08.06.2013 Views

ธรรมะใกล้ตัว

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

ฉบับที่<br />

๑๐๖<br />

๒๘ ต.ค. ๕๓<br />

Free Online Magazine<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

dharma at hand<br />

ธรรมะสำหรับคนยุคใหม่ ที่อยู่ใกล้แค่เอื้อม<br />

http://www.dharmamag.com/


จากใจบ.ก.ใกล้ตัว ๓<br />

ธรรมะจากพระผู้รู้<br />

๗<br />

ไดอารี่หมอดู<br />

๑๑<br />

ดังตฤณวิสัชนา ฉบับเปิดกรุ ๑๕<br />

ธนาคารความสุข ๑๗<br />

• ชีวิต คำาตอบ ข้อสอบ คำาเฉลย<br />

เพื่อนธรรมจารี<br />

๒๑<br />

• มองชีวิตปัจจุบันเพื่อรู้ชีวิตในอดีต<br />

เมจิกมิงค์ มหัศจรรย์เมืองธรรมะ ๒๗<br />

• ตอนที่<br />

๔ สุวรรณสาม<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

dharma at hand<br />

ที่ปรึกษาและผู<br />

้จุดประกาย: ศรันย์ ไมตรีเวช<br />

หัวหน้าบรรณาธิการ<br />

จากใจบ.ก.ใกล้ตัว: เยำวลักษณ์ เกิดปรำโมทย์<br />

ธรรมะจากพระผู ้รู ้: ชนินทร์ อำรีหนู<br />

ไดอารี่หมอดู:<br />

จรินทร์ธร ธนชัยหิรัญศิริ<br />

โหรา (ไม่) คาใจ: จรินทร์ธร ธนชัยหิรัญศิริ<br />

กวีธรรม: ศิรำภรณ์ อภิรัฐ<br />

คาคมชวนคิด: ศิรำภรณ์ อภิรัฐ<br />

สัพเพเหระธรรม: ชนินทร์ อำรีหนู<br />

ธรรมะจากคนสู ้กิเลส: ณัฐธีรำ ปนิทำนเต<br />

ของฝากจากหมอ: พริม ทัพวงศ์<br />

แง่คิดจากหนัง: เกสรำ เติมสินวำณิช<br />

นิยาย/เรื่องสั้นอิงธรรมะ:<br />

จรินทร์ธร<br />

ธนชัยหิรัญศิริ<br />

พาเที่ยว<br />

เอี่ยวธรรม:<br />

เกสรำ เติมสินวำณิช<br />

ธรรมะกับไลฟ์สไตล์: สิทธินันท์ ชนะรัตน์<br />

รูปชวนคิด: รวิษฎำ ดวงมณี<br />

กองบรรณาธิการ: กนกเรขำ กฤษฎำรักษ์<br />

กำนต์พัทธ์ รัชพันธ • กิษรำ รัตนำภิรัต<br />

จรินทร์ธร ธนชัยหิรัญศิริ • ชนินทร์ อำรีหนู<br />

ณัฐชญำ บุญมำนันท์ • ณัฐธีรำ ปนิทำนเต<br />

ณัฐพร สกุลอุทัยศักดิ์<br />

• ปรียำภรณ์ เจริญบุตร<br />

ปิยมงคล โชติกเสถียร • พรำวพรรณรำย<br />

มัลลิกะมำลย์ ทองเลี่ยมนำค<br />

พรหมเนตร สมรักษ์ • พิจิตรำ โตวิวิชญ์<br />

พิทำ จำรุพูนผล • พีรยสถ์ อุบลวัตร<br />

มยุรฉัตร พงษ์ผำตินันท์ • เมธี ตั้งตรงจิตร<br />

เยำวลักษณ์ เกิดปรำโมทย์ • วรำงคณำ บุตรดี<br />

วิบูรณ์ศักดิ์<br />

ใจภักดี • วิมล ถำวรวิภำส<br />

วิมุตติยำ นิวำดังบงกช • ศดำนัน จำรุพูนผล<br />

ศศิธร ศิวะนันทำกรณ์ • ศิรำภรณ์ อภิรัฐ สม<br />

เจตน์ ศฤงคำรรัตนะ • สำริณี สำณะเสน สิทธิ<br />

นันท์ ชนะรัตน์ • สุปรำณี วอง<br />

อนัญญ์อร ยิ่งชล<br />

• อนัญญำ เรืองมำ<br />

อมรำ ตั้งบริบูรณ์รัตน์<br />

• อัจจนำ ผลำนุวัตร<br />

ฝ่ายรวบรวมบทความ: สิทธินันท์ ชนะรัตน์<br />

ฝ่ายสื่อเสียงอ่านนิตยสาร:<br />

อนุสรณ์ ตรีโสภำ<br />

ฝ่ายสื่อเว็บไซต์:<br />

สมเจตน์ ศฤงคำรรัตนะ<br />

ไพลิน ลำยสนิทเสรีกุล • กฤษฎ์ อักษรวงศ์<br />

ฝ่ายสื่อ<br />

Word: พีรยสถ์ อุบลวัตร<br />

ฝ่ายสื่อ<br />

PDF: บุณยศักดิ์<br />

ธีรวงศ์กิจ<br />

เกียรติภูมิ จำรุเสน<br />

ฝ่ายระบบ Send mail: สมเจตน์ ศฤงคำรรัตนะ<br />

ภาพปก: กวิน ฉัตรำนนท์<br />

และทีมงำนอำสำท่ำนอื่นๆ<br />

อีกจำนวนมำก<br />

ท่านสามารถรับนิตยสารฉบับนี ้ได้ ใน<br />

รูปแบบ เสียงอ่าน · Word


อ่านบนเว็บ • ฟังเสียงอ่าน<br />

ร่วมกันช่วยเหลือผู<br />

้ประสบภัยพิบัติ<br />

มือที<br />

่พร้อมจะยื<br />

่นมาช่วยคุณมากที<br />

่สุด<br />

คือมือที<br />

่ปลายแขนของคุณเอง<br />

ส่วนมือที<br />

่คนใกล้จมน<br />

้าต้องการ<br />

คือมือของคนที<br />

่อยู<br />

่บนเรือ<br />

เมื<br />

่ออยู<br />

่ในภาวะปกติ<br />

ต่างคนต่างช่วยเหลือตัวเอง<br />

คือหนทางของความอยู<br />

่รอด<br />

แต่ในยามเกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติ<br />

ต่างคนต่างหยิบยื<br />

่นความช่วยเหลือให้แก่กัน<br />

คือหนทางพ้นจากหายนะไปด้วยกัน<br />

เชื<br />

่อเถอะว่าเมื<br />

่อคนร่วมชาติเดือดร้อน<br />

เป็นหน้าที<br />

่ของคนที<br />

่ยังไม่เดือดร้อน<br />

จะช่วยกันขจัดความเดือดร้อนให้หมดไป<br />

มิฉะนั<br />

้นความเดือดร้อนจะแพร่กระจายลุกลาม<br />

แล้วกลายเป็นความเดือดร้อนไปทุกหย่อมหญ้า<br />

หัวใจที<br />

่ดูดาย<br />

คือหัวใจที<br />

่มีปัญหา<br />

อาจจะหนักเสียกว่าคนเป็นโรคหัวใจ<br />

โลกที<br />

่สร้างขึ<br />

้นจากหัวใจที<br />

่พร้อมจะทางานกุศล<br />

คือโลกที<br />

่พร้อมจะสร้างหัวใจเทวดาขึ<br />

้นในลูกหลาน<br />

ส่วนโลกที<br />

่สร้างขึ<br />

้นจากหัวใจที<br />

่ดูดาย<br />

คือโลกที<br />

่พร้อมจะสร้างหัวใจปีศาจไปทุกหัวมุมถนน<br />

จากใจบ.ก.ใกล้ตัว<br />

3<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong>


4<br />

วาระแห่งชาตินี้สาคัญ<br />

ผมเชื่อว่าผู้อ่าน<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong>ทุกท่านก็เห็นความสาคัญ<br />

จากใจ บ.ก. ใกล้ตัว ฉบับนี้<br />

จึงขอให้ความร่วมมือเท่าที่จะทาได้<br />

โดยการรวบรวมช่องทางช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติหลักๆไว้ให้ครับ<br />

สภากาชาดไทย<br />

รับบริจาคสิ่งของที่สานักงานบรรเทาทุกข์และประชานามัยพิทักษ์<br />

สภากาชาดไทย<br />

๑๘๗๑ ถนนอังรีดูนังต์ เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ ๑๐๓๓๐<br />

ส่วนเงินบริจาคได้โดยโอนเงินเข้าบัญชีออมทรัพย์ ธนาคารไทยพาณิชย์<br />

สาขาสภากาชาดไทย ชื่อบัญชี<br />

‘สภากาชาดไทยช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย’<br />

เลขที่<br />

๐๔๕-๓-๐๔๑๙๐-๖<br />

จากนั้นแฟกซ์ใบนาฝาก<br />

เขียนชื่อที่อยู่มาที่สานักงานการคลัง<br />

สภากาชาดไทย<br />

ถึงหัวหน้าฝ่ายการเงิน หมายเลข ๐๒-๒๕๐-๐๑๒๐ สอบถามรายละเอียดเพิ่ม<br />

เติม ๐๒-๒๕๖-๔๐๖๖-๘<br />

ททบ.๕<br />

รับบริจาคช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย<br />

บัญชี ธ.ทหารไทย<br />

สาขาสนามเป้าออมทรัพย์ เลขที่<br />

๐๒๑-๒-๖๙๔๒๖-๙<br />

ชื่อบัญชี<br />

‘กองทัพบกโดย ททบ.ช่วยภัยน้าท่วม’<br />

หรือที่สถานีศูนย์บริหารงานอุบัติภัย<br />

สถานีโทรทัศน์ ช่อง ๓<br />

ตั้งศูนย์รับบริจาคสิ่งของช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัยน้าท่วม<br />

ได้แก่ อาหาร น้า<br />

เทียน ไม้ขัด ไฟแช็ค ผ้าอนามัย ยากันยุง และยาแก้แมลงสัตว์กัดต่อย<br />

ที่ชั้น<br />

G อาคารมาลีนนท์ ทาวเวอร์ ๒ สามารถร่วมบริจาคได้ทุกวัน<br />

ส่วนเงินสด บริจาคได้ที่<br />

‘บัญชีครอบครัวข่าวช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย<br />

๕๓’<br />

และ บัญชีกระแสรายวัน เลขที่<br />

๐๑๔-๓๐๐-๓๖๘๙ ธนาคารกรุงเทพ<br />

สาขามาลีนนท์<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong>


สานักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย(สปภ.)<br />

เปิดศูนย์รับบริจาคเงินและสิ่งของช่วยเหลือผู้ประสบภัยน้าท่วม<br />

ที่ศาลาว่าการ<br />

กทม. ๑ (เสาชิงช้า) ,ศาลาว่าการ กทม. ๒ (ดินแดง)<br />

และที่สานักงานเขตทั้ง<br />

๕๐ แห่ง<br />

บขส.-ขสมก.<br />

เปิดศูนย์รับบริจาคเครื่องอุปโภค-บริโภค<br />

บริเวณประชาสัมพันธ์ ชั้น<br />

๑<br />

อาคารสถานีขนส่งผู้โดยสารกรุงเทพฯ(จตุจักร)<br />

และสถานีเดินรถ บขส.ทั่วประเทศ<br />

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมที่กองประชาสัมพันธ์<br />

โทร๐-๒๙๓๖-๒๙๙๖<br />

หรือ Call Center ๑๔๙๐ เรียก บขส.<br />

ศูนย์การค้าฟิวเจอร์พาร์ค รังสิต<br />

ศูนย์การค้าฟิวเจอร์พาร์ค รังสิต ร่วมกับ บริษัท ทางยกระดับดอนเมือง จากัด<br />

(โทลล์เวย์) และกองทัพบก ตั้งจุดรับบริจาคสิ่งของเครื่องใช้จาเป็น<br />

เพื่อช่วยเหลือ<br />

ผู้ประสบภัยน้าท่วม<br />

ตั้งแต่วันนี้<br />

เป็นต้นไป ณ บริเวณประตูทางเข้าศูนย์การค้าฯ<br />

ชั้น<br />

บี (ร้านซูกิชิ) ฝั่งโรบินสัน<br />

ค่ายมือถือ ๓ ค่าย คือ เอไอเอส ดีแทคและทรูมูฟ<br />

เชิญร่วมส่ง sms โดยพิมพ์ ข้อความ ‘น้าใจไทย’<br />

หรือ ‘namjaithai’<br />

ส่งไปที่หมายเลข<br />

๔๕๖๗๘๙๙ ค่าบริการครั้งละ<br />

๑๐ บาท<br />

โดยรายได้จากค่าบริการ sms นาช่วยเหลือผู้ประสบภัยน้าท่วมทั้งหมด<br />

ดังตฤณ<br />

ตุลาคม ๕๓<br />

เรื่องน่าสนใจประจาฉบับ<br />

<br />

หากสงสัยว่าจะหมดเวรหมดกรรมกับใครบางคนได้อย่างไร<br />

พบคาตอบจากคอลัมน์ “ดังตฤณวิสัชนา ฉบับเปิดกรุ”<br />

ในตอน “ถูกทาร้ายแต่ไม่โกรธตอบ จะช่วยให้หมดเวรต่อกันได้ไหม”<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

