10.06.2013 Views

Pray.pdf

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

สวดมนต<br />

ทำกรรมฐาน<br />

ตามแบบหลวงพอจรัญ<br />

คณะผูจัดทำไดสงตนฉบับหนังสือเลมนี้<br />

ใหกับพระเดชพระคุณหลวงพอจรัญ ฐิตธัมโม<br />

เพื่อขอความเมตตาตรวจสอบความถูกตอง<br />

และไดขออนุญาตจัดพิมพ เพื่อเผยแผเปนธรรมทานแลว<br />

พระเดชพระคุณหลวงพอจรัญทานไดเมตตาอนุญาตใหจัดพิมพ พรอมทั้งอนุโมทนากับคณะผูจัดทำ<br />

นับเปนความเมตตากรุณาจากครูบาอาจารยอยางหาที่สุดมิได<br />

ทานสามารถติดตอขอหนังสือเลมนี้ไดฟรีที่<br />

เว็บไซตพระธรรมสิงหบุราจารย<br />

http://www.jarun.org/v6/board/<br />

สามารถดาวนโหลดตนฉบับหนังสือเลมนี้ไดที่<br />

เว็บไซตพระธรรมสิงหบุราจารย<br />

http://www.jarun.org/v6/th/digitallibraly-book.html


์<br />

้<br />

ผูแตง<br />

(ผูรวบรวม)<br />

ณัฐวรรธน ภรนรา nattawat@connexpeople.com<br />

คณะทำงาน สมศักดิ ชูศรีขาว somsak887@hotmail.com<br />

ประมวล วิทยบำรุงกุล mv2219@hotmail.com<br />

ออกแบบศิลป<br />

ปติ ลลิตโรจนวงศ และทานอื่น<br />

ๆ ที่มิไดเอยนามไว<br />

ณ ที่นี<br />

สุนิสา แกวชม, จักรี จายกระโทก, ณัฐวรรธน ภรนรา<br />

ออกแบบรูปเลม ณัฐวรรธน ภรนรา<br />

จัดรูปเลม ศรินยา พึ่งทรัพย<br />

พิสูจนอักษร วารุณี จิตตรัตน<br />

ประสานงานการผลิต เสรีรัตน ปนทอง,<br />

ณัฐวรรธน ภรนรา<br />

ไมสงวนลิขสิทธิ์<br />

ตามคำสอนของพระเดชพระคุณหลวงพอจรัญ ฐิตธัมโม<br />

“ของดีของเราไมตองสงวนลิขสิทธิ์<br />

ใครอยากไดก็ใหเขาไป<br />

แตของไมดีของเราตองสงวนไว ไมใหคนอื่นมาใช”<br />

จากหนังสือกฎแหงกรรม เลม ๑๖ เรื่อง<br />

ความเสื่อม<br />

โดยพระธรรมสิงหบุราจารย<br />

http://www.jarun.org/v6/th/lrule16p1301.html<br />

ทานสามารถอานเจตนารมณของการจัดทำหนังสือเลมนี้ไดที่ทายเลม<br />

ISBN ๙๗๘-๙๗๔-๑๓-๓๒๔๔-๑<br />

พิมพครั้งที่<br />

๑ ธันวาคม ๒๕๕๐<br />

จำนวนที่พิมพ<br />

๑๐,๐๐๐ เลม<br />

ราคา จัดพิมพเพื่อเผยแผเปนธรรมทาน<br />

สรางสรรคผลงานโดย บริษัท คอนเน็ค พีเพิล จำกัด<br />

๓๐๕ ซ. รังสิต-นครนายก ๔๔ ซ.๑<br />

ต.ประชาธิปตย อ.ธัญบุรี จ.ปทุมธานี ๑๒๑๓๐<br />

โทรศัพท ๐-๒๙๗๔-๑๐๐๑ แฟกซ ๐-๒๙๗๔-๑๑๒๐<br />

อีเมลล info@connexpeople.com<br />

เว็บไซต http://www.connexpeople.com<br />

จัดพิมพและดูแลโดย บริษัท รุงเรืองวิริยะพัฒนาโรงพิมพ<br />

จำกัด<br />

๑๐๖/๒๐๔ หมู<br />

๔ แขวงคันนายาว เขตคันนายาว<br />

กรุงเทพมหานคร ๑๐๒๓๐<br />

โทรศัพท ๐-๒๙๑๘-๐๑๙๒ แฟกซ ๐-๒๙๑๗-๙๐๗๒<br />

อีเมลล viriya_999@yahoo.com


ทำกรรมฐาน<br />

สารบัญ<br />

สวดมนต<br />

บทสวดมนต<br />

๑๐<br />

บทแผเมตตา<br />

๑๙<br />

บทอุทิศสวนกุศล (บทกรวดน้ำ)<br />

๑๙<br />

วิธีการสวดมนต<br />

๒๑<br />

ลำดับการสวดมนต ๒๔<br />

เหตุใดตองสวดอิติปโสเทาอายุ + ๑ ๒๕<br />

การเปลี่ยนจาก<br />

“เต” เปน “เม” ในบทสวดมนต ๒๖<br />

วิธีการแผเมตตาและอุทิศสวนกุศล ๒๗<br />

ถามตอบเรื่องการสวดมนต<br />

โดยพระธรรมสิงหบุราจารย ๓๔<br />

บทสวดมนตแปล<br />

๔๕<br />

วิปสสนากรรมฐานเบื้องตน<br />

๕๓<br />

คติธรรมคำสอน เรื่องการปฏิบัติกรรมฐาน<br />

๖๐<br />

กรรมฐาน โดยพระธรรมสิงหบุราจารย ๗๘<br />

วิปสสนากรรมฐานคืออะไร<br />

๘๐<br />

ธุระในพระศาสนา ๘๔<br />

การเรียนรูวิปสสนากรรมฐาน<br />

๘๕<br />

สติปฏฐาน ๔<br />

๘๖<br />

อานิสงสของการปฏิบัติธรรม<br />

๘๙<br />

ประโยชนของการปฏิบัติวิปสสนากรรมฐาน ๙๑<br />

สติปฏฐาน ๔ ปดอบายภูมิได<br />

๙๓


“อยาลืมนะ ที่ลิ้นป<br />

หายใจยาว ๆ<br />

สำรวมเวลาสวดมนต<br />

นั้นนะไดบุญแลว”<br />

จากหนังสือกฎแหงกรรมเลม ๙ เรื<br />

่อง วิธีแผเมตตาและอุทิศสวนกุศล<br />

โดย พระธรรมสิงหบุราจารย<br />

http://www.jarun.org/v6/th/lrule09p0301.html


บทสวดมนต<br />

กราบพระรัตนตรัย<br />

อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา พุทธัง<br />

ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ (กราบ)<br />

สะวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม ธัมมัง<br />

นะมัสสามิ (กราบ)<br />

สุปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สังฆัง<br />

นะมามิ (กราบ)<br />

นมัสการ (นะโม)<br />

นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมา<br />

สัมพุทธัสสะ (๓ จบ)<br />

ไตรสรณคมน (พุทธัง ธัมมัง สังฆัง)<br />

พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ<br />

ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ<br />

สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ<br />

๑๐ สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ


ทุติยัมป พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ<br />

ทุติยัมป ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ<br />

ทุติยัมป สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ<br />

ตะติยัมป พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ<br />

ตะติยัมป ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ<br />

ตะติยัมป สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ<br />

พระพุทธคุณ (อิติป โส)<br />

อิติป โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ<br />

วิชชาจะระณะสัมปนโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุต<br />

ตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง<br />

พุทโธ ภะคะวาติฯ<br />

พระธรรมคุณ<br />

สะวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก<br />

อะกาลิโก เอหิปสสิโก โอปะนะยิโก ปจจัตตัง<br />

เวทิตัพโพ วิญูหีติฯ (อานวา วิญูฮีติ)<br />

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ ๑๑


พระสังฆคุณ<br />

สุปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ<br />

อุชุปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ<br />

ญายะปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ<br />

สามีจิปะฏิปนโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ<br />

ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา<br />

เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ<br />

อาหุเนยโย* ปาหุเนยโย* ทักขิเณยโย* อัญชะลี<br />

กะระณีโย อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติฯ<br />

(อานออกเสียง อาหุไนยโย ปาหุไนยโย ทักขิไณยโย<br />

โดยสระเอ กึ่งสระไอ)<br />

พุทธชัยมงคลคาถา (พาหุงฯ)<br />

พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง<br />

ครีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง<br />

ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท<br />

ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิฯ<br />

๑๒ สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ


มาราติเรกะมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง<br />

โฆรัมปะนาฬะวะกะมักขะมะถัทธะยักขัง<br />

ขันตีสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท<br />

ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิฯ<br />

นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง<br />

ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง<br />

เมตตัมพุเสกะวิธินา ชิตะวา มุนินโท<br />

ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิฯ<br />

อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง<br />

ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง<br />

อิทธีภิสังขะตะมะโน ชิตะวา มุนินโท<br />

ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิฯ<br />

กัตตะวานะ กัฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา<br />

จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ<br />

สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท<br />

ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิฯ<br />

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ ๑๓


สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง<br />

วาทาภิโรปตะมะนัง อะติอันธะภูตัง<br />

ปญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท<br />

ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิฯ<br />

นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง<br />

ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปะยันโต<br />

อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท<br />

ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิฯ<br />

ทุคคาหะทิฏฐิภุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง<br />

พรัหมัง* วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง<br />

ญาณาคะเทนะ วิธินา ชิตะวา มุนินโท<br />

ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิฯ<br />

เอตาป พุทธะชะยะมังคะละอัฏฐะคาถา โย<br />

วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที<br />

หิตวานะเนกะวิวิธานิ จุปททะวานิ<br />

โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปญโญฯ<br />

* พรัหมัง อานวา พรัมมัง<br />

๑๔ สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ


มหาการุณิโก<br />

มะหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง<br />

ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปตโต สัมโพธิมุตตะมัง<br />

เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลังฯ<br />

ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน เอวัง<br />

ตะวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล อะปะรา<br />

ชิตะปลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร อะภิเสเก<br />

สัพพะพุทธานัง อัคคัปปตโต ปะโมทะติฯ สุนัก<br />

ขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง สุขะโณ<br />

สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะ** จาริสุ ปะทักขิณัง<br />

กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง ปะทักขิณัง<br />

มะโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา ปะทักขิณานิ<br />

กัตตะวานะ ละภันตัตเถ ปะทักขิเณฯ<br />

** พรัหมะ อานวา พรัมมะ<br />

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ ๑๕


ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา<br />

สัพพะพุทธานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เตฯ<br />

ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา<br />

สัพพะธัมมานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เตฯ<br />

ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา<br />

สัพพะสังฆานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เตฯ<br />

หลังจากสวดมนตตั้งแตตนจนจบบทพาหุงมาหากาฯ<br />

แลว<br />

ก็ใหสวดเฉพาะบทพระพุทธคุณ หรืออิติปโส ใหไดจำนวนจบ<br />

เทากับอายุของตนเอง แลวสวดเพิ่มไปอีกหนึ่งจบ<br />

ตัวอยางเชน<br />

ถาอายุ ๓๕ ป ตองสวด ๓๖ จบ จากนั้นจึงคอยแผเมตตา<br />

อุทิศสวนกุศล<br />

พุทธคุณเทาอายุเกิน ๑ (อิติปโสเทาอายุ+๑)<br />

อิติป โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ<br />

วิชชาจะระณะสัมปนโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุต<br />

ตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง<br />

พุทโธ ภะคะวาติฯ<br />

๑๖ สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ


“สวดมนตเปนนิจ<br />

อธิษฐานจิตเปนประจำ<br />

อโหสิกรรมเสียกอน<br />

และเราก็แผเมตตา<br />

ใหสรรพสัตวทั้งหลาย”<br />

จากหนังสือกฎแหงกรรมเลม ๓ เรื<br />

่อง กรรมฐานแกกรรมไดอยางไร<br />

โดย พระธรรมสิงหบุราจารย<br />

http://www.jarun.org/v6/th/lrule03p0201.html


“หายใจยาว ๆ<br />

ตั้งกัลยาณจิตไวที่ลิ้นป<br />

ไม ใชพูดสงเดช”<br />

“จำนะที่ลิ้นป<br />

เปนการแผเมตตา”<br />

“จะอุทิศก็ยกจากลิ้นป<br />

สูหนาผาก<br />

เรียกวา<br />

อุณาโลมา ปจชายเต....”<br />

จากหนังสือกฎแหงกรรมเลม ๙ เรื<br />

่อง วิธีแผเมตตาและอุทิศสวนกุศล<br />

โดย พระธรรมสิงหบุราจารย<br />

http://www.jarun.org/v6/th/lrule09p0301.html


สัพเพ สัตตา สัตวทั<br />

บทแผเมตตา<br />

้งหลาย ที่เปนเพื่อนทุกข<br />

เกิดแกเจ็บ<br />

ตาย ดวยกันทั้งหมดทั้งสิ้น<br />

อะเวรา โหนตุ จงเปนสุขเปนสุขเถิด อยาไดมีเวรแกกัน<br />

และกันเลย<br />

อัพยาปชฌา โหนตุ จงเปนสุขเปนสุขเถิด อยาได<br />

พยาบาทเบียดเบียนซึ่งกันและกันเลย<br />

อะนีฆา โหนตุ จงเปนสุขเปนสุขเถิด อยาไดมีความทุกข<br />

กาย ทุกขใจเลย<br />

สุขี อัตตานัง ปะริหะรันตุ จงมีความสุขกายสุขใจ<br />

รักษาตนใหพนจากทุกขภัยทั้งสิ้นเทอญ<br />

บทอุทิศสวนกุศล (บทกรวดน้ำ)<br />

อิทัง เม มาตาปตูนัง โหตุ สุขิตา โหนตุ มาตา<br />

ปตะโร ขอสวนบุญนี้จงสำเร็จ<br />

แกมารดาบิดาของขาพเจา<br />

ขอใหมารดาบิดาของขาพเจา จงมีความสุข<br />

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ ๑๙


อิทัง เม ญาตีนัง โหตุ สุขิตา โหนตุ ญาตะโย<br />

ขอสวนบุญนี้จงสำเร็จ<br />

แกญาติทั้งหลายของขาพเจา<br />

ขอให<br />

ญาติทั้งหลายของขาพเจา<br />

จงมีความสุข<br />

อิทัง เม คุรูปชฌายาจะริยานังโหตุ สุขิตา โหนตุ<br />

คุรูปชฌายาจะริยา ขอสวนบุญนี้จงสำเร็จ<br />

แกครูอุปชฌาย<br />

อาจารยของขาพเจา ขอใหครูอุปชฌายอาจารยของขาพเจา<br />

จงมีความสุข<br />

อิทัง สัพพะ เทวะตานัง โหตุ สุขิตา โหนตุ สัพเพ<br />

เทวา ขอสวนบุญนี้จงสำเร็จแกเทวดาทั้งหลายทั้งปวง<br />

ขอให<br />

เทวดาทั้งหลายทั้งปวง<br />

จงมีความสุข<br />

อิทัง สัพพะ เปตานัง โหตุ สุขิตา โหนตุ สัพเพ<br />

เปตา ขอสวนบุญนี้จงสำเร็จ<br />

แกเปรตทั้งหลายทั้งปวง<br />

ขอให<br />

เปรตทั้งหลายทั้งปวง<br />

จงมีความสุข<br />

อิทัง สัพพะ เวรีนัง โหตุ สุขิตา โหนตุ สัพเพ เวรี<br />

ขอสวนบุญนี้จงสำเร็จ<br />

แกเจากรรมนายเวรทั้งหลายทั้งปวง<br />

ขอใหเจากรรมนายเวรทั้งหลายทั้งปวง<br />

จงมีความสุข<br />

อิทัง สัพพะ สัตตานัง โหตุ สุขิตา โหนตุ สัพเพ<br />

สัตตา ขอสวนบุญนี้จงสำเร็จ<br />

แกสัตวทั้งหลายทั้งปวง<br />

ขอให<br />

สัตวทั้งหลายทั้งปวง<br />

จงมีความสุข<br />

๒๐ สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ


วิธีการสวดมนต<br />

การสวดมนตเปนนิจนี้<br />

มุงใหจิตแนบสนิทติดในคุณของพระพุทธเจา<br />

พระธรรม และพระสงฆ จิตใจจะสงบเยือกเย็นเปนบัณฑิต มีความคิดสูง<br />

ทิฏฐิมานะทั้งหลายก็จะคลายหายไปได<br />

เราจะไดรับอานิสงสเปนผลของ<br />

ตนเองอยางนี้จากสวดมนตเปนนิจ<br />

การอธิษฐานจิตเปนประจำนั้น<br />

มุงหมายเพื่อแกกรรมของผูมีกรรม<br />

จากการกระทำครั้งอดีตที่เรารำลึกได<br />

และจะแกกรรมในปจจุบันเพื่อสู<br />

อนาคต กอนที่จะมีเวรมีกรรม<br />

กอนอื่นใด<br />

เราทราบเราเขาใจแลว โปรด<br />

อโหสิกรรมแกสัตวทั้งหลาย<br />

เราจะไมกอเวรกอกรรมกอภัยพิบัติ ไมมี<br />

เสนียดจัญไรติดตัวไปเรียกวา เปลา ปราศจากทุกข ถึงบรมสุข คือนิพพาน<br />

ได เราจะรูไดวากรรมติดตามมา<br />

และเราจะแกกรรมอยางไร ในเมื่อกรรม<br />

ตามมาทันถึงตัวเรา เราจะรูตัวไดอยางไร<br />

เราจะแกอยางไร เพราะมันเปน<br />

เรื่องที่แลว<br />

ๆ มา<br />

การอโหสิกรรม หมายความวา เราไมโกรธ ไมเกลียด เรามีเวร<br />

กรรมตอกันก็ใหอภัยกัน อโหสิกันเสีย อยางที่ทานมาอโหสิกรรม<br />

ณ<br />

บัดนี้<br />

ใหอภัยซึ่งกันและกัน<br />

พอใหอภัยได ทานก็แผเมตตาได ถาทานมี<br />

อารมณคางอยูในใจ<br />

เสียสัจจะ ผูกใจโกรธ อิจฉาริษยา อาสวะไมสิ้น<br />

ไหนเลยละทานจะแผเมตตาออกได เราจึงไมพนเวรพนกรรมในขอนี้<br />

การอโหสิกรรมไมใชทำงาย<br />

จากหนังสือกฎแหงกรรมเลม ๔ เรื่อง<br />

แกกรรมดวยการกำหนด โดย พระธรรมสิงหบุราจารย<br />

http://www.jarun.org/v6/th/lrule04p0301.html<br />

จากหนังสือกฎแหงกรรมเลม ๙ เรื่อง<br />

ทำความดีนี้แสนยาก<br />

โดย พระธรรมสิงหบุราจารย<br />

http://www.jarun.org/v6/th/lrule09p0401.html<br />

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ ๒๑


วิธีในการสวดมนตพระเดชพระคุณหลวงพอไดสอนไววา<br />

“เอาตำรามาดูกันก็ไมไดผล แตดูตำราเพื่อใหถูกวรรคตอน<br />

และใหคลองปาก แลวจะไดคลองใจ เปนสมาธิ”<br />

ทานสามารถฟงเสียงสวดมนต บทพาหุงมหากาฯ ไดที่<br />

http://fs1.netdiskbytrue.com/Pub014/44/249321_praypahung.wma<br />

การวางจิต<br />

เมื่อสวดมนตไดถูกวรรคตอน<br />

เปนสมาธิดีแลว ก็วางจิตใหถูกตอง<br />

สวดมนตเปนนิจ อธิษฐานจิตเปนประจำ (ลิ้นป)<br />

อโหสิกรรมเสียกอนและเราก็แผเมตตา... (ลิ้นป)<br />

มีเมตตาดีแลว ไดกุศลแลวเราก็อุทิศเลย (อุณาโลม)<br />

“แผสวนกุศลทำอยางไร อุทิศตรงไหน ทำตรงไหน และวาง<br />

จิตไวตรงไหน ถึงจะได อยาลืมนะ ที่ลิ้นป<br />

หายใจยาว ๆ สำรวม<br />

เวลาสวดมนตนั้นนะ<br />

ไดบุญแลว ไมตองเอาสตางคไปถวายองคโนน<br />

องคนี้หรอก<br />

แลวสำรวมจิต สงกระแสจิตที่หนาผาก<br />

อุทิศสวนกุศล..”<br />

สวดมนตเปนนิจ (ลิ้นป)<br />

“ลิ้นป<br />

จะอยูครึ่งทางระหวางจมูกถึงสะดือ”<br />

๒๒ สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ


“........อธิษฐานจิต หมายความวา ตั้งสติสัมปชัญญะ<br />

ไวที่ลิ้นป<br />

สำรวมกาย วาจา จิตใหตั้งมั่นแลว<br />

จึงขอแผเมตตาไวในใจ สักครูหนึ่ง<br />

แลวก็อุทิศใหมารดา บิดาของเรา วาเราไดบำเพ็ญกุศล ทานจะไดบุญ<br />

ไดกุศลแน ๆ เดี๋ยวนี้ดวย<br />

ผมเรียนถวายนะ มิฉะนั้นผมจะอุทิศไป<br />

ยุโรปไดอยางไร..........”<br />

อธิษฐานจิตเปนประจำ (ลิ้นป)<br />

แผเมตตากับอุทิศ มันตางกัน ทำใจใหเปนเมตตาบริสุทธิ์กอน<br />

ไมอิจฉา ริษยา ไมผูกพยาบาทใครไวในใจ ทำใจใหแจมใส ทำให<br />

ใจสบาย คือ เมตตาแลวเราจะอุทิศใหใครก็บอกกันไป มันจะมีพลังสูง<br />

สามารถจะอุทิศให คุณพอคุณแม ของเรากำลังปวยไขใหหายจาก<br />

โรคภัยไขเจ็บได เชน วีโก บรูน ชาวนอรเวยที่เคยมาบวชที่วัดนี้<br />

เปนตน...”<br />

อโหสิกรรมกอนแลวคอยแผเมตตา<br />

“หายใจยาว ๆ ตั้งกัลยาณจิตไวที่ลิ้นป<br />

ไมใชพูดสงเดช จำนะ<br />

ที่ลิ้นป<br />

เปนการแผเมตตาจะอุทิศก็ยกจากลิ้นป<br />

สูหนาผาก<br />

เรียกวา<br />

อุณาโลมา ปจชายเต....”<br />

แผเมตตา (ลิ้นป)<br />

อุทิศสวนกุศล (อุณาโลม)<br />

จากหนังสือกฎแหงกรรมเลม ๖ เรื่อง<br />

การอุทิศสวนกุศล โดย พระธรรมสิงหบุราจารย<br />

http://www.jarun.org/v6/th/lrule06p0101.html<br />

และหนังสือกฎแหงกรรมเลม ๙ เรื่อง<br />

วิธีแผเมตตาและอุทิศสวนกุศล<br />

โดย พระธรรมสิงหบุราจารย<br />

http://www.jarun.org/v6/th/lrule09p0301.html<br />

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ ๒๓


ลำดับการสวดมนต<br />

“พระพุทธคุณ อาตมาสังเกตมาวา บางคนเขาไปหาหมอดู<br />

เคราะหรายก็ตองสะเดาะเคราะห อาตมาก็มาดูเหตุการณโชคลาง<br />

ไมดีก็เปนความจริงของหมอดู อาตมาก็ตั้งตำราขึ้นมาดวยสติ<br />

บอกวา<br />

โยมไปสวดพุทธคุณเทาอายุใหเกินกวา ๑ ใหได เพื่อใหสติดี<br />

แลวสวด “พาหุงมหากาฯ” หายเลย สติก็ดีขึ้น<br />

เทาที่ใชไดผล<br />

สวด<br />

ตั้งแต<br />

นะโม พุทธัง ธัมมัง สังฆัง พุทธคุณ ธรรมคุณ สังฆคุณ<br />

พาหุงมหากาฯ จบแลวยอนกลับมาขางตน เอาพุทธคุณหองเดียว<br />

(อิติปโส ภะคะวา จนถึง พุทโธ ภะคะวาติ) หองละ ๑ จบ ตอ ๑<br />

อายุ อายุ ๔๐ สวด ๔๑ ก็ไดผล”<br />

ตั้งนะโม<br />

๓ จบ<br />

สวดพุทธัง ธัมมัง สังฆัง<br />

สวดพุทธคุณ ธรรมคุณ สังฆคุณ<br />

สวดพุทธชัยมงคลคาถา (พาหุงฯ)<br />

สวดมหาการุณิโก<br />

สวดพุทธคุณ อยางเดียวเทากับอายุ บวก ๑ เชน อายุ ๒๘ ป<br />

ใหสวด ๒๙ จบ อายุ ๕๔ ป ใหสวด ๕๕ จบ เปนตน<br />

แผเมตตา<br />

อุทิศสวนกุศล<br />

จากหนังสือกฎแหงกรรมเลม ๓ เรื่อง<br />

อานิสงสของการสวดพุทธคุณ<br />

โดย พระธรรมสิงหบุราจารย<br />

http://www.jarun.org/v6/th/lrule03r0801.html<br />

๒๔ สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ


เหตุใดตองสวดพุทธคุณเทาอายุเกิน ๑<br />

(อิติปโสเทาอายุ+๑)<br />

“อาตมาเคยพบคนแกอายุ ๑๐๐ กวาป มีคนเอากับขาวมาให<br />

ก็สวด อิติปโส ภควา อรหัง สัมมาสัมพุทโธ ๑ จบ ใหตัวเองกอน<br />

สวนอีกจบหนึ่งใหคนที่นำมาให<br />

เสร็จแลวใหถวยคืนไป อาตมาจับ<br />

เคล็ดลับได จะใหใครตองเอาทุนไวกอน ถึงไดเรียกวา สวดพุทธคุณ<br />

เทาอายุเกินหนึ่งไงเลา”<br />

จากหนังสือกฎแหงกรรมเลม ๙ เรื่อง<br />

ทำความดีนี้แสนยาก<br />

โดย พระธรรมสิงหบุราจารย<br />

http://www.jarun.org/v6/th/lrule09p0401.html<br />

ที่วาใหวาสวดเทาอายุนี่<br />

หมายความวาอายุเทาไหร ๒๐ ถาเรา<br />

สวดแค ๑๐ เดียว มันก็ไมเทาอายุสวดไปเนี่ยเทาอายุกอนนะมันคุม<br />

ใหมีสติ แลวก็เกินหนึ่งเพราะอะไร<br />

ที่พูดเกินหนึ่งเนี่ยหมายความ<br />

คนมักงายมักได คือมันมีเวลานอย ถาสวดแคเกินหนึ่งทำอะไรใหมัน<br />

เกินไว เหมือนคุณโยมเนี่ยไปคาขาย<br />

ยังไมไดขายไดสักกะตังคเลย<br />

จะเอาอะไรไปใหทาน ยังไมไดกำไรเลยตองใหตัวเองกอนนะ นี่ตอง<br />

คาขายตองลงทุนนี่<br />

ตองลงทุนก็สวดไป แตสวดมากเทาไรยิ่งดีมาก<br />

ไดมีสมาธิมาก แตอาตมาที่พูดไวคือคนมันไมมีเวลา<br />

ก็เอาเกินหนึ่งได<br />

ไหม เกินหนึ่งไดก็ใชไดนะ<br />

แตถาเกินถึง ๑๐๘ ไดไหม ยิ่งดีใหญ<br />

ทำใหเกิดสมาธิสูงขึ้น<br />

จากบทสัมภาษณในรายการ “ชีวิตไมสิ้นหวัง”<br />

ทางชอง ๓<br />

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ ๒๕


การเปลี่ยนจาก<br />

“เต” เปน “เม” ในบทสวดมนต<br />

“เม” คือ ขา หมายถึง ผูสวดนั่นแหละ<br />

สวน “เต” คือทาน<br />

พระเดชพระคุณหลวงพอ ไดเทศนตอบผูใหสัมภาษณจากเทปธรรมบรรยาย<br />

“สวดมนตจนหายปวย” และ “มารไมมี บารมีไมเกิด”<br />

เราสามารถเลือกสวดไดทั้ง<br />

“เม” และ “เต” แตขอฝากย้ำคำสอน<br />

ของพระเดชพระคุณหลวงพอเรื่องการแผเมตตาและอุทิศสวนกุศล<br />

มาให<br />

พิจารณาดังนี้<br />

“ทานไปขุดน้ำกินเสียบานเดียว ทานจะไดอะไรหรือ ขุดบอน้ำ<br />

สาธารณะกินไดทุกบาน ใครมาก็กิน ใครมาก็ใช ทานไดบุญมาก<br />

มีถนนสวนบุคคล ทานเดินไดเฉพาะบานเดียว ไมสาธารณะแกคน<br />

ทั่วไป ทานจะไดบุญนอยมาก มีอานิสงสนอยมาก นี่เปรียบเทียบ<br />

ถวาย เรื่องจริงเปนอยางนั้น”<br />

จากหนังสือกฎแหงกรรมเลม ๙ เรื่อง<br />

วิธีแผเมตตาและอุทิศสวนกุศล<br />

โดย พระธรรมสิงหบุราจารย<br />

http://www.jarun.org/v6/th/lrule09p0301.html<br />

๒๖ สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ


วิธีการแผเมตตาและอุทิศสวนกุศล<br />

วันนี้จะขอฝากญาติโยมไว<br />

การอุทิศสวนกุศล และการแผ<br />

สวนกุศลไมเหมือนกัน การแผคือการแพรขยาย เปนการเคลียรพื้นที่<br />

แผสวนบุญออกไป เรียกวา สัพเพสัตตา สัตวทั้งหลายที่เปนเพื่อนทุกข<br />

เกิดแกเจ็บตายดวยกันทั้งหมดทั้งสิ้น<br />

เรียกวาการแผแพรขยาย แตการ<br />

อุทิศให เปนการใหโดยเจาะจง ถาเราจะใหตัวเองไมตองบอก ไมตอง<br />

บอกวาขอใหขาพเจารวย ขอใหขาพเจาดี ขอใหขาพเจาหมดหนี้<br />

ทำบุญก็รวยเอง เราเปนคนทำ เราก็เปนคนได และการใหบิดามารดา<br />

นั้นก็ไมตองออกชื่อแตประการใด<br />

ลูกทำดีมีปญญา ไดถึงพอแม เพราะ<br />

ใกลตัวเรา พอแมอยูในตัวเรา<br />

เราสรางความดีมากเทาไรจะถึงพอแม<br />

มากเทานั้น<br />

เรามีลูก ลูกเราดี ลูกมีปญญา พอแมก็ชื่นใจโดยอัตโนมัติ<br />

ไมตองไปบอก<br />

จากหนังสือกฎแหงกรรมเลม ๖ เรื่อง<br />

การอุทิศสวนกุศล<br />

โดย พระธรรมสิงหบุราจารย<br />

http://www.jarun.org/v6/th/lrule06p0101.html<br />

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ ๒๗


ผูปรารถนาจะปลูกเมตตาใหงอกงามอยูในจิต<br />

พึงปลูกดวยการ<br />

คิดแผ ในเบื้องตนแผไปโดยเจาะจงกอน<br />

ในบุคคลที่ชอบพอ<br />

มีมารดา<br />

บิดา ญาติมิตร เปนตน โดยนัยวาผูนั้น<br />

ๆ จงเปนผูไมมีเวร<br />

ไมมี<br />

ความเบียดเบียน ไมมีทุกข มีสุขสวัสดี รักษาตนเถิด เมื่อจิตไดรับ<br />

การฝกหัดคุนเคยกับเมตตาเขาแลว<br />

ก็แผขยายใหกวางออกไปโดย<br />

ลำดับดังนี้<br />

ในคนที่เฉย<br />

ๆ ไมชอบไมชัง ในคนไมชอบนอย ในคนที่<br />

ไมชอบมาก ในมนุษยและดิรัจฉานไมมีประมาณ เมตตาจิต เมื่อคิด<br />

แผกวางออกไปเพียงใด มิตรและไมตรีก็มีความกวางออกไปเพียงนั้น<br />

เมตตา ไมตรีจิตมิใชอำนวยความสุขใหเฉพาะบุคคล ยอมใหความสุข<br />

แกชนสวนรวมตั้งแตสองคนขึ้นไป<br />

คือ หมูชนที่มีไมตรีจิตตอกัน<br />

ยอมหมดความระแวง ไมตองจายทรัพย จายสุข ในการระวังหรือ<br />

เตรียมรุกรับ มีโอกาสประกอบการงาน อันเปนประโยชนแกตนเอง<br />

และหมูเต็มที่<br />

มีความเจริญรุงเรืองและความสงบสุขโดยสวนเดียว<br />

จากหนังสือกฎแหงกรรมเลม ๑๓ เรื่อง<br />

สุจริตธรรมเหตุแหงความสุขที่แทจริง<br />

โดย พระธรรมสิงหบุราจารย<br />

http://www.jarun.org/v6/th/lrule13p0303.html<br />

๒๘ สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ


สวดมนตเปนนิจ อธิษฐานจิตเปนประจำ อโหสิกรรมเสียกอน<br />

และเราก็แผเมตตาใหสรรพสัตวทั้งหลาย<br />

ที่เราไปสรางกรรมมา<br />

ครั้งอดีต<br />

รูบาง<br />

ไมรูบาง<br />

รูเทาทันหรือไมเทาทันก็ตาม<br />

ถารูเทาไมถึง<br />

การณเชนนี้แลว<br />

ขอสรรพสัตวทั้งหลายจงอโหสิกรรมใหแกขาพเจา<br />

มันก็จะนอยลงไป<br />

จากหนังสือกฎแหงกรรมเลม ๓ เรื่อง<br />

กรรมฐานแกกรรมไดอยางไร<br />

โดย พระธรรมสิงหบุราจารย<br />

http://www.jarun.org/v6/th/lrule03p0201.html<br />

“ตั้งสติหายใจยาว<br />

ๆ ตอนที่กรวดน้ำเสร็จแลวอธิษฐานจิตไวกอน<br />

อธิษฐานจิตหมายความวา ตั้งสติสัมปชัญญะไวที่ลิ้นป<br />

สำรวมกาย<br />

วาจา จิต ไดตั้งมั่นแลว<br />

จึงขอแผเมตตาไวในใจสักครูหนึ่ง<br />

แลวก็ขอ<br />

อุทิศใหบิดามารดาของเราวา เราไดบำเพ็ญกุศล ทานจะไดบุญได<br />

ผลแน ๆ เดี๋ยวนี้ดวย...”<br />

“หายใจยาว ๆ ตั้งสติกอน<br />

หายใจลึก ๆ ยาว ๆ แลวก็แผเมตตา<br />

กอน มีเมตตาดีแลว ไดกุศลแลว เราก็อุทิศเลย อโหสิกรรม ไมโกรธ<br />

ไมเกลียด ไมพยาบาทใครอีกตอไป และเราจะขออุทิศใหใคร ญาติ<br />

บุพเพสันนิวาสจะไดกอน ญาติเมื่อชาติกอนจะไดมารับ<br />

เราก็มิทราบ<br />

วาใครเปนพอแมในชาติอดีตใครเปนพี่นองของเราเราก็ไมทราบ<br />

แต<br />

แลวเราจะไดทราบตอนอุทิศสวนกุศลนี้ไปให<br />

เหมือนโทรศัพทไป<br />

เขาจะไดรับหรือไม เราจะรูไดทันที”<br />

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ ๒๙


“นี่ก็เชนเดียวกัน<br />

เราจะปลื้มปติทันทีนะ<br />

เราจะตื้นตันขึ้นมาเลย<br />

