05.07.2019 Views

ASA NEWSLETTER 03-04_62

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

ตารางเมตร หรือตั ้งแต่ 1,000 ตารางเมตรขึ ้ นไปในกรณีเนื ้ อที่<br />

โรงงานเกิน 2,000 ตารางเมตร (เดิมเพิ่มขึ ้ นตั ้งแต่ร้อยละ 50<br />

ขึ ้ นไปไม่ว่าจะมีเนื ้ อที่โรงงานเท่าใด) และกำหนดหลักเกณฑ์ วิธี<br />

การ และเงื่อนไขเพิ่มเติม กรณีเหล่านี ้ ให้ผู้รับใบอนุญาตแจ้งเป็น<br />

หนังสือต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ภายใน 30 วันนับแต่วันที่มีการ<br />

ดำเนินการดังกล่าว<br />

– พระราชบัญญัติฉบับนี ้ ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนด<br />

180 วันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป คือ<br />

ตั ้งแต่วันที่ 28 ตุลาคม 25<strong>62</strong><br />

พระราชบัญญัติโรงงาน (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 25<strong>62</strong><br />

เหตุผลในการออกพระราชบัญญัติฉบับนี ้ เนื่องจาก<br />

แผนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและ<br />

แผนปฏิบัติการกำหนดขั ้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กร<br />

ปกครองส่วนท้องถิ่นกำหนดให้มีการถ่ายโอนภารกิจในการเป็น<br />

พนักงานเจ้าหน้าที่ซึ่งมีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับโรงงานจำพวกที่ 1<br />

และจำพวกที่ 2 ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สมควรแก้ไข<br />

เพิ่มเติมกฎหมายว่าด้วยโรงงานเพื่อให้องค์กรปกครองส่วนท้อง<br />

ถิ่นสามารถดำเนินการในฐานะพนักงานเจ้าหน้าที่ดังกล่าวภาย<br />

ใต้การกำกับดูแลของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และกำหนดกลไก<br />

เพื่อให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีรายได้จากการดำเนินการ<br />

ตามภารกิจที่ถ่ายโอนดังกล่าว<br />

พระราชบัญญัติฉบับนี ้ กำหนดว่า เมื่อรัฐมนตรีแต่งตั ้ง<br />

ผู้บริหารท้องถิ่นหรือข้าราชการส่วนท้องถิ่นขององค์กรปกครอง<br />

ส่วนท้องถิ ่นใดเป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ตามพระราชบัญญัติ<br />

โรงงาน ก็ให้มีอำนาจหน้าที่และความรับผิดตามที่กำหนดไว้<br />

สำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่เฉพาะในส่วนที่เกี่ยวกับโรงงานจ ำพวก<br />

ที่ 1 และโรงงานจำพวกที่ 2 ที่ตั ้งอยู่ในเขตองค์กรปกครองส่วน<br />

ท้องถิ่นนั ้น และค่าธรรมเนียมต่างๆ สำหรับโรงงานจำพวกที่ 2<br />

ให้ตกเป็นรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนั ้น<br />

ดาวน์โหลด : www.asa.or.th/laws/news20190507/<br />

แก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติการนิคมอุตสาหกรรม<br />

แห่งประเทศไทย<br />

16 เม.ย. 25<strong>62</strong><br />

แก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายว่าด้วยการนิคมอุตสาหกรรมแห่ง<br />

ประเทศไทย โดย “พระราชบัญญัติการนิคมอุตสาหกรรมแห่ง<br />

ประเทศไทย (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 25<strong>62</strong>” ประกาศในราชกิจจา<br />

นุเบกษาเมื่อวันที่ 16 เมษายน 25<strong>62</strong> โดยให้ใช้บังคับตั ้งแต่วัน<br />

ถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป<br />

เนื ้ อหาของพระราชบัญญัติการนิคมอุตสาหกรรม<br />

แห่งประเทศไทย (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 25<strong>62</strong> เป็นการแก้ไขเพิ่ม<br />