5


6<br />

“คุณ aston๒๗” ชวนไปดูการเฉลยโจทย์ของชีวิต<br />

ในคอลัมน์ “ธนาคารความสุข”<br />

ตอน “ชีวิต คาตอบ ข้อสอบ คาเฉลย”<br />

ใครที่อยากรู้คาตอบ<br />

ห้ามพลาดนะคะ ^__^<br />

คอลัมน์ “ห้องการ์ตูน” ฉบับนี้<br />

อ่านเรื่องราวของผู้ที่เปี่ยมด้วยเมตตาบารมี<br />

ใน “เมจิกมิ้งค์<br />

ตอนที่<br />

๔ สุวรรณสาม (๑/๒)” ค่ะ<br />

ข่าวสารและกิจกรรมที่น่าสนใจ<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

<br />

• ขอเชิญร่วมงานมหากฐิน ถวายหลวงตามหาบัว ญาณสัมปันโน<br />

ณ วัดป่าบ้านตาด จ.อุดรธานี วันเสาร์ ที่<br />

๓๐ ตุลาคม ๒๕๕๓ เวลา<br />

๐๖.๐๐ น.<br />

สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่นี่ค่ะhttp://www.luangta.com/info/<br />

news_text.php?cginews_id=๓๔๓<br />

• ขณะนี้หลายๆพื้นที่ยังคงประสบปัญหาอุทกภัย<br />

และต้องการความช่วยเหลืออย่างเร่งด่วน<br />

เพื่อนๆสามารถติดตามข่าวสาร<br />

และช่องทางการช่วยเหลือ<br />

ได้ที่เวบไซต์<br />

http://thaiflood.com ค่ะ<br />

พบกันใหม่พฤหัสหน้า<br />

ที่<br />

www.dlitemag.com นะคะ<br />

สวัสดีค่ะ (^_^)<br />

<br />

สารบัญ


ธรรมะจากพระผู้รู้<br />

อ่านบนเว็บ • ฟังเสียงอ่าน<br />

พระอาจารย์ปราโมทย์ ปาโมชฺโช<br />

ถาม – เมื่อแยกได้รูปธรรมนามธรรมแล้ว<br />

ควรจะดูอย่างไรต่อไปดีคะ<br />

พอเราแยกได้รูปธรรมนามธรรมคนละอันกัน ต่อไปเราฝึกต่อไปอีก<br />

นั่งให้นานขึ้นหน่อย<br />

พอนั่งนานขึ้นมันเจ็บมันปวดขึ้นมา<br />

อดทนนิดนึงนะลองดู ให้มันเจ็บมันปวดขึ้นมาบ้าง<br />

แล้วก็ดูลงไป<br />

ความเจ็บปวดเกิดขึ้นที่ร่างกายแต่ไม่ใช่ร่างกายหรอก<br />

ร่างกายมันตั้งอยู่ก่อน<br />

ความเจ็บปวดมาทีหลัง<br />

เราจะเห็นเลยว่าความเจ็บปวดที่เข้ามาในร่างกายไม่ใช่ร่างกายหรอก<br />

เป็นสิ่งที่จิตไปรู้เข้าด้วยซ้าไป<br />

เป็นสิ่งที่จิตไปรู้เข้า<br />

ไม่ใช่ร่างกาย ไม่ใช่จิต<br />

เนี่ย<br />

ค่อยฝึกต่อไปอีก พอมันปวดมากๆ อย่าพึ่งขยับ<br />

ปวดมากๆ แล้วก็อยากขยับ อยากเปลี่ยนอิริยาบถ<br />

อย่าพึ่งเปลี่ยน<br />

ให้รู้ทันใจที่อยากเปลี่ยนอิริยาบถก่อน<br />

ความอยากเปลี่ยนอิริยาบถเกิดขึ้นที่ใจ<br />

เกิดขึ้นที่จิตใจ<br />

ความเจ็บปวดเกิดที่ขา<br />

ความอยากเปลี่ยนอิริยาบถมาเกิดที่ใจ<br />

เพราะฉะนั้นความอยากเปลี่ยนอิริยาบถกับความเจ็บปวดคนละอันกัน<br />

แล้วความอยากเปลี่ยนอิริยาบถก็ไม่ใช่ขาด้วย<br />

ใช่ไหม เป็นสิ่งที่จิตไปรู้เข้าด้วย<br />

พวกเราค่อยฝึกแบบนี้นะ<br />

ในที่สุดเราก็จะเห็นเลย<br />

ความอยากที่เกิดขึ้นเป็นอีกสิ่งหนึ่ง<br />

เป็นอีกขันธ์หนึ่ง<br />

ไม่ใช่รูปขันธ์ ไม่ใช่เวทนาขันธ์ ไม่ใช่วิญญาณขันธ์ คือไม่ใช่จิต เป็นขันธ์อีกต่างหาก<br />

พอเราหัดแยกขันธ์ได้แล้ว เราคอยรู้คอยดูไป<br />

บางครั้งสติมันไปเห็นร่างกายมันก็จะรู้สึกว่าร่างกายไม่ใช่ตัวเรา<br />

เวลาสติระลึกรู้เวทนา<br />

คือความรู้สึกสุขทุกข์ที่เกิดขึ้นในกาย<br />

หรือความรู้สึกสุขรู้สึกทุกข์รู้สึกเฉยๆ<br />

ที่เกิดขึ้นในใจ<br />

ก็จะเห็นว่าความรู้สึกสุขทุกข์<br />

ความรู้สึกสุขทุกข์และเฉยๆ<br />

เนี่ย<br />

ไม่ใช่กาย ไม่ใช่ใจ<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

7


8<br />

เป็นอีกอย่างหนึ่ง<br />

เป็นอีกขันธ์หนึ่ง<br />

เนี่ย<br />

เฝ้ารู้เฝ้าดูเรื่อยนะ<br />

ไม่ใช่คน ไม่ใช่สัตว์ ไม่ใช่เรา ไม่ใช่เขา ดูไปเรื่อย<br />

ใหม่ๆ อาจจะต้องช่วยมันคิดนะ ว่าไม่ใช่คน ไม่ใช่สัตว์ ไม่ใช่เรา ไม่ใช่เขา<br />

แต่บางคนไม่ต้องช่วยคิดเลย บางคนที่เคยอบรมอินทรีย์แก่กล้า<br />

เคยฝึกเจริญปัญญามาแต่ชาติก่อน แค่จิตสงบ จิตตั้งมั่น<br />

ก็เห็นขันธ์แยกออกไปแล้ว<br />

ขันธ์แต่ละขันธ์ไม่ใช่ตัวเราแล้ว เราค่อยฝึกของเราไปเรื่อย<br />

ความสุขเกิดขึ้นก็รู้ทัน<br />

ความทุกข์เกิดขึ้นก็รู้ทัน<br />

ความโลภ ความโกรธ ความหลงเกิดขึ้นที่ใจก็คอยรู้ทัน<br />

ก็จะเห็นเลย ความโลภไม่ใช่คน ไม่ใช่เราด้วย ไม่ใช่สัตว์ด้วย<br />

ความโกรธไม่ใช่คน ไม่ใช่สัตว์ ไม่ใช่เราด้วย ใจฟุ้งซ่าน<br />

ความฟุ้งซ่านไม่ใช่คน<br />

ไม่ใช่สัตว์ เราเฝ้ารู้<br />

เฝ้าดูลงไปในขันธ์ห้านี่แหละ<br />

ศาลากาญจนาภิเษกอนุสรณ์<br />

วันอาทิตย์ที่<br />

๑๕ สิงหาคม ๒๕๕๓<br />

ถาม – เราควรใช้เวลาในชีวิตอย่างไรให้คุ้มค่าที่สุดครับ<br />

ชีวิตคนเรามีเวลาจากัดมาก เอาเวลาไปยุ่งกับอกุศลทั้งหมดก็แย่แล้ว<br />

ใช้เวลาที่จากัดนี้แหละมาพัฒนาจิตใจตนเองให้ดีให้ได้<br />

ไหนๆก็เจอศาสนาพุทธทั้งทีแล้ว<br />

โอกาสเจอยากมากนะ<br />

ใครระลึกชาติได้จะรู้เลยว่าชาติไหนไม่มีพระพุทธศาสนานะ<br />

วังเวง<br />

ไม่ชั่วนะ<br />

ชั่วไม่ชั่วถึงมีศาสนาพุทธก็ชั่วได้ถ้ามันจะชั่ว<br />

แต่คนที่เป็นชาวพุทธในสายเลือดอย่างพวกเราเนี่ย<br />

สนใจในเรื่องศีล<br />

สมาธิ ปัญญา<br />

ชาติที่ไม่ได้เจอพระพุทธศาสนานะ<br />

ในใจลึกๆมันจะวังเวง รู้สึกชีวิตไม่มีเป้าหมาย<br />

เวลาพวกเรายังไม่ได้เจอศาสนาพุทธรู้สึกไหม<br />

เราก็ไม่รู้ว่าเป้าหมายชีวิตเป็นอย่างไร<br />

ไม่ต้องชาติไหนหรอก ชาตินี้แหละ<br />

ตอนเด็กๆ ตอนวัยรุ่น<br />

ตอนที่เรายังไม่รู้เป้าหมายของชีวิต<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong>


เราไม่รู้ว่าเราทาอะไร<br />

อยู่เพื่ออะไร<br />

ทาเพื่ออะไร<br />

ก็ทาตามๆกันไป<br />

เค้าเรียนหนังสือก็เรียนตามเค้าไปนะ เรียนให้มากๆ ไว้ก่อน<br />

เรียนไปทาอะไรก็ยังไม่รู้เลย<br />

เค้ามีงานทาก็ทาตามเค้าไป<br />

เค้ามีครอบครัวก็มีตามเค้าไป มีไปเรื่อย<br />

ไม่มีลูกก็ไปบนบานให้มีลูก สมัยโบราณนะ<br />

สมัยนี้ต้องไปหาหมอ<br />

ให้มีลูก ก็คนอื่นมีก็มีตามเค้าไป<br />

เนี่ยชีวิตมันไม่มีทิศทางที่ชัดเจน<br />

มันตามๆคนอื่นตลอดเวลาเลย<br />

แต่พอเรารู้จักพระพุทธศาสนาแล้ว<br />

เรารู้ว่าชีวิตเรามีเป้าหมาย<br />

ไม่ใช่ชีวิตที่เลื่อนๆ<br />

ลอยๆ แล้ว เรามีงานใหญ่ที่จะต้องทา<br />

คืองานพัฒนาจิตวิญญาณของตัวเองให้สูงขึ้นไปให้ได้<br />

ยกระดับขึ้นไปเรื่อยๆ<br />

จนวันหนึ่งมันพ้นจากโลกนะ<br />

อยู่กับโลกแหละ<br />

แต่โลกไม่สัมผัสมัน<br />

ร่างกายจิตใจเราก็จะอยู่ในโลกนี้แหละ<br />

แต่มันอยู่เหมือนดอกบัว<br />

อยู่ในน้าไม่เปียกน้า<br />

อยู่ในโคลนก็ไม่เปื้อนโคลน<br />

จิตมันจะอยู่อย่างนั้น<br />

เนี่ยจิตวิญญาณที่มันพัฒนาแล้ว<br />

เรารู้ว่างานนี้เป็นงานใหญ่นะ<br />

งานนี้เป็นงานหลัก<br />

ส่วนงานอื่นๆ<br />

นั้นเป็นงานสนับสนุน<br />

เป็นงานรอง เพื่อให้เรามีชีวิตอยู<br />

่ในโลกได้เท่านั้น<br />

แต่เรามีชีวิตอยู่ในโลกเพื่ออะไร<br />

เพื่อพัฒนาจิตวิญญาณของตนเองให้สูงขึ้นไป<br />

นี้งานหลักนะ<br />

งานสนับสนุน งานรอง เช่นไปเรียนหนังสือ ไปทางาน ไปหาเงิน<br />

ไปอยู่ไปกินอะไรต่ออะไรเนี่ย<br />

เพื่อให้มีชีวิตอยู่ได้<br />

แต่มีชีวิตอยู่เพื่ออะไร<br />

เพื่อพัฒนาจิตวิญญาณให้สูงขึ้นไป<br />

เรื่องอะไรต้องอยู่อย่างสัตว์เดรัจฉาน<br />

อย่างอยู ่มาหาผัวหาเมียหาสามีภรรยา หมามันก็หาเป็น ไม่เห็นจะอัศจรรย์ตรงไหนเลย<br />