ถาทานมีสมาธิ น้ำตาทานจะรวงนะ ขนพองสยองเกลาเปนปติ<br />

เบื้องตน<br />

ถาทานมาสวดมนตกันสงเดช ไมเอาเหนือเอาใต ทานไมอุทิศ<br />

ทานจะไมรูเลยนะ...<br />

”<br />

“วันนี้ทานทำบุญอะไร<br />

สรางความดีอะไรบาง ดูหนังสือ<br />

ทองจำบทอะไรไดบาง ก็อุทิศได เมืองฝรั่งเขาไมมีการทำบุญ<br />

เราไป<br />

ทอดกฐิน ผาปา ถวายสังฆทาน เขาทำไมเปน แตทำไมเขาเปนเศรษฐี<br />

ทำไมเขามีความเจริญทางดานเทคโนโลยี ทำไมถึงเจริญดวยอารยธรรม<br />

ของเขา เพราะเขามีบุญวาสนา เขาตั้งใจทำ<br />

มีกิจกรรมในชีวิตของเขา<br />

จะยกตัวอยาง วันนี้เขาคาขายไดเปนพันเปนหมื่นดวยสุจริตธรรม<br />

เขาก็เอาอันนั้นแหละอุทิศไป<br />

วันนี้เขาปลูกตนไมไดมากมาย<br />

เขาก็เอา<br />

สิ่งนี้อุทิศไป<br />

วาไดสรางความดีในวันนี้<br />

ไมไดอยูวางแตประการใด<br />

เขาก็ไดบุญ ไมจำเปนตองเอาสตางคมาถวายพระเหมือนเมืองไทย<br />

ถวายสังฆทานกันไมพัก ถวายโนนถวายนี่แตใจเปนบาป<br />

อุทิศไมออก<br />

บอกไมไดอยางนี้เปนตน<br />

จะไมไดอะไรเลยนะ ... ”<br />

“...ที่ผมแผเมตตาและอุทิศสวนกุศล<br />

ไปเขาบานลูกสาวญวนที่<br />

กรุงปารีส ฝรั่งเศส<br />

ทำอยางนี้นะ<br />

เวลาสวดมนต อิติปโส... ยาเทวตา...<br />

ตั้งใจสวดดวยภาษาบาลีเชนนี้<br />

ที่หยุดเงียบไปนะ<br />

ผมสำรวมจิตตั้งสติ<br />

แผเมตตา จิตสงบดีแลวจึงอุทิศไป”<br />

“… ที่ทองจำโคลงใหไดนะเพื่อใหคลองปาก<br />

วาใหคลองปาก<br />

แลวก็จะคลองใจ คลองใจแลวถึงจะเปนสมาธิ เปนสมาธิแลวถึง<br />

จะอุทิศได ไมอยางนั้นไมไดนะ”<br />

๓๐ สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ


“เอาตำรามาดูกันก็ไมไดผล แตดูตำราเพื่อใหถูกวรรคตอน<br />

และใหคลองปาก แลวจะไดคลองใจ เปนสมาธิ ถึงจะมีกำลังสงอุทิศ<br />

ไมอยางนั้นไมมีกำลังสงเลยนะ”<br />

“การอุทิศสวนกุศล นี่สำคัญนะ<br />

แตตองแผเมตตากอน แผเมตตา<br />

ใหมีสติกอน แผเมตตาใหมีความรูวาเราบริสุทธิ์<br />

ใจมีเมตตาไหม และ<br />

อุทิศเลย มันคนละขั้นตอนกันนะ<br />

แผเมตตากับอุทิศมันตางกัน ทำใจใหเปนเมตตาบริสุทธิ์กอน<br />

ไมอิจฉา ไมริษยา ไมผูกพยาบาทใครไวในใจ ทำใหแจมใส ทำใจ<br />

ใหสบาย คือเมตตา แลวเราจะอุทิศใหใครก็บอกกันไป มันจะมีพลัง<br />

สูง สามารถจะอุทิศใหคุณพอคุณแมของเรากำลังปวยไข ใหหายจาก<br />

โรคภัยไขเจ็บได เชน วีโก บรูน ชาวนอรเวย ที่เคยมาบวชที่วัดนี้<br />

เปนตน”<br />

“เรามาสวดมนตไหวพระกันวา โยโสภะคะวา.... ใจเปนบุญ<br />

ไหม สวากขาโต... สุปฏิปนโน... ใจเปนบุญไหม ทานจะฟุงซานไป<br />

ทางไหน สำรวมอินทรีย หนาที่คอยระวัง<br />

เอาของจริงไปใช อยาเอา<br />

ของปลอมมาใชเลย ...<br />

ทานทำประโยชนอะไรในวันนี้<br />

เอามาตีความ สำรวมตั้งสติไว<br />

กอน วาขาดทุนหรือไดกำไรชีวิต และจะไปเรียงสถิติในจิตใจเรียกวา<br />

เมตตา แปลวาระลึกกอน เมตตาแปลวาปรารถนาดีกับตนเอง สงสาร<br />

ตัวเองที่ไดสรางความดีหรือความชั่วเชนนี้”<br />

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ ๓๑


“หายใจยาว ๆ ตั้งกัลยาณจิตไวที่ลิ้นป<br />

ไมใชพูดสงเดช จำนะ<br />

ที่ลิ้นปเปนการแผเมตตา<br />

จะอุทิศก็ยกจากลิ้นปสูหนาผาก<br />

เรียกวา อุณา<br />

โลมา ปจชายเต<br />

นะอยูหัว<br />

สามตัวอยาละ นะอยูที่ไหน<br />

ตามเอามา แลวก็อุทิศ<br />

ทันที จึงถึงตามที่ปรารถนา<br />

ไมวาเปนโยมพอ โยมแม จะใหนองเรียน<br />

หนังสือ จะใหพี่เรียนหนังสือ<br />

หรือจะใหบุตรธิดาของตน จะไดผลขึ้น<br />

มาทันที”<br />

“ลูกวานอนสอนยาก ลูกติดยาเสพติด ถาทำถูกวิธีแลว<br />

มันจะหันเหเรมาทางดีได พอแมกินเหลาเมายา เลนการพนัน ลูกจะ<br />

ไปสอนพอแมไมได มีทางเดียวคือ เจริญพระกรรมฐาน สำรวมจิต<br />

แผเมตตา อุทิศสวนกุศล<br />

นะอยูหัว<br />

สามตัวอยาละ นะอยูที่ไหนตามเอามาใหได<br />

หมาย<br />

ความวากระไร ถาทานทำกรรมฐาน ทานจะทายออก นะตัวนี้สำคัญ<br />

นะ มีทั้งเมตตามหานิยม<br />

นะ แปลวา การกระทำอกุศลใหเปนกุศล<br />

นะ แปลวา ทำศัตรูใหเปนมิตร สรางชีวิตในธรรม แลวก็อุทิศสวน<br />

กุศลไป”<br />

“… อยาทำดวยอารมณ อยาทำดวยความผูกพยาบาท อาฆาต<br />

ตอกัน ละเวรละกรรมเสียบาง แลวจิตจะโปรงใส ใจก็จะสะอาด<br />

แลวก็อุทิศไป<br />

๓๒ สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ


จิตมันไมติดไฟแดง จิตไมเลี้ยวซายเลี้ยวขวา<br />

จิตมันทะลุฝา<br />

ผนังได ทานเขาใจคำนี้หรือยัง<br />

จิตมันตรงที่หมาย<br />

จิตไมมีตัวตน<br />

จิตคิดอานอารมณ มีจิตโปรง ทานจะทำอะไรก็โลงใจ สบายอก<br />

สบายใจ นะอยูหัว<br />

สามตัวอยาละ เอานะไปอุทิศใหได ถาทานมี<br />

ครอบครัวแลวโปรดตั้งปฏิญาณในใจวา<br />

ใหบุตรธิดาของเรารวยสวย<br />

เกง เรงเปนดอกเตอร อยางนี้ซิถึงจะถูกวิธีของผม”<br />

“ทานไปขุดน้ำกินเสียบานเดียว ทานจะไดอะไรหรือ ขุดบอน้ำ<br />

สาธารณะกินไดทุกบาน ใครมาก็กิน ใครมาก็ใช ทานไดบุญมาก<br />

มีถนนสวนบุคคล ทานเดินไดเฉพาะบานเดียว ไมสาธารณะแกคน<br />

ทั่วไป<br />

ทานจะไดบุญนอยมาก มีอานิสงสนอยมาก นี่เปรียบเทียบ<br />

ถวาย เรื่องจริงเปนอยางนั้น”<br />

“…อยาลืมนะ ที่ลิ<br />

้นป<br />

หายใจยาว ๆ สำรวมเวลาสวดมนตนั้นนะ<br />

ไดบุญแลว … แลวสำรวมจิตสงกระแสจิตที่หนาผาก<br />

อุทิศสวนกุศล<br />

เวลาแผเมตตาเอาไวที่ลิ้นป<br />

สำรวมอินทรีย หนาที่คอยระวัง<br />

นะ<br />

อุ อุอะมะ อุอะมะ อะอะอุ นะอยูตรงไหน<br />

เอามาไวตรงไหน จับให<br />

ไดแลวอุทิศไป”<br />

“ผมทำมา ๔๐ กวาปแลว ทำไดผล ขอถวายความรูเปนบุญ<br />

เปนกุศล ใหทานไดบุญอยางประเสริฐไป จะไดอุทิศใหโยมเขา<br />

เขาเปนโรคภัยไขเจ็บ ถาไมเหลือวิสัยมันก็หายได”<br />

คัดยอความจากหนังสือกฎแหงกรรมเลม ๙ เรื่อง<br />

วิธีแผเมตตาและอุทิศสวนกุศล<br />

โดย พระธรรมสิงหบุราจารย<br />

http://www.jarun.org/v6/th/lrule09p0301.html<br />

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ ๓๓


ถามตอบเรื่องการสวดมนต<br />

พิธีกร: กราบนมัสการหลวงพอเจาคะ<br />

หลวงพอจรัญ: ขอเจริญพร<br />

พิธีกร: วันนี้ลูกอยากเรียนถามหลวงพอวาการสวดพุทธคุณหมายความ<br />

วาอยางไรคะ<br />

หลวงพอจรัญ: ขอเจริญพรพุทธคุณหมายความวากระไร พุทธคุณมีมา<br />

นานแลว ไมจำเปนตองกลาวพุทธคุณมันเรียกรวมกันเรียกพุทธคุณ<br />

ถาจะเรียกใหครบถวนก็เรียกวาไตรรัตน รัตนตรัย คือ พระพุทธคุณ<br />

พระธรรมคุณ พระสังฆคุณ อยูรวมกันเปนพุทธคุณ<br />

เปนอำนาจของ<br />

พุทธคุณ อำนาจของพระพุทธเจา แตที่วาสวดพุทธคุณอานิสงสหรืออะไร<br />

ก็ตามมีความหมายยังไง มีความหมายมานานแลวคนไทยชาวพุทธไมได<br />

ศึกษา มาที่วัดกันเยอะแยะ<br />

อาตมาบอกวาโยมไมสบายใจสวดพุทธคุณสิ<br />

ธรรมคุณ สังฆคุณ พาหุงมหากาฯ สวดพุทธคุณ ยาว.. ยาว... ไมสวด<br />

แตเสียใจดวย สรางความดี ยาว... สรางความดีนิดเดียว ไปสรางความ<br />

ชั่วยาวกวาความดี<br />

มันจะไปกันไดหรือ ไปไมได<br />

พุทธคุณนี่คือคุณพระพุทธเจา<br />

เอาคุณพระพุทธเจามาไวในใจ มีมา<br />

นานแลว พระธรรมคุณ ก็หมายความวาเอาธรรมะมาไวในใจ ปฏิบัติ<br />

สังฆคุณ ปฏิบัติไดแลว คือสังฆะแปลวาสามัคคี กายสามัคคี จิตสามัคคี<br />

มีรูปแบบดีเปนพฤติกรรม แสดงออกประพฤติดีแลว ปฏิบัติชอบแลว<br />

ก็สอนตัวเองไดสอนคนอื่นตอไปเรียกวาสังฆคุณ<br />

พุทธคุณนี่ก็หมาย<br />

ความวาเอาคุณพระพุทธเจา มาไวในใจ คุณพระพุทธเจาคืออะไร มี<br />

๓ ประการทุกทาน<br />

๑. พระปญญาคุณ ๒. พระวิสุทธิคุณ ๓. พระมหากรุณาธิคุณ<br />

๓๔ สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ


แตถาจะตีความใหชัด เดี๋ยวจะไมเขาใจ<br />

วาพุทธคุณเนี่ยคุณ<br />

พระพุทธเจา ปญญาคุณหมายความวาไร คนไทยชาวพุทธไมเขาใจเยอะ<br />

ปญญาเกิด ๓ ทาง<br />

ทางที่<br />

๑ คือ สุตะมยปญญา แปลวาสดับตรับฟง สดับตรับฟง<br />

ตองมีครรลอง ๕ ประการ ๑. ศรัทธาฟง ๒. สนใจฟง ๓. จดหัวขอไว<br />

๔. ทบทวน ๕. ปฏิบัติทันทีอยารอรีแตประการใด เกิดปญญาในการฟง<br />

เดี๋ยวนี้ไปฟงเปนนักเรียนก็ตาม<br />

ฟงหลับ แลวก็ญาติโยมฟงเทศนก็หลับ<br />

นี่มันมีศรัทธาฟงไหม<br />

ไมสนใจฟงเลย ไมจดหัวขอไว ไมเกิดปญญา<br />

ในการฟง ๒. ก็ยัง ยังไมครรลอง ยังไมเต็มคราบ ยังไมเขาจุด ตองมี<br />

จินตามยปญญา ตองเอาฟงแลวเนี่ยเอาไปคิดประดิษฐสรางสรรค<br />

ริเริ่ม<br />

ดำเนินงานทันทีอยารอรีแตประการใดถึงจะเกิดปญญา ถาฟงแลวเอาไปทิ้ง<br />

มันไมเกิดปญญาจะไมไดคิดไมไดริเริ่ม<br />

จึงเรียกวาความคิด มันเกิดปญญา<br />

เดี๋ยวนี้มีคนความรูมากเปนดอกเตอรก็เยอะ<br />

แตไมมีความคิดอยู<br />

ประการที่<br />

๓ สูประการที่<br />

๓ ไมได ภาวนามยปญญา สวดมนตไหวพระ สวดมนต<br />

ไหวพระไว แลวก็จะนึกถึงภาวนา เชนเด็กดูหนังสือสามหนเรียกวา<br />

ภาวนา ดูหนังสือหนเดียวเรียกวาดูหนังสือพิมพทิ้งขวางไป<br />

ดูครั้งที่หนึ่ง<br />

หมายความวา รูนี่เรื่องพระเวสสันดร<br />

ยกตัวอยาง ดูครั้งสองซ้ำไปมีกี่ตอน<br />

มีกี่กัณฑ<br />

ดูครั้งที่สามเนื้อหาสาระเปนประการใด<br />

นี่เรียกวาภาวนา<br />

ภาวนาแปลวาอะไรอีก แปลวา “สวดมนตเปนยาทา วิปสสนาเปน<br />

ยากิน” ที่พูดมานานแลว<br />

ทำใหมันผุดขึ้นมาเอง<br />

และสามารถจะกำจัด<br />

ความชั่วออกจากตัวได<br />

จึงเรียกวาบริสุทธิ์<br />

ในเมื่อเกิดบริสุทธิ์แลว<br />

บริสุทธิ์<br />

นี่ไดมาจากไหน<br />

ตีความตอไป คนจะบริสุทธิ์ไดก็ไมเปนคนหละหลวม<br />

เหลาะแหละเหลวไหลขึ้นหวยลงเขา<br />

คนบริสุทธิ์นี่จะ<br />

คนมีจริงจัง จริงใจ<br />

ตอตัวเอง จริงใจตอคนอื่นเขา<br />

เรียกตีครรลองเปนธรรมะใหเด็กเขาใจ<br />

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ ๓๕


สัจจะ เมตตา สามัคคี มีวินัย ถึงจะบริสุทธิ์ได<br />

ถาไมมีหลักสี่ประการ<br />

เปนการรับรองแลว คนนั้นไมบริสุทธิ์และคนบริสุทธิ์แลวที่มักจะมีเมตตา<br />

เรียกวาพระมหากรุณาธิคุณของพระพุทธเจา นี่เรียกวาพุทธคุณ<br />

นี่เอามา<br />

ไวในใจ อยางนี้ไง<br />

และธรรมคุณก็เชนเดียวกัน พอมีพุทธคุณซะแลว<br />

ธรรมคุณมาเอง มีธรรมะมาเอง พอธรรมะมีแลวพระสงฆมาเลยเรียกวา<br />

พระรัตนตรัย ขอเจริญพร อยางนี้ความหมาย<br />

ขอเจริญพร<br />

พิธีกร: ประเด็นถัดมานะคะ สวดพาหุงฯ นะคะ มีความเกี ่ยวเนื่องกัน<br />

ยังไงคะ ที่หลวงพอใหอุบาสกอุบาสิกาที่นี่สวดพาหุงฯ<br />

หลวงพอจรัญ: ขอเจริญพร ดีแลว ถามนี่ดีแลวคนไมเขาใจเยอะ<br />

แลวไป<br />

สวดอยางอื่นกันลามปาม<br />

พาหุงมหากาฯ มันบทติดตอกัน พาหุงฯ<br />

เนี่ยมันมีมานานแลว<br />

แตเราก็ไมทราบตนเหตุสาเหตุที่มันมาจากไหน<br />

ก็มี<br />

ในหนังสือสวดมนตก็เยอะแยะ คนเปดขามหญาปากคอกแท ๆ พาหุงมหากาฯ<br />

ก็แปลวาพระพุทธเจาพิชิตมาร เรียกวาปางมารวิชัย ผจญมารมา ๘ บท<br />

อยูในนั้นเลยไปดูเอาหาดูได<br />

ผจญมาร พระพุทธเจา ชนะมารแลว<br />

เรียกวาพาหุงมหากาฯ มหากาแปลวาอะไร ชยันโตโพธิยาฯ ใชไหม<br />

สุนักขัตตัง สุมังคะลัง ทำดีตอนไหนไดตอนนั้น<br />

“ฤกษ” จึงเอามานิยม<br />

สวดมนตดวยการเจิมปาย และก็เปดสำนักงานและก็วางศิลาฤกษ หมาย<br />

ความวา (๑.) ฤกษคืออากาศดี (๒.) ยามแปลวาเวลาวาง ๓. เครื่องพรอม<br />

ที่จะดำเนินงานไดทันทีอยารอรีแตประการใด<br />

ถึงไดเริ่มดำเนินงานใด<br />

ๆ<br />

เรียกวามหากาฯ พาหุงฯ บทนี้คือพระพุทธเจาเรากอนจะสำเร็จสัมโพธิญาณ<br />

พระองคผจญมารมาก มารมาผจญกับพระองคมากมาย ใชวาอธิบายทุกบท<br />

ทุกขอ มันมี ๘ ขอ แตจะเสียเวลามากจะไมสามารถจะจบในที่นี้ได<br />

ขอใหทานสาธุชนทั้งหลายไปดูเอาในหนังสือสวดมนตแปลในพาหุง<br />

มหากาฯ หรือ เรียกวาฎีกาพาหุงฯ นี่อยางนี้เปนตน<br />

๓๖ สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ


แสดงวาพระพุทธเจานั่งหลับตาก็ไปสูมาร<br />

ไปตอสูกับมาร<br />

“มาร<br />

ไมมีบารมีไมเกิด ประเสริฐไมได” พระองคผจญมารมาครบแลวชนะรวด<br />

ชนะรวดเรียกวาพาหุงฯ นี่<br />

เรามีมานานแลวแตคนนะ ไมสวดกัน ตนสาย<br />

ปลายเหตุมาจากไหนเดี๋ยวคอยถามทีหลัง<br />

บางคนไมรูจริง<br />

ๆ พาหุงมหากาฯ<br />

ไมรูเลย<br />

หญาปากคอกแท ๆ ขามไปหมด เราเนี่ย..เราเกิดมาเนี่ยขอฝาก<br />

ทานนุ.. โยมดวยวา มารไมมี บารมีไมเกิด คนเกิดมาเนี่ยสรางความดีตอง<br />

มีอุปสรรค ถาเปนความชั่วจะไมมีอุปสรรค<br />

มันจะไหลไปเลยนะ จะไหล<br />

ไปเลยนะ คนเราเนี่ยไมตีความ<br />

ความชั่ว<br />

นี่มันก็ไหลไปเลยไมมีใครมา<br />

ขัดคอ ถาหากวาทานด็อกเตอรสรางความดีปบมีคนขัดคอ<br />

มีมารผจญแลว<br />

ตองสูมารตอไปคือขันติ<br />

ขันติความอดทนอดกลั้น<br />

อดออมประนีประนอม<br />

ยอมความ ตองตรากตรำลำบาก อดทนตอการทำงาน อดทนตอความ<br />

เจ็บใจในสังคมดวย นี่ถึงจะพนเรียกวาพระพุทธเจาพนมาร<br />

แลวก็ทานเขา<br />

สมาธิเดี๋ยวสาธิตใหดู<br />

นั่งสมาธิหลับตามารมารอบดาน<br />

มาทุกอยางเลย<br />

จิญจมาณวิกาก็หาวาพระพุทธเจาทองกับเขา ทานก็ไมวา เอาแผเมตตาดวย<br />

การสวดพาหุงฯ นี่<br />

ทานก็สวดไปสวดมาชนะ ชนะแลวเนี่ย<br />

ชนะแลว<br />

สะดุงมาร<br />

เรียกวาชนะเรียกปางมารวิชัย เนี่ยปางมารวิชัยชนะมารได<br />

นี่<br />

บทนี้ชนะมาร<br />

ถาบานสาธุชนไดสวดแลวชนะมาร มารไมมีบารมีไมเกิด<br />

ถาคนไหนไมมีมาร คนนั้นไมมีบารมีนะ<br />

นี่ขอใหทานทั้งหลายไปตีความ<br />

เอาเอง เพราะเวลามันจำกัด นี่พาหุงมหากาฯ<br />

เปนอยางนี้<br />

ขอเจริญพร<br />

พิธีกร: ทำยังไงคะ ที่จะสวดมนตไมวาจะเปนพุทธคุณก็ดีนะคะ<br />

พาหุงฯ<br />

ก็ดี มหาการุณิโกฯ ก็ดี ใหเปนอานิสงสกับตัวของเราคะ<br />

หลวงพอจรัญ: เพราะงั้นตองมีศรัทธา..ตองมีความเชื่อความเลื่อมใส<br />

ในการสวด ถึงจะเปนอานิสงสในศรัทธาของเขากอน แตบางคนเนี่ยนะ..<br />

ตางชาติตางภาษา เขาไมเขาใจเลย ถาสวดไปนาน ๆ จะรูเองนะ<br />

ถาเกิด<br />

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ ๓๗


สมาธิจะรูวาเนี่ยแปลวากะไร<br />

มีคนทำไดเยอะ แตคนเราสวดจิ้ม<br />

ๆ จ้ำ ๆ<br />

ไปมันจะไดอะไร บางคนเนี่ยรูวาสวดพุทธคุณ<br />

สวดมนตละก็ดี สวดไป<br />

มันก็ไมดีเพราะอะไร จิตไมถึง เขาไมถึงธรรมะ ถาจิตมีศรัทธาเลื่อมใส<br />

สวดใหมันเขาถึง ๑. เขาถึง ๒. จะซึ้งใจ<br />

๓. จะใฝดี ๔. จะมีสัจจะ<br />

พูดจริงทำจริงเลยเนี่ยนะออกมาชัดเลย<br />

นี่อานิสงส<br />

มีสัจจะ แลวก็จะมี<br />

กตัญูกตเวทิตาธรรม รูหนาที่การงานของตน<br />

นี่สวดเขาไมถึงเนี่ยมัน<br />

จะไปรูไดยังไงจะซึ้งใจไหม<br />

ไมมีศรัทธาเลยสวดจิ้ม<br />

ๆ จ้ำ ๆ เหมือนพอคา<br />

แมคาไปแลกเปลี่ยนของในตลาดกันไดเปนธุรกิจ<br />

การสวดมนตไมใช<br />

นักธุรกิจ สวดมนตเนี่ยตองการใหระลึกถึงตัวเอง<br />

มีสติสัมปชัญญะใหสวด<br />

เขาไปสวดไป พอถึงจิตถึงใจแลว เหมือนอยางเนี้ยยกตัวอยาง<br />

เขายังทอง<br />

ไมได อานไปยังไมเปนสมาธิ อานไปอานใหดัง ๆ คลองปาก พอคลอง<br />

ปากแลวก็คลองใจ พอคลองใจแลวติดใจแลวมันก็เกิดสมาธิ นี่..<br />

พอเกิด<br />

สมาธิจิตก็ถึง พอถึงหนักเขาแลวจะซึ้งใจ<br />

พอซึ้งใจแลว..<br />

ซึ้งธรรม<br />

ซึ้งธรรมะมันจะใฝดี<br />

พิธีกร: ที่วาจิตเปนสมาธินี่ก็คือวา<br />

จิตเปนหนึ่ง<br />

หลวงพอจรัญ: จิตเปนหนึ่ง<br />

นั่นเอกัตคตา<br />

ถาหากวาจิตยังวุนวายหรือ<br />

อะไร สวดมั่งแลวก็ไปทำงานบางไมไดผล<br />

พิธีกร: ในลักษณะนี้หลวงพอขา<br />

การที่สวดมนตเนี่ยนะคะพอจิตเปน<br />

หนึ่งแลวเนี่ยก็มีคุณคาเทากับทำสมาธิเหมือนกัน<br />

หลวงพอจรัญ: ใชได ใชได นี่คือสมาธิ<br />

การสวดมนตเปนยาทา<br />

วิปสสนาเปนยากิน ทาไปกอน สวดไปกอน สวดแลวเนี่ยมันซึ้งใจ<br />

จะเปนตางชาติ ตางภาษา คนจีนหรือคนฝรั่งเขานิยมเนี่ย<br />

เขาสวดโดยไม<br />

รูเรื่อง<br />

แตสวดไปสวดไปเกิดสมาธินะสิ เกิดสมาธิเกิดจิตสำนึกเกิดหนาที่<br />

๓๘ สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ


การงาน และการงานนั่นคือกรรมฐานอันหนึ่ง<br />

เรียกวาภาวนา สวดมนต<br />

เปนภาวนา<br />

พิธีกร: แลวหลวงพอจะใหลูกสวดสักกี่จบคะ<br />

เห็นบอกวาใหสวด<br />

เทาอายุบวกกับหนึ่งหรือคะ<br />

หลวงพอจรัญ: คืออยางนี้<br />

ขอเจริญพร ที่วาใหวาสวดเทาอายุนี่<br />

หมาย<br />

ความวาอายุเทาไหร ๒๐ ถาเราสวดแค ๑๐ เดียว มันก็ไมเทาอายุ สวด<br />

ไปเนี่ยเทาอายุกอนนะมันคุมใหมีสติ<br />

แลวก็เกินหนึ่งเพราะอะไร<br />

ที่พูดเกิน<br />

หนึ่งเนี่ยหมายความคนมักงายมักได<br />

คือมันมีเวลานอย ถาสวดแคเกินหนึ่ง<br />

ทำอะไรใหมันเกินไว เหมือนคุณโยมเนี่ยไปคาขาย<br />

ยังไมไดขายไดสัก<br />

กะตังคเลย จะเอาอะไรไปใหทาน ยังไมไดกำไรเลยตองใหตัวเองกอนนะ<br />

นี่ตองคาขายตองลงทุนนี่<br />

ตองลงทุนก็สวดไป แตสวดมากเทาไรยิ่งดีมาก<br />

ไดมีสมาธิมาก แตอาตมาที่พูดไวคือคนมันไมมีเวลา<br />