เติมวัตถุประสงค์และอำนาจหน้าที่ของการนิคมอุตสาหกรรม<br />

แห่งประเทศไทย (กนอ.) ให้ครอบคลุมกิจการที่จำเป็นหรือ<br />

เป็นประโยชน์แก่การดำเนินงานของ กนอ. โดยกำหนดให้มี<br />

บทบัญญัติเกี่ยวกับการโอนกรรมสิทธิ ์ที่ดินที่ได้มาจากการตรา<br />

พระราชกฤษฎีกาเปลี่ยนแปลงสภาพสาธารณสมบัติของแผ่นดิน<br />

ที่ชัดเจน รวมทั ้งกำหนดให้การพิจารณาอนุมัติ อนุญาต ออกใบ<br />

อนุญาต ให้ความเห็นชอบ หรือรับจดทะเบียนหรือรับแจ้งตาม<br />

กฎหมายบางฉบับที่จำเป็นให้เป็นอำนาจหน้าที่ของผู้ว่าการการ<br />

นิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย เพื่อประโยชน์ในการอำนวย<br />

ความสะดวกแก่ผู้ประกอบการในนิคมอุตสาหกรรม และกำหนด<br />

ให้การนำของหรือวัตถุดิบเข้าไปในเขตประกอบการเสรีเพื่อ<br />

พาณิชยกรรมได้รับความสะดวกมากขึ ้ น ในส่วนที่เกี่ยวกับอ ำนาจ<br />

กระทำกิจการ ได้บัญญัติเพิ่ม (4/1) ของมาตรา 10 กำหนด<br />

ให้ กนอ. มีอำนาจรวมถึง การกำกับหรือจัดให้มีระบบป้องกัน<br />

อุบัติภัย ระบบรักษาความปลอดภัย และระบบบำรุงรักษาสิ่ง<br />

แวดล้อม รวมตลอดถึงการควบคุมและจัดการน ้ำเสีย การจัดการ<br />

ขยะมูลฝอย และการจัดการมลภาวะอื่นใดในนิคมอุตสาหกรรม<br />

อีกเรื่องหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับการก่อสร้างอาคาร การ<br />

ประกอบกิจการโรงงาน ภายในนิคมอุตสาหกรรม คือการ<br />

ปรับปรุงแก้ไขมาตรา 42 และบัญญัติเพิ่มมาตรา 42/1 และ<br />

มาตรา 42/2 ซึ่งอยู่ในส่วนที่เกี่ยวกับการประกอบกิจการ<br />

ประโยชน์ และข้อห้าม ของนิคมอุตสาหกรรม โดยมาตรา 42<br />

บัญญัติให้การดำเนินการหรือการกระทำใดของผู้ประกอบ<br />

อุตสาหกรรมหรือผู้ประกอบพาณิชยกรรมที่เกี่ยวข้องกับ (1)<br />

กฎหมายว่าด้วยการขุดดินและถมดิน (2) กฎหมายว่าด้วยการ<br />

ควบคุมอาคาร (3) กฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุข และ (4)<br />

กฎหมายว่าด้วยโรงงาน หากกฎหมายเหล่านี ้ กำหนดให้ผู้ดำเนิน<br />

การหรือผู้กระทำต้องได้รับอนุมัติ อนุญาต ออกใบอนุญาต หรือ<br />

ความเห็นชอบจากหน่วยงานของรัฐหรือคณะกรรมการตาม<br />

กฎหมายนั ้น หรือต้องจดทะเบียนหรือแจ้งต่อหน่วยงานของรัฐ<br />

หรือคณะกรรมการตามกฎหมายนั ้นก่อน ให้ถือว่าผู้ว่าการ กนอ.<br />

หรือผู้ซึ่งผู้ว่าการ กนอ. มอบหมาย เป็นผู้มีอ ำนาจอนุมัติ อนุญาต<br />

ออกใบอนุญาต หรือให้ความเห็นชอบ หรือเป็นผู้มีอำนาจใน<br />

การรับจดทะเบียนหรือรับแจ้งตามกฎหมายนั ้นด้วย ทั ้งนี ้ ให้ผู้<br />

ว่าการหรือผู้ซึ่งผู้ว่าการมอบหมายมีฐานะเป็นเจ้าพนักงานหรือ<br />

พนักงานเจ้าหน้าที่ซึ ่งมีอำนาจในการบังคับการให้เป็นไปตาม<br />

กฎหมายดังกล่าวด้วย<br />

ในการอนุมัติ อนุญาต ออกใบอนุญาต ให้ความเห็น<br />

ชอบ หรือรับจดทะเบียนหรือรับแจ้งดังกล่าว จะต้องปฏิบัติตาม<br />

หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กำหนดไว้ตามกฎหมายนั ้น และ<br />

เมื่อดำเนินการแล้วให้แจ้งหน่วยงานของรัฐหรือคณะกรรมการ

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!