แย่งอานาจหมาแย่งไหม แย่งนะ แย่งกัดกันนัวเนียเลย กูต้องใหญ่<br />

เพราะกูใหญ่แล้วกูได้ผลประโยชน์ ได้ครองสาวๆ ทุกตัว<br />

เพราะฉะนั้นไม่อัศจรรย์เลย<br />

อยู่อย่างนั้นสัตว์เดรัจฉานก็ทาเป็น<br />

หาผลประโยชน์ หาอาหาร หาอานาจ<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

9


10<br />

แต่ที่จะพัฒนาจิตวิญญาณขึ้นมาได้จริงๆ<br />

ต้องเป็นมนุษย์นะ มนุษย์ขึ้นไป<br />

พวกเรามีโอกาสแล้ว หาทางพัฒนาจิตวิญญาณตัวเอง<br />

อะไรที่เลวๆ<br />

เอาออกไปนะ อะไรที่ดีที่ยังไม่ได้ทาก็ทาขึ้นมา<br />

สานักสงฆ์สวนสันติธรรม<br />

วันอาทิตย์ที่<br />

๖ มิถุนายน ๒๕๕๓<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

สารบัญ


ไดอารี่หมอดู<br />

อ่านบนเว็บ • ฟังเสียงอ่าน<br />

ไดอารี่หมอดูประจาฉบับที่<br />

๑๐๖<br />

โดย หมอพีร์<br />

ตุลาคม ๒๕๕๓<br />

สวัสดีค่ะทุกคนที่อ่านไดอารี่หมอดู<br />

ช่วงนี้มีข่าวว่าหลายที่ประสบปัญหาน้าท่วมกัน<br />

เยอะ วันหนึ่งลูกชายเดินมาบอกว่าทาบุญช่วยคนน้าท่วมไปห้าสิบบาทนะครับแม่<br />

มาบอกบุญให้คุณแม่อนุโมทนากับเขาค่ะ หลายที่ต่างก็ร่วมแรงร่วมใจกันช่วยเหลือ<br />

คนที่เดือดร้อน<br />

เห็นแล้วน่าปลื้มใจนะคะ<br />

พีร์ก็ได้ร่วมทาบุญไปเหมือนกันค่ะ<br />

สาหรับอาทิตย์นี้มีลูกค้าเก่ากลับมาดูดวงกันค่อนข้างเยอะเหมือนกันค่ะ<br />

มีพี่คนหนึ่ง<br />

เธอเป็นพยาบาล ครั้งแรกที่มาเธอจะค่อนข้างคิดมาก<br />

ฟุ้งซ่านง่าย<br />

หงุดหงิดง่าย<br />

ขี้เหงา<br />

ขี้น้อยใจ<br />

จิตใจซึมเศร้าง่าย ชีวิตทุกข์ในความรักค่อนข้างเยอะ แต่วันนี้<br />

เธอกลับมา ใจมีภาพลักษณ์ที่ดีมาก<br />

หน้าตาเธอสวยขึ้นอย่างเห็นได้ชัด<br />

หน้าตาคม<br />

ไม่ค่อยเหงาเศร้าเหมือนเมื่อก่อน<br />

จิตใจมีความสุขได้จากตัวเอง วันนี้เธอพาสามีมา<br />

ดูดวง เธอบอกว่าหลังจากนั้นเธอตั้งใจทาบุญด้วยตัวเอง<br />

ปฏิบัติธรรม อ่านหนังสือ<br />

ธรรมะมาเรื่อย<br />

ๆ ทาให้จิตใจเธอมีความสุขมากขึ้น<br />

หลังจากนั้นก็ได้มีโอกาสเจอ<br />

ผู้ชายคนนี้<br />

และตัดสินใจแต่งงานไปแล้ว เลยพามาดูดวงค่ะ<br />

มองหน้าเธอทาให้รู้สึกอยากยิ้มขึ้นมาตลอด<br />

เพราะใบหน้าเธองามขึ้นทาให้น่ามอง<br />

และรู้สึกถึงจิตใจที่เธอมีความสุขได้จากตัวเองทาให้รู้สึกปลื้มจริง<br />

ๆ ค่ะ<br />

จิตใจที่มีความสุขจากตัวเอง<br />

จะเป็นเหมือนแม่เหล็กดึงดูดคนอื่นให้อยากอยู่ใกล้โดย<br />

ไม่อยากจากไปไหน จิตใจที่มีแต่ความเหงาความเศร้าความว้าเหว่มาก<br />

ๆ ทาให้แค่<br />

นึกถึงก็เกิดความรู้สึกเบื่อหน่ายไม่อยากอยู่ใกล้<br />

ไม่อยากโทรหา ไม่อยากจะเจอ<br />

จิตใจที่มีความสุขนั้นเพื่อนอยากอยู่ใกล้<br />

มีเสน่ห์สาหรับคนรอบข้าง ความสุขที่<br />

เกิดจากใจทาให้เกิดความสบาย ความโล่ง โปร่งเบา ผ่อนคลาย สามารถดึงดูด<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

11


12<br />

ให้ใครต่อใครอยากคบหา วันหนึ่งต้องเป็นแม่คน<br />

จะเลี้ยงลูกให้มีความสุขความ<br />

ร่มเย็นตามมาได้ไม่ยาก<br />

มีอาทิตย์ที่ผ่านมามีพี่คนหนึ่งมาดูดวงกับเพื่อน<br />

จิตใจตัวเธอเองค่อนข้างมีความสุขดี<br />

เพราะเธอขยันทาบุญ สนใจศึกษาเรื่องการปฏิบัติธรรม<br />

ส่วนเพื่อนเธอไม่ค่อยสนใจ<br />

เรื่องเหล่านี้<br />

ทาไปเหมือนถูกบังคับไม่มีจิตใจคิดจะริเริ่มทาบุญอะไรด้วยตัวเอง<br />

เพราะส่วนใหญ่ชีวิตไม่ค่อยลาบากอะไร เกิดในบ้านที่ค่อนข้างมีฐานะ<br />

ทาให้ไม่ต้อง<br />

ทางานก็อยู่ได้สบายมาก<br />

ๆ แต่เธอเองค่อนข้างขาดอยู่อย่างหนึ่งคือความรัก<br />

เธอโดนสามีนอกใจต้องเลี้ยงลูกเองสองคน<br />

ผู้หญิงคนหนึ่งกับผู้ชายคนหนึ่ง<br />

เมื่อโดนกรรมเรื่องความรักเล่นงานที่จิตใจ<br />

ความเหงาความเศร้าความว้าเหว่ใน<br />

ความรักที่มีนั้น<br />

ทาให้เธอพลาดทากรรมกับลูกของเธอโดยไม่รู้ตัว<br />

เธอจะเข้ากับ<br />

ลูกผู้ชายได้ดีมาก<br />

ส่วนเธอจะไม่ถูกชะตากับลูกผู้หญิงเลย<br />

เธอพลาดไม่เอาใจใส่ลูก<br />

ผลักไสลูกให้ไปอยู่ไกลจากเธอ<br />

พูดจาไม่ดีกับลูกผู้หญิง<br />

แสดงพฤติกรรมที่ไม่เอาลูก<br />

ผู้หญิงจนทาให้ลูกรู้สึกได้เลยว่าแม่ไม่รักเขา<br />

รักแต่พี่ชายอย่างเดียว<br />

เธอบอกว่าอยู่<br />

กับลูกชายแล้วมีความสุขมาก อยู่กับลูกสาวต้องทะเลาะขัดแย้งเถียงกันตลอด<br />

ซึ่งตอนนั้นก็ขอดวงลูกสาวมาคานวณดู<br />

ดวงลูกสาวออกมาแม่อริมรณะ เกิดมาจะ<br />

มีความเห็นไม่ตรงกับแม่ มีเหตุการณ์ที่ต้องให้ทะเลาะกันตลอด<br />

ชีวิตต้องมารับรู้ว่า<br />

แม่ไม่รักตัวเอง ซึ่งมันก็เป็นวิบากที่น้องเขาทามาในฐานะที่เคยเป็นแม่คนที่เลี้ยงลูก<br />

โดยความลาเอียงมาก่อน และทาให้ลูกเกิดความช้าใจ<br />

ผลของกรรมจึงทาให้ต้อง<br />

เกิดในบ้านที่มีแม่ที่ต้องทาให้เธอเจ็บปวดจิตใจ<br />

เกิดความทรมานที่ต้องเห็นแม่แสดง<br />

พฤติกรรมที่ไม่เอาเธอ<br />

บอกพี่เขาไปว่าที่มันเป็นนี้เพราะพี่เป็นผู้หญิงเหมือนกับเขา<br />

สภาวะเพศหญิงเป็น<br />

สภาวะที่ถูกสร้างโดยอารมณ์<br />

จะแปรปรวนเปลี่ยนแปลงง่าย<br />

มีลักษณะเป็นธาตุลม<br />

กับน้า<br />

ส่วนสภาวะเพศชายเป็นเหตุและผลมีลักษณะเป็นธาตุไฟกับดิน ดังนั้นเมื่อ<br />

จิตใจของพี่เขาขาดความอบอุ่นจากสามี<br />

การมีลูกชายเลยทาให้ชีวิตเหมือนมีความ<br />

สุขและอบอุ่นมาเติมเต็มสิ่งที่ขาดไปในชีวิตของเธอ<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong>