ก็เอาเกินหนึ่งไดไหม<br />

เกินหนึ่งไดก็ใชไดนะ<br />

แตถาเกินถึง ๑๐๘ ไดไหม ยิ่งดีใหญ<br />

ทำใหเกิด<br />

สมาธิสูงขึ้น<br />

พิธีกร: อันนี้หมายถึง<br />

สวดทั้งบทพุทธคุณ<br />

บทพาหุงฯ และก็บทมหาการุณิโกฯ<br />

หลวงพอจรัญ: คืออยางนี้ขอเจริญพร<br />

เพื่อตองการอยางนี้<br />

เอาพุทธคุณ<br />

เอาพระพุทธเจามาไวในใจ ก็สวดพุทธคุณ ธรรมคุณ สังฆคุณ พาหุง<br />

มหากาฯ หนึ่งจบแลวใชไหม<br />

แลวก็ยอนมาพุทธคุณหองเดียวเทาอายุ<br />

เกินหนึ่ง<br />

เนี่ยบางคนไมเขาใจเยอะ<br />

เลยไปเห็นวา เอยตองสวดพาหุงฯ ดวย<br />

ตองเทาอายุ เลยเลิกเลย ไมเขาใจ ไมเขาใจ... จึงเลิกไป เลยทิ้งไปเลย<br />

หาวายาว ยาวอะไร เวลาไปนั่งแบะแซะดูทีวีไปนั่งโกหกมดเท็จเขานะ<br />

ไมยาวเหรอ สรางความดีนะนิดเดียว เวลาพระเทศนนะ นี่พระเดช<br />

พระคุณเทศนแค ๕ นาทีพอแลว เดี๋ยวผมจะไปรับแขก<br />

สรางความดีนิดเดียว<br />

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ ๓๙


แลวความไมดีมากกวา บวกลบ คูณหารคอมพิวเตอรจะตีมาวายังไง<br />

ครับ จะตีออกมาแบบไหน ตีลบหรือตีบวกกันแน ขอเจริญพรอยางนี้<br />

พิธีกร: เรื่องคาถาพระชินบัญชร<br />

เห็นคนสมัยนี้นิยมสวดกันมาก<br />

มีความ<br />

เกี่ยวของอยางไรกับที่เราจะสวดพุทธคุณกับพาหุงฯ<br />

ไหมคะ แลวก็มีที่มา<br />

อยางไร<br />

หลวงพอจรัญ: ขอเจริญพรอยางนี้นะ<br />

สวนมากจะเปนเด็กหรือเปนผูใหญ<br />

นิยมสวดชินบัญชรกันมาก แตอยาลืมวาชินบัญชรนี่สมเด็จโต<br />

ทานสวด<br />

บูชาพระอรหันตชั้นสูง<br />

แลวเรายังไมไดชั้นอะไร<br />

พุทธคุณสักขอก็ไมมี<br />

ธรรมะขอเดียวไมมีไปสวด อยางคุณโยมนี่สมมุติยังไมไดชั้นมัธยมเลย<br />

ขึ้นมหาวิทยาลัยเลยไดเหรอ<br />

ยังไมไดเลยตองเอาไวกอน ขั้นตนของบันได<br />

หญาปากคอก ตองมีคุณพระพุทธเจาไวในใจ มีพระธรรมคุณ สังฆคุณ<br />

เรียกวาพระรัตนตรัยยึดเหนี่ยวทางใจกอน<br />

แลวคอยไปสวด อันโนนนะ<br />

ไดผลแน ถายังไมมีอะไรเลยพื้นฐานอะไรเลย<br />

สวดชินบัญชรสวดกันมาก<br />

แลวก็ไมไดผล สวดไมไดผลแลวก็มาวาอยางโนนอยางนี้<br />

ถาคนไหนมี<br />

ธรรมะหรือบูชาพระอรหันต บูชาพระพุทธเจาไดแลว สวดไดแน ดีดวย<br />

แตยังไมรูเรื่องเลย<br />

ก.ไก ก็ยังไมรูเรื่องเลยขึ้นมัธยมแลว<br />

ประถมยังไมผาน<br />

แลวก็มัธยมไมผานผาเสือกไปมหาลัยเลย..ใชไดเหรอ แตอาตมาวาดี<br />

ทั้งหมด<br />

ชินบัญชรก็ดี ไมใชวาไมดีนะ แตสมเด็จโตทานบูชาพระอรหันต<br />

ทาน ธรรมชั้นสูง<br />

พิธีกร: อยากใหหลวงพอเลาเรื่องลุงพัดนะคะ<br />

วาลุงพัดเขาสวดพุทธคุณ<br />

แลวเขารักษาตัวเคาเองไดอยางไรคะ ลุงพัดที่วาเปนอัมพาตคะ<br />

หลวงพอจรัญ: ขอเจริญพร คุณโยมถามดีมาก เปนเรื่องจริงที่ผานมา<br />

ในกฎแหงกรรม ลุงพัดอายุ ๗๐ เศษ แตอาตมาจำเศษไมได แกเปน<br />

๔๐ สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ


อัมพาตแลวตองใหลูกใหหลาน ตองมาเช็ดกนเช็ดตูด เดินไมได<br />

นอนแองแมงอยูบนเตียง<br />

แลวก็เสียใจ คิดกินยาตาย กินยาตายก็ใหพวก<br />

เด็ก ๆ หรือลูกหลานหรือใครก็ไมทราบละ ไปซื้อยา<br />

ยากะโหลกไขวนะ<br />

ยาที่กินแลวตายนะ<br />

เอามาจะกิน เลยครูออนจันทรครูโรงเรียนทั้งผัวเมีย<br />

ก็ไดขาวบานใกลเรือนเคียงกันก็ไปเยี่ยมลุงพัด<br />

ไปเยี่ยมลุงพัดแลวก็ถาม<br />

บอกลุง..ทำไมถึงกินยาตายละลุง ลุงก็เปนทายก แลวก็เปนผูเสียสละเปน<br />

นักธรรมะธัมโม แลวจะกินยาตายดวยประโยชนอันใด ลุงพัดก็แกปญหา<br />

บอกวา ครู...ผมนะ ก็แกแลว แลวก็ลูกตองมาเอาใจใสหลานตองมาดูแล<br />

จะไปโรงเรียนก็เสียเวลาเขา ตองมานั่งเช็ดกนเช็ดตูด<br />

แลวมาปอนขาว<br />

ผมเนี่ย<br />

เกรงใจ ลูกหลาน ผมตายเสียดีกวา เลยครูออนจันทรก็พูด<br />

ออนวอนวา ลุง.. อยาตายเลย ตายเปนบาป..ลุงก็ทราบ แตเราเกรงใจหลาน<br />

เขาตองมานั่งดูแลเรา<br />

กลับมาจากโรงเรียนก็ตองมาเช็ดกนเช็ดตูด ตองมา<br />

ปฏิบัตินะ ตองมาปอนขาว เลยก็ลุงก็อยากจะกินยาตายใหมันหมดสิ้นไป<br />

ลุงอยาเพิ่งกินเลยสวดมนตเถอะ<br />

สวดมนตอะไรเลา สวดพุทธคุณ<br />

ของหลวงพอวัดอัมพวัน ธรรมคุณ สังฆคุณ พาหุงมหากาฯ ออ ลุงได<br />

แลว แตไมไดสวดเลยตาลุงก็เอาหันเหเรทิศตามครูออนจันทร ที่เขาเคยมา<br />

ปฏิบัติธรรมที่วัดนี้ไง<br />

เลยก็สวด สวดพุทธคุณ ธรรมคุณ สังฆคุณ พาหุง<br />

มหากาฯ แลวก็สวดพุทธคุณเทาอายุ ๗๐ เศษ เศษเทาไร อาตมาจำไมได<br />

สวดไปแลวหายใจยาว ๆ เจริญกรรมฐานไปดวย ตาลุงนี่ก็เกิดปฏิกิริยาปวด<br />

ไปเรียกครูออนจันทรมา ปวดจัง ปวดจัง ขอเจริญพรคุณโยม ถาเปน<br />

อัมพาตถาปวดตองหายทุกราย ถาไมปวดไมมีทางหาย เลยก็ลุงก็ปวด<br />

หนักเขา ๆ ลุกนั่งดะแลว<br />

สรุปใจความวาเดินได เดินไดถีบจักรยานไดเลย<br />

และเปนตัวตุย*<br />

ไปเลย เปนพระเอกในเมืองหนองคายไป เลยก็ไปสอน<br />

บัดนี้บวชแลว<br />

ขี่จักรยานก็ไดไปไหนก็ได<br />

เลยก็สอนเรื่องพาหุงมหากาฯ<br />

สวดกันใหญ<br />

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ ๔๑


พิธีกร: แตตอนนั้นไมไดมาหาหลวงพอนะคะ<br />

เพียงแตปฏิบัติตาม<br />

เทานั้นเอง<br />

หลวงพอจรัญ: ไมไดมา ไมไดมา ปฏิบัติตามเหมือนคุณตะกี้นี้ไง<br />

ไดแตปฏิบัติตามอยางนั้น<br />

เลยก็สวดใหญเลย สวดใหญเลยก็เปนหมอเอก<br />

ไปเลย<br />

พิธีกร: อานิสงสของการสวดพุทธคุณนี่นะคะ<br />

ไดแกตัวเราคนเดียว<br />

ทำใหคนอื่นไดไหมคะ<br />

หลวงพอจรัญ: ได สวดพุทธคุณเนี่ย<br />

อาตมาไปเห็นโยมแกคนหนึ่งที่<br />

สุพรรณบุรีนะ อายุ ๙๐ กวา ไมมีครอบครัวนะ อาตมาไปไดตัวอยางมา<br />

มีกับขาวบริบูรณเลยอาตมาเอาแลนเรือยนตไป พระตั้งหลายองคแลว<br />

ก็ฆราวาสอีก ๘ แกไมมีหมอขาวหมอเตาไฟเลยนะ บอกนิมนตฉันเพล<br />

เราบอก เอย ยายแกนี่โกหกเราแลว<br />

เราจำเปนเหลือ ๑๐ นาทีจะเพล<br />

แลว จะไปตลาดซื้อไมทันก็จอดเรือเขาไปที่แพแก<br />

อายุมากแลวสวยดวย<br />

เดี๋ยวเพล<br />

ตึง ตึง ตึง กับขาวมาเต็มเลย มาเต็มเลยอาตมายังจำได อาว<br />

คนนั้นสงมาถวย<br />

แก.. อิติป โส ภควา อะระหังสัมมา สัมพุทโธวิชชา...<br />

แลวแกก็เท ถายแลว อิติป โส ภควา... จบแลวก็บอกนี่เอาไปฝากแม<br />

เธอดวย ถาม อาตมาถามวา ยาย...ทำไมตองสวดสองหน อิ...(อิติปโส)<br />

หนนึงเราตองเอากอน อิ...(อิติปโส) หนนี้ไปใหเขา<br />

ไดแน ไดแน ๆ นี่มัน<br />

มีประโยชนอยู<br />

นี่อาตมาก็จำไว<br />

พิธีกร: ออ หมายถึงวาหลวงพอไดฉันอาหารจากคุณยายคนนี้<br />

ในลักษณะ<br />

อยางนี้เหรอคะ<br />

หลวงพอจรัญ: เนี่ยกับขาวเยอะเลย<br />

ถามบอก..ยายนี่มาไงกันเนี่ย<br />

แลวก็ยายมีลูกไหม ฉันไมมีครอบครัว มีนาอยูเจ็ดแปดรอยไรยกใหวัด<br />

๔๒ สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ


และก็ยกใหเด็ก ๆ บานนี้หมด<br />

แลวเขาก็มาปฏิบัติมานอนดวยซักผาซักผอน<br />

ใหดวย ขอเจริญพรพูดนอกนิดนึง บางคนเนี่ยกลัวไมมีลูกมาปฏิบัติ<br />

มีลูกตั้งแปดเกาคนไมเคยมาเช็ดกนเช็ดตูดเลยนะ<br />

เพราะเปนเวรกรรมของ<br />

แมไมเคยทำตอเนื่องกันมา<br />

แตคุณยายเนี่ยไมมีลูกไมมีผัว<br />

นี่ขอพูดอยาง<br />

ชาวบานนอก แตมีคนปฏิบัติทั้งแถวเลย<br />

แลวกลางคืนมีคนมานอน แลว<br />

เสื้อผาซักรีดใหเสร็จแตกับขาวไมมีเลย<br />

แตถึงเวลาเต็มเลย คนละถวย<br />

ใชไหมทั้งแถวเลย<br />

เนี่ยแลวแกก็ทำอยางเนี๊ย<br />

ถามบอก ยาย..ทำไมตองสวด<br />

สองหน อิ...(อิติปโส) หนนึงเราตองเอาไวกอน เราตองเอาเปนบุญกอน<br />

อิ...(อิติปโส) หนที่สองเปนกำไรใหเขาไป<br />

นี่อาตมาจำซึ้งมาแลวก็ใชได<br />

ผลอยางนี้<br />

ขอเจริญพร<br />

พิธีกร: หลวงพอขาอานิสงสของพุทธคุณในการที่จะรักษาไขเนี่ยนะคะ<br />

นอกจากจะรักษาไขแลวนี่<br />

ยังเปนประโยชนอยางอื่นไดไหมคะ<br />

หลวงพอจรัญ: เปนประโยชนอยางอื่นไดมากมาย<br />

เด็ก..ที่จะไปสอบเขา<br />

มหาวิทยาลัยและฝรั่งมังคาก็ตามนะ<br />

สวดเทาอายุเกินหนึ่ง<br />

แลวก็พาหุง<br />

มหากาฯ เขาไว แลวก็สวดเกินหนึ่งไป<br />

สอบไมเคยตก นี่อานิสงสสำหรับ<br />

เด็ก สวดเขามันมีปญญา มันมีปญญามันมีความคิด และสามารถผจญมาร<br />

ไดทุก ๆ บท ดีอยางนี้ดีสำหรับเด็ก<br />

ใหเด็กสวดไว กลารับรองวาเด็กเกเร<br />

เกเสนะพอแมเอาใจใสลูกเปนกรณีพิเศษ ใหลูกสวดมนตไหวพระไวแลว<br />

ก็ไปสวดเทาอายุ ไมเคยพลาดเลยไปสอบไมเคยตก ไปสอบสัมภาษณอะไร<br />

ก็ไมเคยตก ไปเมืองสหรัฐอเมริกาหรือไปกรุงปารีสไมเคยตก ที่เปน<br />

ดอกเตอรมานี่เขาสวดกัน<br />

ขอเจริญพร<br />

พิธีกร: สำหรับคนที่อยากจะสวดพุทธคุณนะคะ<br />

แตยังไมไดรูเบื้องตน<br />

เลยนี่นะคะ<br />

หลวงพอจะกรุณาแนะนำอยางไรบางคะ<br />

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ ๔๓


หลวงพอจรัญ: ไดได ถายังไมรูอะไรเลยนะ<br />

ถาขอใหมีศรัทธาหนอย<br />

มั่นใจหนอย<br />

เพราะวาศาสนาเนี่ยตองการจะใหมีศรัทธาและมั่นใจ<br />

ถา<br />

มั่นใจเปนตัวของตัวเองขึ้นมานะ<br />

อานไปกอน จะขี้เกียจทองอานทุกวัน<br />

เดี๋ยวมันจำได<br />

พอจำไดจิตมันเปนสมาธิ เอกัตคตา ไดผลตอนนั้น<br />

ไดผลแน ๆ บอกขอใหทำเถอะ สวดดีกวาไมสวด ดีกวาไปเที่ยวเลน<br />

ชมวิวชมอะไร ไปชอปปงกันเสียเวลา<br />

ขอเจริญพรอยางนี้<br />

หมายเหตุ ตัวตุยที่หลวงพอพูดถึงนั้น<br />

คือ ตัวตลก ในการสวด<br />

คฤหัสถ มีหนาที่สรางความขบขัน<br />

ความสนุกสนานใหแกผูชม<br />

ไมวา<br />

จะเปนการพูดขัดแยงหรือแสดงโลดโผนใด ๆ กับผูสวดคนอื่น<br />

ๆ ที่มี<br />

ทั้งหมด<br />

๔ คนก็ได เพียงแตใหอยูในแบบแผนรักษาแนวทางมิใหออก<br />

นอกลูนอกทางไปเทานั้น<br />

ทานสามารถรับฟงเสียงธรรมบรรยายไดที่<br />

http://fs4.netdiskbytrue.com/Pub043/40/254698_file01.mp3<br />

http://fs3.netdiskbytrue.com/Pub034/45/254700_file02.mp3<br />

จากบทสัมภาษณในรายการ “ชีวิตไมสิ้นหวัง”<br />

ทางชอง ๓<br />

*บทความนี้ถอดตรงตามภาษาพูด<br />

จากบทสัมภาษณ<br />

ควรฟงจากเสียงธรรมะบรรยายอีกครั้งหนึ่ง<br />

๔๔ สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ


บทสวดมนตแปล<br />

คำแปลกราบพระรัตนตรัย<br />

พระผูมีพระภาคเจา<br />

เปนพระอรหันต ดับเพลิงกิเลส<br />

เพลิงทุกขสิ้นเชิง<br />

ตรัสรูชอบไดโดยพระองคเอง<br />

ขาพเจา<br />

อภิวาทพระผูมีพระภาคเจา<br />

ผูรู<br />

ผูตื่น<br />

ผูเบิกบาน<br />

(กราบ)<br />

พระธรรม เปนธรรมที่พระผูมีพระภาคเจา<br />

ตรัสไว<br />

ดีแลว ขาพเจานมัสการพระธรรม (กราบ)<br />

พระสงฆสาวกของพระผูมีพระภาคเจา<br />

ปฏิบัติดีแลว<br />

ขาพเจานอบนอมพระสงฆ (กราบ)<br />

คำแปลนมัสการ<br />

ขอนอบนอมแดพระผูมีพระภาคเจาพระองคนั้น<br />

ซึ่งเปน<br />

ผูไกลจากกิเลส<br />

ตรัสรูชอบไดโดยพระองคเอง<br />

(๓ จบ)<br />

คำแปลไตรสรณคมน<br />

ขาพเจาขอถือเอาพระพุทธเจาเปนที่พึ่งที่ระลึก<br />

ขาพเจาขอถือเอาพระธรรมเปนที่พึ่งที่ระลึก<br />

ขาพเจาขอถือเอาพระสงฆเปนที่พึ่งที่ระลึก<br />

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ ๔๕


แมครั้งที่สอง<br />

ขาพเจาขอถือเอาพระพุทธเจาเปนที่พึ่งที่ระลึก<br />

แมครั้งที่สอง<br />

ขาพเจาขอถือเอาพระธรรมเปนที่พึ่งที่ระลึก<br />

แมครั้งที่สอง<br />

ขาพเจาขอถือเอาพระสงฆเปนที่พึ่งที่ระลึก<br />

แมครั้งที่สาม<br />

ขาพเจาขอถือเอาพระพุทธเจาเปนที่พึ<br />

่งที่ระลึก<br />

แมครั้งที่สาม<br />

ขาพเจาขอถือเอาพระธรรมเปนที่พึ่งที่ระลึก<br />

แมครั้งที่สาม<br />

ขาพเจาขอถือเอาพระสงฆเปนที่พึ่งที่ระลึก<br />

คำแปลพระพุทธคุณ<br />

พระผูมีพระภาคเจาพระองคนั้น<br />

เปนผูไกลจากกิเลส<br />

เปนผูตรัสรูชอบไดดวยพระองคเอง<br />

เปนผูถึงพรอมดวยวิชชา<br />

และจรณะ (ความรูและความประพฤติ)<br />

เปนผูเสด็จไปดีแลว<br />

เปนผูรูโลกอยางแจมแจง<br />

เปนผูสามารถฝกบุรุษที่สมควรฝกได<br />

อยางไมมีใครยิ่งไปกวา<br />

เปนครูผูสอนของเทวดาและมนุษย<br />

ทั้งหลาย<br />

เปนผูรู<br />

ผูตื่น<br />

ผูเบิกบานดวยธรรม<br />

เปนผูมีความเจริญ<br />

จำแนกธรรมสั่งสอนสัตว<br />

ดังนี้ฯ<br />

คำแปลพระธรรมคุณ<br />

พระธรรมเปนสิ่งที่พระผูมีพระภาคเจา<br />

ไดตรัสไวดีแลว<br />

เปนสิ่งที่ผูศึกษาและปฏิบัตึพึงเห็นไดดวยตนเอง<br />

เปนสิ่งที่<br />

ปฏิบัติไดและใหผลได ไมจำกัดกาล เปนสิ่งที่ควรกลาวกับ<br />

ผูอื่นวา<br />

ทานจงมาดูเถิด เปนสิ่งที่ควรนอมเขามาใสตัว<br />

เปนสิ่ง<br />

ที่ผูรูก็รูไดเฉพาะตน<br />

ดังนี้ฯ<br />

๔๖ สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ


คำแปลพระสังฆคุณ<br />

สงฆสาวกของพระผูมีพระภาคเจา<br />

หมูใด,<br />

ปฏิบัติดีแลว<br />

สงฆสาวกของพระผูมีพระภาคเจา<br />

หมูใด,<br />

ปฏิบัติตรงแลว<br />

สงฆสาวกของพระผูมีพระภาคเจา<br />

หมูใด,<br />

ปฏิบัติเพื่อรูธรรม<br />

เปนเครื่องออกจากทุกขแลว<br />

สงฆสาวกของพระผูมีพระภาคเจา<br />

หมูใด,<br />

ปฏิบัติสมควร<br />

แลว ไดแก บุคคลเหลานี้คือ<br />

คูแหงบุรุษ<br />

๔ คู<br />

นับเรียงตัว<br />

บุรุษได ๘ บุรุษ นั่นแหละสงฆสาวกของพระผูมีพระภาคเจา<br />

เปนผ ูควรแกสักการะที่เขานำมาบูชา<br />

เปนผูควรแกสักการะที่<br />

เขาจัดไวตอนรับ เปนผูควรรับทักษิณาทาน<br />

เปนผูที่บุคคล<br />

ทั่วไปควรทำอัญชลี<br />

เปนเนื้อนาบุญของโลก<br />

ไมมีนาบุญอื่น<br />

ยิ่งกวา<br />

ดังนี้ฯ<br />

คำแปลพุทธชัยมงคลคาถา<br />

๑. พระจอมมุนีไดทรงชนะพญามารผูเนรมิตแขนมาก<br />

ตั้งพัน<br />

ถืออาวุธครบมือ ขี่คชสารชื่อครีเมขละ<br />

พรอมดวยเสนา<br />

มารโหรองกึกกอง ดวยธรรมวิธีคือ ทรงระลึกถึงพระบารมี ๑๐<br />

ประการ ที่ทรงบำเพ็ญแลว<br />

มีทานบารมีเปนตน ขอชัยมงคล<br />

ทั้งหลายจงมีแกทาน<br />

ดวยเดชแหงพระพุทธชัยมงคลนั้น<br />

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ ๔๗


๒. พระจอมมุนีไดทรงชนะอาฬวกยักษ ผูมีจิตกระดาง<br />

ดุรายเหี้ยมโหด<br />

มีฤทธิ์ยิ่งกวาพญามาร<br />

ผูเขามาตอสูยิ่งนัก<br />

จนตลอดรุง<br />

ดวยวิธีที่ทรงฝกฝนเปนอันดี<br />

คือ ขันติบารมี<br />

(คือ ความอดทน อดกลั้น<br />

ซึ่งเปน<br />

๑ ในพระบารมี ๑๐ ประการ)<br />

ขอชัยมงคลทั้งหลายจงมีแกทาน<br />

ดวยเดชแหงพระพุทธชัย<br />

มงคลนั้น<br />

๓. พระจอมมุนีไดทรงชนะพญาชางตัวประเสริฐชื่อ<br />

นาฬาคิรี เปนชางเมามันยิ่งนัก<br />

ดุรายประดุจไฟปา และรายแรง<br />

ดังจักราวุธและสายฟา (ขององคอินทร) ดวยวิธีรดลงดวยน้ำ<br />

คือ พระเมตตา ขอชัยมงคลทั้งหลายจงมีแกทาน<br />

ดวยเดช<br />

แหงพระพุทธชัยมงคลนั้น<br />

๔. พระจอมมุนีทรงบันดาลอิทธิฤทธิ์ทางใจอันยอดเยี่ยม<br />

ชนะโจรชื่อองคุลิมาล<br />

(ผูมีพวงมาลัย<br />

คือ นิ้วมือมนุษย)<br />

แสน<br />

รายกาจ มีฝมือ ถือดาบวิ ่งไลพระองคไปสิ้นทาง<br />

๓ โยชน<br />

ขอชัยมงคลทั้งหลายจงมีแกทาน<br />

ดวยเดชแหงพระพุทธชัย<br />

มงคลนั้น<br />

๕. พระจอมมุนีไดทรงชนะความกลาวรายของนาง<br />

จิญจมาณวิกา ผูทำอาการประดุจวามีครรภ<br />

เพราะทำไม<br />

สัณฐานกลม (ผูกติดไว) ใหเปนประดุจมีทอง ดวยวิธีสมาธิ<br />

อันงาม คือ ความสงบระงับพระหฤทัย ขอชัยมงคลทั้งหลาย<br />

จงมีแกทาน ดวยเดชแหงพระพุทธชัยมงคลนั้น<br />

๔๘ สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ


๖. พระจอมมุนี ทรงรุงเรืองแลวดวยประทีปคือ<br />

ปญญา<br />

ไดชนะสัจจกนิครนถ (อานวา สัจจะกะนิครนถ, นิครนถ คือ<br />

นักบวชประเภทหนึ่งในสมัยพุทธกาล)<br />

ผูมีอัชฌาสัยในที่<br />

จะสละเสียซึ่งความสัตย<br />

มุงยกถอยคำของตนใหสูงล้ำดุจยกธง<br />

เปนผูมืดมนยิ่งนัก<br />

ดวยเทศนาญาณวิธี คือ รูอัชฌาสัยแลวตรัส<br />

เทศนาใหมองเห็นความจริง ขอชัยมงคลทั้งหลายจงมีแกทาน<br />

ดวยเดชแหงพระพุทธชัยมงคลนั้น<br />

๗. พระจอมมุนีทรงโปรดใหพระโมคคัลลานะเถระพุทธ<br />

ชิโนรส นิรมิตกายเปนนาคราชไปทรมานพญานาคราช ชื่อ<br />

นันโทปนันทะ ผูมีความหลงผิดมีฤทธิ์มาก<br />

ดวยวิธีใหฤทธิ์ที่<br />

เหนือกวาแกพระเถระ ขอชัยมงคลทั้งหลายจงมีแกทาน<br />

ดวยเดชแหงพระพุทธชัยมงคลนั้น<br />

๘. พระจอมมุนีไดทรงชนะพรหมผูมีนามวาพกาพรหม<br />

ผูมีฤทธิ์<br />

สำคัญตนวาเปนผูรุงเรืองดวยคุณอันบริสุทธิ์<br />

มีความ<br />

เห็นผิดประดุจถูกงูรัดมือไวอยางแนนแฟนแลว ดวยวิธีวางยา<br />

อันพิเศษ คือ เทศนาญาณ ขอชัยมงคลทั้งหลายจงมีแกทาน<br />

ดวยเดชแหงพระพุทธชัยมงคลนั้น<br />

นรชนใดมีปญญา ไมเกียจคราน สวดก็ดี ระลึกก็ดี<br />

ซึ่งพระพุทธชัยมงคล<br />

๘ บทนี้ทุก<br />

ๆ วัน นรชนนั้นจะพึงละ<br />

เสียได ซึ่งอุปทวันตรายทั้งหลายมีประการตาง<br />

ๆ เปนอเนก<br />

และถึงซึ่งวิโมกข<br />

(คือ ความหลุดพน) อันเปนบรมสุขแล<br />

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ ๔๙


