05.07.2019 Views

ASA NEWSLETTER 03-04_62

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

์<br />

้<br />

สวัสดีครับ<br />

งานสถาปนิก’<strong>62</strong> ที่ผ่านมา ถือว่าประสบความสำเร็จอย่างสูง มีผู้เข้าชมงานมากถึง 440,000 คน ซึ่งเพิ่มขึ ้ นมากกว่าปีที่ผ่านมา 10 %<br />

จึงขอขอบคุณ ดร.อัจฉราวรรณ จุฑารัตน์ ประธานจัดงาน ผศ.ดร.ชนิกานต์ ยิ ้ มประยูร รองประธานฯ รวมถึงคณะทำงานและเจ้าหน้าที่<br />

สมาคมฯทุกท่าน และขอถือโอกาสนี ้ ขอบคุณ บริษัท เอ็น ซี ซี เอ๊กซิบิชั่น ออแกไนท์เซอร์ จำกัด ที่เพิ่งเข้ามาทำหน้าที่บริหารงานในเวลา<br />

อันจำกัดได้อย่างมีประสิทธิภาพ และนับเป็นครั ้งแรกที่มีการส่งมอบข้อมูลการลงทะเบียนผู้เข้าชมงานให้สมาคมฯได้นำไปใช้ประโยชน์<br />

ในการสื่อสารกิจกรรมอื่นๆของสมาคมฯให้สังคมได้รับทราบในวงกว้าง<br />

ตั ้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 25<strong>62</strong> เป็นต้นไป สมาคมฯจะเริ่มทำการสื่อสารผ่านระบบออนไลน์อย่างเต็มรูปแบบ รวมถึงวารสาร<br />

<strong>ASA</strong> Crew / <strong>ASA</strong> Journal / จดหมายเหตุอาษา และหนังสือวิชาการต่างๆ ที่จะอยู่ในรูปแบบของ E-Book สำหรับสมาชิกที่ประสงค์<br />

รับการสื่อสารในรูปแบบเก่า หากมีปริมาณที่เพียงพอ สมาคมฯยินดีที่จะจัดพิมพ์แบบ Print on demand ให้ เพียงแต่ผู้สั่งจะต้องรับ<br />

ผิดชอบค่าใช้จ่ายตามจริง ส่วนการสื่อสารผ่านระบบออนไลน์นั ้น สมาชิกสามารถอัพเดทข้อมูลได้ที่ http://asa-member.com/<br />

Profile/EditUserProfile หากมีข้อสงสัยสามารถติดต่อ คุณรติรัตน์ จันทร เจ้าหน้าที่ฝ่ ายทะเบียน โทร. 02-319-6555 ต่อ 113 อีเมล<br />

register@asa-member.com ในเวลาทำการ<br />

ปัจจุบัน สมาคมฯมีความมั่นคงมากขึ ้ น และมีกิจกรรมส่งเสริมวิชาชีพทั ้งในระดับชาติและนานาชาติที่สมควรเผยแพร่ จึงเล็งเห็นว่าถึง<br />

เวลาแล้วที่อยากจะเชิญชวนและเปิดโอกาสให้กับสถาปนิกทั ้งประเทศเข้ามามีส่วนร่วม ใช้ประโยชน์ได้อย่างทั่วถึงและเท่าเทียมกัน ตาม<br />

เกณฑ์ข้อบังคับการเป็นสมาชิกสมาคมฯ ได้แก่ สมาชิกประเภทสามัญ ราย 5 ปี / ประเภทภาคี ราย 1 ปี / ประเภทสมทบนักศึกษา<br />

และบุคคลทั่วไป ราย 1 ปี โดยสมาคมฯเปิดให้สมัครได้ตั ้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 25<strong>62</strong> – 30 มิถุนายน 2563 โดยทุกประเภทไม่มี<br />

ค่าใช้จ่ายใดๆ ทั ้งนี ้ ที่ผ่านมาสมาคมฯได้มีข้อตกลงแลกเปลี่ยนสมาชิกระหว่างสมาคมวิชาชีพต่างๆ การขอความร่วมมือจากสมาพันธ์<br />

สมาคมศิษย์เก่าคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์แห่งประเทศไทย (<strong>ASA</strong>SA) ที่จะช่วยประชาสัมพันธ์การมอบสิทธิ ์ครั ้งนี ้ ไปยังสมาชิกทั่ว<br />

ประเทศ รวมถึงประชาชนทั่วไปที่สนใจ<br />

สมาคมฯได้เตรียมความพร้อมเรื่องการเลือกตั ้งผ่านระบบออนไลน์ สำหรับสมาชิกสามัญทั่วประเทศสามารถใช้สิทธิ ์ในการโหวต โดย<br />

