่ไม่ได้หันมองที่ปัจจุบัน<br />

ไม่ยอมรับปัจจุบันกาลที่เป็น<br />

อยู่ จึงทุกข์สาหัสสากรรจ์เนิ่น<br />

นาน เมื่อแจ้งแก่ใจ<br />

เหมือนใจมันเบาขึ้น<br />

โล่งโปร่ง<br />

เบาโหวง แต่อย่างว่าพิษ(หลง)มันฝังลึก ไอ้ครั้นอ่านธรรมะประโยคเดียวจะถอน<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

25


26<br />

พิษทั้งหมดได้<br />

มันไม่ง่ายขนาดนั้น<br />

แต่ต้องอาศัยกาลังกาย กาลังใจ ทุกครั้งที่<br />

ใจลอยคิดไปถึงเค้าคนนั้นจนจะก่อร่างสร้างจินตนาการขึ้นมา<br />

ข้าพเจ้าก็จะคิดถึง คา<br />

สอน ประโยคข้างบนของครูบาอาจารย์ทุกครั้ง<br />

ใจก็จะหยุดประหวัดคิดถึงเค้า ก็กลับ<br />

มาอยู่กับปัจจุบันขณะ<br />

เป็นช่วงๆ อย่างนี้ไปตลอดเวลา<br />

ผ่านไปอีก ๓ เดือน จนใจของข้าพเจ้าสังเกตเห็นว่าคิดถึงเค้าน้อยลง ก็เออนะ<br />

มันก็ไม่เที่ยง<br />

เริ่มเห็นความเปลี่ยนแปลง<br />

และเริ่มมีกาลังใจว่า<br />

๓ เดือนผ่านไป<br />

คิดถึงเค้าน้อยลง งั้นอีก<br />

๓ เดือนข้างหน้าก็มีหวังตัดใจได้ (ถ้าเลิกย้าคิด<br />

ให้จิต<br />

อยู่กับปัจจุบัน<br />

ให้ระลึกถึงอยู่กับปัจจุบันใส่ใจอยู่กับปัจจุบันไม่ว่าจะทางาน<br />

หรือทา<br />

อย่างอื่นก็ให้อยู่กับสิ่งที่<br />

กาลังทาอยู่) จนเมื่อครั้งล่าสุดเค้าคนนั้นโทรมาตอนสิ้นปี<br />

ที่ผ่านมาเพื่อชวนไปทานอาหารกัน<br />

สองต่อสอง ข้าพเจ้าบอกว่าอยากให้ชวนเพื่อน<br />

คนอื่นไปด้วย<br />

แต่เค้าบอกว่าอยากสวีทกับข้าพเจ้าแค่สองคน จึงคิดในใจว่ามาแระ<br />

(แล้ว) รู้ทันและรู้ตัว ไม่หลงไปแล้ว ถ้าเป็นแต่ก่อนคงหลงรับคา สรรหาเสื้อผ้า<br />

แต่งให้ดูสวยงาม แล้วก็แปลกแต่จริง ที่ข้าพเจ้าทาได้<br />

ข้าพเจ้าสามารถบอกปฏิเสธ<br />

ได้โดยไม่เหลือความอาลัย และไม่ได้ยินดีปรีดา อย่างแต่ก่อนเลย และสามารถวาง<br />

เค้าไว้ ในสถานะของอดีตเพื่อนร่วมงานคนหนึ่งได้<br />

บางครั้งข้าพเจ้าก็ถามตัวเองว่า<br />

เราปฏิบัติธรรมเรื่อยๆไปทาไม<br />

ดูเหมือนจะไม่มี<br />

ประโยชน์อันใดเลย แต่เมื่อมีเหตุการณ์มาทดสอบนั่นแหละ<br />

ถึงได้รู้ว่าการปฏิบัติ<br />

ธรรมมีประโยชน์มหาศาล และถ้าเราผ่านไปได้นั่นหมายถึง<br />

เราได้ห่างไกลจาก<br />

บาปเวร และห่างจากปากหลุมแห่งอบายภูมิ แถมพกความภูมิใจ เวลาเดินก็ยืด<br />

อกได้อย่างสง่างาม ไม่ต้องคอยระแวงว่าใครจะรู้เรื่องความชั่วของเรา<br />

ดังคาโบราณ<br />

(หนังจีน)ว่าไว้ เงยหน้าไม่อายฟ้า ก้มหน้าไม่อายดิน เมื่อไม่ได้ผิดลูกเขา<br />

สามีเขา<br />

ภรรยา หรือสิ่งอันเป็นที่รักของใคร<br />

และรู้สึกอุ่นใจว่าอย่างน้อย ณ เวลานี้เราก็<br />

ปลอดภัยจากภัยเวรนี้ได้<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

สารบัญ


แง่คิดจากหนัง<br />

อ่านบนเว็บ • ฟังเสียงอ่าน<br />

Frequency / Operation Love<br />

เวลาไม่ย้อนกลับ<br />

โดย ชลนิล<br />

บทความนี้มีการเฉลยเนื้อหาที่อาจจะทาให้ผู้อ่านเสียอรรถรสในการชมภาพยนตร์<br />

มีคนเคยขอให้ผมเขียนถึงหนังเกี่ยวกับการย้อนเวลา<br />

เพื่อกลับไปแก้ไขข้อผิดพลาดในอดีต<br />

เขาบอกว่าเพราะตัวเองก็มีเรื่องในอดีตที่อยากกลับไปแก้ไขเยอะเหมือนกัน<br />

ผมว่า...นอกจากเขาคนนั้นแล้ว<br />

ก็น่าจะมีอีกหลายคนที่มีความคิดคล้ายคลึงกัน<br />

ฉบับนี้จึงขออนุญาตนาหนังแนวนี้สองเรื่องแต่สองรสชาติมาเล่าเพื่อเปรียบเทียบกัน<br />

เราอาจได้เห็นมุมมองอะไรบางอย่างที่น่าสนใจกว่าเดิมก็ได้<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

27


28<br />

Frequency เป็นเรื่องของจอห์น<br />

ซัลลิแวน<br />

นายตารวจหนุ่มผู้สูญเสียบิดาที่เป็นนักผจญเพลิงไปเมื่อสามสิบปีก่อน<br />

ในระหว่างปฏิบัติหน้าที่<br />

ความที่ไม่มีพ่อตั้งแต่เล็กเขาจึงมีปมปัญหาในใจมาตลอด<br />

จอห์นพบวิทยุสื่อสารสมัครเล่นของพ่อในบ้าน<br />

ลองนามันเปิดเครื่องดู<br />

ปรากฏว่าใช้ได้ ประจวบกับเวลานั้นเกิดพายุแม่เหล็ก<br />

ทาให้เกิดปรากฏการณ์ออโรล่า จอห์นจึงสามารถใช้วิทยุสื่อสารเครื่องนี้<br />

ติดต่อกับพ่อ ผ่านกาลเวลาสามสิบปี...<br />

Operation Love เป็นเรื่องของอิวาเสะ<br />

เคน ชายหนุ่มปากหนัก<br />

ไม่กล้ายอมรับหัวใจตนเอง ที่จาใจต้องไปงานแต่งงานของโยชิดะ<br />

เรอิ<br />

หญิงสาวที่เขาแอบรักมาตั้งแต่เด็ก...มางานแต่งงานครั้งนี้<br />

เหมือนถูกจับเข้าเครื่องประหาร<br />

หัวใจเจ็บปวดจนยากจะทนไหว<br />

แถมยังต้องขึ้นไปกล่าวอวยพรคู่บ่าวสาวในฐานะเพื่อนเก่าตั้งแต่ชั้นประถม<br />

กัดฟันพูดแสดงความยินดีทั้งที่หัวใจกาลังร้องไห้<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong>