ก็บอกเธอไปว่าพี่ไม่ควรทากรรมกับลูกสาวนะสงสารเขา<br />

ควรที่จะให้ความรักเขาบ้าง<br />

โดยการกอดโดยการพูดดี ๆ พี่เขาตอบกลับอย่างเสียงแข็งว่าไม่ได้<br />

พี่ทาไม่ได้จริง<br />

ๆ<br />

พี่คิดว่าทาไมเขาไม่อยู่กับพ่อเขา<br />

พี่ไม่อยากได้เขามาเพราะมันทาให้พี่ทุกข์<br />

ก็บอก<br />

เขาไปว่าพี่เป็นแม่ความเป็นแม่ไม่สามารถเลือกได้ว่าเอาหรือไม่เอาลูก<br />

พี่ไม่ควร<br />

ทาบาปในปัจจุบัน สิ่งที่ควรทาในตอนนี้คือ<br />

มีจิตใจที่มีความสุขจากตัวเองให้ได้<br />

โดยที่ไม่ต้องพึ่งพาความสุขจากลูกชาย<br />

เพราะวันหนึ่งถ้าเขาต้องแต่งงานไปจะมี<br />

ปัญหากับชีวิตง่ายมาก คือจะเกิดอาการเรียกร้องความรักจากลูกชาย มีปัญหาแม่<br />

สามีลูกสะใภ้อีกแน่ ๆ<br />

สิ่งแรกคือหัดทาบุญด้วยตัวเอง<br />

โดยไม่ให้เพื่อนมาชวน<br />

ให้คิดทาด้วยตัวเองทุก<br />

อาทิตย์ก่อน จัดของเตรียมของเอง ซี้อของเอง<br />

ไม่ถามใครว่าใส่อะไรลงไปบ้าง<br />

พอทาเสร็จให้อธิษฐานลงไปด้วยว่า ขอให้อานิสงส์ของการที่ได้มาทาบุญด้วยตัวเอง<br />

ในครั้งนี้<br />

เป็นผลให้จิตใจมีความสุขจากตัวเองโดยไม่ต้องพึ่งพาใครเถิด<br />

(ถ้าใครอยากรู้รายละเอียดเพิ่มไปหาจากหนังสือ<br />

เตรียมสเบียงไว้เลี้ยงตัวเล่มสิบ<br />

หัวข้อ ทาบุญให้เป็นตัวของตัวเอง http://dungtrin.com/mag/?1.prepare)<br />

ถ้าทาจริงได้ผลค่อนข้างเร็วมากค่ะ สามเดือนก็เห็นผลแล้ว<br />

ได้บอกพี่เขาไปอีกว่า<br />

อย่าทาให้มันเกิดเรื่องใหญ่ไปมากกว่านี้สาหรับเด็กเลยค่ะ<br />

ดวงน้องผู้หญิงค่อนข้างเป็นเด็กดีตั้งใจเรียน<br />

ไม่คบเพื่อนไม่ดีที่จะทาให้พ่อแม่เสียใจ<br />

เป็นเด็กขยันใฝ่ดีด้วยซ้า<br />

ลูกเป็นคนน่ารักมากเลยนะ เพื่อนที่พามาบอกว่าสงสัย<br />

คงช้าแล้วค่ะน้องพีร์ ทุกวันนี้แม่ลูกไม่คุยกันแล้ว<br />

ลูกสาวเขาน่ารักจริงแต่เพื่อนพี่นี่<br />

แหละค่ะที่มีปัญหา<br />

ความจริงพ่อแม่อาจจะรักลูกไม่เท่ากันก็จริง แต่ไม่ควรแสดงออกให้เขาเห็นว่าเรา<br />

ปฏิเสธเขา ทาลายเขา หรือผลักไสไล่ส่งเขา มีพี่คนหนึ่งเคยพูดกับพีร์ว่า<br />

พี่ไม่เชื่อหรอกค่ะ<br />

ว่าพ่อแม่ทุกคนรักลูกเท่ากัน ซึ่งความเป็นจริงน่าจะใช้ได้กับ<br />

บางครอบครัวค่ะ บางครอบครัวอาจจะไม่เป็น คนไหนเคยทาให้ลูกเสียน้าใจมา<br />

ก่อน ผลของกรรมย่อมส่งให้มาเกิดกับพ่อแม่ที่ทาให้ตัวเองเสียใจ<br />

ส่วนคนไหน<br />

เคยให้ความยุติธรรมและแสดงความรักกับลูกเสมอกันย่อมทาให้เกิดในครอบครัวที่<br />

อบอุ่นเป็นธรรมดา<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

13


14<br />

บางทีไม่ต้องไปดูกันชาติที่แล้วหรอกค่ะ<br />

พ่อแม่บางคนลาเอียงกันให้เห็นในชาตินี้<br />

พีร์แนะนาไม่ให้พี่เขาทากรรมเพิ่มขึ้นมา<br />

จะได้ไม่ต้องทากรรมทางวิญญาณไปมาก<br />

กว่านี้<br />

เพราะเกิดมาใหม่ถ้าต้องเจอพ่อแม่ที่ทาแบบนี้กับตัวเอง<br />

ก็จะเกิดความ<br />

เจ็บปวดแสนสาหัส ทรมานเหมือนที่เคยทาไว้นั่นเอง<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

<br />

รายการวิทยุออนไลน์ “คุ้ยแคะแกะกรรมกับหมอพีร์”<br />

ขอเชิญชวนคุณผู้อ่าน<br />

แวะไปร่วมฟังหมอพีร์พูดคุยและคุ้ยแคะแกะกรรม<br />

ในบรรยากาศสบาย ๆ ที่<br />

www.goodfamilychannel.com นะคะ<br />

ท่านที่สนใจพูดคุยกับหมอพีร์ในรายการ<br />

ส่งคาถามมาได้ที่<br />

diarymordo@hotmail.com นะคะ<br />

หรือติดต่อดูดวงกับหมอพีร์ได้ที่<br />

mor-phee@hotmail.com<br />

๐๘๗-๙๓๔-๗๘๗๑ และ ๐๘๖-๓๐๔-๑๙๒๔<br />

๓๗๙๘/๘๓ หมู่บ้านสรานนท์<br />

ซอยลาดพร้าว ๑๐๑<br />

ถ.ลาดพร้าว แขวงคลองจั่น<br />

เขตบางกะปิ<br />

กรุงเทพมหานคร<br />

สารบัญ


ดังตฤณวิสัชนา ฉบับเปิดกรุ<br />

อ่านบนเว็บ • ฟังเสียงอ่าน<br />

ถาม - กรรมอะไรที่ส่งให้คนที่ไม่เคยรู้จักกันมาก่อน<br />

สามารถทาร้ายเราได้ด้วย<br />

ความก้าวร้าวจากการพูดจาไม่เข้าหูกัน และการที่เราไม่โต้ตอบเลย<br />

ทั้งไม่มี<br />

ความโกรธขึ้งต่อเขา<br />

จะช่วยล้างเวรกรรมที่เคยมีต่อกันหมดหรือไม่<br />

หรือยังอาจ<br />

มีเรื่องมีราวต่อกันได้อีกคะ<br />

หากโดนประจา ก็สะท้อนได้อย่างหนึ่ง<br />

ว่าเราเคยทากรรมประเภทหาเรื่องชาวบ้านแบบไม่มีเหตุผลไว้มาก<br />

หากชาตินี้เรานิ่งอภัยอย่างมีเหตุผล<br />

มีสติที่กอปรด้วยเมตตา<br />

จนกระทั่งกลายเป็นนิสัยใหม่อย่างมั่นคง<br />

ก็จะเป็นการเอาตัวเองหลุดออกจากวงจรชนิดนี้ที่ชาวโลกเขาเจอกันเสียได้<br />

ถ้าหากเป็นอดีตกรรมที่ผูกกันมาจริง<br />

ก็ต้องทั้งสองฝ่ายต่างคิดอภัยไม่เคืองกันต่อ<br />

สายโซ่ของเวรถึงจะถูกตัดขาดครับ<br />

โดยมากจะเป็นพวกที่ต้องติดต่อรู้จักกันนานๆ<br />

ไม่ใช่ประเดี๋ยวประด๋าว<br />

แต่หากเป็นกรณีที่เขาคือเครื่องมือของวิบาก<br />

พบ เจอเราทีเดียว ไม่ต้องมีความสัมพันธ์ต่อกันอีก<br />

อย่างนี้ถ้าเราอภัยไม่คิดโกรธเสียได้<br />

เราก็อาจหมดกรรมตรงนั้นไป<br />

หรือถึงไม่หมดสนิทก็เบาบางลงมาก<br />

สรุปก็ตรงที่ให้อภัยเป็นทานนั่นแหละครับ<br />

สูตรสาเร็จครอบจักรวาล<br />

แต่หากจาเป็นต้องเจอกันอีกเรื่อยๆ<br />

ก็อาจจาเป็นต้องคิดหาวิธีทาอะไรให้ดีขึ้น<br />

การพยายามใช้น้าเย็นเข้าลูบ<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

15


16<br />

หรือการแสดงสีหน้าและน้าเสียงเมตตาอย่างมีสติ<br />

เมตตาโดยไม่ใช้สายตาดูถูกเขา<br />

ก็อาจเป็นนโยบายหนึ่งที่ดีที่จะแก้ปัญหาระยะยาวครับ<br />

เพราะความพยาบาทอันมืด<br />

มักทนกาลังความสว่างของเมตตาอย่างมีสติปัญญาประกอบไม่ได้<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

สารบัญ


ธนาคารความสุข<br />

อ่านบนเว็บ • ฟังเสียงอ่าน<br />

ชีวิต คาตอบ ข้อสอบ คาเฉลย<br />

โดย aston27<br />

ภำพประกอบโดยคุณ SevenDaffodils<br />

คุณผู้อ่านเรียนเก่งไหมครับ?<br />

สมัยเด็กๆ ผมไม่ใช่เด็กเรียนเก่งระดับอัจฉริยะอะไรหรอกครับ เพราะผมหัวดีแต่ขี้เกียจ<br />