คำแปลมหาการุณิโก<br />

ผูเปนที่พึ่งของสัตวทั้งหลาย<br />

ประกอบแลวดวยพระมหา<br />

กรุณา ยังบารมีทั้งหลายทั้งปวงใหเต็ม<br />

เพื่อประโยชนแกสรรพ<br />

สัตวทั้งหลาย<br />

ไดบรรลุสัมโพธิญาณอันอุดมแลว ดวยการกลาว<br />

คำสัตยนี้<br />

ขอชัยมงคลจงมีแกทาน ขอทานจงมีชัยชนะ<br />

ดุจพระจอมมุนีที่ทรงชนะมาร<br />

ที่โคนโพธิพฤกษถึงความเปน<br />

ผูเลิศในสรรพพุทธาภิเษก<br />

ทรงปราโมทยอยูบนอปราชิต<br />

บัลลังกอันสูง เปนจอมมหาปฐพี ทรงเพิ่มพูนความยินดีแก<br />

เหลาประยูรญาติศากยวงศฉะนั้นเทอญ<br />

เวลาที่<br />

“สัตว”<br />

(หมายถึงสิ่งมีชีวิตทั้งหลาย<br />

เชน มนุษยและสรรพสัตว)<br />

ประพฤติชอบ ชื่อวา<br />

ฤกษดี มงคลดี สวางดี รุงดี<br />

และขณะดี<br />

ครูดี<br />

บูชาดีแลว ในพรหมจารีบุคคลทั้งหลาย<br />

กายกรรม เปน<br />

ประทักษิณ วจีกรรม เปนประทักษิณ มโนกรรม เปนประทักษิณ<br />

ความปรารถนาของทานเปนประทักษิณ สัตวทั้งหลายทำกรรม<br />

อันเปนประทักษิณแลว ยอมไดประโยชนทั้งหลาย<br />

อันเปน<br />

ประทักษิณ*<br />

ขอสรรพมงคลจงมีแกทาน ขอเหลาเทวดาทั้งปวงจงรักษา<br />

ทาน ดวยอานุภาพแหงพระพุทธเจา ขอความสวัสดีทั้งหลาย<br />

จงมีแกทานทุกเมื่อ<br />

๕๐ สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ


ขอสรรพมงคลจงมีแกทาน ขอเหลาเทวดาทั้งปวง<br />

จงรักษาทาน ดวยอานุภาพแหงพระธรรม ขอความสวัสดี<br />

ทั้งหลาย<br />

จงมีแกทานทุกเมื่อ<br />

ขอสรรพมงคลจงมีแกทาน ขอเหลาเทวดาทั้งปวง<br />

จงรักษาทาน ดวยอานุภาพแหงพระสงฆ ขอความสวัสดี<br />

ทั้งหลาย<br />

จงมีแกทานทุกเมื่อ<br />

หมายเหตุ ประทักษิณ หมายถึง การกระทำความดีดวย<br />

ความเคารพ โดยใชมือขวาหรือแขนดานขวา หรือที่หลายทาน<br />

เรียกวา “สวนเบื้องขวา”<br />

ซึ่งเปนธรรมเนียมที่มีมาชานานแลว<br />

ซึ่งพวกพราหมณถือวา<br />

การประทักษิณ คือ การเดินเวียนขวา<br />

รอบสิ่งศักดิ์สิทธิ์และบุคคลที่ตนเคารพนั้น<br />

เปนการใหเกียรติและ<br />

เปนการแสดงความเคารพสูงสุด เปนมงคลสูงสุด เพราะฉะนั้น<br />

บาลีที่แสดงไววา<br />

กายกรรม วจีกรรม มโนกรรม ความ<br />

ปรารถนาและการที่กระทำกรรมทั้งหลาย<br />

เปนประทักษิณ<br />

อันเปนสวนเบื้องขวาหรือเวียนขวานั้น<br />

จึงหมายถึงการทำการ<br />

พูดการคิดที่เปนมงคล<br />

และผลที่ไดรับก็เปนประทักษิณ<br />

อันเปนสวนเบื้องขวาหรือเวียนขวา<br />

ก็หมายถึงไดรับผลที่เปน<br />

มงคลอันสูงสุดนั่นแลฯ<br />

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ ๕๑


“ถาใครเจริญวิปสสนากรรมฐานโดยตอเนื่อง<br />

สรางความดี ใหติดตอกัน<br />

สรางความดี ถูกตัวบุคคล ถูกสถานที่<br />

ถูกเวลา<br />

ตอเนื่องกันเสมอตนเสมอปลายแลว<br />

คนนั้นจะไดรับผลดี<br />

๑๐๐%<br />

และจะเอาดี ในชาตินี้ได<br />

ไมตองรอดีถึงชาติหนา”<br />

จากหนังสือกฎแหงกรรมเลม ๓ ภาคธรรมปฏิบัติ เรื<br />

่อง กรรมฐานแกกรรมไดอยางไร<br />

โดย พระธรรมสิงหบุราจารย<br />

http://www.jarun.org/v6/th/lrule03p0201.html


วิปสสนากรรมฐานเบื้องตน<br />

การปฏิบัติกรรมฐานเบื้องตน<br />

การเดินจงกรม<br />

กอนเดินใหยกมือไขวหลัง มือขวาจับขอมือซาย วางไวตรง<br />

กระเบนเหน็บ ยืนตัวตรง เงยหนา หลับตา ใหสติจับอยูที่ปลายผม<br />

กำหนดวา “ยืนหนอ” ชา ๆ ๕ ครั้ง<br />

เริ่มจากศีรษะลงมาปลายเทา<br />

และจากปลายเทาขึ้นไปบนศีรษะ<br />

กลับขึ้นกลับลงจนครบ<br />

๕ ครั้ง<br />

แตละครั้งแบงเปนสองชวง<br />

ชวงแรก คำวา “ยืน” จิตวาดมโนภาพ<br />

รางกาย จากศีรษะลงมาหยุดที่สะดือ<br />

คำวา “หนอ” จากสะดือลงไป<br />

ปลายเทา กำหนดคำวา “ยืน” จากปลายเทามาหยุดที่สะดือ<br />

คำวา<br />

“หนอ” จากสะดือขึ้นไปปลายผม<br />

กำหนดกลับไปกลับมา จนครบ<br />

๕ ครั้ง<br />

ขณะนั้นใหสติอยูที่รางกาย<br />

อยาใหออกไปนอกกาย เสร็จแลว<br />

ลืมตาขึ้น<br />

กมหนาทอดสายตาไปขางหนาประมาณ ๑ ศอก สติจับอยู<br />

ที่เทา<br />

การเดิน กำหนดวา “ขวา...” “ยาง...” “หนอ...” กำหนดในใจ<br />

คำวา “ขวา” ตองยกสนเทาขวาขึ้นจากพื้นประมาณ<br />

๒ นิ้ว<br />

เทากับ<br />

ใจนึกตองใหพรอมกัน “ยาง” ตองกาวเทาขวาไปขางหนาชาที่สุดเทา<br />

ยังไมเหยียบพื้น<br />

คำวา “หนอ” เทาลงถึงพื้นพรอมกัน<br />

เวลายกเทา<br />

ซายก็เหมือนกัน กำหนดวา “ซาย...” “ยาง...” “หนอ...” คงปฏิบัติ<br />

เชนเดียวกันกับ “ขวา...” “ยาง...” “หนอ...” ระยะกาวในการเดิน<br />

หางกันประมาณ ๑ คืบ เปนอยางมากเพื่อการทรงตัว<br />

ขณะกาวจะได<br />

ดีขึ้น<br />

เมื่อเดินสุดสถานที่ใชแลว<br />

ใหนำเทามาเคียงกัน เงยหนาหลับตา<br />

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ ๕๓


กำหนด “ยืนหนอ” ชา ๆ อีก ๕ ครั้ง<br />

ทำความรูสึกโดยจิต<br />

สติ รูอยู<br />

ตั้งแตกลางกระหมอม<br />

แลวกำหนด “ยืนหนอ” ๕ ครั้ง<br />

เบื้องต่ำตั้งแต<br />

ปลายผมลงมาถึงปลายเทา เบื้องบนตั้งแตปลายเทาขึ้นมา<br />

“ยืนหนอ”<br />

๕ ครั้ง<br />

แลวหลับตา ตั้งตรง<br />

ๆ เอาจิตปกไวที่กระหมอม<br />

เอาสติตาม<br />

ดังนี้<br />

“ยืน.....” (ถึงสะดือ) “หนอ.....” (ถึงปลายเทา) หลับตาอยาลืม<br />

ตานึกมโนภาพ เอาจิตมอง ไมใชมองเห็นดวยสายตา “ยืน……”<br />

(จากปลายเทาถึงสะดือ หยุด) แลวก็ “หนอ…….” ถึงปลายผม คนละ<br />

ครึ่งพอทำไดแลว<br />

ภาวนา “ยืน….หนอ....” จากปลายผม ถึงปลายเทา<br />

ไดทันที ไมตองไปหยุดที่สะดือ<br />

แลวคลองแคลววองไว ถูกตอง<br />

เปนธรรม<br />

ขณะนั้นใหสติอยูที่รางกายอยาใหออกไปนอกกาย<br />

เสร็จแลว<br />

ลืมตาขึ้น<br />

กมหนา ทอดสายตาไปขางหนาประมาณ ๑ ศอก สติจับ<br />

อยูที่เทา<br />

การเดิน กำหนดวา “ขวา...” “ยาง...” “หนอ...” กำหนด<br />

ในใจคำวา “ขวา” ตองยกสนเทาขวาขึ้นจากพื้นประมาณ<br />

๒ นิ้ว<br />

เทากับใจนึกตองใหพรอมคำวา “ยาง” กาวเทาขวาไปขางหนาให<br />

ชาที่สุด<br />

เทายังไมเหยียบพื ้น คำวา “หนอ” เทาเหยียบพื้นเต็มฝาเทา<br />

อยาใหสนเทาหลังเปด เวลายกเทาซายก็เหมือนกัน กำหนดคำวา<br />

“ซาย...” “ยาง...” “หนอ...” คงปฏิบัติเชนเดียวกับ “ขวา...” “ยาง...”<br />

“หนอ...” ระยะกาวในการเดินหางกันประมาณ ๑ คืบ เปนอยางมาก<br />

เพื่อการทรงตัวขณะกาวจะไดดีขึ้น<br />

เมื่อเดินสุดสถานที่ใชเดินแลว<br />

พยายามใชเทาขวาเปนหลักคือ “ขวา...” “ยาง...” “หนอ...” แลวตาม<br />

ดวยเทา “ซาย...” “ยาง...” “หนอ...” จะประกบกันพอดี แลวกำหนดวา<br />

๕๔ สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ


“หยุด... หนอ...” จากนั้นเงยหนา<br />

หลับตากำหนด “ยืน... หนอ...”<br />

ชา ๆ อีก ๕ ครั้ง<br />

เหมือนกับที่ไดอธิบายมาแลว<br />

ลืมตา กมหนา<br />

ทากลับ การกลับกำหนดวา “กลับหนอ” ๔ ครั้ง<br />

คำวา “กลับหนอ”<br />

• ครั้งที่<br />

๑ ยกปลายเทาขวา ใชสนเทาขวาหมุนตัวไปทางขวา<br />

๙๐ องศา<br />

• ครั้งที่<br />

๒ ลากเทาซายมาติดกับเทาขวา<br />

• ครั้งที่<br />

๓ ทำเหมือนครั้งที่<br />

๑<br />

• ครั้งที่<br />

๔ ทำเหมือนครั้งที่<br />

๒<br />

หากฝกจนชำนาญแลวเราสามารถกำหนดใหละเอียดขึ้น<br />

โดย<br />

การหมุนตัวจาก ๙๐ องศา เปน ๔๕ องศา จะเปนการกลับหนอ<br />

ทั้งหมด<br />

๘ ครั้ง<br />

เมื่ออยูในทากลับหลังแลวตอไปกำหนด<br />

“ยืน...<br />

หนอ...” ชา ๆ อีก ๕ ครั้ง<br />

ลืมตา กมหนา แลวกำหนดเดินตอไป<br />

กระทำเชนนี้จนหมดเวลาที่ตองการ<br />

การนั่ง<br />

กระทำตอจากการเดินจงกรม อยาใหขาดตอนลงเมื่อเดินจงกรม<br />

ถึงที่จะนั่ง<br />

ใหกำหนด “ยืน... หนอ...” อีก ๕ ครั้ง<br />

ตามที่กระทำมา<br />

แลวเสียกอน แลวกำหนดปลอยมือลงขางตัววา “ปลอยมือหนอ ๆ ๆ ๆ ๆ”<br />

ชา ๆ จนกวาจะลงสุดเวลานั่งคอย<br />

ๆ ยอตัวลงพรอมกับกำหนดตาม<br />

อาการที่ทำไปจริง<br />

ๆ เชน “ยอตัวหนอ ๆ ๆ ๆ” “เทาพื้นหนอ<br />

ๆ ๆ”<br />

“คุกเขาหนอ ๆ ๆ” “นั่งหนอ<br />

ๆ ๆ” เปนตน<br />

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ ๕๕


วิธีนั่ง<br />

ใหนั่งขัดสมาธิ<br />

คือ ขาขวาทับขาซาย นั่งตัวตรง<br />

หลับตา<br />

เอาสติมาจับอยูที่สะดือที่ทองพองยุบ<br />

เวลาหายใจเขาทองพอง กำหนด<br />

วา “พอง หนอ” ใจนึกกับทองที่พองตองใหทันกัน<br />

อยาใหกอนหรือ<br />

หลังกัน หายใจออกทองยุบ กำหนดวา “ยุบ หนอ” ใจนึกกับทองที่<br />

ยุบตองทันกัน อยาใหกอนหรือหลังกัน ขอสำคัญใหสติจับอยูที่พอง<br />

ยุบ เทานั้น<br />

อยาดูลมที่จมูก<br />

อยาตะเบ็งทองใหมีความรูสึกตามความ<br />

เปนจริงวาทองพองไปขางหนา ทองยุบมาทางหลัง อยาใหเห็นเปน<br />

ไปวา ทองพองขึ้นขางบน<br />

ทองยุบลงขางลาง ใหกำหนดเชนนี้<br />

ตลอดไป จนกวาจะถึงเวลาที่กำหนดเมื่อมีเวทนา<br />

เวทนาเปนเรื่อง<br />

สำคัญที่สุด<br />

จะตองบังเกิดขึ้นกับผูปฏิบัติแนนอน<br />

จะตองมีความอดทน<br />

เปนการสรางขันติบารมีไปดวย ถาผูปฏิบัติขาดความอดทนเสียแลว<br />

การปฏิบัติวิปสสนากรรมฐานนั้นก็ลมเหลว<br />

ในขณะที่นั่งหรือเดิน<br />

จงกรมอยูนั้น<br />

ถามีเวทนาความเจ็บ ปวด เมื่อย<br />

คัน ๆ เกิดขึ้นให<br />

หยุดเดิน หรือหยุดกำหนดพองยุบ ใหเอาสติไปตั้งไวที่เวทนาเกิด<br />

และกำหนดไปตามความเปนจริงวา “ปวดหนอ ๆ ๆ” “เจ็บหนอ ๆ ๆ”<br />

“คันหนอ ๆ ๆ” เปนตน ใหกำหนดไปเรื่อย<br />

ๆ จนกวาเวทนาจะหายไป<br />

เมื่อเวทนาหายไปแลว<br />

ก็ใหกำหนดนั่งหรือเดินตอไป<br />

จิต เวลานั่งอยู<br />

หรือเดินอยู<br />

ถาจิตคิดถึงบาน คิดถึงทรัพยสินหรือคิดฟุงซานตาง<br />

ๆ<br />

นานา ก็ใหเอาสติปกลงที่ลิ้นปพรอมกับกำหนดวา<br />

“คิดหนอ ๆ ๆ ๆ”<br />

ไปเรื่อย<br />

ๆ จนกวาจิตจะหยุดคิด แมดีใจ เสียใจ หรือโกรธ ก็กำหนด<br />

เชนเดียวกันวา “ดีใจหนอ ๆ ๆ ๆ” “เสียใจหนอ ๆ ๆ ๆ” “โกรธ<br />

หนอ ๆ ๆ ๆ” เปนตน<br />

๕๖ สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ


เวลานอน<br />

เวลานอนคอย ๆ เอนตัวนอนพรอมกับกำหนดตามไปวา “นอน<br />

หนอ ๆ ๆ ๆ” จนกวาจะนอนเรียบรอย ขณะนั้นใหเอาสติจับอยูกับ<br />

อาการเคลื่อนไหวของรางกาย<br />

เมื่อนอนเรียบรอยแลวใหเอาสติมาจับ<br />

ที่ทอง<br />

แลวกำหนดวา “พอง หนอ” “ยุบ หนอ” ตอไปเรื่อย<br />

ๆ ให<br />

คอยสังเกตใหดีวา จะหลับไปตอนพอง หรือตอนยุบ<br />

อิริยาบถตาง ๆ การเดินไปในที่ตาง<br />

ๆ การเขาหองน้ำ การเขา<br />

หองสวม การรับประทานอาหาร และการกระทำกิจการงานทั้งปวง<br />

ผูปฏิบัติตองมีสติกำหนดอยูทุกขณะในอาการเหลานี้<br />

ตามความ<br />

เปนจริง คือ มีสติ สัมปชัญญะ เปนปจจุบัน อยูตลอดเวลา<br />

หมายเหตุ การเดินจงกรมนั้น<br />

กระทำการเดินไดถึง ๖ ระยะ<br />

แตในที่นี้อธิบายไวเพียงระยะเดียว<br />

การเดินระยะตอไปนั้นจะตองเดิน<br />

ระยะที่<br />

๑ ใหถูกตอง คือ ไดปจจุบันธรรมจริง จึงจะเพิ่มระยะตอไป<br />

ตามผลการปฏิบัติของแตละบุคคล<br />

ทานสามารถเขาชมวีดีโอสอน<br />

“การปฏิบัติวิปสสนากรรมฐาน” โดย หลวงพอจรัญไดที่<br />

http://www.jarun.org/v6/th/dhamma-meditation.html#4<br />

จากหนังสือระเบียบปฏิบัติสำหรับผูปฏิบัติธรรม<br />

วัดอัมพวัน อ.พรหมบุรี จ.สิงหบุรี<br />

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ ๕๗


สรุปการกำหนดตาง ๆ พอสังเขป ดังนี้<br />

๑. ตาเห็นรูป จะหลับตาหรือลืมตาก็แลวแต ใหตั้งสติไวที่ตา<br />

กำหนดวา เห็นหนอ ๆ ๆ ๆ ไปเรื่อย<br />

ๆ จนกวาจะรูสึกวาเห็นก็สัก<br />

แตวาเห็น ละความพอใจและความไมพอใจออกเสียได ถาหลับตาอยู<br />

ก็กำหนดไปจนกวาภาพนั้นจะหายไป<br />

๒. หูไดยินเสียง ใหตั้งสติไวที่หู<br />

กำหนดวา เสียงหนอ ๆ ๆ ๆ<br />

ไปเรื่อย<br />

ๆ จนกวาจะรูสึกวาเสียง<br />

ก็สักแตวาเสียง ละความพอใจและ<br />

ความไมพอใจออกเสียได<br />

๓. จมูกไดกลิ่น<br />

ตั้งสติไวที่จมูก<br />

กำหนดวา กลิ่นหนอ<br />

ๆ ๆ ๆ<br />

ไปเรื่อย<br />

ๆ จนกวาจะรูสึกวากลิ่น<br />

ก็สักแตวากลิ่น<br />

ละความพอใจและ<br />

ความไมพอใจออกเสียได<br />

๔. ลิ้นไดรส<br />

ตั้งสติไวที่ลิ้น<br />

กำหนดวา รสหนอ ๆ ๆ ๆ ไป<br />

เรื่อย<br />

ๆ จนกวาจะรูสึกวารส<br />

ก็สักแตวารส ละความพอใจและความ<br />

ไมพอใจออกเสียได<br />

๕. การถูกตองสัมผัส ตั้งสติไวตรงที่สัมผัส<br />

กำหนดตามความ<br />

เปนจริงที่เกิดขึ้น<br />

ละความพอใจและความไมพอใจออกเสียได<br />

๖. ใจนึกคิดอารมณ ตั้งสติไวที่ลิ้นป<br />

กำหนดวา คิดหนอ ๆ ๆ ๆ<br />

ไปเรื่อย<br />

ๆ จนกวาความนึกคิดจะหายไป<br />

๗. อาการบางอยางเกิดขึ้น<br />

กำหนดไมทัน หรือกำหนดไมถูกวา<br />

จะกำหนดอยางไร ตั้งสติไวที่ลิ้นป<br />

กำหนดวา รูหนอ<br />

ๆ ๆ ๆ ไปเรื่อย<br />

ๆ<br />

จนกวาอาการนั้นจะหายไป<br />

๕๘ สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ


การที่เรากำหนดจิต<br />

และตั้งสติไวเชนนี้<br />

เพราะเหตุวาจิตของเรา<br />

อยูใตบังคับของความโลภ<br />

ความโกรธ ความหลง เชน ตาเห็นรูป<br />

ชอบใจ เปนโลภะ ไมชอบใจ เปนโทสะ ขาดสติไมไดกำหนด<br />

เปนโมหะ หูไดยินเสียง จมูกไดกลิ่น<br />

ลิ้นไดรส<br />

กายถูกตองสัมผัส<br />

ก็เชนเดียวกัน<br />

การปฏิบัติวิปสสนากรรมฐาน โดยเอาสติเขาไปตั้งกำกับตาม<br />

อายตนะนั้น<br />

เมื่อปฏิบัติไดผลแกกลาแลว<br />

ก็จะเขาตัดที่ตอของอายตนะ<br />

ตาง ๆ เหลานั้นมิใหติดตอกันได<br />

คือวา เมื่อเห็นรูปก็สักแตวาเห็น<br />

เมื่อไดยินเสียงก็สักแตวาไดยิน<br />

ไมทำความรูสึกนึกคิดปรุงแตงใหเกิด<br />

ความพอใจหรือความไมพอใจในสิ่งที่ปรากฏใหเห็น<br />

และไดยินนั้น<br />

รูป และเสียงที่ไดเห็นและไดยินนั้นก็จะดับไป<br />

เกิด และดับ อยูที่<br />

นั้นเอง<br />

ไมไหลเขามาภายใน อกุศลธรรมความทุกขรอนใจที่คอยจะ<br />

ติดตาม รูป เสียง และอายตนะภายนอกอื่น<br />

ๆ เขามาก็เขาไมได<br />

สติที่เกิดขึ้นขณะปฏิบัติวิปสสนากรรมฐานนั้น<br />

นอกจากจะ<br />

คอยสกัดกั้นอกุศลธรรม<br />

และความทุกขรอนใจที่จะเขามาทางอายตนะ<br />

แลว สติเพงอยูที่<br />

รูป นาม เมื่อเพงเล็งอยูก็ยอมเห็นความเกิดดับของ<br />

รูป นาม ที่ดำเนินไปตามอายตนะตาง<br />

ๆ อยางไมขาดสาย การเห็น<br />

การเกิดดับของ รูป นาม นั้นจะนำไปสูการเห็น<br />

พระไตรลักษณ<br />

คือ ความไมเที่ยง<br />

ความทุกข และความไมมีตัวตนของสังขาร หรือ<br />

อัตภาพอยางแจมแจง<br />

จากหนังสือระเบียบปฏิบัติสำหรับผูปฏิบัติธรรม<br />

วัดอัมพวัน อ.พรหมบุรี จ.สิงหบุรี<br />

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ ๕๙


คติธรรมคำสอน<br />

เรื่องการปฏิบัติกรรมฐาน<br />

จากหนังสืออนุสาสนีปาฏิหาริย<br />

รวบรวมโดย<br />

คุณชินวัฒก รัตนเสถียร


ยืน<br />

ผูปฏิบัติยืนตรงแลว<br />

ไมตองชิดเทา เดี๋ยวจะลมไป<br />

ยืน<br />

ธรรมดา เอามือไพลหลัง มือขวาจับขอมือซาย วางตรงกระเบนเหน็บ<br />

ตั้งตัวตรง<br />

ๆ วาดมโนภาพวา เรายืนรูปรางอยางนี้<br />

เปนมโนภาพ ผา<br />

ศูนยกลางลงไปถึงปลายเทา...ยืน...มโนภาพ จิตก็ผา จากขมอม<br />

(กระหมอม) ลงไปสติตามควบคุมจิต ยืนถึงสะดือ แลวสติตามจิตถึง<br />

สะดือทันไหม ทัน วรรคสอง วา หนอ...จากสะดือ ลง ไปปลายเทา<br />

นี่จังหวะที่แนนอน<br />

สติตามจิตลงไป ผาศูนยกลาง ๙๐ องศาเลยนะ...<br />

ลองดูนะ แลวสำรวมปลายเทาขึ้นมา<br />

บนศีรษะครั้งที่สอง<br />

ยืนดู (มโนภาพ) เทาทั้งสองขาง<br />

ยืน...ขึ้นมาถึงสะดือจุดศูนยกลาง<br />

สติตามทันไหม ทัน วรรคสองจากสะดือ หนอ...ถึงขมอมพอดี นี่ได<br />

จังหวะ ถาทำอะไรผิดจังหวะใชไมได...<br />

ยืน...ถึงสะดือแลว สติตามไมทันเสียแลว จิตมันไวมาก เอาใหม<br />

กำหนดใหมซี่<br />

ไดไหม ได เปลี่ยนแปลงไดไมเปนไร<br />

สำรวมใหม<br />

จากปลายเทา หลับตาขึ้นมา<br />

มโนภาพจากปลายเทาถึงสะดือ ยืน...<br />

ขึ้นมาเอาจิตขึ้นมาทบทวน<br />

เรียกวา ปฏิโลม อนุโลม เปนตน สำรวม<br />

ถึงสะดือแลว หนอ...ผาศูนยกลางขึ้นมาเลย<br />

ผานลิ้นปขึ้นมา<br />

ถาทาน<br />

มีสมาธิดี สติดีนะ มันจะซานไปทั้งตัว...<br />

กำหนดยืนตอง ๕ ครั้ง<br />

เบื้องต่ำตั้งแตปลายผมลงมา<br />

(นับเปน<br />

ครั้งที่<br />

๑) เบื้องบนตั้งแตปลายเทาขึ้นไป<br />

(นับเปนครั้งที่<br />

๒) หนอ<br />

ครั้งที่<br />

๕ ถึงปลายเทา ลืมตาได ดูปลายเทาตอไป<br />

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ ๖๑


ยืนกำหนด ตองใชสติกำหนดมโนภาพ อันนี้มีประโยชนมาก<br />

แตนักปฏิบัติสวนใหญไมคอยปฏิบัติจุดนี้<br />

ปลอยใหลวงเลยไปเปลา<br />

โดยใชปากกำหนด ไมไดใชจิตกำหนดไมไดใชสติกำหนดใหเกิด<br />

มโนภาพ อันนี้มีความสำคัญสำหรับผูปฏิบัติมาก<br />

กำหนดจิต คือ ตอง<br />