เทวดาประจาโบสถ์เห็นความหดหู่<br />

เสียใจของเขาถึงขนาดนั้น<br />

ก็เกิดความสงสาร<br />

เลยให้โอกาสเขากลับไปแก้ไขเหตุการณ์ในอดีต<br />

ผ่านรูปสไลด์งานแต่งงานทีละภาพ ทีละช่วงเวลา<br />

หวังว่าเมื่อเขาสามารถแก้ไขข้อผิดพลาดต่าง<br />

ๆ ในวัยเยาว์ได้แล้ว<br />

เจ้าบ่าววันนี้จะเป็นตัวเขาเอง...<br />

จอห์นไม่สามารถย้อนเวลา แต่การมีโอกาสติดต่อ พูดคุยกับพ่อ<br />

ทาให้เขาสามารถเตือนภัยให้พ่อระวังตัวตอนไปดับเพลิง<br />

และแนะนาทางรอดจากตึกไฟไหม้ที่พ่อเสี่ยงภัยทางาน<br />

จนสามารถรอดชีวิตกลับมาได้<br />

ทว่า...เมื่อพ่อของจอห์นรอดตาย<br />

แม่เขากลับเสียชีวิตจากฆาตกรโรคจิต<br />

ซึ่งควรจะตายเช่นกัน<br />

หากพ่อจะไม่รอดชีวิตกลับมาคราวนั้น!<br />

เคนสามารถย้อนเวลาได้เป็นช่วง ๆ ไม่นานนัก ก่อนจะมีการถ่ายรูปแต่ละครั้ง<br />

และช่วงระยะเวลาสั้น<br />

ๆ เหล่านั้น<br />

ทาให้เขาได้เรียนรู้ใจตนเองว่า<br />

รักเรอิมากแค่ไหน<br />

และเรอิก็มีใจให้เขาเช่นกัน เพียงแต่ทั้งคู่รู้จักกันตั้งแต่เล็ก<br />

สนิทสนมกันมากเกินไป<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

29


30<br />

จนไม่กล้าก้าวข้ามเส้นแบ่งมิตรภาพมาเอ่ยปากบอกรัก<br />

และเคนก็ไม่ชัดเจนในการแสดงออกต่อเรอิเสียที<br />

ความคลุมเครือและขลาดอายทาให้เคนไม่กล้าบอกรักเรอิ<br />

ไม่ว่าจะย้อนเวลากลับไปสักกี่รอบ...สิ่งเดียวที่ทาได้<br />

คือทาให้เรอิมีรอยยิ้ม<br />

และเห็นความจริงใจของเขามากขึ้น<br />

สองหนังย้อนเวลาแต่ต่างแนว ต่างอารมณ์กันคนละขั้ว<br />

Frequency เป็นหนังแนวสืบสวน แอคชั่น<br />

ที่สนุกตื่นเต้นแบบไม่ปิดบังสาระของตน<br />

Operation Love เป็นหนังโรแมนติกแบบสุด ๆ<br />

ที่ซ่อนนัยเรื่องการเรียนรู้หัวใจตนเองอย่างแนบเนียน<br />

บทสรุปของหนังทั้งสอง<br />

ก็ชัดเจนในสิ่งที่ต้องการจะสื่อ...<br />

เมื่อจอห์นช่วยให้พ่อรอดชีวิต<br />

แต่กลับต้องสูญเสียแม่ไปนั้น<br />

เขาก็พยายามติดต่อพ่ออีกหลายครั้ง<br />

เพื่อร่วมมือกันยับยั้ง<br />

ป้องกันเหตุร้ายไม่ให้เกิด<br />

พร้อมกับช่วยกันตามล่าฆาตกรต่อเนื่องคนนั้นจนสาเร็จ<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong>


ชีวิตจอห์นในปัจจุบันจึงมีความสุขสมบูรณ์ ครอบครัวอยู่พร้อมหน้า<br />

และได้คืนดี เข้าใจกับคนรักของตน...<br />

อิวาเสะเคน มีโอกาสย้อนเวลาไปจนถึงสไลด์รูปสุดท้าย<br />

แต่เขาก็ยังไม่สามารถบอกรักเรอิได้สักที จนต้องยอมถอดใจ<br />

รู้ว่าไม่สามารถทาอะไรได้อีกแล้ว<br />

เพราะถึงเขาจะเห็นหัวใจตนเองว่ารักเธอมากแค่ไหน<br />

แต่เขาก็ไม่กล้าที่จะเปลี่ยนแปลงนิสัย<br />

การกระทาของตนสักที<br />

เทวดาประจาโบสถ์ยังใจดี เปิดโอกาสให้เขากลับมาปัจจุบันก่อนเวลาเล็กน้อย<br />

เคนจาเป็นต้องขึ้นไปกล่าวอวยพรคู่บ่าวสาวอีกครั้ง<br />

และคราวนี้<br />

เขารู้อย่างแน่ใจว่าเข็มนาฬิกาจะไม่หมุนย้อนกลับอีกแล้ว<br />

ถ้ายังลังเล<br />

รีรอเหมือนที่ผ่านมา<br />

เขาก็จะสูญเสียโอกาสสุดท้ายไปอย่างไม่สามารถคว้าคืน<br />

เพราะฉะนั้น<br />

สิ่งที่เคนต้องการพูดมากที่สุดมาตลอดชีวิต<br />

จึงไม่ถูกเก็บกัก ปิดกั้นอีกต่อไป<br />

คาบอก “รัก”<br />

กลางงานแต่งงานจึงเกิดขึ้นท่ามกลางความตกใจของผู้คน<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

31


32<br />

มันอาจไม่สามารถเปลี่ยนแปลงอะไรเลยก็ได้...แต่ครั้งนี้เคนมั่นใจว่า<br />

เขาจะไม่มีวันมานึกย้อนเสียใจในการกระทาของตนเองเด็ดขาด!<br />

สิ่งที่บอกชัดเจนใน<br />

Frequency ก็คือ...เมื่อคุณเปลี่ยนอดีต<br />

ปัจจุบันย่อมเปลี่ยน...ทาปัจจุบันดี<br />

อนาคตย่อมดี...หนังจึงพยายามให้ตัวเอกเปลี่ยนอดีตไปในทิศทางที่จะได้อนาคต<br />

ที่สมบูรณ์งดงาม...แต่นั่นหมายความว่าคุณต้องรู้เหตุการณ์ล่วงหน้า<br />

ถึงจะหลีกเลี่ยงเรื่องร้าย<br />

ๆ ได้<br />

หรือไม่ก็...คุณต้องเรียนรู้<br />

ศึกษาข้อมูลจากความผิดพลาดมากพอ<br />

จึงจะพอสามารถคาดเดาเหตุการณ์ล่วงหน้าได้<br />

ขณะที่<br />

Operation Love ไม่ได้ต้องการให้คนดูคิดย้อนเวลากลับไปเปลี่ยนอดีต<br />

แต่กลับลงลึงเข้าไปถึงจิตถึงใจเลยว่า ถ้าคุณยอมรับตัวเอง<br />

ไม่โกหกหัวใจ...กล้าที่จะเปลี่ยนแปลงตนเองไปในทิศทางเหมาะสม<br />

คุณก็จะไม่มีวันทาเรื่อง<br />

ที่ให้ย้อนกลับมานึกเสียใจได้อีก<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong>