ไปเจอวิชาที่ต้องท้าสมองลองปัญญาอย่างวิชาคณิตศาสตร์<br />

ผมก็ปาดเหงื่อแล้วปาดอีก<br />

ผมเชื่อว่านักเรียนทั่วไปโดยเฉลี่ย<br />

มีความถนัดในแต่ละวิชาไม่เท่ากัน<br />

ไอ้ประเภทเรียนดี ๒๔ ชม. ได้เกรด ๔ ทุกวิชา ที่<br />

๑ ประเทศไทย<br />

ชนิดไอน์สไตน์เรียกพี่<br />

เห็นจะมีไม่เกินหยิบมือ<br />

บางคนชอบคณิต เพราะชอบคานวณ บางคนชอบวรรณคดี เพราะมีใจรักหนังสือ<br />

บางคนชอบพละ เพราะชอบเตะตะกร้อ ชนิดถ้าไปขอให้เลิกเล่น เห็นจะได้เตะ<br />

ปากกันแทน<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

17


18<br />

บางคนเห็นเลขเป็นหงายหลัง เห็นอังกฤษสู้ตาย<br />

บางคนเก่งมันทุกวิชา แต่ตกอยู่<br />

วิชาเดียว คือ...<br />

...วิชาพละ - -” มีนะอย่าได้ขาไปเชียว<br />

ถึงจะหัวดีพอสัณฐานประมาณหนึ่ง<br />

ผมก็ยังทะลึ่งอยากไปเรียนกวดวิชา<br />

ไม่ใช่เพราะว่ารักเรียนอะไรมากหรอก เพราะอยากไปนั่งใกล้สาวๆ<br />

น่ะ - -”<br />

สมัยเรียนมัธยม ผมเรียนที่กรุงเทพคริสเตียน<br />

แน่นอนว่าเป็นโรงเรียนชายล้วน<br />

บางคนก็แย้งว่า โรงเรียนชายล้วนส่วนมากจะไม่ชายล้วนจริง<br />

มันจะออกแนว “ล้วนน่าสงสัยว่าจะเป็นชายจริงไหม” มากกว่า<br />

แต่เอาเป็นว่า...ใครจะยังไง...ผมก็ชอบมองสาวๆ สวยๆ ตามวัยของผมก็แล้วกัน<br />

การไปเรียนกวดวิชาของผม บรรลุวัตถุประสงค์ด้วยดี<br />

ผมมีเพื่อนสตรีหน้าตาดี<br />

น่ารัก เพิ่มขึ้นหลายคน<br />

แต่ขณะเดียวกันก็ได้เรียนรู้การเป็นเกษตรกรไร่แห้ว<br />

โดยไม่ปรารถนาจากที่นี่ด้วย<br />

- -”<br />

อีกอย่างที่ผมชอบ<br />

ก็เพราะว่าโรงเรียนกวดวิชามักจะมีหนังสือติวข้อสอบแจก<br />

เป็นข้อสอบที่คุณได้ลองทา<br />

แล้วพลิกไปด้านหลัง ก็จะมีเฉลยคาตอบให้ ทันใจ<br />

ผมเคยนึกว่า ถ้าโจทย์ชีวิตมันเป็นแบบนี้ก็คงดีไม่น้อย<br />

มีโจทย์แล้วยังไม่ต้องทา ไปแอบพลิกดูเฉลยก่อน แล้วย้อนกลับมาทา รับรองไม่ผิด<br />

ผมว่าหลายๆ คนคิดแบบนี้นะ<br />

เราถึงชอบไปดูหมอกัน<br />

เพื่อจะแอบรู้เฉลยล่วงหน้าว่า<br />

ต้องเลือกข้อไหน ถึงจะถูก<br />

จะอยู่<br />

หรือจะไป จะให้อภัย หรือจะเลิก จะเลือกคนไหน คนใหม่หรือคนเก่า<br />

ทางานอะไรแล้วจะรุ่ง<br />

จะมุ่งทางโลกหรือทางธรรม<br />

และอีกสารพันคาถาม<br />

แต่ต้องขออภัยที่ต้องบอกว่า<br />

ชีวิตจริง มันไม่ใช่หนังสือติวข้อสอบ<br />

จะได้มีคาตอบหมอบอยู่ด้านหลัง<br />

ให้เราแอบไปพลิกดูได้<br />

หมอดูหลายๆ ท่านที่ดูผมมา<br />

ก็พูดคล้ายกันแบบนี้ว่า<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong>


อนาคตคือสิ่งที่ดูยาก<br />

โดยเฉพาะเมื่อเดินมาบนทางธรรม<br />

เพราะวิบากจากกรรมเก่าเวลามาเจอกรรมใหม่ มันจะแปรผันไปตามกันเสมอ<br />

พูดแล้วคุณอาจจะขา เพราะผมเพิ่งนึกได้ว่า<br />

ถ้าชีวิตที่เราเจอกันอยู่ทุกวัน<br />

เป็นเหมือนโรงเรียนแห่งหนึ่ง<br />

พุทธศาสนาก็เป็นเหมือนสถาบันกวดวิชาชีวิตเราดีๆ นี่เอง<br />

พระพุทธเจ้าท่านอุตส่าห์เฉลยโจทย์ชีวิตไว้ให้ตั้งหลายอย่าง<br />

ท่านบอกสูตรไว้ว่าจงใช้ชีวิตด้วยความไม่ประมาท ให้มีสตินะ<br />

ให้มีทาน ศีล ภาวนา อย่าหลงติดอยู่ในกามนะ<br />

มีทุกข์ที่ไหน<br />

ให้รู้ลงไปที่นั่น<br />

อย่าวิ่งหนีมัน<br />

แล้วจะพบความสุข<br />

นอกจากนั้นสถาบันกวดวิชาชีวิตของท่าน<br />

มีสาวสวยให้ดูเยอะแยะเลยนะ ^^<br />

แต่มันมีอะไรดีกว่าสาวสวยเยอะเลยน่ะสิ<br />

มีพระสูตรเล่าว่าครั้งหนึ่งพระนันทะอยากสึก<br />

เพราะคิดถึงภรรยาที่สวยสุดประดุจยอดนางสาวไทย<br />

พระพุทธองค์เลยพาพระนันทะขึ้นไปดาวดึงส์<br />

ไปดูนางฟ้าบนนั้นที่สวยหมดจด<br />

ตะลึงลาน<br />

สวยจนความงามของนางชนบทกัลยาณีอดีตภรรยาของท่าน จืดเป็นน้ากลั่นเลย<br />

พระพุทธเจ้าใช้กุศโลบายบอกพระนันทะว่าถ้าตั้งใจภาวนา<br />

ท่านรับประกันให้ว่าพระนันทะจะได้พบสวรรค์และนางอัปสรเหล่านั้นแน่ๆ<br />

พระนันทะก็ตั้งใจภาวนาไป<br />

ท่ามกลางเสียงแซวของพระรอบๆ ข้างว่า<br />

ท่านรับจ้างพระพุทธเจ้ามาภาวนา โดยมีนางอัปสรเป็นค่าจ้าง<br />

ท่านก็เริ่มมีสติ<br />

ย้อนมาดูใจตัวเองก็เห็นจริงดังนั้น<br />

ว่าท่านหวังในสวรรค์สมบัติ<br />

ภาวนาไป เห็นกิเลสไป ใจก็เริ่มเข้าสู่ความเป็นกลาง<br />

เกิดปัญญา<br />

ที่สุดก็ได้เป็นพระอรหันต์และไปทูลพระพุทธเจ้าว่า<br />

พระองค์ไม่ต้องเป็นนายประกันให้แล้ว<br />

เพราะท่านสิ้นความปรารถนาแล้ว<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

19


20<br />

เราเกิดมามีบุญได้ทันยุคสมัยที่คาสอนของติวเตอร์มือหนึ่ง<br />

อย่างพระพุทธเจ้ายังสมบูรณ์<br />

เรียนก็เรียนฟรีไม่เสียสตางค์ เฉลยก็มีให้<br />

แล้วถ้ายังไม่เรียน ผมก็เวียนเฮดล่ะนะ<br />

สุขสันต์วันที่คาตอบชีวิต<br />

มันซ่อนมิดชิดอยู่ในโจทย์นะครับ<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

สารบัญ


เพื่อนธรรมจารี<br />

อ่านบนเว็บ • ฟังเสียงอ่าน<br />

มองชีวิตปัจจุบันเพื่อรู้ชีวิตในอดีต<br />

โดย งดงาม<br />

rngodngam@gmail.com<br />

ในตอนที่แล้วเราคุยกันว่า<br />

ในการพิจารณาสิ่งสาคัญที่สุดหรือมีคุณค่าที่สุด<br />

ที่ควรจะทาในชีวิตนี้<br />

เราจะพิจารณาเพียงชีวิตนี้ชีวิตเดียวนั้นยังไม่พอ<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

21


22<br />

แต่จะต้องพิจารณาถึงชีวิตในอดีต และชีวิตในอนาคตด้วย<br />

บางท่านก็คงจะบอกว่าเราไม่มีญาณวิเศษที่จะระลึกอดีตชาติหรือรู้อนาคตชาติได้<br />

ผมก็ขอเรียนว่า แม้เราจะไม่มีญาณวิเศษที่จะรู้เห็นชีวิตในอดีตหรืออนาคตได้<br />

แต่พวกเราก็พอจะสามารถพิจารณากันได้อยู่ครับ<br />

ในการที่เราจะพิจารณาให้เห็นชีวิตในอดีตหรืออนาคตของเราเองนั้น<br />

เราจะต้องมีความเข้าใจในเรื่องหลัก<br />

“อิทัปปัจจยตา” เสียก่อน<br />

โดยคาว่า “อิทัปปัจจยตา” นั้นหมายถึงความสัมพันธ์แห่งเหตุปัจจัยต่อสิ่งทั้งหลาย<br />

หรืออาจจะกล่าวให้เข้าใจง่าย ๆ ว่าเป็นกฎที่ว่า<br />

“เพราะสิ่งนี้มี<br />

สิ่งนี้จึงมี”<br />

กล่าวคือสิ่งทั้งหลายที่มีอยู่<br />

หรือเกิดขึ้นนั้น<br />

ล้วนแล้วแต่เป็นไปตามเหตุปัจจัยทั้งสิ้น<br />

ยกตัวอย่างว่า เรามีที่ดินเปล่าอยู่แปลงหนึ่ง<br />

ซึ่งหากเราอยู<br />

่เฉย ๆ ไม่ทาอะไรบนที่ดินแปลงนั้น<br />

และก็ไม่มีใครมาทาอะไรด้วยแล้ว<br />

ก็ย่อมจะไม่มีทางที่ที่ดินแปลงนั้นจะกลายเป็นสวนมะม่วงไปได้<br />

หากต่อมา เราได้ลงทุนลงแรงหว่านเมล็ดแตงโมลงไปจนเต็มพื้นที่แล้ว<br />

เมื่อเมล็ดพืชเหล่านั้นได้เติบโตขึ้น<br />

สิ่งที่เราจะได้มีในที่ดินแปลงนั้นก็คือสวนแตงโม<br />

และไม่มีทางที่จะกลายเป็นสวนมะม่วงไปได้เช่นกัน<br />

เพราะว่าเราไม่ได้หว่านเมล็ดมะม่วงไว้<br />

ซึ่งก็มีลักษณะในทานองเดียวกับคากล่าวที่ว่า<br />

“ปลูกข้าวได้ต้นข้าว ปลูกถั่วได้ต้นถั่ว”<br />

เพราะว่าปลูกต้นข้าวแล้ว ต้นข้าวก็ไม่มีทางที่จะงอกออกมาเป็นต้นถั่ว<br />

ในขณะที่ปลูกต้นถั่วแล้ว<br />

ต้นถั่วก็ไม่มีทางที่จะงอกออกมาเป็นต้นข้าว<br />

บางท่านอาจจะบอกว่าบางทีปลูกพืชผลไปแล้วแต่ไม่ได้ผลตามนั้นก็มี<br />

เช่นว่าหว่านเมล็ดข้าวลงในพื้นที่นาแล้ว<br />

ต่อมาเกิดอุทกภัยน้าท่วม<br />

และทาให้นาข้าวเสียหาย ไม่ได้ผลผลิตข้าวตามที่ได้หว่านเมล็ดไว้<br />

หรือตามที่ใจมุ่งหวังไว้<br />

เช่นนี้ก็เรียกได้ว่ามี<br />

“เหตุแทรกแซง” บางอย่างเข้ามา<br />

และเหตุแทรกแซงนั้นเองก็ถือว่าเป็นเหตุปัจจัยว่า<br />

“เพราะสิ่งนี้มี<br />

สิ่งนี้จึงมี”<br />

เช่นกัน<br />

กล่าวคือ เพราะมีเหตุแทรกแซง คืออุทกภัยมีขึ้น<br />

ดังนั้น<br />

จึงมีความเสียหายต่อพืชผล<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong>


หากเราจะมองย้อนกลับไปขั้นตอนหนึ่งแล้ว<br />

ก็จะเห็นว่าเพราะมีที่ดินและเมล็ดข้าวอยู<br />

่<br />

เราจึงมีการหว่านเมล็ดข้าวได้ และประกอบกับมีเหตุแทรกแซงคืออุทกภัยเกิดขึ้น<br />

ท้ายสุดจึงมีความเสียหายเกิดขึ้น<br />

หากเริ่มแต่แรกว่าไม่มีที่ดิน<br />

และไม่มีเมล็ดข้าวแล้ว<br />

หรือว่าเราไม่ได้หว่านข้าวไว้เลย หรือไม่มีเหตุแทรกแซง<br />

ความเสียหายแก่พืชผลนั้นก็จะไม่มี<br />

หรือหากจะมองย้อนกลับไปอีกกว่านั้นแล้ว<br />

ก็จะเห็นได้ว่า<br />

เริ่มต้นก็เพราะมีตัวตนเจ้าของที่ดินและเมล็ดข้าว<br />

(คือกายและใจของเจ้าของที่ดินและเมล็ดข้าวนั่นแหละครับ)<br />

เป็นเหตุปัจจัย<br />

หากไม่มีตัวตนเจ้าของที่ดินและเมล็ดข้าวแต่แรกแล้ว<br />

ก็จะไม่มีเจ้าของนั้นมาหว่านข้าวหรือให้คนอื่นมาหว่านข้าวลงในที่ดิน<br />

หากจะมองย้อนไปอีกว่าทาไมจึงมีตัวตนของเจ้าของที่ดินและเมล็ดข้าวแล้ว<br />

ก็คงจะต้องไล่เรียงย้อนกลับกันไปตามหลักเรื่อง<br />

“ปฏิจจสมุปบาท”<br />

ซึ่งท้ายสุดแล้วก็จะไล่ย้อนกลับไปได้ถึงตัว<br />

“อวิชชา”<br />

แต่เราคงไม่ไปคุยย้อนกลับไปถึงขนาดนั้นครับ<br />

ขอเพียงแค่เราเข้าใจความสัมพันธ์ของเหตุปัจจัยต่าง ๆ ต่อสิ่งที่เกิดขึ้นก็พอแล้ว<br />

ขอยกตัวอย่างอีกนะครับ สมมุติว่าเรามีปริญญาบัตรปริญญาตรีอยู่ใบหนึ่ง<br />

เราลองมาพิจารณาเหตุปัจจัยที่ทาให้ได้ปริญญาบัตรปริญญาตรีนี้กันนะครับ<br />

มีเหตุปัจจัยในอดีตอะไรที่ทาให้เราได้ปริญญาบัตรปริญญาตรีฉบับนี้<br />

หากลองพิจารณาถอย ๆ กลับก็จะเห็นได้ว่า<br />

เพราะเราได้สมัคร ได้ศึกษา และได้สอบในชั้นระดับปริญญาตรีครบตามหลักสูตร<br />

เพราะเราได้สมัคร ได้ศึกษา และได้สอบในชั้นระดับชั้นมัธยมครบตามหลักสูตร<br />

เพราะเราได้สมัคร ได้ศึกษา และได้สอบในชั้นระดับชั้นประถมครบตามหลักสูตร<br />

เพราะเราได้สมัคร ได้ศึกษา และได้สอบในชั้นระดับอนุบาลครบตามหลักสูตร<br />

เพราะแม่เราได้ตั้งครรภ์<br />

และคลอดเราออกมา ฯลฯ<br />

ซึ่งหากไม่ผ่านเหตุปัจจัยทั้งหลายที่กล่าวข้างต้นแล้ว<br />

เราก็จะไม่ได้ปริญญาบัตรฉบับนี้<br />

หากจะพิจารณาสิ่งทั้งหลายที่เรามี<br />

เราได้ และเราเป็น<br />

ก็จะเห็นได้ในทานองเดียวกันครับ<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