ใชสติไมใชวาแตปากยืนหนอ ยืนหนอ ยืนหนอ...<br />

ไมงายเลย แตตองทำซ้ำ ๆ ซาก ๆ ใหเคยชิน ใหสติคุนกับจิต<br />

ใหจิตคุนกับสติ<br />

ถึงจะเกิดสมาธิ เราจึงตองมีการฝกจิตอยูที่กระหมอม<br />

วาดมโนภาพลงไปชา ๆ ลมหายใจนั้นไมตองไปดู<br />

แตใหหายใจยาว ๆ<br />

มันจะถูกจังหวะ แลวตั้งสติ<br />

ตามจิตลงไปวา ยืนที่กระหมอมแลว<br />

หนอ...ลงไปที่ปลายเทา<br />

ดูมโนภาพจะเห็นลักษณะกายของเรายืนอยู<br />

ณ บัดนี้<br />

เห็นกายภายนอกนอมเขาไปเห็นกายภายใน...<br />

คำวา ยืนปกลงที่กระหมอม<br />

แลวสติตามลงไปเลย วาดมโนภาพ<br />

ยืน...ถึงสะดือ แลว รางกายเปนอยางนี้แหละหนอ<br />

จากสะดือ ลงไป<br />

ก็หนอ...ลงไปปลายเทาอยางนี้ทำงายดี<br />

สำรวมใหมสักครูหนึ่ง<br />

จึงตอง<br />

อยาไปวาติดกัน ถาวาติดกันมันไมไดจังหวะ ขอใหญาติโยมผูปฏิบัติ<br />

ทำตามนี้<br />

จะไดผลอยางแนนอน<br />

วิธีปฏิบัตินี้ก็ใหกำหนดยืนหนอ<br />

ใหเห็นตัวทั้งหมด<br />

ใหนึก<br />

มโนภาพวา ตัวเรายืนแบบนี้<br />

ใหกึ่งกลาง<br />

ศูนยกลางจากที่ศีรษะ<br />

ลง<br />

ไประหวางหนาอก แลวก็ลงไประหวางเทาทั้งสอง<br />

แลวมันจะไมมี<br />

ความไหวติงในเรื่องขวาหรือซาย<br />

ยืนนี่<br />

กำหนดไปเรื่อย<br />

ๆ ชา ๆ ให<br />

จิตมันพุงไปตามสมควร<br />

จากคำวายืนหนอ<br />

๖๒ สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ


ยืนนี่ตั้งแตศีรษะหายใจเขาหายใจเขาไปเลย<br />

ใหยาวไปถึงเทา<br />

ยืนหายใจเขายาว ๆ สูดยาว ๆ อยางที่ไสยศาสตรเขาใชกันเรียกวา<br />

“คาบลม”...ไปถึงปลายเทา แลวก็ยืนสูดหายใจเขามาใหยาวไปถึง<br />

กระหมอม อัสสาสะ-ปสสาสะ แลวจิตจะเปนกุศลทำใหยาว รับรอง<br />

อารมณของโยม ที่เคยฉุนเฉียวจะลดลงไปเลย<br />

แลวก็จิตจะไมฟุงซาน<br />

ดวย...มูลกรรมฐานอยูตรงนี้<br />

มูลฐานของชีวิตก็อยูตรงนี้<br />

หายใจยาว ๆ<br />

ยืนหนอลงไป หายใจออกยาว ๆ ยืนหนอ อยางนี้<br />

เปนตน<br />

เดิน<br />

บางคน เดินจงกรม หวิวทันทีเวียนศีรษะ แตแลวเกาะ<br />

ขางฝากำหนดเสียใหได คือเวทนา จิตวูบลงไปแวบลงไปเปนสมาธิ<br />

ขณะเดินจงกรม แตเราหาไดรูไมวาเปนสมาธิ<br />

กลับหาวาเปนเวทนา<br />

เลยเปนลมเลยเลิกทำไป ขอเท็จจริงบางอยางไมไดเปนลม แตเปน<br />

ดวยสมาธิในการเดินจงกรม หรือมันอาจ เปนลมดวยก็ได ไมแนนอน<br />

ฉะนั้น<br />

ขอใหผูปฏิบัติกำหนดหยุดเดินจงกรม<br />

แลวกำหนดหวิวเสียให<br />

ไดกำหนดรูหนอเสียใหได...บางที<br />

เดินจงกรมไปมีเวทนา อยาเดิน<br />

หยุดกอน แลวกำหนดเวทนาเปนสัดสวนใหหายไปกอน...เดินไปอีก<br />

หวิวเวียนศีรษะ คิดวาไมดี หยุดกำหนด หวิวหนอซะ ตั้งสติไวให<br />

ไดใหดีกอนแลวจึงเดินตอไป...ขณะเดินจงกรมจิตออกไปขางนอก หยุด<br />

กำหนด หยุดเสีย กำหนดจิตใหได ที่ลิ้นป<br />

กำหนดคิดหนอ คิดหนอ<br />

คิดหนอ ยืนหยุดเฉย ๆ ตั้งสติเสียใหได<br />

แตละอยางใหชา ๆ<br />

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ ๖๓


ขณะเดินจงกรม มีเสียงอะไรมากำหนดเสียงหนอ ถาขณะ<br />

เดินจงกรม มีเวทนา ปวดเมื่อยตนคอ<br />

หยุดเดิน ยืนเฉย ๆ กำหนด<br />

เวทนาไป เอาสภาพความเปนจริงมาแสดงออกวา มันปวดมากนอย<br />

เพียงใดตองการอยางนั้น<br />

ไมใชกำหนดแลวหายปวด กำหนดตองการ<br />

จะใหรูวามันปวดขนาดไหน...<br />

ขณะเดิน จิตออก จิตคิด หยุด อยาเดิน เอาทีละอยาง กำหนด<br />

ที่ลิ้นปอีก<br />

แลวหายใจยาว ๆ คิดหนอ ๆ ๆ ๆ ที่ฟุงซานไปคิดนั้น<br />

เดี๋ยวคอมพิวเตอรจะตีออกมาถูกตอง<br />

ออไปคิดเรื่องเหลวไหล<br />

รูแลว<br />

เขาใจแลว ถูกตองแลว เดินจงกรมตอไป<br />

ขวายางหนอ ซายยางหนอ เดินใหชาที่สุด<br />

เพราะจิตมันเร็วมาก<br />

จิตมันไวเหลือเกิน ทำใหเชื่องลง<br />

ทำใหคุนเคย<br />

ชาเพื่อไวนะ<br />

เสียเพื่อได<br />

ตองจำขอนี้ไวสั้น<br />

ๆ เทานั้นเอง<br />

พระพุทธเจาสอนอยางนี้<br />

ใหวัดตัวเรา วัดกาย วัดวาจา<br />

วัดใจ ทุกขณะจิต อยางที่เดินจงกรมนี่<br />

เปนแบบฝกหัดเพื่อใหได<br />

อาวุธ คือ ปญญา อาวุธสำคัญมาก คือ ปญญา เทานั้น<br />

อานิสงสของการเดินจงกรม มี ๕ ประการ ดังนี้<br />

๑. มีความอดทนตอการเดินทางไกล<br />

๒.ทำใหอดทนตอการบำเพ็ญเพียร<br />

๓.ยอมเปนผูมีอาพาธนอย<br />

(จะไมเปนอัมพาต อัมพฤกษ)<br />

๔.ระบบยอยอาหารจะเปนปกติ<br />

๖๔ สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ


๕.สมาธิที่เกิดจะตั้งอยูไดนานกวานั่ง<br />

และเมื่อปฏิบัตินั่งตอจะมี<br />

สมาธิเร็วขึ้น<br />

นั่ง<br />

เดินจงกรมเสร็จแลวควรนั<br />

่งสมาธิ ทำใหติดตอกันเหมือนเสน<br />

ดาย ออกจากลูกลออยาใหขาด ทำใหติดตอไป นั่งสมาธิจะขัดสอง<br />

ชั้นก็ได<br />

ชั้นเดียวก็ได<br />

หรือขัดสมาธิเพชรก็ได แลวแตถนัด ไมได<br />

บังคับแตประการใด มือขวาทับมือซายหายใจเขาออกยาว ๆ...<br />

กอนกำหนด พอง/ยุบหายใจเขายาว ๆ หายใจออกยาว ๆ แลว<br />

สังเกตทองหายใจเขาทองพองไหม หายใจออกทองยุบไหม ไมเห็น<br />

เอามือคลำดู เอามือวางที่สะดือแลวหายใจยาว<br />

ๆ ทองพอง เราก็บอกวา<br />

พองหนอ พอ ทองยุบ เราก็ บอกวา ยุบหนอ ใหไดจังหวะ...<br />

ใหม ๆ อึดอัดมาก เพราะเราไมเคย...บางคนมีนิมิตอยางโนน<br />

นิมิตอยางนี้มันมากไป<br />

มากเรื่องไป<br />

เอาอยางนี้กอนนะ<br />

เราหายใจเขา<br />

ยาว ๆ ที่ทองพอง<br />

กำหนดพอง ไมทันหนอ ยุบแลว หรือหายใจออก<br />

ยาว ๆ ที่ทองยุบ<br />

กำหนดยุบ ไมทันหนอ พองขึ้นมาอีกแลว<br />

วิธีปฏิบัติทำอยางไร วิธีแกก็พอง คนละครึ่งซิ<br />

ถาพองครึ่งไม<br />

ได หนอครึ่งไมได<br />

เอาใหมเปลี่ยนใหมไดเปลี่ยนอยางไร<br />

พองแลว<br />

หนอไปเลย ยุบแลวลงหนอใหยาวไปเลย เดี๋ยวทานจะทำไดไมขัด<br />

ของไมอึดอัดแน ใหม ๆ นี่ยอมเปนธรรมดา<br />

ถานั่งไมเห็นพองยุบ<br />

มือคลำไมได นอนลงไปเลย นอนหงาย<br />

เหยียดยาวไปเลย เอามือประสานทอง หายใจยาว ๆ แลววาตามมือ<br />

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ ๖๕


นี้ไป<br />

พองหนอ ยุบหนอ ใหคลอง พอคลองแลว ไปเดินจงกรมมา<br />

นั่งใหมเดี๋ยวทานจะชัดเจน<br />

พองหนอ ยุบหนอ บางครั้ง<br />

ตื้อไมพองไมยุบ...กำหนดรู<br />

หนอ หายใจเขายาว ๆ หายใจออกยาว ๆ ใหไดที่<br />

แลวจึงใชสติกำหนด<br />

ตอไปวา พองหนอ ยุบหนอ ปญญาเกิดสมาธิดี ก็ทำใหพองหนอ<br />

ยุบหนอ สั้น<br />

ๆ ยาว ๆ แลวทำใหแวบออกขาง ๆ ทำใหจิตวนอยูใน<br />

พองยุบ ขึ้น<br />

ๆ ลง ๆ อยางนี้ถือวาดีแลว...<br />

พองหนอ ยุบหนอ เดี๋ยวขึ้น<br />

เดี๋ยวลง<br />

ไมออกทางพอง ไมออกทางยุบ และจิตก็แวบออกไป แวบ<br />

เขามา เดี๋ยวก็จิตคิดบาง<br />

ฟุงซานบาง<br />

สับสนอลหมานกัน อยางนี้ถือ<br />

วาไดประโยชนในการปฏิบัติ ผูปฏิบัติอยาทิ้ง<br />

ผูปฏิบัติตองตามกำหนด<br />

ตอไป<br />

การหายใจเขาออกยาวหรือสั้นไมสำคัญ<br />

สำคัญอยูขอเดียว<br />

คือ กำหนดไดในปจจุบัน หากเรากำหนดไมได เร็วไป ชาไป กำหนด<br />

ไมทัน ก็กำหนดใหม อันนี้ไมตองคำนึงวาพองยาวหรือยุบยาว<br />

ยาว<br />

ไปหรือสั้นไป<br />

เราเพียงแตรูวากำหนดไดในปจจุบัน<br />

หายใจเขาทอง<br />

พอง หายใจออกทองยุบก็กำหนดเรื่อย<br />

ๆ ไป อยางนี้เทานั้นก็ใชได<br />

พองยุบตอนแรกก็ชัดดี พอเห็นหนักเขาก็เลือนลาง บางที<br />

แผวเบา จนมองไมเห็นพองยุบ ถามันตื้อไมพองไมยุบ<br />

ใหกำหนดรู<br />

หนอ หายใจยาว ๆ รูหนอ<br />

รูหนอ<br />

ตั้งสติไวตรงลิ้นป<br />

รูตัวแลวก็กลับ<br />

มากำหนด พองหนอ ยุบหนอ เดี๋ยวชัดเลย<br />

จิตฟุงซานมากไหม<br />

ถามี<br />

บางก็กำหนด<br />

๖๖ สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ


กำหนด<br />

ตัวกำหนด คือ ตัวฝนใจ เปนตัวธัมมะ (ธัมมะ แปลวาฝนใจ<br />

ฝนใจไดดีได) เปนตัวปฏิบัติ คนเรา ถาปลอยไปตามอารมณของ<br />

ตนแลวมันจะเห็นแตความถูกใจ จะไมเห็นความถูกตอง อยูตรงนี้นะ<br />

กรรมฐานสอน งาย แตมัน ยาก ตรงที่ทานไมได<br />

กำหนด<br />

ไมไดเอาสติมาคุมจิตเลย...ผูปฏิบัติธรรม<br />

ที่ไมไดกำหนดไมใชสติ<br />

มันก็ไมเกิดประโยชนในการปฏิบัติเลย วางเปลา ไมไดผล คนเรามี<br />

สติอยูตรงนั้น...<br />

ตองมีสติทุกอิริยาบถ ตองกำหนดทั้งนั้น<br />

กำหนดอยาก กำหนดโนน กำหนดนี่<br />

มันจะมากไปเอาแต<br />

นอยกอน เพราะเดี๋ยวจะกำหนดไมได<br />

เอาทีละอยาง เดี๋ยวก็ไดดีเอง<br />

แลวคอยกำหนดตนจิตทีหลัง ตนจิต คือ ตัวอยาก อยากหยิบหนอ<br />

อยากหยิบหนอ นี่ตนจิต<br />

เปนเจตสิกเอาไวทีหลัง คอยเปน คอยไป<br />

กอน คอย ๆ ฝก ใหมันไดขั้นตอน<br />

ใหมันไดจังหวะกอน แลวฝกให<br />

ละเอียดทีหลัง ถาเรากำหนดละเอียดเลย ขั้นตอนไมได<br />

ก็เปน<br />

วิปสสนึกไปเลย พองยุบก็ไมได<br />

การศึกษาภาคปฏิบัตินี่ยากมาก<br />

คือ อารมณหลายอยางมา<br />

แทรกแซงเรา ก็ขอเจริญพรวา ใหกำหนดทีละอยาง ศึกษาไปทีละอยาง<br />

ทีนี้มันฟุงซาน<br />

ความวัวยังไมทันหายความควายเขามาแทรกแซง<br />

ตลอดเวลา เพราะไมไดปฏิบัติมานาน เชน มีเวทนากำหนดทีละอยาง<br />

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ ๖๗


ยิ่งปวดหนัก<br />

ๆ เดี๋ยวมันจะเกิดอนิจจังไมเที่ยง<br />

มันเปนทุกขจริง ๆ นะ<br />

ทุกขนี่คือตัวธัมมะ<br />

เราจะพบความสุขตอเมื่อภายหลัง<br />

แลวเวทนาก็เกิด<br />

ขึ้นสับสนอลหมานกัน<br />

ไอโนนแทรก ไอนี่แซง<br />

ทำใหเราขุนมัว<br />

ทำให<br />

เราฟุงซานตลอดเวลา<br />

เราก็กำหนดไปเรื่อย<br />

ๆ ทีนี้ถาปญญาเกิดขึ้นเปน<br />

ขั้นตอน<br />

มันก็จะรูในอารมณนั้นไดอยางดีดวยการกำหนด<br />

มันมีปญหา<br />

อยูวา<br />

เกิดอะไรใหกำหนดอยางนั้น<br />

อยาไปทิ้ง<br />

อริยสัจ ๔ แนนอน<br />

เกิดทุกขแลว หาที่มาของทุกข<br />

เอาตัวนั้นมาเปนหลักปฏิบัติ<br />

แลวจะ<br />

พบอริยสัจ ๔ แนนอนโดยวิธีนี้<br />

อันนี้ขอเจริญพรวา<br />

คอย ๆ ปฏิบัติ<br />

กำหนดไปเรื่อย<br />

ๆ พอจิตไดที่<br />

ปญญาสามารถตอบปญหาสิบอยางได<br />

เลยในเวลาเดียวกัน เดี๋ยวคอมพิวเตอรสามารถจะแยกประเภทบอก<br />

เราได อารมณฟุงซานตองเปนแนเพราะเราเพิ่งปฏิบัติไมนาน<br />

กำหนดไดเมื่อใด<br />

สติมีเมื่อใด<br />

สามารถจะระลึกเหตุการณ<br />

ในอดีตไดโดยชัดแจง จากคำกำหนดวา คิดหนอ มีประโยชนมาก<br />

ถาเราสติดี ปญญาเกิดความคิดของกรรมจะปรากฏ แกนิมิตใหเรา<br />

ทราบไดวา เราจะใชกรรมวันพรุงนี้แลว<br />

และเราก็จะไดประโยชน<br />

ในวันพรุงนี้แลว<br />

นี่อดีตแสดงผลงานปจจุบัน<br />

ปจจุบันแสดงผลงาน<br />

ในอนาคต... ที่เรารูสรรพสำเนียงเสียงนก<br />

กำหนดเสียงหนอ ออนกเขา<br />

รอง ดวยเหตุผล ๒ ประการ มันบอกไดอยางนี้<br />

เราเดินผานตนไม<br />

สติดี สัมปชัญญะดี ตนไมจะบอกอารมณแกเราได วาขณะนี้เปน<br />

อยางไร<br />

๖๘ สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ


บางทีเราไมรูตัววามันมีอะไรเกิดขึ้น<br />

เราก็ไมรูวาจะปฏิบัติ<br />

อยางไร ถาเรามีสติเราก็กำหนดตรงลิ้นป<br />

รูหนอ<br />

รูหนอ<br />

รูหนอ<br />

พอสติ<br />

ดีปญญาเกิด เราก็รูอะไรขึ้นมาเหมือนกัน<br />

อันนี้ไมใชวิธีฝก<br />

แตเปน<br />

วิธีปฏิบัติที่เกิดเฉพาะหนา<br />

กรรมฐาน ตองทำซ้ำ ๆ ซาก ๆ เพิ่ม<br />

ๆ เติม ๆ คิดหนอ<br />

บอย ๆ ถาโกรธก็กำหนด เสียใจก็กำหนด ดีใจก็กำหนด อยาประมาท<br />

อาจองตอสงครามชีวิต เดี๋ยวจะปลงไมตก<br />

มันจะมีความสงบไดแคไหนไมสำคัญ สำคัญที่เรากำหนดได<br />

ในปจจุบันหรือไมเทานั้น<br />

แลวปญญาจะเกิดเองตามลำดับ แลวความ<br />

คุนเคยก็จะมาสงบตอในภายหลัง<br />

ที่จะเนนกันมากคือ<br />

เนนใหไดปจจุบัน สำหรับพองหนอ ยุบ<br />

หนอ เพราะตรงนี้เปนจุดสำคัญมาก<br />

ถาทำไดคลองแคลว ในจุดมุง<br />

หมายอันนี้รับรอง<br />

อยางอื่นก็กำหนดได<br />

การกำหนดไมทัน วิธีแกทำอยางไร กำหนดรูหนอ<br />

รูหนอ<br />

ถามันงูบลงไปตองกำหนด ไมอยางนั้นนิสัยเคยชินทำใหพลาด<br />

ทำให<br />

ประมาทเคยตัว<br />

อยางคำวา เห็นหนอ เห็นหนอ เห็นหนอ นี่นะมีประโยชน<br />

มาก อยาคิดวาเปนเรื่องเหลวไหล<br />

จะเห็นอะไรก็ตั้งสติไว<br />

จนกวาเรา<br />

จะไดมติของชีวิตวาเปนปจจัตตังแลว มีความรูในปญญาแลว<br />

เราเห็น<br />

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ ๖๙


อะไร ปญญา จะบอกเอง แตการฝกเบื้องตนนี่<br />

ตองฝกกันเรื่อยไป<br />

ถึงญาติโยมกลับไปบานไปยังเคหะสถาน หรือจะประกอบการงาน<br />

ของ โยม ก็ไมตองใชเวลาวาง ใชงานนั่นแหละเปนกรรมฐาน<br />

บางคน นั่งกรรมฐานตลอดกระทั่งไดผลสมาบัติ<br />

ไมมีนิมิต<br />

เลย บางคนนิมิตไหลมาเปนไขงู ไหลมาเปนภาพยนตรเลย กำหนด<br />

เห็นหนอ อยาไปดูมัน เห็นหนอ เห็นหนอ เห็นหนอ ไมหาย กลับ<br />

ภาพจริงครั้งอดีตชาติ<br />

รำลึกชาติได นิมิตจะบอกไดในญาณ ๔<br />

หนอ นี่รั้ง<br />

จิต ใหมี สติ หนอตัวนี้สำคัญ<br />

ทำใหเรามีสติ<br />

ทำใหความรูตัวเกิดขึ้น<br />

โดยไมฟุงซานในเรื่องเวทนาที่มันปวด<br />

แลว<br />

เราก็ตั้งสติตอไป<br />

ถาวันไหนฟุงซานมาก<br />

ไมใช ไมดีนะ ดีนะมันมีผลงานให<br />

กำหนด แลวก็ขอใหทานกำหนดเสีย ฟุงซานก็กำหนด<br />

ตั้งอารมณไว<br />

ใหดี ๆ กำหนดฟุงซานหนอ<br />

กำหนดฟุงซานหนอ<br />

กำหนดฟุงซานหนอ<br />

หายใจยาว ๆ ตามสบาย สักครูหนึ่งทานจะหายแนนอน<br />

บางคน<br />

ดูหนังสือปวดลูกตา อยาใหเขาเพงที่จมูก<br />

ตองลงไปที่ทอง<br />

หายทุกราย<br />

บางทีปวดกระบอกตา ดูหนังสือไมไดเลย รนลงมากำหนดที่ทอง<br />

ก็จะวองไวคลองแคลวขึ้น<br />

แลวจะหายไปเอง<br />

ทวาร ๖ ตา หู จมูก ลิ้น<br />

กาย ใจ เปนที่มาของ<br />

นรกสวรรค<br />

จึงตองกำหนดจิต<br />

๗๐ สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ


ทวาร ๓ ทวารกาย ทวารวาจา ทวารใจ เปนที่มาของ<br />

บุญบาป<br />

จึงตองสำรวม<br />

ตัวกำหนดจิตสำคัญมาก จะทำงาน เขียนหนังสือก็กำหนด<br />

จะกินน้ำก็กำหนด จะเดินก็กำหนด จะหยิบอะไรก็ตั้งสติไว<br />

โกรธก็<br />

เอาสติไปใส เสียใจก็เอาสติไปใส ใหรูวาเสียใจเรื่องอะไร<br />

โกรธเรื่อง<br />

อะไร เราจะรูดวยตัวเองวา<br />

เราสรางกรรมอะไร และจะแกปญหา<br />

อยางไร<br />

ถาเราโกรธ เราไมสบายใจ กลุมอกกลุมใจ<br />

อยาไปฝากความ<br />

กลุมคางคืนไว<br />

อารมณคาง เชาขึ้นมาทำงานจะเสียหาย<br />

หายใจยาว ๆ<br />

แลวกำหนดตรงลิ้นปวา<br />

โกรธหนอ โกรธหนอ โกรธหนอ รับรอง<br />

หายโกรธ โกรธแลวไมกำหนด ฝากความโกรธ เก็บไวในจิตใจ<br />

ตายไปลงนรกนะ...ในทำนองเดียวกัน กำหนดเสียใจหนอ เสียใจหนอ<br />

เสียใจหนอ หายใจยาว ๆ รอยครั้งพันครั้ง<br />

ความเสียใจจะหายไปเลย<br />

ดีใจเขามาแทนที่<br />

สรางความดีตอไป<br />

เวทนา<br />

ผ<br />

ูปฏิบัติธรรมที่มีเวทนา<br />

ไมเคยกำหนด ปลอยมันไปตาม<br />

เรื่องตามราว<br />

อยางนี้ใชไดหรือ?<br />

เลยรูไมจริงในเรื่อง<br />

อนิจจัง ทุกขัง<br />

อนัตตา ไมตองไปอรรถาธิบายวิชาการใหฟง<br />

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ ๗๑


ถาเจริญกรรมฐานไมปวด ไมเมื่อยแลว<br />

จิตไมออก ใชไม<br />

ได มันตองสับสนอลหมาน จะตองปวดเมื่อยไปทั่วสกลกาย<br />

นั่น<br />

แหละไดผล<br />

เวทนา ตองฝนตองใชสติไปพิจารณา เกิดความรูวาปวด<br />

ขนาดไหน ปวดอยางไร แลวก็ภาวนากำหนดตั้งสติไว<br />

เอาจิตเขาไป<br />

จับดูการปวด การเคลื่อนยายของเวทนา<br />

เดี๋ยวก็ชา<br />

เดี๋ยวก็สราง<br />

บังคับมันไมได<br />

กำหนดเวทนา ถาหากวา พองหนอ ยุบหนอ แลวเกิดเวทนา<br />

ตองหยุด พองยุบไมเอา เอาจิตปกไว ตรงที่เกิดเวทนา<br />

เอาสติ<br />

ตามไปดูซิวามันปวดแคไหน มันจะมากนอยเพียงใด ไมใชปวดหนอ<br />

แลวหายเลย ไมหาย... พอยึดปวดหนอ โอโฮ ยิ่งปวดหนัก<br />

ตายให<br />

ตาย ปวดหนักทนไมไหวแลว จะแตกแลว กนนี่จะรอนเปนไฟแลว<br />

ทนไมไหวแลว ตายใหตาย กำหนดไป กำหนดไป สมาธิดี สติดี<br />

เวทนาเกิดขึ้น<br />

ตั้งอยู<br />

ดับไป ซา! หายวับไปกับตา... ขอใหทาน อดทน<br />

ฝกฝนในอารมณนี้ใหได<br />

เวลาเจ็บปวย ทานจะไดเอาจิตแยกออก<br />

เสียจากปวยเจ็บ จิตไมปวย ไมเปนไรนะ<br />

แตเรื่องวิปสสนานี่<br />

มีอยางหนึ่งที่นาคิด<br />

คือ ปญญาที่จะเกิด<br />

ขึ้นไดนั้น<br />

มันมีกิเลสมากมายหลายอยาง ที่เกิดขึ้นในตัวเราทั้งหมด<br />

เราจะรูกฎแหงกรรมความเปนจริง<br />

จากสภาพเวทนานั้นเอง...<br />

ปญญา<br />

ที่จะเกิดนั้น<br />

เกิดขึ้นโดยความรูตัว<br />

โดยสติสัมปชัญญะ ภาคปฏิบัติจาก<br />

๗๒ สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ


การกำหนดนั่นเอง<br />

เวทนาที่ปวดเมื่อยนั้น<br />

มันปวดตามโนนตามนี้<br />

เราก็หยุดเอาทีละอยาง อยางที่อาตมากลาวแลว<br />

กำหนดเวทนาใหได<br />

กำหนดไดเมื่อใด<br />

มากมายเพียงใด ซาบซึ้งเพียงนั้น<br />

มันเกิดเวทนา<br />