คนเราทาเรื่องผิดพลาดกันได้<br />

แต่ทาผิดแล้ว อย่าพลาดซ้า<br />

จนต้องมานึกเสียใจทีหลัง<br />

ไม่มีใครย้อนเวลากลับไปแก้ไขอดีตได้หรอก<br />

“ความผิดพลาด” ถือเป็นครู นามาใช้เป็นบทเรียน เพื่อเรียนรู้<br />

เปลี่ยนแปลงตัวเอง...รู้จักระมัดระวัง<br />

รู้จักที่จะใช้ชีวิตด้วยความไม่ประมาท<br />

วันเวลาไม่มีทางย้อนกลับ... แต่คนที่กระทาทุกสิ่งด้วยความไม่ประมาท<br />

มีความตั้งใจ<br />

เต็มกาลัง ไม่บิดเบือนโกหกตัวเอง ต่อให้มันสาเร็จ หรือล้มเหลว<br />

ก็จะไม่มีวันมาเสียใจ เสียดาย เพราะสามารถพูดได้เต็มปากว่า...ทาดีที่สุดแล้ว<br />

จอห์น ซัลลิแวน สามารถใช้ประโยชน์จากการสื่อสารข้ามเวลา<br />

มาเปลี่ยนแปลงปัจจุบันตนเอง<br />

จนได้รับสิ่งที่พอใจ<br />

สมบูรณ์<br />

แต่นั่น<br />

มันคงเป็นแค่เปลือกของความสุขเท่านั้น...<br />

เพราะข้างในใจเขายังเหมือนเดิม ไม่ได้เรียนรู้อะไรมากไปกว่า<br />

...ถ้ารู้ว่าสิ่งนั้นจะเกิด...ฉันจะไม่ทาสิ่งนี้...<br />

อิวาเสะ เคนต่างหาก ที่มีความเปลี่ยนแปลงจากข้างใน<br />

แม้เขาจะกลับไปบอกรักเรอิไม่ได้สักที แต่ทุกครั้งที่เขามีโอกาสย้อนเวลา<br />

มันก็ทาให้เขาเห็นข้อบกพร่องของตน จนค่อย ๆ ขัดเกลามันได้ทีละนิด<br />

เห็นความจริงในใจชัดเจนขึ้นเรื่อย<br />

ๆ จนกระทั่งทาให้จิตใจข้างในเริ่มเปลี่ยน...<br />

เปลี่ยนขนาดที่ว่า<br />

ให้คนขี้ขลาดเรื่องความรักอย่างเขา<br />

กล้าเปิดเผยหัวใจกลางงานแต่งงานนั่นแหละ!<br />

ถึงแม้จะมีเพียงกลุ่มเพื่อนรักปรบมือชื่นชม<br />

คนอื่นในงานมองมาเหมือนเห็นเป็นคนบ้า<br />

แต่เคนก็ไม่รู้สึกเสียใจสักนิด<br />

สิ่งที่ค้างคาในใจถูกเปิดเผยจนหมดแล้ว<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

33


34<br />

เรอิจะยกเลิกการแต่งงานหรือไม่...ก็ไม่สาคัญ<br />

เจ้าบ่าวและแขกเกือบทุกคนจะเกลียดจนไม่มองหน้าก็ช่าง...<br />

พันธนาการหลุดจากใจแล้ว เขาสามารถก้าวไปข้างหน้าได้เสียที...<br />

วันเวลาไม่สามารถย้อนกลับ...สิ่งที่สมควรกระทา<br />

ได้ทาแล้วหรือไม่<br />

รู้มั้ย...เวลาของมนุษย์เราแสนสั้นเพียงไร<br />

ถ้ายังมัวประมาท ขลาดเขลา ปล่อยให้เวลาล่วงผ่านโดยไม่ทาอะไร<br />

ย่อมต้องมีวัน...นึกย้อนกลับมาเสียใจ<br />

อดีตแก้ไขไม่ได้ ปัจจุบันยังประมาท...ไม่ต้องพูดถึงอนาคต<br />

วันใดที่นึกย้อนเสียใจ<br />

ในเรื่องราวที่ล่วงผ่าน<br />

อย่าหวังว่าจะย้อนกลับไปแก้ไข...<br />

ถ้าจะหวัง...ก็หวังเพียง...<br />

ให้สิ่งที่ผิดพลาดเหล่านั้น<br />

มาเป็นบทเรียนสอนเรา<br />

ให้เข้าใจ เกิดการเรียนรู้...เปลี่ยนแปลงการกระทาเดิม<br />

ๆ<br />

จนกระทั่งมัน...ถูกเปลี่ยนชัดเจน<br />

จากภายในจิตใจ...<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

สารบัญ


นวนิยายอิงธรรมะ<br />

อ่านบนเว็บ • ฟังเสียงอ่าน<br />

รัก พ.ศ. ๑๐๐<br />

โดย วิ ลาศินี<br />

(เริ่ม<br />

ลง ตั้งแต่<br />

ฉบับ ที่<br />

๔๖ http://dungtrin.com/mag/?46.fiction)<br />

บทที่หก<br />

ระหว่างการฟังธรรมในวิหาร ภาวิณีและศรีรามไม่รู้ว่าเกิดเหตุการณ์โกลาหล<br />

ใดๆขึ้นในวัง<br />

ทั้งยังมิรู้ว่านอกวิหารในเวลานั้นมีขบวนพระภิกษุหลายร้อยรูปกาลัง<br />

จาริกมาถึง เมื่อพระเถระในวิหารแสดงธรรมจบแล้ว<br />

ยามผู้เฝ้าประตูจึงได้มาบอก<br />

กล่าวแก่ภาวิณีถึงการมาของพระสงฆ์ที่ได้เดินทางผ่านมาและขอเข้าพักแรมในบริเวณ<br />

มหาวิหารบุพพาราม<br />

“เหล่าพระเถระเดินทางมาจากที่ใด”<br />

“เข้าใจว่ารวมตัวกันมาจากแคว้นโกลิยะขอรับนายหญิง พระภิกษุกลุ่มนี้กล่าวว่า<br />

กาลังจะเดินทางไปทาการสังคายนาที่เมืองปาฏลีบุตร”<br />

ผู้รับใช้รายงานตามที่ได้ยินมา<br />

“เข้าใจผิดแล้วกระมัง การสังคายนาสิ้นสุดไปแล้ว”<br />

ภาวิณีกล่าวพร้อมหันไปหาศรีราม ชายหนุ่มส่ายหน้า เริ่มเห็นความไม่ชอบมา<br />

พากล<br />

“คงจะเป็นกลุ่มพระเถระที่ไม่ได้เข้าร่วมการสังคายนาในครั้งที่ผ่านมานะขอรับ<br />

ที่จริงพระสงฆ์กลุ่มนี้ก็แยกเป็นนิกายต่างหากแล้วตั้งแต่ปฐมสังคายนา”<br />

“ข้อนั้นฉันเคยได้ยินมา<br />

ตั้งแต่กาลนั้นก็มีภิกษุบางคณะเริ่มประกาศตนว่าเป็นนิกาย<br />

มหาสังคีติที่มีศีลสิกขาต่างจากมติในปฐมสังคายนาบ้างบางข้อ”<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

35


36<br />

“แต่เวลานี้มีรอยร้าวในสังฆมณฑลที่ดูจะรุนแรงขึ้นขอรับ<br />

ในครั้งนั้นแท้ที่จริง<br />

พระปุราณะยอมรับในการสังคายนา แต่ไม่ยอมรับเพียงศีลบางข้อที่ท่านเคยได้ยิน<br />

จากพระพุทธเจ้าแต่ไม่เคยทราบว่ามีการยกเลิกในภายหลัง ส่วนครั้งนี้...”<br />

“นี่คือส่วนหนึ่งในพระเถระเรือนหมื่นที่พี่ศรีรามกล่าวมาในจดหมายใช่หรือไม่เจ้าคะ”<br />

“น่าจะใช่นะขอรับ”<br />

“เช่นนั้น<br />

ฉันจะจัดที่พักให้พระภิกษุที่เดินทางมา<br />

เข้าพักที่มิคารมาตุปราสาท๑1เสีย<br />

คืนหนึ่งก่อน”<br />

ว่าแล้วหญิงสาวก็หันไปสั่งแก่บ่าวไพร่<br />

“วาสุ รีบไปบอกคนงานให้เตรียมเสนาสนะในปราสาทให้เรียบร้อย เปิดห้อง<br />

ชั้นบนทางด้านปีกซ้ายที่มิได้ใช้งานไว้เตรียมรอรับพระสงฆ์<br />

พิมาลา บอกแม่ครัวให้เตรียมสารับสาหรับภัตตาหารในวันพรุ ่งนี้เพิ่มอีกห้าร้อยรูป<br />