23


24<br />

หากเรามีของใช้สักชิ้นหนึ่ง<br />

ก็เพราะว่าเราซื้อมา<br />

หรือคนอื่นให้มา<br />

หรือเพราะเหตุปัจจัยอื่น<br />

หากเรามีเงินในบัญชีธนาคาร<br />

ก็เพราะว่าเราฝากไว้ หรือคนอื่นฝากให้<br />

หรือเพราะเหตุปัจจัยอื่น<br />

หากเรามีบ้าน<br />

ก็เพราะว่าเราไปซื้อบ้าน<br />

หรือคนอื่นยกให้เรา<br />

หรือเพราะเหตุปัจจัยอื่น<br />

หากเรามีแฟน<br />

ก็เพราะว่าเราไปจีบเขา หรือเขามาจีบเรา หรือเพราะเหตุปัจจัยอื่น<br />

(คงไม่มีเหตุปัจจัยว่าใครยกแฟนของเขาให้เรามานะครับ)<br />

ก็จะพอเห็นได้นะครับว่าสิ่งทั้งหลายที่เรามี<br />

เราได้ และเราเป็นนั้น<br />

เป็นไปเพราะเหตุปัจจัยทั้งสิ้น<br />

ซึ่งในที่นี้<br />

“เหตุแทรกแซง” ที่กล่าวแล้ว<br />

ก็ถือเป็นเหตุปัจจัยหนึ่งเช่นกัน<br />

ในทางกลับกัน หากเราไม่มี ไม่ได้ และไม่เป็นในสิ่งทั้งหลายใด<br />

ๆ ก็ตาม<br />

เหตุก็เพราะว่า ไม่ได้มีเหตุปัจจัยทั้งหลายที่จะก่อให้สิ่งเหล่านั้นเกิดขึ้น<br />

ที่กล่าวมาแล้วนั้นเป็นการใช้หลัก<br />

“อิทัปปัจจยตา” เพื่อมองเหตุปัจจัยในชีวิตนี้<br />

แต่หลักดังกล่าวก็สามารถนามาใช้พิจารณาเหตุปัจจัยในชีวิตในอดีตได้เช่นกัน<br />

เราลองมองไปถึงสัตว์ทั้งหลายในโลกนี้<br />

และมองไปถึงเพื่อนมนุษย์ร่วมโลกใบนี้<br />

เราจะเห็นได้ว่าในโลกนี้มีสัตว์อื่นจานวนมากมายมหาศาลนับไม่ถ้วน<br />

ในแต่ละวันมีวัว หมู เป็ด ไก่ ห่าน กุ้ง<br />

หอย ปู ปลาที่ตายเป็นจานวนเท่าไร<br />

(เพื่อจะให้เพียงพอเลี้ยงประชากรมนุษย์โลกจานวนหกพันกว่าล้านคนนี้)<br />

มีนก หนู จิ้งจก<br />

สุนัข แมว และแมลงทั้งหลายอยู่อีกเป็นจานวนเท่าไร<br />

มีไส้เดือน และสัตว์เล็กสัตว์น้อยในผืนดินเป็นจานวนเท่าไร<br />

มีปลาตัวเล็กตัวน้อย และสัตว์ตัวเล็กตัวน้อยในท้องทะเลอีกมากมายเป็นจานวนเท่าไร<br />

เราก็จะเห็นได้ว่ามีสัตว์อื่น<br />

ๆ ที่ไม่ใช่มนุษย์อีกเป็นจานวนมากมายมหาศาลเหลือเกิน<br />

แล้วทาไมเราเองจึงไม่ได้ไปเกิดเป็นหนึ่งในสัตว์ทั้งหลายเหล่านั้น<br />

แต่เราได้มาเกิดเป็นมนุษย์ ซึ่งแสดงว่าต้องมีเหตุปัจจัยที่ทาให้เราเกิดมาเป็นมนุษย์เช่นนี้<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong>


หากเราได้ลองพิจารณาในจานวนมนุษย์ด้วยกันเองแล้ว<br />

เราก็จะเห็นได้ว่า บางคนแท้งตั้งแต่อยู<br />

่ในครรภ์มารดาโดยไม่มีโอกาสได้คลอดออกมา<br />

บางคนคลอดออกมาแล้วก็ตายทันที บางคนก็ตายในวัยเด็ก บางคนก็ตายในช่วงวัยรุ ่น<br />

บางคนแม้ไม่ตาย แต่ก็พิการทางด้านสมอง บางคนก็พิการทางด้านร่างกาย<br />

ทีนี้<br />

หากเราไม่ได้ตายตั้งแต่ในครรภ์<br />

ไม่ได้ตายในวัยเด็ก และเราก็ไม่ได้พิการทางสมอง<br />

อย่างน้อยที่สุดเราก็มีชีวิตอยู่จนกระทั่งได้อ่านวารสารฉบับนี้ออนไลน์<br />

ก็ย่อมจะแสดงว่ามีเหตุปัจจัยบางอย่างทาให้เราเกิดมา ยังไม่ตาย และไม่พิการใด ๆ<br />

นั่นก็แสดงว่าในชีวิตอดีตนั้นเราได้สร้าง<br />

หรือได้มีเหตุปัจจัยที่ทาให้เป็นเช่นนี้<br />

และทาให้เราได้มาอยู่<br />

จนกระทั่ง<br />

ณ ที่ตรงนี้ในปัจจุบันนี้<br />

มีญาติธรรมท่านหนึ่งเคยเปรยให้ผมฟังว่าครอบครัวสมัยเด็กของเธอนั้นไม่มีอะไร<br />

แต่ว่าชีวิตในปัจจุบันนั้นได้มีฐานะที่ดี<br />

มีกิจการที่มั่นคง<br />

และมีชีวิตที่มีความสุข<br />

เธอก็เห็นว่าเท่านี้ก็ถือว่า<br />

“ชีวิตของเธอนั้นคุ้มค่าแล้ว”<br />

ผมได้อธิบายว่าอย่ามองถอยหลังกลับไปแค่เท่านั้นเพราะว่ามองสั้นเกินไป<br />

ลองมองถอยกลับไปอีกหน่อยสิว่า ได้เคยทาอะไรมา เราจึงได้เกิดมาเป็นมนุษย์<br />

เราลองเทียบสิว่าจานวนมนุษย์กับจานวนสัตว์อื่นทั้งหลายที่แตกต่างกันขนาดไหน<br />

(ตรงนี้ได้อธิบายเปรียบเทียบถึงเฉพาะภพภูมิมนุษย์และสัตว์เดรัจฉานนะครับ<br />

โดยยังไม่ได้อธิบายโยงไปถึงภพภูมิอื่น<br />

ๆ<br />

เช่น เปรต อสุรกาย หรือสัตว์นรกอีกด้วยนะ)<br />

แต่ที่เรามาเกิดเป็นมนุษย์ได้นี้<br />

แสดงว่าต้องมีเหตุปัจจัยที่เราได้ลงทุนทาไปในอดีตมากมาย<br />

เราต้องถามคาถามว่า เราได้ทาตัวเองให้คุ ้มค่ากับความที่ได้เกิดมาเป็นมนุษย์หรือยัง<br />

เราได้สิ่งที่คุ้มค่าที่สุดที่จะสามารถหาได้ในชีวิตมนุษย์เราหรือยัง<br />

เราลองพิจารณาดูนะครับ<br />

หากเราจะมีบ้าน มีรถ มีแฟน มีลูก หรือซื้อของแพงสักชิ้นนึง<br />

นี่มันยากและเหนื่อยแรงขนาดไหน<br />

(จีบแฟนนี่มันเหนื่อยนะครับ<br />

... แต่ที่ไหนได้<br />

พอจีบได้แล้วกลับเหนื่อยกว่าเก่าอีก)<br />

นี่ขนาดว่าลงทุนเพื่อให้ได้มาซึ่งบ้าน<br />

รถ แฟน และสิ่งของอื่น<br />

ๆ นะครับ<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

25


26<br />

แล้วลองคิดเปรียบเทียบดูสิว่า การลงทุนเพื่อให้ได้มาซึ่งอัตภาพความเป็นมนุษย์<br />

ซึ่งมีชีวิตรอดมาได้จนถึงปัจจุบันนี้<br />

มีอวัยวะครบ ๓๒ และไม่พิการทางสมองด้วย<br />

จะต้องได้เคยลงทุนลงแรงสร้างสมเหตุปัจจัยไว้มากมายขนาดไหน<br />

หากใครจะบอกว่า “เราไม่ได้สร้างเหตุปัจจัยอะไรมาเยอะแยะหรอก<br />

มันก็เกิดมาเป็นมนุษย์ของเราอย่างนี้โดยบังเอิญเองแหละ”<br />

ก็เท่ากับว่าเขาคนนั้นไม่เชื่อในหลัก<br />

“อิทัปปัจจยตา”<br />

และมีความเห็นว่าปลูกต้นข้าวก็สามารถงอกออกมาเป็นต้นถั่วได้<br />

หรือคนเราอยู่ดี<br />

ๆ ก็ได้ปริญญาบัตรปริญญาตรีมาโดยไม่ได้ทาอะไรไว้เลยก็ได้<br />

หรือหากใครจะบอกว่า<br />

“เป็นมนุษย์นั้นไม่ยากหรอก<br />

ก็เห็นมีประชากรโลกมากมาย<br />

และเราคงไม่ได้ลงทุนอะไรไว้มากมายนักหรอก”<br />

ขอเรียนว่าหากเกิดเป็นปลวก เป็นมด เป็นยุง เป็นไส้เดือนแล้ว<br />

ก็คงจะพูดได้ว่าไม่ได้ลงทุนสร้างปัจจัยอะไรมาเท่าไรเลย<br />

แต่หากได้เกิดมาเป็นมนุษย์แล้ว คงไม่ใช่ว่าลงทุนอะไรนิดหน่อยหรอกครับ<br />

ดังนั้น<br />

เราได้เป็นมนุษย์ ได้มีชีวิตมาอยู่ถึง<br />

ณ ขณะนี้<br />

และมีอัตภาพในปัจจุบันนี้<br />

ก็เพราะว่าเราได้สร้างสมเหตุปัจจัยมาอย่างมากมาย<br />

ปัญหาสาคัญที่ต้องพิจารณาต่อไป<br />

ก็คือว่า<br />

“เราได้ลงทุนสร้างสมเหตุปัจจัยอย่างมากมาย เพื่อมาอยู<br />

่ ณ ตรงที่นี้<br />

เพื่อทาอะไร?”<br />

(แล้วจะมาคุยต่อในคราวหน้าครับ)<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

สารบัญ


เมจิกมิงค์ มหัศจรรย์เมืองธรรมะ<br />

อ่านบนเว็บ • ฟังเสียงอ่าน<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

อนุญาตให้เผยแพร่เป็นธรรมทาน สาหรับเว็บไซท์ www.dharmamag.com | www.dlitemag.com<br />

27


28<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

เมจิกมิงค์ มหัศจรรย์เมืองธรรมะ<br />

เมจิกมิงค์ มหัศจรรย์เมืองธรรมะ<br />

อ่านบนเว็บ • ฟังเสียงอ่าน


<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

อนุญาตให้เผยแพร่เป็นธรรมทาน สาหรับเว็บไซท์ www.dharmamag.com | www.dlitemag.com<br />

29


<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

30 เมจิกมิงค์ มหัศจรรย์เมืองธรรมะ


<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

อนุญาตให้เผยแพร่เป็นธรรมทาน สาหรับเว็บไซท์ สาหรับเว็บไซท์ www.dharmamag.com | www.dlitemag.com<br />

31


<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

32 เมจิกมิงค์ มหัศจรรย์เมืองธรรมะ


<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

อนุญาตให้เผยแพร่เป็นธรรมทาน สาหรับเว็บไซท์ สาหรับเว็บไซท์ www.dharmamag.com | www.dlitemag.com<br />

33


<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

34 เมจิกมิงค์ มหัศจรรย์เมืองธรรมะ


<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

อนุญาตให้เผยแพร่เป็นธรรมทาน สาหรับเว็บไซท์ สาหรับเว็บไซท์ www.dharmamag.com | www.dlitemag.com<br />

35


<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

36 เมจิกมิงค์ มหัศจรรย์เมืองธรรมะ


<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

อนุญาตให้เผยแพร่เป็นธรรมทาน สาหรับเว็บไซท์ สาหรับเว็บไซท์ www.dharmamag.com | www.dlitemag.com<br />

37


<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

38 เมจิกมิงค์ มหัศจรรย์เมืองธรรมะ


<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

อนุญาตให้เผยแพร่เป็นธรรมทาน สาหรับเว็บไซท์ สาหรับเว็บไซท์ www.dharmamag.com | www.dlitemag.com<br />