อยางอื่นขึ้นมาก็เปนเรื่องเล็กไป...<br />

บางครั้งอาจนึกขึ้นไดวาไปทำเวรกรรม<br />

อะไรไว ไมตองไปคำนึงถึงกรรมนั้นเลย<br />

ขอปฏิบัติเพื่อไมใหมีอารมณ<br />

ฟุงซานไปอยูในกรรมนั้น<br />

ก็ดวยการกำหนดเวทนานั้นเอง<br />

ถาเราเจริญกรรมฐาน เราจะรูกฎแหงกรรมไดตอนมีเวทนา<br />

คนไหนอดทนตอเวทนาได กำหนดผานเวทนาได เราจะไดรูวาทุกข<br />

ทรมานที่ผานนั้น<br />

ไปทำกรรมอะไรไว... นี่แหละทานทั้งหลาย<br />

ทำให<br />

มันจริง จะเห็นจริง ทำไมจริง จะเห็นจริงไดอยางไร ตองเห็นจาก<br />

ตัวเราออกมาขางนอก รูตัววาเรามีเวรมีกรรมประการใด<br />

ก็ใชหนี้<br />

โดยไมปฏิเสธทุกขอหา จิตอโหสิกรรมได ยินดีรับเวรรับกรรมได<br />

โดยไมมีปญหาใด ๆ<br />

ปวดหนอ นี่เปนสมถะ<br />

ไมใชวิปสสนา จำไวใหได ปวดหนอ<br />

นี่ยึดบัญญัติเปนอารมณ<br />

เพราะวามีรูป มันจึงมีเวทนาเกิดสังขาร<br />

ปรุงแตงมันจึงปวด ปวดแลวกำหนด ปวดหนอ ปวดหนอ ปวดหนอ<br />

ยิ่งปวดหนัก<br />

ถาไมกำหนดเลย ก็ไมปวดหรอก แตวิธีปฏิบัติตอง<br />

กำหนด จะไดรูวาเวทนามันเปนอยางไร<br />

นี่ตัวธัมมะอยูที่นี่<br />

ตัวธัมมะ<br />

อยูที่ทุกข<br />

ถาไมทุกขจะไมรูอริยสัจ<br />

๔ นะ เอาลองดูซิ ถาเกิดเวทนา<br />

แลวเลิกโยมจะไมรูอริยสัจ<br />

๔ รูแตทุกขขางนอก<br />

รูแตทุกขจร<br />

ทุกข<br />

ประจำไมรูเลยนะ<br />

ทุกขประจำนี่ตองเอากอน<br />

ปวดหนอ ปวดหนอ<br />

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ ๗๓


นี่ทุกขประจำ<br />

ปวดหนอ ปวดหนอ โอยจะตายเลย บางคนนั่งทำไป<br />

เหลืออีก ๑๕ นาที จะครบ ๑ ชั่วโมง<br />

หรืออีก ๕ นาที จะครบครึ่ง<br />

ชั่วโมง<br />

ที่ตั้งใจไว<br />

จะตายทุกครั้งเลย<br />

เอาตายใหตาย ตายใหตาย<br />

ปวดหนอปวดหนอ โอโฮมันทุกขอยางนี้นี่เอง<br />

พิโธเอยกระดูกจะ<br />

แตกแลว แลวที่<br />

กนทั้งสองนี่รอนฉี่<br />

เลย เหมือนหนามมาแทงกน<br />

โอโฮมันปวดอยางนี้นี่เองหนอ<br />

ปวดหนอ ปวดหนอ กำหนดไป<br />

เปนไรเปนกัน พอใกลเวลาครบกำหนดที่ตั้งสัจจะไวจะตายเลยนะ<br />

ลองดู ลองดู ตองฝนใจ<br />

ที่เราทำกรรมฐานนั้น<br />

เวทนามันสอนเรา... เกิดขึ้น<br />

ตั้งอยู<br />

ดับไป ปวดหนักเขา ปวดหนักเขา แตกเลย มันมีจุดแตกออกมานะ<br />

โยมนะ แลวมันจะหายปวดทันที...ใครจะทำถึงขั้นไหนก็ตาม<br />

ตองผาน<br />

หลัก ๔ ประการ กาย เวทนา จิต ธรรม ทุกคนตองมีเวทนาทุกคน<br />

แตมีเวทนาแลวเรากำหนดได ตั้งสติไวใหไดไมเปนอะไรเลย<br />

และเวลา<br />

เจ็บระหวยปวยไขจะไมเสียสติ จะไมเสียสติเลยนะ และเราทำ<br />

วิปสสนานี่มันมีเวทนาหนักยิ่งกวากอนจะตาย<br />

เวลากอนตายนี่มัน<br />

จะหนักเหลือเกิน<br />

ไปวัดกระซิบเบา ๆ ฟงเขาสอน<br />

ชีวิตเราเกิดมาไมถาวร<br />

อยามัวนอนหลงเลนไมเปนการ<br />

ไฟสามกองกองเผาเราเสมอ<br />

อยาเลินเลอควรทำพระกรรมฐาน.....<br />

๗๔ สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ


ไหน ๆ เกิดมาชีวิตตองดับ คือ ตาย<br />

ใกลตายญาติมิตรบอกใหคิดถึงพระอรหัง<br />

รูยากที่สุด<br />

คือ คุณพระพุทธัง<br />

เพราะกำลัง เวทนา ทุกขกลาเอย<br />

เวทนาจะเกิดขึ้นเมื่อมีเหตุปจจัย<br />

จะหามไมใหเกิด ก็หาม<br />

ไมได ครั้นเมื่อหมดเหตุปจจัยก็จะดับไปเอง<br />

หมดไปเอง...บางคนไมรู<br />

พอปวดก็เลิกไปเลย ไมเอาแลวชอบสบาย รับรองทานจะไมรูกฎ<br />

แหงกรรม เดี๋ยวจะวาอาตมาหลอกไมไดนะ<br />

อาตมาผานมาแลว<br />

เวทนา คือ ครู ครูมาสอนไมเรียนสอบตก (ปวดเลิก เมื่อย<br />

เลิก ฟุงซานเลิก)<br />

ทานจะไมไดอะไรเลยนะ<br />

หากนั่งครบกำหนดแลวยังมีเวทนาคาอยู<br />

อยาเพิ่งเลิก<br />

ใหนั่ง<br />

ตอไป จนกวาเวทนาจะเบาบาง คอยเลิก<br />

ขอเจริญพรวา กรรมฐาน สามารถรูเหตุการณ<br />

และโรคภัย<br />

ไขเจ็บได ใครเปนโรคอะไร ใจเขมแข็ง ตายใหตายหายทุกราย<br />

ลูกสาวหลวงพอ พอเปนจับกัง แมรับจางซักรีด มาอยู<br />

ชวยงาน และปฏิบัติดวยเปนเวลา ๑ เดือนเต็ม ๆ ปฏิบัติกรรมฐาน<br />

ดวยความ อดทนสูง ถึงขนาดตายใหตาย เขาเปนโรคโปลิโอ แต<br />

กลับกลายหายได พอแมก็มีงานมากขึ้น<br />

ออกจากวัดไปเปน เถาแกเนี้ย<br />

มีลูกออกมาดีหมด จบการศึกษาตางประเทศทุกคน และหนาที่การ<br />

งานก็ดีดวย<br />

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ ๗๕


สรุป ผ<br />

ูมีปญญาโปรดฟง ปฏิบัติอยูเทานี้<br />

ไมตองไปทำมาก ยืนหนอ<br />

ใหสติกับจิตเปนหนึ่งเดียว<br />

ขวายางหนอ ซายยางหนอ ใหไดปจจุบัน<br />

พองหนอ ยุบหนอ ใหได ปจจุบัน เทานี้เหลือกินเหลือใช<br />

เหลือที่<br />

จะพรรณนา<br />

สงกระแสจิตทางหนาผาก ชารจไฟเขาหมอที่ลิ้นป<br />

จำตรง<br />

นี้เปนหลักปฏิบัติ<br />

๗ วัน ยืนหนอใหได เห็นหนอใหได พองหนอ<br />

ยุบหนอ กำหนดใหไดเทานี้<br />

เดี๋ยวอยางอื่นจะไหลมาเหมือนไขงู<br />

การปฏิบัติกรรมฐาน ไมตองไปสอนวิชาการ เพราะไมตอง<br />

การใหรูและไมตองดูหนังสือ<br />

ปฏิบัติโดยเครงครัด ใหมันผุดขึ้นใน<br />

ดวงใจใสสะอาดและหมดจด<br />

เวลาเครียด อยาทำสมาธิ เลือดลมไมดี หามทำสมาธิ ตอง<br />

ไปผอนคลายใหหายเครียด จนภาวะสูความเปนปกติ<br />

ถึงจะมาเจริญ<br />

กรรมฐานได การเจริญพระกรรมฐาน การนั่งสมาธิ<br />

ตองเปนคนที่<br />

ปกติ ถาไมปกติ อยาไปทำ<br />

ไมวาคนฉลาดหรือคนสติปญญาต่ำ ก็สามารถบรรลุมรรค<br />

ผลนิพพานไดทั้งนั้น<br />

ขึ้นอยูกับปจจัยหลายอยาง<br />

เชน มีความศรัทธา<br />

ที่จะประพฤติปฏิบัติ<br />

มีความเพียรพยายาม มีความอดทน มีสัจจะ และ<br />

๗๖ สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ


ดำเนินรอยตามการปฏิบัติที่ถูกตอง<br />

เปนตน แต เรื่องของบุญวาสนา<br />

ที่ติดตัวมาแตอดีต<br />

ก็เปนอีกปจจัยหนึ่ง<br />

การเจริญกรรมฐาน ตองการใหมีปญญา แกไขปญหา<br />

จำตรงนี้เอาไว<br />

เพราะกรรมฐาน เปนวิชาแกปญหาชีวิตเปนวิชาแกทุกข<br />

ตองเรียนรูเอง<br />

ซึ่งพระพุทธเจาเปนผูคนพบ<br />

คบหาสมาคมกับคนที่ขยันหมั่นเพียร<br />

หลีกเลี่ยงบุคคลที่<br />

เหลาะแหละเกียจคราน มั่นใจวา<br />

สติปฏฐาน ๔ นี้<br />

เทานั้น<br />

เปนทาง<br />

ที่พระอริยเจาทั้งหลาย<br />

ลวนปฏิบัติมาแลวทั้งสิ้น<br />

เวนจากการสมาคมกับบุคคลที่ชางพูด<br />

ชางเจรจา ชอบคุย<br />

ตองเวนไปออกสมาคมกับผูที่รักษาความสงบระงับ<br />

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ ๗๗


กรรมฐาน (กัมมัฏฐาน)<br />

เราเจริญกรรมฐานมา ๓๕ ป เจริญ “อานาปา” มา ๒๐ ป เศษ<br />

มโนมยิทธิมา ๑๐ ปเศษ เพงกสิณไดธรรมกายได ทำนองนี้<br />

เปนตน<br />

มันตองทำได ถาทำไมไดสอนเขาอยางไร อยางนี้นักปฏิบัติธรรม<br />

โปรดทราบ ตองสอนตัวเองกอนอื่นใด<br />

(ขอความนี้พิมพลงในหนังสือ<br />

เมื่อป<br />

พ.ศ.๒๕๓๐ : ผูรวบรวม)<br />

ถาเจริญสมถภาวนา ก็พิจารณาตั้งมั่นในบัญญัติ<br />

เพื่อใหจิต<br />

สงบ มีอานิสงสใหบรรลุ ฌานสมาบัติ<br />

ถาเจริญวิปสสนาภาวนา สติพิจารณาตั้งมั่นอยูในรูปนาม<br />

เพื่อใหเกิดปญญาเห็นพระไตรลักษณ<br />

คือ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา<br />

มีอานิสงสใหบรรลุ มรรค ผล นิพพาน<br />

กรรมฐาน ใชหนี้ขาวและน้ำนมแม<br />

ดีที่สุด<br />

และ กรรมฐาน<br />

เปนบุญเพียงอยางเดียวเทานั้น<br />

สำหรับ ผูที่ฆาตัวตายจะไดรับบุญอื่น<br />

สงไมถึง<br />

การเจริญพระกรรมฐาน จะทำใหชีวิตรุงเรือง<br />

วัฒนาสถาพร<br />

และจะรุงเรืองตอไปถึงลูกหลาน<br />

โยมลองดูไดเลย<br />

การบำเพ็ญจิตภาวนาตามแนวสติปฏฐาน ๔ ของพระ<br />

พุทธเจาของเรานี้<br />

วิธี ปฏิบัติ เบื้องตน<br />

ตองยึดแนวหลัก สติ เปนตัว<br />

สำคัญ<br />

๗๘ สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ


สติ เปนตัวกำหนด เปนตัวหาเหตุเปนตัวแจงเบี้ย<br />

บอกใหรู<br />

ถึงเหตุผล สัมปชัญญะ รู<br />

ทั่ว<br />

รูนอก<br />

รูใจ<br />

นั่นแหละคือตัวปญญา<br />

ความรูมันเกิดขึ้น<br />

สมาธิ หมายความวา จับจุดนั้นใหได<br />

เวทนาปวดเมื่อย<br />

เปนอุปสรรคตอการปฏิบัติมาก จึงตองให<br />

กำหนด ไมใชวากำหนดแลวมันจะหายปวดก็หามิได ตองการจะใช<br />

สติไปควบคุมดูจิตที่มันปวดวามันปวดมากนอยแคไหน<br />

อุเบกขาเวทนา ไมสุขไมทุกข ใจลอยหาที่เกาะไมได<br />

สวนใหญ<br />

จะประมาทพลาดพลั้งในขอนี้<br />

จึงตองกำหนด รูหนอ<br />

รูหนอ<br />

รูหนอ<br />

ที่ลิ้นป<br />

หายใจยาว ๆ ลึก ๆ สบาย ๆ<br />

ถา ทบทวนอารมณ ก็ตองไปกำหนดอยางนี้<br />

หายใจยาว ๆ<br />

นั่งทาสบายอยูตรงไหนก็ตาม<br />

อยูบนรถก็ได<br />

ทบทวนชีวิต ทบทวน<br />

อารมณวา อารมณลืมอะไรไปบาง เลยก็หายใจยาว ๆ มีประโยชนมาก<br />

ตั้งสติไวที่ลิ้นป<br />

ดวงหทัยเรียกวา เจตสิก อาศัยหทัยวัตถุอยูที่ลิ้นป<br />

วิธีปฏิบัติอยูตรงนี้นะ<br />

หายใจลึก ๆ ยาว ๆ เขาไว คิดหนอ คิดหนอ<br />

คิดหนอ เพราะทางปญญาอยูตรงจมูกถึงสะดือของเรานะ<br />

สั้นยาวไม<br />

เทากันอยางนี้<br />

การเจริญ สติปฏฐาน ๔ ทางสายเอกของพระพุทธเจานี้<br />

ถาทำได<br />

๑. ระลึกชาติไดจริง ระลึกไดวา เคยทำอะไรดีอะไรชั่วมากอน<br />

ไมใชระลึกวาเคยเปนผัวใครเมียใคร<br />

๒. รูกฎแหงกรรม<br />

จะไดใชหนี้เขาไปโดยไมปฏิเสธทุกขอหา<br />

๓. มีปญญาแกไขปญหาชีวิต ไมใชไปหาพระรดน้ำมนต ไปหา<br />

หมอดู<br />

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ ๗๙


วิปสสนากรรมฐานคืออะไร<br />

วิปสสนากรรมฐาน เปนเรื่องของการศึกษาชีวิต<br />

เพื่อจะปลด<br />

เปลื้องความทุกขนานาประการ<br />

ออกเสียจากชีวิต เปนเรื่องของการ<br />

คนหาความจริงวา ชีวิตมันคืออะไรกันแน ปกติเราปลอยใหชีวิต<br />

ดำเนินไปตามความเคยชินของมัน ปแลวปเลา มันมีแตความมืดบอด<br />

วิปสสนากรรมฐาน เปนเรื่องของการตีปญหาซับซอนของชีวิต<br />

เปนเรื่องของการคนหาความจริงของชีวิต<br />

ตามที่พระพุทธเจาไดทรง<br />

กระทำมา<br />

วิปสสนาฯ เปนการเริ่มตนในการปลดเปลื้องตัวเราใหพนจาก<br />

ความเปนทาสของความเคยชิน<br />

ในตัวเรานั้น<br />

เรามีของดีที่มีคุณคาอยูแลว<br />

คือ สติสัมปชัญญะ<br />

แตเรานำออกมาใชนอยนัก ทั้งที่เปนของมีคุณคาแกชีวิตหาประมาณ<br />

มิได วิปสสนาฯ เปนการระดมเอา สติ ทั้งหมดที่มีอยูในตัวเราเอา<br />

ออกมาใชใหเกิดประโยชน<br />

วิปสสนากรรมฐาน คือการอัญเชิญ สติ ที่ถูกทอดทิ้งขึ้นมานั่ง<br />

บัลลังกของชีวิต เมื่อสติขึ้นมานั่งสูบัลลังกแลว<br />

จิตก็จะคลานเขามา<br />

หมอบถวายบังคมอยูเบื้องหนาสติ<br />

สติจะควบคุมจิตมิใหแสออกไป<br />

คบหาอารมณตาง ๆ ภายนอก ในที่สุดจิตก็จะคอยคุนเคยกับการ<br />

สงบอยูกับอารมณเดียว<br />

เมื่อจิตสงบตั้งมั่นดีแลว<br />

การรูตามความเปน<br />

จริงก็เปนผลติดตามมา เมื่อนั้นแหละเราก็จะทราบไดวาความทุกขมัน<br />

มาจากไหน เราจะสกัดกั้นมันไดอยางไร<br />

นั่นแหละผลงานของสติละ<br />

๘๐ สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ


ภายหลังจากไดทุมเทสติสัมปชัญญะลงไปอยางเต็มที่แลว<br />

จิตใจ<br />

ของผูปฏิบัติก็จะไดสัมผัสกับสัจจะแหงสภาวะธรรมตาง<br />

ๆ อันผู<br />

ปฏิบัติไมเคยเห็นอยางซึ้งใจมากอน<br />

ผลงานอันมีคาล้ำเลิศของสติ<br />

สัมปชัญญะ จะทำใหเราเห็นอยางแจงชัดวา ความทุกขรอนนานา<br />

ประการนั้น<br />

มันไหลเขามาสูชีวิตของเราทางชองทวาร<br />

๖ ชองทวาร<br />

๖ นั้นเปนที่ตอและบอเกิดสิ่งเหลานี้คือ<br />

ขันธ ๕ จิต กิเลส<br />

ชองทวาร ๖ นี้<br />

ทางพระพุทธศาสนาทานเรียกวา อายตนะ<br />

อายตนะมีภายใน ๖ ภายนอก ๖ ดังนี้<br />

อายตนะภายในมี ตา หู จมูก<br />

ลิ้น<br />

กาย ใจ อายตนะภายนอกมีรูป เสียง กลิ่น<br />

รส โผฏฐัพพะ (กาย<br />

ถูกตองสัมผัส) ธรรมารมณ (อารมณที่เกิดจากใจ)<br />

รวม ๑๒ อยางนี้<br />

มีหนาที่ตอกันเปนคู<br />

ๆ คือ ตาคูกับรูป หูคูกับเสียง<br />

จมูกคูกับกลิ่น<br />

ลิ้นคูกับรส<br />

กายคูกับการสัมผัสถูกตอง<br />

ใจคูกับอารมณที่เกิดกับใจ<br />

เมื่อ<br />

อายตนะคูใดคูหนึ่ง<br />

ตอถึงกันเขา จิตก็จะเกิดขึ้น<br />

ณ ที่นั้นเองและ<br />

จะดับลงไป ณ ที่นั้นทันที<br />

จึงเห็นไดวา จิตไมใชตัวไมใชตน การที่<br />

เราเห็นวาจิตเปนตัวตนนั้น<br />

ก็เพราะวาการเกิดดับของจิตรวดเร็วมาก<br />

การเกิดดับของจิตเปนสันตติคือ เกิดดับตอเนื่องไมขาดสาย<br />

เราจึง<br />

ไมมีทางทราบไดถึงความไมมีตัวตนของจิต ตอเมื่อเราทำการกำหนด<br />

รูป นาม เปนอารมณตามระบบวิปสสนากรรมฐาน ทำการสำรวมสติ<br />

สัมปชัญญะอยางมั่นคง<br />

จนจิตตั้งมั่นดีแลว<br />

เราจึงจะรูเห็นการเกิด<br />

ดับ<br />

ของจิต รวมทั้งสภาวะธรรมตาง<br />

ๆ ตามความเปนจริง<br />

การที่จิตเกิดทางอายตนะตาง<br />

ๆ นั้น<br />

มันเปนการทำงานรวมกัน<br />

ของขันธ ๕ เชน ตากระทบรูป เจตสิกตาง ๆ ก็เกิดตามมาพรอมกัน<br />

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ ๘๑


คือ เวทนา เสวยอารมณ สุข ทุกข ไมสุขไมทุกข สัญญา จำไดวา<br />

รูปอะไร สังขาร ทำหนาที่ปรุงแตง<br />

วิญญาณ รูวารูปนี้<br />

ดี ไมดี หรือ<br />

เฉย ๆ กิเลสตาง ๆ ก็จะติดตามเขามาคือ ดีชอบเปนโลภะ ไมดีไม<br />

ชอบเปนโทสะ เฉย ๆ ขาดสติกำหนดเปนโมหะ อันนี้เองจะบันดาล<br />

ใหอกุศลกรรมตาง ๆ เกิดติดตามมา ความประพฤติชั่วรายตาง<br />

ๆ ก็จะ<br />

เกิด ณ ตรงนี้เอง<br />

การปฏิบัติวิปสสนากรรมฐาน โดยเอาสติเขาไปตั้งกำกับจิตตาม<br />

ชองทวารทั ้ง ๖ เมื่อปฏิบัติไดผลแกกลาแลว<br />

ก็จะเขาตัดตออายตนะ<br />

ทั้ง<br />

๖ คูนั้นไมใหติดตอกันไดโดยจะเห็นตามความเปนจริงวา<br />

เมื่อ<br />

ตากระทบรูป ก็จะเห็นวา สักแตวาเปนแครูปไมใชตัวไมใชตนบุคคล<br />

เราเขา ไมทำใหความรูสึกนึกคิดปรุงแตงใหเกิดความพอใจหรือไม<br />

พอใจเกิดขึ้น<br />

รูปก็จะดับลงอยู<br />

ณ ตรงนั้นเอง<br />

ไมใหไหลเขามาสูภายใน<br />

จิตได อกุศลกรรมทั้งหลายก็จะไมตามเขามา<br />

สติที่เกิดขึ้นขณะปฏิบัติวิปสสนากรรมฐานนั้น<br />

นอกจากจะคอย<br />

สกัดกั้นกิเลสไมใหเขามาทางอายตนะแลว<br />

ยังเพงเล็งอยูที่รูปกับนาม<br />

เมื่อเพงอยูก็จะเห็นความเกิดดับของรูปนามนั้น<br />

จักนำไปสูการเห็น<br />

พระไตรลักษณ คือ ความไมเที่ยง<br />

ความเปนทุกข ความไมมีตัวตน<br />

ของสังขาร หรืออัตภาพอยางแจมแจง<br />

การปฏิบัติวิปสสนากรรมฐานนั้น<br />

จะมีผลมากนอยเพียงใด<br />

อยูที่หลักใหญ<br />

๓ ประการ ๑. อาตาป ทำความเพียรเผากิเลสให<br />

เรารอน ๒. สติมา มีสติ ๓. สัมปชาโน มีสัมปชัญญะ อยูกับรูปนาม<br />

ตลอดเวลาเปนหลักสำคัญ<br />

๘๒ สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ


นอกจากนั้นผูปฏิบัติตองมีศรัทธา<br />

ความเชื่อวาการปฏิบัติเชนนี้<br />

มีผลจริง ความมีศรัทธานี้<br />

เปรียบประดุจเมล็ดพืชที่สมบูรณดีพรอม<br />

ที่จะงอกงามไดทันทีที่นำไปปลูก<br />

ความเพียรประดุจน้ำที่พรมลงไป<br />

ที่เมล็ดพืชนั้น<br />

เมื่อ<br />

เมล็ดพืชไดน้ำพรมลงไป ก็จะงอกงามสมบูรณ<br />

ขึ้นทันที<br />

เพราะฉะนั้น<br />

ผูปฏิบัติจะไดผลมากนอยเพียงใดยอมขึ้นอยูกับ<br />

สิ่งเหลานี้ดวย<br />

การปฏิบัติ ผูปฏิบัติจะตองเปรียบเทียบดูจิตใจของเราใน<br />

ระหวาง ๒ วาระวา กอนที่ยังไมปฏิบัติและหลังการปฏิบัติแลว<br />

วิเคราะหตัวเองวา มีความแตกตางกันประการใด<br />

หมายเหตุ เรื่องของวิปสสนากรรมฐานที่เขียนขึ้นดังตอไปนี้<br />

จะยึดถือเปนตำราไมได ผูเขียนเขียนขึ้น<br />

เปนแนวปฏิบัติเทานั้น<br />

โดย<br />

พยายามเขียนใหงายแกการศึกษา และปฏิบัติมากที่สุดเทาที่จะกระทำ<br />

ไดเทานั้นเอง<br />

จากหนังสือคูมือการฝกอบรมพัฒนาจิต<br />

วัดอัมพวัน อ.พรหมบุรี จ.สิงหบุรี<br />

โดย พ.ท.วิง รอดเฉย ป ๒๕๒๙<br />

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ ๘๓


ธุระในพระศาสนา<br />

ธุระในพระศาสนามี ๒ อยางคือ ๑. คันถธุระ ๒. วิปสสนาธุระ<br />

คันถธุระ ไดแกการศึกษาเลาเรียนใหรูเรื่องพระศาสนา<br />

และหลัก<br />

ศีลธรรม<br />

วิปสสนาธุระ ไดแก ธุระหรืองานอยางสูงในพระศาสนา<br />

ซึ่งเปนงานที่จะชวยใหผูนับถือพระพุทธศาสนาไดรูจักดับทุกข<br />

หรือเปลื้องทุกขออกจากตน<br />

มากนอยตามควรแกการปฏิบัติ ทางนี้<br />

ทางเดียวเทานั้นที่จะทำใหคนพนทุกขตั้งแตทุกขเล็กจนถึงทุกขใหญ<br />

เชน การเกิด แก เจ็บ ตาย และเปนทางปฏิบัติที่มีอยูในศาสนาของ<br />

พระพุทธเจาเทานั้น<br />

วิปสสนาธุระ คือ สวนมากเราเรียกกันวา วิปสสนากรรมฐาน<br />

นั่นเอง<br />

เมื่อกลาวถึงกรรมฐาน<br />

ขอใหผูปฏิบัติแยกกรรมฐานออกเปน<br />

๒ ประเภทเสียกอน การปฏิบัติจึงจะไมปะปนกัน กรรมฐานมี<br />

๒ ประเภท คือ<br />

๑. สมถกรรมฐาน กรรมฐานชนิดนี้เปนอุบายใหใจสงบคือ<br />