โกมล เข้าไปบอกอุบาสกอุบาสิกาให้ทราบว่าวันนี้งดการสนทนาธรรม<br />

เนื่องจาก<br />

พระเถระในบุพพารามมีพระอาคันตุกะมากะทันหัน<br />

พิมุก เจ้าไปรั้งพระคุณเจ้าทั้งหลายให้อยู่รอที่ปีกขวาของวิหาร<br />

รอให้อุบาสก<br />

อุบาสิกากลับกันก่อนค่อยนิมนต์เหล่าภิกษุให้เข้ามานมัสการพระเรวัตตะเถระเสีย<br />

ก่อนจะเข้าพักแรม”<br />

นิ่งดูการสั่งงานของภาวิณีเพลิน<br />

ศรีรามยังหาตาแหน่งของตนไม่ได้<br />

“ฉันจะเข้าไปกราบเรียนพระเรวัตตะถึงการมาของคณะสงฆ์กลุ ่มนี้สักครู<br />

่ พี่ศรีราม<br />

อยู่เป็นเพื่อนฉันก่อนไหมเจ้าคะ”<br />

๑ มิคำรมำตุปรำสำท ปราสาทที่นางวิสาขาสร้างถวาย<br />

พระพุทธองค์ตรัสให้พระโมคคัลลานะและภิกษุอีก<br />

๕๐๐ รูป เป็นผู้ให้คาแนะนาในการก่อสร้าง<br />

ลักษณะเป็นปราสาท ๒ ชั้น<br />

มีห้องพานักชั้นละ<br />

๕๐๐<br />

ห้อง<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong>


“ด้วยความเต็มใจขอรับ กระผมเพียงแต่แปลกใจที่น้องหญิงให้การต้อนรับ<br />

พระคุณเจ้าเหล่านี้อย่างดี<br />

ทั้งที่ก็รู้ว่าคณะสงฆ์ในบุพพารามล้วนเป็นลูกศิษย์ของพระ<br />

อานนทเถระ ซึ่งจะต้องไม่เห็นชอบแน่ๆที่จะมีการแตกแยกนิกายหรือแก้ไขธรรมวินัย<br />

ที่นอกเหนือจากการสังคายนา”<br />

“หามิได้ ฉันตั้งใจแยกอุบาสกอุบาสิกาออกไปก่อน<br />

เพื่อมิให้มีใครเข้ามาสอบถาม<br />

เหล่าพระอาคันตุกะแล้วมีจิตใจหวั่นไหวในความมั่นคงของสังฆมณฑล<br />

แม้แต่ที่พัก<br />

ทางด้านปีกซ้ายของมิคารมาตุปราสาท ที่นั่นก็จะห้ามมิให้พระภิกษุที่เพิ่งบวชใหม่เข้า<br />