39


40<br />

อ่านย้อนหลัง<br />

ตอนที่<br />

๑ แนะนาตัวละคร<br />

http://www.dharmamag.com/index.php?option=com_content&view=a<br />

rticle&id=326&Itemid=78<br />

ตอนที่<br />

๒ พระราหุล (๑/๒)<br />

http://www.dlitemag.com/index.php?option=com_content&view=artic<br />

le&catid=47:lite-comic&id=460:2010-10-06-16-45-27&Itemid=59<br />

พระราหุล (๒/๒)<br />

http://www.dharmamag.com/index.php?option=com_content&view=a<br />

rticle&id=335&Itemid=78<br />

ตอนที<br />

่ ๓ พระสารีบุตร<br />

http://www.dlitemag.com/index.php?option=com_content&view=artic<br />

le&id=476&Itemid=1<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

สารบัญ


ร่วมส่งบทความ<br />

นิตยสาร เล่ม นี จะ ้ เป็น นิตยสาร คุณภาพ ได้ ก็ ด้วย เนื้อหา<br />

ดี ๆ ภายใน ฉบับ ที่<br />

จัดสรร ลง อย่าง ต่อ เนื่อง<br />

นะ คะ<br />

หาก คุณ ผู้<br />

อ่าน ท่าน ใด มีค วาม สามารถ ใน การ เขียน มี<br />

ศรัทธา และ ความ เข้าใจ ใน คำา สอน ของ พุทธ ศาสนา ไม่<br />

ว่า จะ ใน ระดับ เบื้องต้น<br />

เบื้อง<br />

กลาง หรือ เบื้อง<br />

ปลาย<br />

และ มี ใจ รัก ที อยาก ่ จะ สื่อสาร<br />

ถ่ายทอด สิ่ง<br />

นั้น<br />

ให้ กับ ผู อื ้ ่น<br />

ได้ ทราบ และ ได้ ประโยชน์ จาก สิ่ง<br />

เหล่า นั้น<br />

เช่น เดียว กับ<br />

ที่<br />

เรา อาจ เคย ได้ รับ จาก ผู้<br />

อื่น<br />

มา แล้ว ก็ ขอ เชิญ ทุก ท่าน<br />

ส่ง บทความ มา ร่วม เป็น ส่วน หนึ่ง<br />

ของ <strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

ด้วย กัน นะ คะ<br />

คุณ อาจ ไม่ จำาเป็น ต้อง เป็น นัก เขียน ฝีมือ เลิศ แต่ หาก มี<br />

ใจ ที่<br />

คิด อยาก จะ ถ่ายทอด มี สิ่ง<br />

ที่<br />

คิด ว่า อยาก แบ่งปัน<br />

ความ รู้ความ<br />

เข้าใจ นั้น<br />

ให้ กับ คน อื่น<br />

ๆ ก็ ลอง เขียน ส่ง<br />

เข้า มา ได้ เลย ค่ะ<br />

<br />

๑. คอ ลัมน์ที่<br />

เปิด รับ บทความ<br />

คอลัมน์: ธรรมะ จากคนสู้กิเลส<br />

เนื้อหา:<br />

เปิด โอกาส ให้ คุณๆ ได้ เล่า ประสบการณ์ จริง<br />

ของ ตน เอง ว่า ผ่าน อะไร มา บ้าง มี อะไร เป็น ข้อคิด ที เป็น ่<br />

ประโยชน์ บ้าง อะไร ทำาให้ คน ธรรมดา คน หนึ่ง<br />

กลาย<br />

เป็น คน ดี ขึ้น<br />

มา และ ทำาให้ คน มี กิเลส เยอะ กลาย เป็น<br />

คน กิเลส บาง ลง ได้ มี แต่ คน ที่<br />

เปลี่ยนแปลง<br />

ตัว เอง แล้ว<br />

เท่านั้น<br />

จึง จะ เขียน ธรรมะใกล้ ตัว ได้ สำาเร็จ<br />

คอลัมน์: นิยาย/เรื่องสั้นอิง<br />

ธรรมะ<br />

เนื้อหา:<br />

เปิด โอกาส กว้าง สำาหรับ คน ที่<br />

ชอบ คิด ชอบ<br />

เขียน โดย เฉพาะ อดีต นัก ฝัน ที่<br />

เพิ่ง<br />

ผัน ตัว มา อยู่<br />

ใน<br />

โลก ธรรมะ เพื่อ<br />

สร้างสรรค์ เรื่องราว<br />

ให้ คน ได้ ข้อคิด ข้อ<br />

ธรรม ผ่าน ความ สนุก ของ รูป แบบ นิยาย หรือ เรื่องสั้น<br />

ได้ อย่าง เพลิดเพลิน<br />

คอลัมน์: คำาคมชวน คิด<br />

เนื้อหา:<br />

รวบรวม ข้อคิด หรือ คำาคม ของ บุคคล ต่าง ๆ<br />

ที่<br />

เคย ได้ยิน มา แล้ว สะดุดใจ มาบ อก ต่อ ยิ่ง<br />

ถ้า ใคร<br />

สามารถ สร้างสรรค์ วรรค ทอง ได้ เอง ยิ่ง<br />

ดี เพราะ จะ<br />

ได้ ฝึก ริเริ่ม<br />

วลี สะดุดใจ ซึ่ง<br />

เป็น แม่บท ของ กรรม ที ทำาให้ ่<br />

มีค วาม คิด สร้างสรรค์ ได้ อย่าง สุด ยอด เนื่องจาก<br />

แง่ คิดดีี<br />

ๆ จะ ช่วย ให้ คน อ่าน คิด ดี หรือ ได้คิด เพื่อ<br />

เปลี่ยนแปลง<br />

ชีวิต วิบาก ที ย้อน ่ กลับ มาส นอง ตอบแทน<br />

คุณ ก็ คือ การ ผุด ไอ เดียเหมือน น้ำาพุ<br />

ไม่ รู้<br />

จบ รู้<br />

สิ้น<br />

กับ ทั้ง<br />

เป็น ที่<br />

ยอม รับ ใน วง กว้าง ด้วย<br />

กติกา: หาก เป็นการ คัด มา จาก ที่<br />

อื่น<br />

หรือ แปล มา จาก<br />

ภาษา อังกฤษ กรุณา ระบุ แหล่ง ที่มา<br />

หรือ ชื่อ<br />

ของ บุคคล<br />

ผู้<br />

เป็น เจ้าของ คำาคม ด้วย นะ คะ<br />

คอลัมน์: สัพเพเหระธรรม<br />

เนื้อหา:<br />

เรื่องราว<br />

เรื่อง<br />

เล่า อาจ มา จาก ฉาก หนึ่ง<br />

ใน<br />

ชีวิต ของ คุณ ที่<br />

มี เกร็ด ข้อคิด ทาง ธรรม หรือ ข้อคิด ดี ๆ<br />

อันเป็น ประโยชน์ อาจ เป็น เรื่อง<br />

เล่า สั้น<br />

ๆ ใน รูป แบบ ที่<br />

เสมือน อ่านเล่น ๆ แต่ อ่าน จบ แล้ว ผู อ่าน ้ ได้ เกร็ด ธรรม<br />

หรือ ข้อคิด ดี ๆ ติด กลับ ไป ด้วย<br />

คอลัมน์: กวีธรรมะ<br />

เนื้อหา:<br />

พื้นที่<br />

ที่<br />

เปิด กว้าง สำาหรับ กวี ธรรมะ ทั้งหลาย<br />

โดย ไม่ จำากัด รูป แบบ และ ความ ยาว ของ บท กวี หรือ<br />

หาก จะ คัด เอา บท กวี ที่<br />

น่า ประทับใจ ให้ แง่ คิด อะไร<br />

ใน เชิง บวก ก็ สามารถ นำา มา ลง ได้ เช่น กัน แต่ ถ้า ให้ ดี<br />

กลั่นกรอง<br />

ออก มา ด้วย ตน เอง ได้ ก็ ยิ่ง<br />

ดี ค่ะ<br />

กติกา: หาก เป็นการ คัด มา จาก ที่<br />

อื่น<br />

ต้อง ระบุ ที่มา<br />

ที่<br />

ไป อย่าง ชัดเจน ด้วย นะ คะ<br />

คอลัมน์: เที่ยววัด<br />

เนื้อหา:<br />

รับ หมด ไม่ ว่า จะ เป็น วัด สวย หรือ สถาน ที่<br />

ปฏิบัติธรรม ข้อมูล ข่าวสาร จาก ทั่ว<br />

ประเทศ นั้น<br />

ไม่ มี<br />

วัน ที่<br />

ใคร คน เดียว จะ รู้<br />

ได้ หมด ถ้า ช่วย เป็น หู เป็น ตา ให้<br />

แก่ กัน ก็ คง จะ มี ประโยชน์ อย่าง มหาศาล<br />

กติกา: นอกจาก ข้อมูล เกี่ยว<br />

กับ สถาน ที่<br />

บรรยากาศ<br />

ปฏิปทา ฯลฯ ของวัด แล้ว ต้อง ขอ รบกวน ส่ง ภาพ<br />

สวย ๆ มา ประกอบ บทความ อีกทั้ง<br />

ไม่ พา ชม หรือ<br />

แทรก ธรรมะ ด้าน การปฏิบัติ ที่<br />

ขัดแย้ง กับ แนวทาง ของ<br />

นิตยสาร นะ คะ<br />

คอลัมน์: ธรรมะปฏิบัติ<br />

เนื้อหา:<br />

ร่วม บอก เล่า ประสบการณ์ จริง ประสบการณ์<br />

ตรง จาก การ ปฏิบัติธรรม เพื่อ<br />

เป็น ทั้ง<br />

ธรรม ทาน และ


เป็น ทั้ง<br />

กำาลังใจ สำาหรับ ผู้<br />

ที่<br />

กำาลัง ร่วม เดินทาง อยู่<br />

บน<br />

เส้น อริยมรรค เส้น เดียวกัน นี้<br />

คอลัมน์: ของ ฝากจากหมอ<br />

เนื้อหา:<br />

นำา เสนอ ข่าวสาร ใน วงการ แพทย์ หรือ<br />

สาระ น่า รู้<br />

อันเป็น ประโยชน์ เกี่ยว<br />

กับ สุขภาพ ที่<br />

คน<br />

ทั่วไป<br />

สนใจ หรือ นำา ไป ใช้ได้ เพื่อ<br />

เป็น วิทยาทาน ให้ กับ<br />

ผู้อ่าน<br />

จาก แง่มุม ต่าง ๆ ทีแพทย์<br />

่ แต่ละ แขนง มีค วาม รู้<br />

ความเชี่ยวชาญ<br />

ต่าง ๆ กัน<br />

กติกา:<br />

• หาก เป็น บทความ ที่<br />

แนะนำา ให้ มี การ ทดลอง กิน<br />

ยา หรือ แนะนำา ให้ ผู้<br />

อ่าน ปฏิบัติ ตาม ด้วย ขอ<br />

จำากัด เฉพาะ ผู้<br />

เขียน ที่<br />

เป็น ผู้<br />

เรียน หรือ ทำา งาน<br />

ใน สาขา วิชาชีพ ที่<br />

เกี่ยวข้อง<br />

เท่านั้น<br />

เพื่อ<br />

ป้องกัน<br />

การ นำาเสนอ ข้อมูล ที คลาดเคลื ่ ่อน และ อาจ ส่งผล<br />

ต่อ ผู้<br />

อ่าน ได้ ค่ะ<br />

• หาก นำา เสนอ ประเด็น ที่<br />

ยัง เป็น ที่<br />

ถกเถียง อยู่<br />

ใน<br />

วงการ แพทย์ ขอ ให้ มี การ อ้างอิง ด้วย เช่น มา<br />

จาก งาน วิจัย ชิ้น<br />

ไหน หรือ หาก เป็น เพียง ความเห็น<br />

ส่วนตัว ของ หมอ ก็ กรุณา ระบุ ให้ ชัดเจน ด้วย ค่ะ<br />

<br />

๒. อ่าน สัก นิด ก่อน คิด เขียน<br />

เนื่องจาก<br />

ใน แต่ละ สัปดาห์ มี งาน เขียน ส่ง เข้า มา เป็น<br />

จำานวน มาก ชิ้น<br />

ขึ้น<br />

เรื่อย<br />

ๆ ดังนั้น<br />

เพื่อ<br />

เป็นการ ช่วย ลด<br />

เวลา และ ลด ภาระ ให้ กับ อาสา สมัคร ใน การ เข้า มา<br />