ใจที่อบรมในทางสมถแลวจะเกิดนิ่งและเกาะอยูกับอารมณหนึ่งเพียง<br />

อยางเดียว อารมณของสมถกรรมฐานนั้น<br />

แบงออกเปน ๔๐ กอง<br />

คือ กสิณ ๑๐ อสุภ ๑๐ อนุสติ ๑๐ พรหมวิหาร ๔ อาหาเรปฏิกูล<br />

สัญญา ๑ จตุธาตวัฏฐาน ๑ อรูปธรรม ๔<br />

๒. วิปสสนากรรมฐาน เปนอุบายใหเรืองปญญา คือ เกิดปญญา<br />

เห็นแจงหมายความวา เห็นปจจุบัน เห็นรูปนาม เห็นพระไตรลักษณ<br />

และเห็น มรรค ผล นิพพาน<br />

จากหนังสือคูมือการฝกอบรมพัฒนาจิต<br />

วัดอัมพวัน อ.พรหมบุรี จ.สิงหบุรี<br />

โดย พ.ท.วิง รอดเฉย ป ๒๕๒๙<br />

๘๔ สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ


การเรียนรูวิปสสนากรรมฐาน<br />

การเรียนรูวิปสสนากรรมฐานนั้นเรียนได<br />

๒ อยาง คือ<br />

๑. เรียนอันดับ ๒. เรียนสันโดษ<br />

การเรียนอันดับ คือ การเรียนใหรูจักขันธ<br />

๕ วาไดแกอะไร<br />

บาง ยอใหสั้นในทางปฏิบัติ<br />

เหลือเทาใด ไดแกอะไรบาง เกิดที่ไหน<br />

เกิดเมื่อไร<br />

เมื่อเกิดขึ้นแลวอะไรจะเกิดตามมาอีก<br />

จะกำหนดตรงไหน<br />

จึงจะถูกขันธ ๕ เมื่อกำหนดถูกแลวจะไดประโยชนอยางไรบาง<br />

เปนตน นอกจากนี้ก็ตองเรียนใหรูเรื่องในอายตนะ<br />

๑๒ ธาตุ ๑๘<br />

อินทรีย ๒๒ อริยสัจ ๔ ปฏิจจสมุปบาท ๑๒ โดยละเอียดเสียกอน<br />

เรียกวา เรียนภาคปริยัติ วิปสสนาภูมินั่นเอง<br />

แลวจึงจะลงมือปฏิบัติได<br />

การเรียนสันโดษ คือ การเรียนยอ ๆ สั้น<br />

ๆ สอนเฉพาะที่ตอง<br />

ปฏิบัติเทานั้น<br />

เรียนชั่วโมงนี้ก็ปฏิบัติชั่วโมงนี้เลย<br />

เชน สอนการเดิน<br />

จงกรม สอนวิธีนั่งกำหนด<br />

สอนวิธีกำหนดเวทนา สอนวิธีกำหนดจิต<br />

แลวลงมือปฏิบัติเลย<br />

หลักใหญในการปฏิบัติวิปสสนาฯ มีหลักอยู<br />

๓ ประการ คือ<br />

๑. อาตาป ทำความเพียรเผากิเลสใหเรารอน<br />

๒. สติมา มีสติ คือระลึกอยูเสมอวาขณะนี้เราทำอะไร<br />

๓. สัมปชาโน มีสัมปชัญญะ คือขณะทำอะไรอยูนั้นตองรูตัว<br />

อยูตลอดเวลา<br />

จากหนังสือคูมือการฝกอบรมพัฒนาจิต<br />

วัดอัมพวัน อ.พรหมบุรี จ.สิงหบุรี<br />

โดย พ.ท.วิง รอดเฉย ป ๒๕๒๙<br />

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ ๘๕


สติปฏฐาน ๔<br />

มักจะมีคำถามอยูเสมอวา<br />

เราจะปฏิบัติธรรมในแนวไหน หรือ<br />

สำนักใด จึงจะเปนการถูกตองและไดผล คำถามเชนนี้เปนคำถามที่<br />

ถูกตองและไมควรถูกตำหนิวาชอบเลือกนั่นเลือกนี่<br />

ที่ถามก็เพื่อระวังไว<br />

ไมใหเดินทางผิด ทางปฏิบัติที่ถูกตอง<br />

คือ ปฏิบัติตามสติปฏฐาน ๔<br />

สติปฏฐาน ๔ แปลใหเขาใจงาย ๆ ก็คือ ฐานที่ตั้งของสติ<br />

หรือ<br />

เหตุปจจัยสำหรับปลูกสติใหเกิดขึ้นในฐานทั้ง<br />

๔ คือ<br />

๑. กายานุปสสนาสติปฏฐาน คือ การพิจารณากาย จำแนกโดย<br />

ละเอียดมี ๑๔ อยางคือ<br />

๑. อัสสาสะปสสาสะ คือ ลมหายใจเขาออก<br />

๒. อิริยาบถ ๔ ยืน เดิน นั่ง<br />

นอน<br />

๓. อิริยาบถยอย การกาวไปขางหนา ถอยไปทางหลัง คูขาเขา<br />

เหยียดขาออก งอแขนเขา เหยียดแขนออก การถายหนัก ถายเบา<br />

การกิน การดื่ม<br />

การเคี้ยว<br />

ฯลฯ คือ การเคลื่อนไหวรางกายตาง<br />

ๆ<br />

๔. ความเปนปฏิกูลของรางกาย (อาการ ๓๒)<br />

๕. การกำหนดรางกายเปนธาตุ ๔<br />

๖. ปาชา ๙<br />

ที่ตั้ง<br />

๒. เวทนานุปสสนาสติปฏฐาน คือ การเจริญสติเอาเวทนาเปน<br />

เวทนาแปลวา การเสวยอารมณ มี ๓ อยางคือ<br />

๑. สุขเวทนา ๒. ทุกขเวทนา ๓. อุเบกขาเวทนา<br />

๘๖ สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ


เมื่อเวทนาเกิดขึ้น<br />

ก็ใหมีสติสัมปชัญญะกำหนดไปตามความเปน<br />

จริงวา เวทนานี้เมื่อเกิดขึ้น<br />

ตั้งอยู<br />

ดับไป ไมเที่ยงแทแนนอน<br />

เวทนา<br />

ก็สักแตวาเวทนา ไมใชสัตวบุคคล ตัวตนเราเขาไมยินดียินราย ตัณหา<br />

ก็จะไมเกิดขึ้น<br />

และปลอยวางเสียได เวทนานี้เมื่อเจริญใหมาก<br />

ๆ<br />

เปนไปอยางสมบูรณแลว อาจทำใหทุกขเวทนาลดนอยลง หรือไมมี<br />

อาการเลยก็เปนได อยางที่เรียกกันวา<br />

สามารถแยก รูป นาม ออก<br />

จากกันได (เวทนาอยางละเอียดมี ๙ อยาง)<br />

๓. จิตตานุปสสนาสติปฏฐาน ไดแก การปลูกสติโดยเอาจิตเปน<br />

อารมณ หรือเปนฐานที่ตั้งจิตนี้มี<br />

๑๖ คือ<br />

จิตมีราคะ จิตปราศจากราคะ<br />

จิตมีโทสะ จิตปราศจากโทสะ<br />

จิตมีโมหะ จิตปราศจากโมหะ<br />

จิตหดหู<br />

จิตฟุงซาน<br />

จิตยิ่งใหญ<br />

(มหัคคตจิต) จิตไมยิ่งใหญ<br />

(อมหัคคตจิต)<br />

จิตยิ่ง<br />

(สอุตตรจิต) จิตไมยิ่ง<br />

(อนุตตรจิต)<br />

จิตตั้งมั่น<br />

จิตไมตั้งมั่น<br />

จิตหลุดพน จิตไมหลุดพน<br />

การทำวิปสสนา ใหมีสติพิจารณากำหนดใหเห็นวา จิตนี้เมื่อ<br />

เกิดขึ้น<br />

ตั้งอยู<br />

ดับไป ไมเที่ยงแทแนนอน<br />

ละความพอใจและความ<br />

ไมพอใจออกเสียได<br />

๔. ธัมมานุปสสนาสติปฏฐาน คือ มีสติพิจารณาธรรมทั้งหลาย<br />

ทั้งปวง<br />

คือ<br />

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ ๘๗


๔.๑ นิวรณ คือ รูชัดในขณะนั้นวา<br />

นิวรณ ๕ แตละอยางมี<br />

อยูในใจ<br />

หรือไม ที่ยังไมเกิด<br />

เกิดขึ้นไดอยางไร<br />

ที่เกิดขึ้นแลวละเสียได<br />

อยางไร ที่ละไดแลวไมเกิดขึ้นอีกตอไปอยางไร<br />

ใหรูชัดตามความเปน<br />

จริงที่เปนอยูในขณะนั้น<br />

๔.๒ขันธ ๕ คือ กำหนดรูวาขันธ<br />

๕ แตละอยางคืออะไร<br />

เกิดขึ้นไดอยางไร<br />

ดับไปไดอยางไร<br />

๔.๓ อายตนะ คือ รูชัดในอายตนะภายในภายนอกแตละอยาง<br />

รูชัดในสังโยชนที่เกิดขึ้น<br />

เพราะอาศัยอายตนะนั้น<br />

ๆ รูชัดวาสังโยชน<br />

ที่ยังไมเกิด<br />

เกิดขึ้นไดอยางไร<br />

ที่เกิดขึ้นแลวละเสียไดอยางไร<br />

๔.๔ โพชฌงค คือ รูชัดในขณะนั้นวา<br />

โพชฌงค ๗ แตละ<br />

อยางมีอยูในใจตนหรือไม<br />

ที่ยังไมเกิด<br />

เกิดขึ้นไดอยางไร<br />

ที่เกิดขึ้นแลว<br />

เจริญเต็มบริบูรณไดอยางไร<br />

๔.๕ อริยสัจ ๔ คือ รูชัดอริยสัจ<br />

๔ แตละอยางตามความ<br />

เปนจริงวาคืออะไร<br />

สรุป ธัมมานุปสสนาสติปฏฐานนี้<br />

คือ จิต ที่คิดเปน<br />

กุศล อกุศล<br />

และอัพยากฤต เทานั้น<br />

ผูปฏิบัติสติปฏฐาน<br />

๔ ตองทำความเขาใจ<br />

อารมณ ๔ ประการใหถูกตองคือ<br />

๑. กาย ทั่วรางกายนี้ไมมีอะไรสวยงามแมแตสวนเดียว<br />

ควร<br />

ละความพอใจและความไมพอใจออกเสียได<br />

๒. เวทนา สุข ทุกข และไมสุขไมทุกขนั้น<br />

แทจริงแลวมีแต<br />

ทุกข แมเปนสุขก็เพียงปดบังความทุกขไว<br />

๘๘ สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ


๓. จิต คือ ความนึกคิด เปนสิ่งที่เปลี่ยนแปลงแปรผัน<br />

ไมเที่ยง<br />

ไมคงทน<br />

๔. ธรรม คือ อารมณที่เกิดกับจิต<br />

อาศัยเหตุปจจัยเกิดขึ้น<br />

เมื่อเหตุปจจัยดับไป<br />

อารมณนั้นก็ดับไปดวย<br />

ไมมีสิ่งเปนอัตตาใด<br />

ๆ เลย<br />

จากหนังสือคูมือการฝกอบรมพัฒนาจิต<br />

วัดอัมพวัน อ.พรหมบุรี จ.สิงหบุรี<br />

โดย พ.ท.วิง รอดเฉย ป ๒๕๒๙<br />

อานิสงสของการปฏิบัติธรรม<br />

๑. มีวินัยในตัวเอง ๓ ประการคือ<br />

๑ รูจักระวังตัว<br />

๒รูจักควบคุมตัวได<br />

๓รูจักเชื่อฟงผูใหญ<br />

ถาเปนเด็กจะไมเถียงผูใหญ<br />

๒. มีกิจนิสัย ๔ ประการ<br />

๑ ขยัน ไมจับจด รักงาน สูงาน<br />

๒ ประหยัด รูจักใชชีวิตและทรัพยสินอยางถูกตองและคุมคา<br />

๓พัฒนา รูจักพัฒนาตัวเอง<br />

และอาชีพใหดีขึ้น<br />

๔ สามัคคี รักครอบครัว รักหมูคณะ<br />

และรักประเทศชาติ<br />

๓. มีลักษณะนิสัย ๔ ประการ<br />

๑ มีสัมมาคารวะ<br />

๒อุตสาหะพยายาม<br />

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ ๘๙


๓ปฏิบัติตามระเบียบวินัย<br />

๔รูจักเด็ก<br />

รูจักผูใหญ<br />

วางตัวไดเหมาะสม<br />

๔. มีความรูคูกับคุณธรรมเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต<br />

๔ ประการได<br />

๑ รูจักคิด<br />

๒รูจักปรับตัว<br />

๓รูจักแกปญหา<br />

๔มีทักษะในการทำงานและคานิยมที่ดีงามในอนาคต<br />

เจานายทิ้งลูกนองไมได<br />

ลูกนองทิ้งเจานายไมได<br />

เขาหลักที่วา<br />

ผูใหญ<br />

ดึง ผูนอยดัน<br />

คนเสมอกันจะไดอุปถัมภค้ำจุนตอไป<br />

๕. อานิสงสในการเดินจงกรม<br />

๑. อดทนตอการเดินทางไกล<br />

๒. อดทนตอความเพียร<br />

๓. มีอาพาธนอย<br />

๔. ยอยอาหารไดดี<br />

๕. สมาธิที่ไดขณะเดินตั้งอยูไดนาน<br />

(ในปญจกนิบาต<br />

อังคุตตรนิกาย เลม ๓๒)<br />

จากหนังสือกฎแหงกรรมเลมที่<br />

๗ ภาคธรรมบรรยาย-ธรรมปฏิบัติ เรื่อง<br />

คติกรรมฐาน<br />

โดย พระธรรมสิงหบุราจารย<br />

http://www.jarun.org/v6/th/lrule07p0601.html<br />

๙๐ สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ


ประโยชนของการปฏิบัติวิปสสนากรรมฐาน<br />

การปฏิบัติวิปสสนากรรมฐานนั้น<br />

มีประโยชนมากมายเหลือที่<br />

จะนับประมาณได จะยกมาแสดงตามที่ปรากฏอยูในพระไตรปฎก<br />

สักเล็กนอยดังนี้<br />

คือ<br />

สัตตานัง วิสุทธิยา ทำกายวาจาใจ ของสรรพสัตวใหบริสุทธิ์<br />

หมดจด<br />

โสกะปะริเทวานัง สะมะติกกะมายะ ดับความเศราโศก<br />

ปริเทวนาการตาง ๆ<br />

ทุกขะโทมะนัสสานัง อัตถังคะมายะ ดับความทุกขกาย<br />

ดับความทุกขใจ<br />

ญาณัสสะ อะธิคะมายะ เพื่อบรรลุมรรคผล<br />

นิพพานัสสะ สัจฉิกิริยายะ เพื่อทำนิพพานใหแจง<br />

และยังมีอยูอีกมาก<br />

เชน<br />

๑. ชื่อวาเปนผูไมประมาท<br />

๒. ชื่อวาเปนผูไดปองกันภัยในอบายภูมิทั้งสี่<br />

๓. ชื่อวาไดบำเพ็ญไตรสิกขา<br />

๔. ชื่อวาไดเดินทางสายกลาง<br />

คือ มรรค ๘<br />

๕. ชื่อวาไดบูชาพระพุทธเจาดวยการบูชาอยางสูงสุด<br />

๖. ชื่อวาไดบำเพ็ญ<br />

ศีล สมาธิ ปญญา ใหเปนอุปนิสัยปจจัย<br />

ไปในภายหนา<br />

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ ๙๑


๗. ชื่อวาไดปฏิบัติถูกตองตามพระไตรปฎกโดยแทจริง<br />

๘. ชื่อวาเปนผูมีชีวิต<br />

ไมเปลาประโยชนทั้งสาม<br />

๙. ชื่อวาเปนผูเขาถึงพระรัตนตรัย<br />

อยางถูกตอง<br />

๑๐. ชื่อวาไดปฏิบัติเพื่อใหเกิดวิปสสนาญาณ<br />

๑๖<br />

๑๑. ชื่อวาไดสั่งสมอริยทรัพยไวในภายใน<br />

๑๒. ชื่อวาเปนผูมาดีไปดีอยูดีกินดีไมเสียทีที่เกิดมาพบ<br />

พระพุทธศาสนา<br />

๑๓. ชื่อวาไดรักษาอมตมรดกของพระสัมมาสัมพุทธเจาไว<br />

เปนอยางดี<br />

๑๔. ชื่อวาไดชวยกันเผยแผพระพุทธศาสนาใหเจริญรุงเรือง<br />

ยิ่ง<br />

ๆ ขึ้นไปอีก<br />

๑๕. ชื่อวาไดเปนตัวอยางอันดีงามแกอนุชนรุนหลัง<br />

๑๖. ชื่อวาตนเองไดมีธนาคารบุญติดตัวไปทุกฝกาว<br />

จากหนังสือคูมือการฝกอบรมพัฒนาจิต<br />

วัดอัมพวัน อ.พรหมบุรี จ.สิงหบุรี<br />

โดย พ.ท.วิง รอดเฉย ป ๒๕๒๙<br />

๙๒ สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ


สติปฏฐาน ๔ ปดอบายภูมิได<br />

ญาติโยมเอยโปรดไดทราบไวเถอะ บุญกรรม มีจริง บาปกรรม<br />

มีจริง ยมบาลจดไมมี จิตนี้เปนผูจด<br />

จดทุกวัน คืออารมณ เรื่องจริง<br />

แน จดทุกกระเบียดนิ้ว<br />

บาปบุญคุณโทษบันทึกเขาไว พอวิญญาณ<br />

ออกจากรางไป มันก็ขยายออกมาใชกรรมไป ถาเราทําดี ก็ไปบังเกิด<br />

ในสวรรค ทําชั่วก็ลงนรกไปแบบนี้<br />

อาตมามาคิดดูนะวาสวรรคอยูบนฟา<br />

นรกอยูใตดินก็คงไมใช<br />

ดูตัวอยางที่เคยเลาใหญาติโยมฟง<br />

ตาเลงฮวย ผูกคอตาย วิญญาณไปเขายายเภา ยายเภาเปน<br />

คนไทยแท ๆ เกิดพูดภาษาจีนได ตอนนั้นอาตมาอยูวัดพรหมบุรี<br />

มีคนมาตามอาตมาไป พอไปถึง ยายเภาพูดภาษาจีน เลยตองให<br />

เรือไปตามตาแปะเลี่ยงเกี๊ยกไวผมเปย<br />

เปนลุงเขยอาตมาใหมาเปนลาม<br />

เขาบอกไมตองไลเขา เขาอยูกับฮวยเซียเถา<br />

อยูตรงใกลวัดพรหมบุรี<br />

นี่เอง<br />

“ชื่อ<br />

หลวงตามด เคยเปนเจาอาวาสวัดกลางพรหมนคร อยู เหนือ<br />

ตลาดปากบางนี่เอง<br />

อยูดวยกัน<br />

๒ คน ขุดดินถมถนนทุกวัน ถาไม<br />

ขุดดินเขาเฆี่ยนตี<br />

และฮวยเซียเถาก็ขุดดินดวย”<br />

อาตมาไดถามคนเฒาคนแกชื่อ<br />

บัวเฮง อยูตลาดปากบาง<br />

บอกวา<br />

ฮวยเซียเถามีจริง ชื่อสมภารมด<br />

อยูวัดกลางเปนสมภารวัด<br />

จะสราง<br />

ถาวรวัตถุของวัด แตเงินทองถูกมัคทายกโกงไปหมดไมรูจะทําอยางไร<br />

เสียใจเลยผูกคอตาย<br />

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ ๙๓


“อั๊วมาบอกใหลื้อไปบอกหลานสาวอั๊วนะ<br />

วาทําบุญไปใหอั๊วไม<br />

ไดนะ อยาทําเลย”<br />

“แลวกินที่ไหนละ”<br />

“อั๊วกับฮวยเซียเถาไปกินตามกองขยะที่เขาเอาเศษอาหารมาทิ้ง<br />

กินกับหนอน”<br />

“เอา! ที่ดี<br />

ๆ ทําไมไมกินละ”<br />

“ไมมีใครใหกิน มีอีกพวกหนึ่งขุดถนนเหมือนกัน<br />

แตเขามี<br />

ขาวกิน พวกอั๊วไมมีขาวกิน<br />

ตองไปกินที่มันเหลือๆ<br />

จึงจะกินได<br />

ไปบอกหลานสาวอั๊วชื่อ<br />

“เจีย” นะ บอกวาไมตองทำบุญไปอั๊วไมได<br />

ถาลื้ออยากทำบุญใหอั๊วนะ<br />

ฮวยเซียเถามดบอกกับอั๊ว<br />

บอกใหลูกหลาน<br />

เจริญวิปสสนานะ และอั๊วจะได”<br />

อาตมาถามวา “ลื้ออยูวัดไหนละ”<br />

“อั๊วอยูตรงนี้เอง<br />

อั๊วเห็นลื้อทุกวัน<br />

ลื้อเดินไปอั๊วก็ทักลื้อ<br />

วาอีไปไหนนะแตลื้อไมพูดกับอั๊ว”<br />

อาตมาถามวา “ขุดถนนไปไหน” ก็ชี้ที่ตรงนั้น<br />

แตไมเห็นมี<br />

ถนน ก็ไดความวาเราเดินไปตลาดบานเหนือบานใต เขาเห็นเราหมด<br />

เขาทักแตเราไมรูเรื่อง<br />

อาตมาถามตอไปวา<br />

“ลื้อมีความเปนอยูอยางไร”<br />

เขาบอกวา “ถาถึงวันโกนวันพระเขาใหหยุดงาน ที่มานี่เปนวัน<br />

โกนหยุดงานแลว เดี๋ยวอั๊วตองรีบกลับ<br />

เดี๋ยวเขาจับไดเขาตี<br />

อั๊วหนี<br />

มาบอกหนอยเทานั้นเอง”<br />

สรุปไดความวา การที่ฆาตัวตาย<br />

ผูกคอตาย ญาติพี่นองทําบุญ<br />

ใหไมไดผลแน ตองเจริญวิปสสนากรรมฐานแผสวนกุศล จึงจะได<br />

รับผล เพราะผีมาบอกอยางนี้<br />

โยมจะเชื่อหรือไม<br />

ไมเปนไรนะ ก็นึก<br />

๙๔ สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ


วาโยมทําวิปสสนากรรมฐานไปก็จะไดรับผล วาบุญบาปมีจริง นรก<br />

สวรรคมีจริงหรือไมประการใด<br />

วันนี้อาตมาก็ขออนุโมทนาสาธุการ<br />

สวนกุศล ทานทั้งหลายมา<br />

บําเพ็ญกุศล เจริญวิปสสนากรรมฐานใหแกตนเอง โดยเฉพาะอยางยิ่ง<br />

ดวยการเจริญสติปฏฐานสี่<br />

เจริญกาย เวทนา จิต ธรรม ตั้งพิจารณา<br />

โดยปญญา ตลอดกระทั่ง<br />

ยืน เดิน นั่ง<br />

นอน จะคูเขียดเหยียดขา<br />

ทุกประการ ก็มีสติครบ<br />

รับรองไดเลยวา ถาโยมทําถึงขั้น<br />

ปดประตูอบายไดเลย นรก<br />

เปรต อสุรกาย สัตวเดรัจฉาน โยมจะไมไปภูมินั้นอยางแนนอน<br />

เพราะเหตุใด เพราะอํานาจกิเลสทั้งหลาย<br />

โลภะ โทสะ โมหะ<br />

เกิดขึ้นโยมก็กําหนดไดไมมีโลภะ<br />

ขณะมีโลภะก็กําหนดโลภะ<br />

ก็หายไป<br />

จิตวิญญาณตายขณะมีโลภะตายไปเปนเปรต กําลังมีโทสะ<br />

ตายไปขณะนั้นลงนรก<br />

มีโมหะรวบรวมอยูในจิตใจไวมากตองไป<br />

เกิดเปนสัตวเดรัจฉานอยางแนนอน<br />

ถามีสติปฏฐานสี่<br />

มีสติสัมปชัญญะดี อบายภูมิก็ไมตองไป<br />

ปดนรก เปรต อสุรกาย สัตวเดรัจฉานทางอายตนะ ธาตุอินทรีย<br />

ดังที่กลาวมาแลวนี้ทุกประการ<br />

จากหนังสือกฎแหงกรรมเลมที่<br />

๓ ภาคกฎแหงกรรม เรื่อง<br />

สัญญาณมรณะ<br />

http://www.jarun.org/v6/th/lrule03r0301.html<br />

สวดมนต ทำกรรมฐาน ตามแบบหลวงพอจรัญ ๙๕


“ยิ่งใหยิ่งได<br />

ยิ่งหวงยิ่งอด<br />

หมดก็ไมมา<br />

เราไมหวงกัน เราก็ไมอด<br />

หมดก็มาเรื่อย<br />

ๆ”<br />

จากหนังสือกฎแหงกรรมเลม ๖ เรื่อง<br />

เมื่ออาตมาไปอยูกับหลวงปูสด<br />

วัดปากน้ำ<br />

โดย พระธรรมสิงหบุราจารย<br />

http://www.jarun.org/v6/th/lrule06h0501.html<br />

หากทานตองการพิมพหนังสือเลมนี้เพื่อเผยแผเปนธรรมทาน<br />

หรือใชใน<br />

งานบุญ งานพิธีตาง ๆ ทานสามารถสั่งพิมพไดที่<br />

บริษัท รุงเรืองวิริยะพัฒนา<br />

โรงพิมพ จำกัด โดยรายไดสวนหนึ่งจากการพิมพหนังสือเลมนี้จะนำไปสมทบ<br />

จัดสรางการตูนธรรมะชุด “หลวงปูจรัญกับเณรนอยชางคิด”<br />

เพื่อเผยแผชีวประวัติ<br />

และคำสอนของพระเดชพระคุณหลวงพอจรัญตอไป<br />

ขออนุโมทนาและขอขอบคุณทุก ๆ ทาน ที่มีสวนรวมในการจัดทำและ<br />

จัดพิมพหนังสือเลมนี้<br />

คงมิมีคำใดจะประเสริฐกวาคำกลาวอนุโมทนาที่พระเดช<br />

พระคุณหลวงพอทานไดใหไว และไดนอมนำมาใสไวในสวนแรกของหนังสือเลมนี้<br />

ทานสามารถดูรายชื่อผูรวมจัดพิมพหนังสือเลมนี้ไดจาก<br />

http://www.dhammasatta.com<br />

และสั่งพิมพหนังสือไดที่<br />

บริษัท รุงเรืองวิริยะพัฒนาโรงพิมพ<br />

จำกัด รหัสการสั่งพิมพ<br />

“วิริยะ ๔๒๔”<br />

๕๘/๑๘๘ ซ.รามอินทรา ๖๘ ถ.รามอินทรา แขวง/เขต คันนายาว กทม. ๑๐๒๓๐<br />

โทรศัพท ๐-๒๙๑๘-๐๑๙๒ แฟกซ ๐-๒๙๑๗-๙๐๗๒ อีเมลล viriya_999@yahoo.com

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!