ผู ้ที่มาใหม่มักจะมีอินทรีย์อ่อน<br />

ต้องคัดแยกออกไปมิให้กลายเป็นผู ้จุดชนวนให้รอยร้าว<br />

เป็นไปในทิศทางที่แย่ลง<br />

ส่วนเหล่าคณะสงฆ์ที่เหลืออยู่ในอุโบสถเวลานี้<br />

ล้วนมีอินทรีย์แก่กล้า ตระหนักว่า<br />

สิ่งทั้งหลายย่อมมีความเสื่อมไปเป็นธรรมดา<br />

ไม่เว้นแม้แต่การแตกแยกนิกายที่ต้องมี<br />

มาไม่วันใดก็วันหนึ่ง<br />

สิ่งที่ต้องวางแนวทางต่อไปสาหรับพุทธศาสนิกชนย่อมต้องเป็น<br />

ความศรัทธาโดยไม่แบ่งแยก เพราะไม่ว่านิกายใด ล้วนเป็นศิษย์ของตถาคตเช่นกัน”<br />

“น้องหญิงพูดราวกับทราบถึงกาลในวันข้างหน้ามาก่อนแล้ว”<br />

“เช่นเดียวกับพี่ศรีรามที่ไม่เคยบอกฉันว่ามีเจโตนี่เจ้าคะ”<br />

ภาวิณีตอบด้วยสายตาระคนยิ้ม<br />

ศรีรามค่อยสัมผัสถึงพลังของสมาธิอันตั้งมั่นจน<br />

สามารถข้ามไปรับรู้ยังภพภูมิหรือเหตุการณ์ใดๆที่จะเกิดขึ้นในภายหน้า<br />

ศรีรามยิ้มบ้าง<br />

อย่างคนที่ไม่รู้สึกว่าตนเป็นคนแปลกแยกอีกต่อไป<br />

หญิงสาวตรง<br />

หน้ามีอนาคตังสญาณ๒2 แต่ก็ปิดบังไว้ใช้ในยามจาเป็นเช่นกัน...<br />

๒ อนำคตังสญำณ ญาณหยั่งรู้เหตุการณ์ต่อไปในอนาคตของคน<br />

สัตว์ สิ่งของ<br />

สถานที่ได้โดยไม่จากัด<br />

กาลเวลา<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

37


38<br />

ในห้องบรรทม<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

บทที่เจ็ด<br />

องค์ราชาและราชินียังรอคาตอบจากพระธิดาองค์น้อย พระมารดาผู้เป็นรานีแห่ง<br />

สาวัตถีตรัสเปิดทาง<br />

“ที่จริงลูกแม่มีทางเลือกอื่นอีก<br />

เช่นอาจ..”<br />

“ลูกยินดีเพคะ เสด็จแม่...”<br />

จันทราวตีทรุดองค์ลงต่อหน้าพระมารดา แล้วน้อมพระวรกายลงจรดพระนลาฏ<br />

ที่ฝ่าพระบาทองค์ราชินีแห่งสาวัตถี<br />

“ลูกยินดีปลดเปลื้องยศถาบรรดาศักดิ์ทุกอย่าง<br />

ห่วงแต่รอยบาทนี้<br />

ลูกคงมิอาจ<br />

ก้าวย่างตามรอยได้ ห่วงแต่พระอุทรนี้ที่แบกอุ้มลูกมาแต่หนหลัง<br />

ยังมิได้ทดแทนคุณ<br />

ห่วงแต่อุระนี้จะเฝ้าถวิลหาลูกในเวลาที่พรากจาก<br />

หากลูกมิใช่พระธิดาแห่งสาวัตถีแล้ว<br />

จะยังมากราบเข้าเฝ้า ปรนนิบัติเสด็จแม่อีกได้หรือไม่เพคะ”<br />

“เหตุใดจะไม่ได้เล่า วตี ไม่ว่าอยู่ในฐานันดรใด<br />

เจ้าก็เป็นลูกแม่”<br />

“ขอบพระทัยเพคะ เสด็จแม่ ... เสด็จพ่อ ...”<br />

“มาหาพ่อหน่อยซิลูก”<br />

จันทราวตีลุกไปเข้าเฝ้าพระบิดา องค์ราชากอดประคองธิดาองค์น้อยไว้ในพระอุระ<br />

“กษัตริย์ตรัสแล้วไม่คืนคา เจ้าพูดแล้วจะเปลี่ยนใจไม่ได้นะ<br />

จันทราวตี”<br />

“เพคะ เสด็จพ่อ”<br />

เวลานั้น<br />

จันทราวตีรู ้สึกว่าหัตถ์ของพระบิดาจับกระชับพระอังสะ แล้วพระวรกาย<br />

ก็ถูกหมุนให้กลับไปทิศที่วณิพกยืนรออยู่


“เช่นนั้น<br />

ลูกสาวเรา ขอยกให้ท่านแล้ว...เทวินทร์วรมันต์!”<br />

สบพักตร์ของบุรุษตรงหน้าแล้วก็หันไปถามพระบิดา<br />

“เสด็จพ่อรู้...?”<br />

จันทราวตีเหว<br />

“แม่เจ้ารู้ก่อน<br />

แล้วพ่อให้ความร่วมมือด้วย”<br />

“เสด็จแม่วางแผน..?”<br />

ระดับของพระสุรเสียงแหลมและดังขึ้น<br />

พระมเหสีสรวลเบาๆ<br />

“หลังจากได้คุยกับว่าที่ภัสดาแห่งเจ้า”<br />

“องค์เทวินทร์!”<br />

“จะโกรธเคืองไปใย ลูกพ่อ ทีเจ้าไปหลอกเขาอยู่นานสองนาน<br />

เขายังไม่ว่าอะไร<br />

เจ้าสักคา”<br />

“ฮึ…”<br />

จันทราวตีสะบัดเสียง พระมารดาเห็นท่าไม่ดีจึงให้องค์เทวินทร์หลบเลี่ยงไปก่อน<br />

แล้วเข้ามาปลอบ<br />

“เจ้าชายเทวินทร์วรมันต์น่ะ แม่เคยเห็นองค์มาตั้งแต่เล็กๆ<br />

สมัยไปร่วมงานบุญที่<br />

วิหารเชตวัน แม้ว่าโตเป็นหนุ ่มแล้วก็ยังจาได้ จึงเรียกเข้าไปคุยก่อนที่พระองค์จะเข้ามา<br />

หาลูกทั้งชุดของยาจก<br />

ทรงบอกกับแม่ว่า มิได้อนาทรร้อนใจในราชบัลลังก์ ยอมสละให้<br />

พระอนุชาได้โดยมิต้องคิด ติดก็แต่ห่วงเจ้า หากสิ้นไร้บัลลังก์เชิดชูพระยศ<br />

พระธิดาแห่ง<br />

สาวัตถีอาจไม่เหลือบแล”<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

39


40<br />

“จะไม่เหลือบแลก็ตั้งแต่หนนี้<br />

ที่ดูถูกลูกนัก<br />

หม่อมฉันเองก็มิได้ปรารถนาจะเป็น<br />

พระธิดาที่อยู่บนหอคอยเลยแม้แต่น้อย<br />

ยิ่งกว่านั้นที่ทรงคิดว่าหม่อมฉันรักพระองค์ที่<br />

พระยศ ยิ่งเป็นการดูถูกลูกเหลือเกิน”<br />

“แม่ก็เลี้ยงเจ้ามาตั้งแต่เล็ก<br />

เหตุใดจะไม่รู้ใจเจ้า ทุกคนเพียงอยากพิสูจน์ว่าลูก<br />

เต็มใจ เพราะหนทางข้างหน้า อาจลาบากกว่าที่เจ้าเคยเผชิญอยู่กลางป่าอีกหลาย<br />

ร้อยเท่า”<br />

พระมารดาเอาน้าเย็นเข้าลูบ<br />

พระธิดาองค์น้อยนิ่งสดับเหตุผลแล้วพระทัยเย็นลง<br />

จึงค่อยตรัสด้วยพระสุรเสียงแจ่มใส<br />

“ให้ลูกออกไปเผชิญเถิดเพคะ เสด็จแม่ ที่แท้ยศถาบรรดาศักดิ์ก็เป็นแต่เปลือกหุ<br />

้ม<br />

เสด็จแม่บอกลูกเอง ว่าแม้ไม่มีพระยศ ก็ยังมาปรนนิบัติพระองค์ได้ทุกเวลา ให้<br />

เสด็จพ่อถอดยศลูก แล้วให้ลูกเป็นข้าราชบริพารในตาหนักก็ได้นะเพคะ ขอเพียงเช้า<br />

มาได้ปรนนิบัติพระสงฆ์องค์เจ้า ถวายทานและฟังเทศน์ในวิหารร่วมกับภาวิณี เวลา<br />

ราชการปรนนิบัติเสด็จแม่ ตกเย็นก็กลับไปดูแลปรนนิบัติ...ภัสดา”<br />

องค์ราชินีสรวลเบาๆเมื่อเห็นจันทราวตีตรัสอย่างขวยอายในตอนท้าย<br />

“ไม่ต้องทางานหนักขนาดนั้นหรอก<br />

จันทราวตี ข้าราชบริพารแม่มีเป็นร้อย เพิ่ม<br />

เจ้าอีกคน วังอาจได้โกลาหล เพราะต้องคอยเก็บข้าวของที่เจ้าขว้างปาเวลาโมโห”<br />

“เสด็จแม่ก็...”<br />

“คิดว่าแม่จะใจร้ายใจดา เอาลูกของตัวมาเป็นคนรับใช้ได้ลงคอหรือ องค์<br />

เทวินทร์น่ะ แม้สละราชบัลลังก์แล้วก็ยังมีศักดิ์เป็นพระเชษฐาของพระเจ้าแผ่นดิน<br />

แห่งมคธ เจ้าเองก็มีเลือดเนื้อเชื้อไขของแม่<br />

จะว่าไป เจ้าก็ยังเป็นเจ้าหญิงในดวงใจ<br />

ของราษฎรอยู่เหมือนเดิม”<br />

“เช่นนั้น...”<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong>


“แม่จะขอเสด็จพ่อให้สร้างเรือนหอให้เจ้ากับองค์เทวินทร์ อาจไม่ใหญ่โตนัก แต่<br />

ให้อยู ่ระหว่างกลางวิหารบุพพารามกับเชตวัน ให้เจ้าสองคนช่วยทานุบารุงพุทธศาสนา<br />