ช่วยกัน คัดเลือก และ พิสูจน์ อักษร ของ ทุก บทความ<br />

ต้อง ขอ รบกวน ผู ส่ง ้ บทความ เรียบเรียง งาน เขียน ตาม<br />

แนวทาง ดังนี้<br />

ด้วย นะ คะ<br />

๒.๑ ตรวจ ทาน คำา ถูก ผิด ให้ เรียบร้อย<br />

ก่อน ส่ง บทความ รบกวน ผู เขียน ้ ทุก ท่าน ช่วย ตรวจ ทาน<br />

ให้ แน่ใจ ก่อน นะ คะ ว่า ไม่ มี จุด ไหน พิมพ์ ตกหล่น พิมพ์<br />

เกิน พิมพ์ ผิด พลาด หรือ เขียน ตัวสะกด ไม่ ถูก ต้อง ผ่าน<br />

สายตา ของ ผู้<br />

เขียน แล้ว<br />

หาก ไม่ แน่ใจ ตัวสะกด ของ คำา ไหน สามารถ ตรวจ สอบ<br />

ได้ จาก ที่<br />

นี่<br />

เลย ค่ะ<br />

เว็บ เครือ ข่าย พจนานุกรม ราชบัณฑิต ยสถาน<br />

http://rirs3.royin.go.th/ridictionary/lookup.html<br />

๒.๒ จัด รูป แบบ ตาม หลัก งาน เขียน ภาษา ไทย<br />

เพื่อให้<br />

ทุก บทความ มี ลักษณะ ของ การ จัด พิมพ์ ที่<br />

สอดคล้อง กัน ขอ ให้ ใช้ การ จัด รูป แบบ ใน ลักษณะ ดังนี้<br />

นะ คะ<br />

• เครื่องหมาย<br />

คำา ถาม (?) และ เครื่องหมาย<br />

ตกใจ (!)<br />

เขียน ติดตัว หนังสือ ด้านหน้า และ วรรค ด้าน หลัง<br />

เช่น “อ้าว! เธอ ไม่ ได้ ไป กับ เขา หรอก หรือ? ฉัน<br />

นึก ว่า เธอ ไป ด้วย เสีย อีก ”<br />

• การ ตัด คำา เมื่อ<br />

ขึ้น<br />

บรรทัด ใหม่<br />

สำาหรับ คน ที่<br />

นิยม เขียน แบบ เคาะ [Enter] เพื่อ<br />

ตัด ขึ้น<br />

บรรทัด ใหม่ แทน การ รวบ คำา อัตโนมัติ ของ<br />

โปรแกรม คอมพิวเตอร์ อยาก ให้ ช่วย ดู การ ตัด<br />

คำา ด้วย นะ คะ ว่า ตัด ได้ อย่าง เหมาะสม คือ อ่าน<br />

ได้ ลื่น<br />

ไม่ สะดุด ไม่ แยก คำา หรือ ไม่ ขึ้น<br />

บรรทัด<br />

ใหม่ ผ่า กลาง วลี ที่<br />

ควร อ่าน ต่อ เนื่อง<br />

กัน โดย ไม่<br />

จำาเป็น เช่น<br />

“ฉัน ไม่ อยาก ให้ เธอ ทำา แบบ นั้น<br />

ก็ เลย บอก เธอ ไป ว่า ผลก รรม<br />

ข้อ กา เม นั้น<br />

หนัก ไม่ ใช่ เล่น ”<br />

“ฉัน ไม่ อยาก ให้ เธอ ทำา แบบ นั้น<br />

ก็ เลย บอก เธอ ไป ว่า<br />

ผลก รรม ข้อ กา เม นั้น<br />

หนัก ไม่ ใช่ เล่น ” (อ่าน ง่าย กว่า ค่ะ)<br />

หรือ ดู หลักเกณฑ์ อื่น<br />

ๆ ได้ จาก ที่<br />

นี่<br />

เพิ่มเติม<br />

ด้วย ก็ได้ ค่ะ<br />

ราชบัณฑิต ยสถาน > หลักเกณฑ์ ต่าง ๆ<br />

http://www.royin.go.th/th/profile/index.php<br />

๒.๓ ความ ถูก ต้อง ของ ฉันทลักษณ์ สำาหรับ ชิ้น<br />

งาน ร้อยกรอง<br />

สำาหรับ ท่าน ที่<br />

แต่ง ร้อยกรอง เข้า มา ร่วม ใน คอลัมน์<br />

กวีธรรม ขอ ให้ ตรวจ ทาน ให้ แน่ใจ สัก นิด นะ คะ ว่า<br />

บทกลอน นั้น<br />

ถูก ต้อง ตาม ฉันทลักษณ์ แล้ว หรือ ยัง จะ<br />

ได้ ช่วย กัน ใส่ใจ และ เผยแพร่ แต่ ใน สิ่ง<br />

ที่<br />

ถูก ต้อง ให้ ผู้<br />

อื่น<br />

กัน ค่ะ<br />

คุณ ผู้<br />

อ่าน สามารถ ตรวจ สอบ หรือ หาความ รู้<br />

เพิ่มเติม<br />

เกี่ยว<br />

กับ ฉันทลักษณ์ ของ กวี ไทย ได้ จาก ที่<br />

นี่<br />

ด้วย นะ คะ


ร้อยกรอง ของ ไทย<br />

(โคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน ร่าย)<br />

http://thaiarc.tu.ac.th/poetry/index.html<br />

๒.๔ ความ ยาว ของ บทความ และ การ จัด ย่อหน้า<br />

ปกติ แล้ว เรา ไม่ จำากัดความ ยาว ของ ชิ้น<br />

งาน ใน ทุก คอ<br />

ลัมน์ค่ะ แต่ ก็ อยาก ให้ ผู้<br />

เขียน ใช้ ดุลยพินิจ ดู ด้วย ค่ะ ว่า<br />

ความ ยาว ประมาณ ใด น่า จะ เหมาะสม โดย ลอง ดู จาก<br />

บทความ ที ลง ่ ใน เล่ม และ ลอง เทียบเคียง ความ รู้สึก<br />

ใน<br />

ฐานะ ผู้<br />

อ่าน ดู นะ คะ<br />

สำาหรับ เรื่องสั้น<br />

หรือ นวนิยาย ทีอาจ<br />

่ มีค วาม ยาว มาก<br />

กว่า บทความ อื่น<br />

ๆ และ มี การ เปลี่ยน<br />

ฉาก อยู บ้าง ่ อย่า<br />

ลืม เบรก สายตา ผู้<br />

อ่าน โดย การ ขึ้น<br />

ย่อหน้า ใหม่ เมื่อ<br />

ถึง<br />

จุด หนึ่ง<br />

ๆ ของ เรื่อง<br />

ที่<br />

เหมาะสม ด้วย นะ คะ เพราะ<br />

การ เขียน เป็น พรืด เห็น แต่ ตัวหนังสือ ติด ๆ กันลง มา<br />

ยาว ๆ จะ ลด ทอน ความ น่า อ่าน ของ บทความ ไป อย่าง<br />

น่า เสียดาย ค่ะ<br />

หาก บทความ ใด อ่าน ยาก ๆ หรือ มี จุด บกพร่อง ที ต้อง ่<br />

แก้ไข เยอะ มาก ๆ ทาง ทีม งาน อาจ จะ ต้อง ขอ อนุญาต<br />

เก็บ ไว้ เป็นอัน ดับ หลัง ๆ ก่อน นะ คะ<br />

<br />

๓. ส่ง บทความ ได้ที่<br />

ไหน อย่างไร<br />

๓.๑ กระดาน ส่ง บทความ<br />

เมื่อ<br />

เขียน อ่าน ทาน และ ตรวจ ทาน บทความ พร้อม ส่ง<br />

เรียบร้อย แล้ว งาน เขียน ทุก ชิ้น<br />

สามารถ โพ สท์ส่ง ได้ที่<br />

กระดาน “ส่ง บทความ ” ได้ เลย ค่ะ ที่:<br />

http://dungtrin.com/forum/viewforum.php?f=2<br />

โดย หัวข้อ กระทู้<br />

ขอ ให้ ใช้ ฟอร์แมท ลักษณะ นี้<br />

นะ คะ<br />

(ชื่อ<br />

คอลัมน์) ชื่อ<br />

เรื่อง<br />

โดย ชื่อ<br />

ผู้<br />

แต่ง<br />

เช่น<br />

(สัพเพเหระ ธรรม) เทพธิดา โรง ทาน โดย คน ไกล วัด<br />

(ธรรมะ ปฏิบัติ) เส้นทาง การ ปฏิบัติ 1 โดย satima<br />

(ของ ฝาก จาก หมอ) เครียด ได้...แต่ อย่า นาน โดย หมอ อติ<br />

เพื่อ<br />

ช่วย ให้ ทีม งาน สามารถ จัด หมวด หมู่<br />

ของ ชิ้น<br />

งาน<br />

ได้ เร็ว ขึ้น<br />

ค่ะ<br />

๓.๒ แนบไฟล์ Word มา ด้วย ทุก ครั้ง<br />

หาก แปะ เนื้อความ<br />

ลง ใน กระทู้<br />

เลย ฟอร์แมท ต่าง ๆ<br />

เช่น ตัว หนา ตัว บาง ตัว เอียง จะ หาย ไป ค่ะ เพื่อ<br />

ความ<br />

สะดวก รบกวน ทุก ท่าน แนบไฟล์ Word ทีพิมพ์<br />

่ ไว้ มา<br />

ด้วย นะ คะ (ใน หน้า โพสต์ จะ มี ปุ่ม<br />

Browse ให้ เลือก<br />

Attach File ได้ เลย ค่ะ)<br />

ใคร มี รูป ประกอบ ก็ Attach มา ด้วย วิธี เดียวกัน นี้<br />

เลย<br />

นะ คะ<br />

และ หาก ไฟล์มี ขนาด ใหญ่ ทำาเป็น zip เสีย ก่อน ก็ จะ<br />

ช่วย ประหยัด พื้นที่<br />

ได้ ไม่ น้อย ค่ะ<br />

<br />

๔. ส่ง แล้ว จะ ได้ ลง หรือ ไม่<br />

ปกติ แล้ว เวที แห่ง นี เป็น ้ เวที ที เปิด ่ กว้าง หาก บทความ<br />

นั้น<br />

ให้ เนื้อหา<br />

สาระ ที เป็น ่ ไป เพื่อ<br />

เกื้อกูล<br />

กัน ใน ทาง สว่าง<br />

และ เป็น แนวทาง ที่<br />

ตรง ตาม แนวทาง คำา สอน ของ<br />

พระพุทธเจ้า หรือ เป็น ประโยชน์ ต่อ ผู้<br />

อ่าน จาก ผู้<br />

รู้<br />

จริง<br />

ใน ด้าน ที่<br />

เชี่ยวชาญ<br />

ก็ จะ ได้ รับ การ ลง แน่นอน ค่ะ<br />

ทั้งนี้<br />

รวม ถึง ความ ยาก ง่าย ใน การ อ่าน พิจารณา<br />

บทความ การ แก้ไข จุด บกพร่อง ต่าง ๆ ใน งาน พิสูจน์<br />

อักษร หาก เป็น ไป อย่าง คล่องตัว ก็ จะ ช่วย ให้ พิจารณา<br />

ชิ้น<br />

งาน ได้ ง่าย ขึ้น<br />

ด้วย ค่ะ<br />

แต่ หาก บทความ ใด ยัง ไม่ ได้ รับ คัดเลือก ให้ ลง ก็ อย่า<br />

เพิ่ง<br />

หมด กำาลังใจ นะ คะ วัน หนึ่ง<br />

คุณ อาจ รู้<br />

อะไร ดี ๆ<br />

และ เขียน อะไร ดี ๆ ใน มุม ที่<br />

ใคร ยัง ไม่ เห็น เหมือน คุณ<br />

อีก ก็ได้ ค่ะ : )<br />

และ ถ้า อยาก เริ่ม<br />

ต้น การ เป็น นัก เขียน ธรรมะ ที ดี ่ ก็ ลอง<br />

ติดตาม อ่าน คอลัมน์ เขียน ให้ คนเป็น เทวดา ที คุณ ่ ‘ดัง<br />

ตฤณ ’ มา ช่วย เขียน เป็น นัก เขียน ประจำา ให้ ทุก สัปดาห์<br />

ดู นะ คะ<br />

ขอ อนุโมทนา ใน จิต อัน มี ธรรม เป็น ทาน ของ ทุก ท่าน ค่ะ


<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

dharma at hand<br />

มาร่วมเป็นอีกหนึ่งกำาลัง<br />

ที่ช่วยสร้างภาพใหม่ให้กับพระพุทธศาสนา<br />

ด้วยการร่วมส่งบทความ ดูข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ท้ายเล่ม<br />

หรือที่<br />

http://www.dharmamag.com/

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!