ตามเจตนารมณ์ของเสด็จปู่ของทั้งสองฝ่าย<br />

เจ้าพอใจหรือไม่”<br />

“พอใจที่สุดเลยเพคะ”’<br />

จันทราวตีโผเข้ากอดพระมารดาอีก คราวนี้ด้วยกระแสแห่งปีติที่ล้นพระทัย<br />

ครั้นองค์เทวินทร์ได้รับสัญญาณก็กลับเข้ามาใหม่<br />

จันทราวตีเห็นหน้าแล้วยังขับไส<br />

“ทาไมเล่า”<br />

เจ้าชายอุทธรณ์<br />

“รีบไปเข้านอนเถิดพี่<br />

ถ้าเช้าพรุ่งนี้ตื่นไม่ทันใส่บาตร<br />

น้องไม่รอนะ”<br />

ฝ่ายชายโดนการาบเสียตั้งแต่ยังไม่เข้าพิธี<br />

แต่ดูท่าเจ้าตัวก็ยินดีจะโดนการาบ<br />

เช่นนี้จนกว่าชีวิตจะหาไม่<br />

(...อ่าน ตอน ต่อ ไป ใน ฉบับ หน้า)<br />

สารบัญ <br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

41


ร่วมส่งบทความ<br />

นิตยสาร เล่ม นี จะ ้ เป็น นิตยสาร คุณภาพ ได้ ก็ ด้วย เนื้อหา<br />

ดี ๆ ภายใน ฉบับ ที่<br />

จัดสรร ลง อย่าง ต่อ เนื่อง<br />

นะ คะ<br />

หาก คุณ ผู้<br />

อ่าน ท่าน ใด มีค วาม สามารถ ใน การ เขียน มี<br />

ศรัทธา และ ความ เข้าใจ ใน คำา สอน ของ พุทธ ศาสนา ไม่<br />

ว่า จะ ใน ระดับ เบื้องต้น<br />

เบื้อง<br />

กลาง หรือ เบื้อง<br />

ปลาย<br />

และ มี ใจ รัก ที อยาก ่ จะ สื่อสาร<br />

ถ่ายทอด สิ่ง<br />

นั้น<br />

ให้ กับ ผู อื ้ ่น<br />

ได้ ทราบ และ ได้ ประโยชน์ จาก สิ่ง<br />

เหล่า นั้น<br />

เช่น เดียว กับ<br />

ที่<br />

เรา อาจ เคย ได้ รับ จาก ผู้<br />

อื่น<br />

มา แล้ว ก็ ขอ เชิญ ทุก ท่าน<br />

ส่ง บทความ มา ร่วม เป็น ส่วน หนึ่ง<br />

ของ <strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

ด้วย กัน นะ คะ<br />

คุณ อาจ ไม่ จำาเป็น ต้อง เป็น นัก เขียน ฝีมือ เลิศ แต่ หาก มี<br />

ใจ ที่<br />

คิด อยาก จะ ถ่ายทอด มี สิ่ง<br />

ที่<br />

คิด ว่า อยาก แบ่งปัน<br />

ความ รู้ความ<br />

เข้าใจ นั้น<br />

ให้ กับ คน อื่น<br />

ๆ ก็ ลอง เขียน ส่ง<br />

เข้า มา ได้ เลย ค่ะ<br />

<br />

๑. คอ ลัมน์ที่<br />

เปิด รับ บทความ<br />

คอลัมน์: ธรรมะ จากคนสู้กิเลส<br />

เนื้อหา:<br />

เปิด โอกาส ให้ คุณๆ ได้ เล่า ประสบการณ์ จริง<br />

ของ ตน เอง ว่า ผ่าน อะไร มา บ้าง มี อะไร เป็น ข้อคิด ที เป็น ่<br />

ประโยชน์ บ้าง อะไร ทำาให้ คน ธรรมดา คน หนึ่ง<br />

กลาย<br />

เป็น คน ดี ขึ้น<br />

มา และ ทำาให้ คน มี กิเลส เยอะ กลาย เป็น<br />

คน กิเลส บาง ลง ได้ มี แต่ คน ที่<br />

เปลี่ยนแปลง<br />

ตัว เอง แล้ว<br />

เท่านั้น<br />

จึง จะ เขียน ธรรมะใกล้ ตัว ได้ สำาเร็จ<br />

คอลัมน์: นิยาย/เรื่องสั้นอิง<br />

ธรรมะ<br />

เนื้อหา:<br />

เปิด โอกาส กว้าง สำาหรับ คน ที่<br />

ชอบ คิด ชอบ<br />

เขียน โดย เฉพาะ อดีต นัก ฝัน ที่<br />

เพิ่ง<br />

ผัน ตัว มา อยู่<br />

ใน<br />

โลก ธรรมะ เพื่อ<br />

สร้างสรรค์ เรื่องราว<br />

ให้ คน ได้ ข้อคิด ข้อ<br />

ธรรม ผ่าน ความ สนุก ของ รูป แบบ นิยาย หรือ เรื่องสั้น<br />

ได้ อย่าง เพลิดเพลิน<br />

คอลัมน์: คำาคมชวน คิด<br />

เนื้อหา:<br />

รวบรวม ข้อคิด หรือ คำาคม ของ บุคคล ต่าง ๆ<br />

ที่<br />

เคย ได้ยิน มา แล้ว สะดุดใจ มาบ อก ต่อ ยิ่ง<br />

ถ้า ใคร<br />

สามารถ สร้างสรรค์ วรรค ทอง ได้ เอง ยิ่ง<br />

ดี เพราะ จะ<br />

ได้ ฝึก ริเริ่ม<br />

วลี สะดุดใจ ซึ่ง<br />

เป็น แม่บท ของ กรรม ที ทำาให้ ่<br />

มีค วาม คิด สร้างสรรค์ ได้ อย่าง สุด ยอด เนื่องจาก<br />

แง่ คิดดีี<br />

ๆ จะ ช่วย ให้ คน อ่าน คิด ดี หรือ ได้คิด เพื่อ<br />

เปลี่ยนแปลง<br />

ชีวิต วิบาก ที ย้อน ่ กลับ มาส นอง ตอบแทน<br />

คุณ ก็ คือ การ ผุด ไอ เดียเหมือน น้ำาพุ<br />

ไม่ รู้<br />

จบ รู้<br />

สิ้น<br />

กับ ทั้ง<br />

เป็น ที่<br />

ยอม รับ ใน วง กว้าง ด้วย<br />

กติกา: หาก เป็นการ คัด มา จาก ที่<br />

อื่น<br />

หรือ แปล มา จาก<br />

ภาษา อังกฤษ กรุณา ระบุ แหล่ง ที่มา<br />

หรือ ชื่อ<br />

ของ บุคคล<br />

ผู้<br />

เป็น เจ้าของ คำาคม ด้วย นะ คะ<br />

คอลัมน์: สัพเพเหระธรรม<br />

เนื้อหา:<br />

เรื่องราว<br />

เรื่อง<br />

เล่า อาจ มา จาก ฉาก หนึ่ง<br />

ใน<br />

ชีวิต ของ คุณ ที่<br />

มี เกร็ด ข้อคิด ทาง ธรรม หรือ ข้อคิด ดี ๆ<br />

อันเป็น ประโยชน์ อาจ เป็น เรื่อง<br />

เล่า สั้น<br />

ๆ ใน รูป แบบ ที่<br />

เสมือน อ่านเล่น ๆ แต่ อ่าน จบ แล้ว ผู อ่าน ้ ได้ เกร็ด ธรรม<br />

หรือ ข้อคิด ดี ๆ ติด กลับ ไป ด้วย<br />

คอลัมน์: กวีธรรมะ<br />

เนื้อหา:<br />

พื้นที่<br />

ที่<br />

เปิด กว้าง สำาหรับ กวี ธรรมะ ทั้งหลาย<br />

โดย ไม่ จำากัด รูป แบบ และ ความ ยาว ของ บท กวี หรือ<br />

หาก จะ คัด เอา บท กวี ที่<br />

น่า ประทับใจ ให้ แง่ คิด อะไร<br />

ใน เชิง บวก ก็ สามารถ นำา มา ลง ได้ เช่น กัน แต่ ถ้า ให้ ดี<br />

กลั่นกรอง<br />

ออก มา ด้วย ตน เอง ได้ ก็ ยิ่ง<br />

ดี ค่ะ<br />

กติกา: หาก เป็นการ คัด มา จาก ที่<br />

อื่น<br />

ต้อง ระบุ ที่มา<br />

ที่<br />

ไป อย่าง ชัดเจน ด้วย นะ คะ<br />

คอลัมน์: เที่ยววัด<br />

เนื้อหา:<br />

รับ หมด ไม่ ว่า จะ เป็น วัด สวย หรือ สถาน ที่<br />

ปฏิบัติธรรม ข้อมูล ข่าวสาร จาก ทั่ว<br />

ประเทศ นั้น<br />

ไม่ มี<br />

วัน ที่<br />

ใคร คน เดียว จะ รู้<br />

ได้ หมด ถ้า ช่วย เป็น หู เป็น ตา ให้<br />

แก่ กัน ก็ คง จะ มี ประโยชน์ อย่าง มหาศาล<br />

กติกา: นอกจาก ข้อมูล เกี่ยว<br />

กับ สถาน ที่<br />

บรรยากาศ<br />

ปฏิปทา ฯลฯ ของวัด แล้ว ต้อง ขอ รบกวน ส่ง ภาพ<br />

สวย ๆ มา ประกอบ บทความ อีกทั้ง<br />

ไม่ พา ชม หรือ<br />

แทรก ธรรมะ ด้าน การปฏิบัติ ที่<br />

ขัดแย้ง กับ แนวทาง ของ<br />

นิตยสาร นะ คะ<br />

คอลัมน์: ธรรมะปฏิบัติ<br />

เนื้อหา:<br />

ร่วม บอก เล่า ประสบการณ์ จริง ประสบการณ์<br />

ตรง จาก การ ปฏิบัติธรรม เพื่อ<br />

เป็น ทั้ง<br />

ธรรม ทาน และ


เป็น ทั้ง<br />

กำาลังใจ สำาหรับ ผู้<br />

ที่<br />

กำาลัง ร่วม เดินทาง อยู่<br />

บน<br />

เส้น อริยมรรค เส้น เดียวกัน นี้<br />

คอลัมน์: ของ ฝากจากหมอ<br />

เนื้อหา:<br />

นำา เสนอ ข่าวสาร ใน วงการ แพทย์ หรือ<br />

สาระ น่า รู้<br />

อันเป็น ประโยชน์ เกี่ยว<br />

กับ สุขภาพ ที่<br />

คน<br />

ทั่วไป<br />

สนใจ หรือ นำา ไป ใช้ได้ เพื่อ<br />

เป็น วิทยาทาน ให้ กับ<br />

ผู้อ่าน<br />

จาก แง่มุม ต่าง ๆ ทีแพทย์<br />

่ แต่ละ แขนง มีค วาม รู้<br />

ความเชี่ยวชาญ<br />

ต่าง ๆ กัน<br />

กติกา:<br />

• หาก เป็น บทความ ที่<br />

แนะนำา ให้ มี การ ทดลอง กิน<br />

ยา หรือ แนะนำา ให้ ผู้<br />

อ่าน ปฏิบัติ ตาม ด้วย ขอ<br />

จำากัด เฉพาะ ผู้<br />

เขียน ที่<br />

เป็น ผู้<br />

เรียน หรือ ทำา งาน<br />

ใน สาขา วิชาชีพ ที่<br />

เกี่ยวข้อง<br />

เท่านั้น<br />

เพื่อ<br />

ป้องกัน<br />

การ นำาเสนอ ข้อมูล ที คลาดเคลื ่ ่อน และ อาจ ส่งผล<br />

ต่อ ผู้<br />

อ่าน ได้ ค่ะ<br />

• หาก นำา เสนอ ประเด็น ที่<br />

ยัง เป็น ที่<br />

ถกเถียง อยู่<br />

ใน<br />

วงการ แพทย์ ขอ ให้ มี การ อ้างอิง ด้วย เช่น มา<br />

จาก งาน วิจัย ชิ้น<br />

ไหน หรือ หาก เป็น เพียง ความเห็น<br />

ส่วนตัว ของ หมอ ก็ กรุณา ระบุ ให้ ชัดเจน ด้วย ค่ะ<br />

<br />

๒. อ่าน สัก นิด ก่อน คิด เขียน<br />

เนื่องจาก<br />

ใน แต่ละ สัปดาห์ มี งาน เขียน ส่ง เข้า มา เป็น<br />

จำานวน มาก ชิ้น<br />

ขึ้น<br />

เรื่อย<br />

ๆ ดังนั้น<br />

เพื่อ<br />

เป็นการ ช่วย ลด<br />

เวลา และ ลด ภาระ ให้ กับ อาสา สมัคร ใน การ เข้า มา<br />

ช่วยกัน คัดเลือก และ พิสูจน์ อักษร ของ ทุก บทความ<br />

ต้อง ขอ รบกวน ผู ส่ง ้ บทความ เรียบเรียง งาน เขียน ตาม<br />

แนวทาง ดังนี้<br />

ด้วย นะ คะ<br />

๒.๑ ตรวจ ทาน คำา ถูก ผิด ให้ เรียบร้อย<br />

ก่อน ส่ง บทความ รบกวน ผู เขียน ้ ทุก ท่าน ช่วย ตรวจ ทาน<br />

ให้ แน่ใจ ก่อน นะ คะ ว่า ไม่ มี จุด ไหน พิมพ์ ตกหล่น พิมพ์<br />

เกิน พิมพ์ ผิด พลาด หรือ เขียน ตัวสะกด ไม่ ถูก ต้อง ผ่าน<br />

สายตา ของ ผู้<br />

เขียน แล้ว<br />

หาก ไม่ แน่ใจ ตัวสะกด ของ คำา ไหน สามารถ ตรวจ สอบ<br />

ได้ จาก ที่<br />

นี่<br />

เลย ค่ะ<br />

เว็บ เครือ ข่าย พจนานุกรม ราชบัณฑิต ยสถาน<br />

http://rirs3.royin.go.th/ridictionary/lookup.html<br />

๒.๒ จัด รูป แบบ ตาม หลัก งาน เขียน ภาษา ไทย<br />

เพื่อให้<br />

ทุก บทความ มี ลักษณะ ของ การ จัด พิมพ์ ที่<br />

สอดคล้อง กัน ขอ ให้ ใช้ การ จัด รูป แบบ ใน ลักษณะ ดังนี้<br />

นะ คะ<br />

• เครื่องหมาย<br />

คำา ถาม (?) และ เครื่องหมาย<br />

ตกใจ (!)<br />

เขียน ติดตัว หนังสือ ด้านหน้า และ วรรค ด้าน หลัง<br />

เช่น “อ้าว! เธอ ไม่ ได้ ไป กับ เขา หรอก หรือ? ฉัน<br />

นึก ว่า เธอ ไป ด้วย เสีย อีก ”<br />

• การ ตัด คำา เมื่อ<br />

ขึ้น<br />

บรรทัด ใหม่<br />

สำาหรับ คน ที่<br />

นิยม เขียน แบบ เคาะ [Enter] เพื่อ<br />

ตัด ขึ้น<br />

บรรทัด ใหม่ แทน การ รวบ คำา อัตโนมัติ ของ<br />

โปรแกรม คอมพิวเตอร์ อยาก ให้ ช่วย ดู การ ตัด<br />

คำา ด้วย นะ คะ ว่า ตัด ได้ อย่าง เหมาะสม คือ อ่าน<br />

ได้ ลื่น<br />

ไม่ สะดุด ไม่ แยก คำา หรือ ไม่ ขึ้น<br />

บรรทัด<br />

ใหม่ ผ่า กลาง วลี ที่<br />

ควร อ่าน ต่อ เนื่อง<br />

กัน โดย ไม่<br />

จำาเป็น เช่น<br />

“ฉัน ไม่ อยาก ให้ เธอ ทำา แบบ นั้น<br />

ก็ เลย บอก เธอ ไป ว่า ผลก รรม<br />

ข้อ กา เม นั้น<br />

หนัก ไม่ ใช่ เล่น ”<br />

“ฉัน ไม่ อยาก ให้ เธอ ทำา แบบ นั้น<br />

ก็ เลย บอก เธอ ไป ว่า<br />

ผลก รรม ข้อ กา เม นั้น<br />

หนัก ไม่ ใช่ เล่น ” (อ่าน ง่าย กว่า ค่ะ)<br />

หรือ ดู หลักเกณฑ์ อื่น<br />

ๆ ได้ จาก ที่<br />

นี่<br />

เพิ่มเติม<br />

ด้วย ก็ได้ ค่ะ<br />

ราชบัณฑิต ยสถาน > หลักเกณฑ์ ต่าง ๆ<br />

http://www.royin.go.th/th/profile/index.php<br />

๒.๓ ความ ถูก ต้อง ของ ฉันทลักษณ์ สำาหรับ ชิ้น<br />

งาน ร้อยกรอง<br />

สำาหรับ ท่าน ที่<br />

แต่ง ร้อยกรอง เข้า มา ร่วม ใน คอลัมน์<br />

กวีธรรม ขอ ให้ ตรวจ ทาน ให้ แน่ใจ สัก นิด นะ คะ ว่า<br />

บทกลอน นั้น<br />

ถูก ต้อง ตาม ฉันทลักษณ์ แล้ว หรือ ยัง จะ<br />

ได้ ช่วย กัน ใส่ใจ และ เผยแพร่ แต่ ใน สิ่ง<br />

ที่<br />

ถูก ต้อง ให้ ผู้<br />

อื่น<br />

กัน ค่ะ<br />

คุณ ผู้<br />

อ่าน สามารถ ตรวจ สอบ หรือ หาความ รู้<br />

เพิ่มเติม<br />

เกี่ยว<br />

กับ ฉันทลักษณ์ ของ กวี ไทย ได้ จาก ที่<br />

นี่<br />

ด้วย นะ คะ


ร้อยกรอง ของ ไทย<br />

(โคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน ร่าย)<br />

http://thaiarc.tu.ac.th/poetry/index.html<br />

๒.๔ ความ ยาว ของ บทความ และ การ จัด ย่อหน้า<br />

ปกติ แล้ว เรา ไม่ จำากัดความ ยาว ของ ชิ้น<br />

งาน ใน ทุก คอ<br />

ลัมน์ค่ะ แต่ ก็ อยาก ให้ ผู้<br />

เขียน ใช้ ดุลยพินิจ ดู ด้วย ค่ะ ว่า<br />

ความ ยาว ประมาณ ใด น่า จะ เหมาะสม โดย ลอง ดู จาก<br />

บทความ ที ลง ่ ใน เล่ม และ ลอง เทียบเคียง ความ รู้สึก<br />

ใน<br />

ฐานะ ผู้<br />

อ่าน ดู นะ คะ<br />

สำาหรับ เรื่องสั้น<br />

หรือ นวนิยาย ทีอาจ<br />

่ มีค วาม ยาว มาก<br />

กว่า บทความ อื่น<br />

ๆ และ มี การ เปลี่ยน<br />

ฉาก อยู บ้าง ่ อย่า<br />

ลืม เบรก สายตา ผู้<br />

อ่าน โดย การ ขึ้น<br />

ย่อหน้า ใหม่ เมื่อ<br />

ถึง<br />

จุด หนึ่ง<br />

ๆ ของ เรื่อง<br />

ที่<br />

เหมาะสม ด้วย นะ คะ เพราะ<br />

การ เขียน เป็น พรืด เห็น แต่ ตัวหนังสือ ติด ๆ กันลง มา<br />

ยาว ๆ จะ ลด ทอน ความ น่า อ่าน ของ บทความ ไป อย่าง<br />

น่า เสียดาย ค่ะ<br />

หาก บทความ ใด อ่าน ยาก ๆ หรือ มี จุด บกพร่อง ที ต้อง ่<br />

แก้ไข เยอะ มาก ๆ ทาง ทีม งาน อาจ จะ ต้อง ขอ อนุญาต<br />

เก็บ ไว้ เป็นอัน ดับ หลัง ๆ ก่อน นะ คะ<br />

<br />

๓. ส่ง บทความ ได้ที่<br />

ไหน อย่างไร<br />

๓.๑ กระดาน ส่ง บทความ<br />

เมื่อ<br />

เขียน อ่าน ทาน และ ตรวจ ทาน บทความ พร้อม ส่ง<br />

เรียบร้อย แล้ว งาน เขียน ทุก ชิ้น<br />

สามารถ โพ สท์ส่ง ได้ที่<br />

กระดาน “ส่ง บทความ ” ได้ เลย ค่ะ ที่:<br />

http://dungtrin.com/forum/viewforum.php?f=2<br />

โดย หัวข้อ กระทู้<br />

ขอ ให้ ใช้ ฟอร์แมท ลักษณะ นี้<br />

นะ คะ<br />

(ชื่อ<br />

คอลัมน์) ชื่อ<br />

เรื่อง<br />

โดย ชื่อ<br />

ผู้<br />

แต่ง<br />

เช่น<br />

(สัพเพเหระ ธรรม) เทพธิดา โรง ทาน โดย คน ไกล วัด<br />

(ธรรมะ ปฏิบัติ) เส้นทาง การ ปฏิบัติ 1 โดย satima<br />

(ของ ฝาก จาก หมอ) เครียด ได้...แต่ อย่า นาน โดย หมอ อติ<br />

เพื่อ<br />

ช่วย ให้ ทีม งาน สามารถ จัด หมวด หมู่<br />

ของ ชิ้น<br />

งาน<br />

ได้ เร็ว ขึ้น<br />

ค่ะ<br />

๓.๒ แนบไฟล์ Word มา ด้วย ทุก ครั้ง<br />

หาก แปะ เนื้อความ<br />

ลง ใน กระทู้<br />

เลย ฟอร์แมท ต่าง ๆ<br />

เช่น ตัว หนา ตัว บาง ตัว เอียง จะ หาย ไป ค่ะ เพื่อ<br />

ความ<br />

สะดวก รบกวน ทุก ท่าน แนบไฟล์ Word ทีพิมพ์<br />

่ ไว้ มา<br />

ด้วย นะ คะ (ใน หน้า โพสต์ จะ มี ปุ่ม<br />

Browse ให้ เลือก<br />

Attach File ได้ เลย ค่ะ)<br />

ใคร มี รูป ประกอบ ก็ Attach มา ด้วย วิธี เดียวกัน นี้<br />

เลย<br />

นะ คะ<br />

และ หาก ไฟล์มี ขนาด ใหญ่ ทำาเป็น zip เสีย ก่อน ก็ จะ<br />

ช่วย ประหยัด พื้นที่<br />

ได้ ไม่ น้อย ค่ะ<br />

<br />

๔. ส่ง แล้ว จะ ได้ ลง หรือ ไม่<br />

ปกติ แล้ว เวที แห่ง นี เป็น ้ เวที ที เปิด ่ กว้าง หาก บทความ<br />

นั้น<br />

ให้ เนื้อหา<br />

สาระ ที เป็น ่ ไป เพื่อ<br />

เกื้อกูล<br />

กัน ใน ทาง สว่าง<br />

และ เป็น แนวทาง ที่<br />

ตรง ตาม แนวทาง คำา สอน ของ<br />

พระพุทธเจ้า หรือ เป็น ประโยชน์ ต่อ ผู้<br />

อ่าน จาก ผู้<br />

รู้<br />

จริง<br />

ใน ด้าน ที่<br />

เชี่ยวชาญ<br />

ก็ จะ ได้ รับ การ ลง แน่นอน ค่ะ<br />

ทั้งนี้<br />

รวม ถึง ความ ยาก ง่าย ใน การ อ่าน พิจารณา<br />

บทความ การ แก้ไข จุด บกพร่อง ต่าง ๆ ใน งาน พิสูจน์<br />

อักษร หาก เป็น ไป อย่าง คล่องตัว ก็ จะ ช่วย ให้ พิจารณา<br />

ชิ้น<br />

งาน ได้ ง่าย ขึ้น<br />

ด้วย ค่ะ<br />

แต่ หาก บทความ ใด ยัง ไม่ ได้ รับ คัดเลือก ให้ ลง ก็ อย่า<br />

เพิ่ง<br />

หมด กำาลังใจ นะ คะ วัน หนึ่ง<br />

คุณ อาจ รู้<br />

อะไร ดี ๆ<br />

และ เขียน อะไร ดี ๆ ใน มุม ที่<br />

ใคร ยัง ไม่ เห็น เหมือน คุณ<br />

อีก ก็ได้ ค่ะ : )<br />

และ ถ้า อยาก เริ่ม<br />

ต้น การ เป็น นัก เขียน ธรรมะ ที ดี ่ ก็ ลอง<br />

ติดตาม อ่าน คอลัมน์ เขียน ให้ คนเป็น เทวดา ที คุณ ่ ‘ดัง<br />

ตฤณ ’ มา ช่วย เขียน เป็น นัก เขียน ประจำา ให้ ทุก สัปดาห์<br />

ดู นะ คะ<br />

ขอ อนุโมทนา ใน จิต อัน มี ธรรม เป็น ทาน ของ ทุก ท่าน ค่ะ


<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

dharma at hand<br />

มาร่วมเป็นอีกหนึ่งกำาลัง<br />

ที่ช่วยสร้างภาพใหม่ให้กับพระพุทธศาสนา<br />

ด้วยการร่วมส่งบทความ ดูข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ท้ายเล่ม<br />

หรือที่<br />

http://dungtrin.com/dharmaathand/

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!