จะเริ่มมีการทดลองใช้และปรับปรุงระบบจนสมบูรณ์พร้อมสำหรับการเลือกตั ้งประธานกรรมาธิการสถาปนิกทั ้ง 3 ภูมิภาคก่อน หลัง<br />

จากนั ้นก็จะนำไปใช้ในการเลือกตั ้งนายกสมาคมฯในลำดับต่อไป อนึ่งเพื่อให้เท่าทันต่อการเปลี่ยนแปลงระบบการสื่อสารครั ้งใหม่นี<br />

สมาคมฯมีนโยบายที่จะจัดอบรมการใช้แท๊บเล็ตสำหรับผู้สูงวัยที่มีอายุตั ้งแต่ 60 ปีขึ ้ นไป ซึ่งรายละเอียดสมาคมฯจะแจ้งให้ทราบต่อไป<br />

สุดท้าย เพื่อให้นโยบายการกระจายการบริหารออกสู่ภูมิภาคเป็นรูปธรรม สมาคมฯได้อนุมัติการจัดซื ้ อที่ดิน เพิ่มขึ ้ นอีก 3 แปลง ตาม<br />

มติของที่ประชุมใหญ่สามัญประจำปี ได้แก่ จ.ขอนแก่น จ.นครราชสีมา และ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา เพื่อใช้จัดตั ้งเป็นสาขาภูมิภาคและ<br />

ศูนย์ย่อยต่อไป<br />

คณะกรรมการบริหารสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ปี 2561-2563<br />

นายกสมาคม<br />

นายอัชชพล ดุสิตนานนท์<br />

อุปนายก<br />

นายเมธี รัศมีวิจิตรไพศาล<br />

ผศ.ดร.ธนะ จีระพิวัฒน์<br />

ดร.พินัย สิริเกียรติกุล<br />

นายศักดิ ์ชัย ยวงตระกูล<br />

นายทรงพจน์ สายสืบ<br />

เลขาธิการ<br />

นายปรีชา นวประภากุล<br />

เหรัญญิก<br />

นางภิรวดี ชูประวัติ<br />

ปฏิคม<br />

นายสมชาย เปรมประภาพงษ์<br />

นายทะเบียน<br />

พ.ต.อ.สักรินทร์ เขียวเซ็น<br />

นายอัชชพล ดุสิตนานนท์<br />

นายกสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ 2561-2563<br />

ประชาสัมพันธ์<br />

ผศ.ดร.กมล จิราพงษ์<br />

กรรมการกลาง<br />

นายเทียนทอง กีระนันทน์<br />

ดร.รัฐพงศ์ อังกสิทธิ<br />

นายชายแดน เสถียร<br />

นายรุ่งโรจน์ อ่วมแก้ว<br />

ประธานกรรมาธิการสถาปนิก<br />

ล้านนา<br />

นายอิศรา อารีรอบ<br />

ประธานกรรมาธิการสถาปนิก<br />

อีสาน<br />

นายธนาคม วิมลวัตรเวที<br />

ประธานกรรมาธิการสถาปนิก<br />

ทักษิณ<br />

นายนิพนธ์ หัสดีวิจิตร<br />

คณะกรรมการกองทุนสมาคมสถาปนิกสยาม<br />

ในพระบรมราชูปถัมภ์ ปี 2560-25<strong>62</strong><br />

ประธานกรรมการกองทุน<br />

พลเรือเอกฐนิธ กิตติอำพน<br />

กรรมการกองทุน<br />

นายบุญญวัฒน์ ทิพทัส<br />

ดร.ศุภกิจ มูลประมุข<br />

นายประภากร วทานยกุล<br />

พล.อ.ต.ม.ล.ประกิตติ เกษมสันต์<br />

นายอัชชพล ดุสิตนานนท์<br />

นางภิรวดี ชูประวัติ


ปรับปรุงแก้ไขพระราชบัญญัติโรงงาน<br />

30 เม.ย. 25<strong>62</strong><br />

พระราชบัญญัติโรงงาน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 25<strong>62</strong> และ พระราช<br />

บัญญัติโรงงาน (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 25<strong>62</strong> ประกาศในราชกิจจา<br />

นุเบกษา เมื่อวันที่ 30 เมษายน 25<strong>62</strong> เป็นการปรับปรุงแก้ไข<br />

พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 ให้เหมาะสมและสอดคล้อง<br />

กับสภาพการณ์ปัจจุบัน เพื่อลดปัญหาและอุปสรรคต่างๆ ในการ<br />

ประกอบกิจการโรงงาน และเพื่อถ่ายโอนภารกิจบางส่วนสู่องค์กร<br />

ปกครองส่วนท้องถิ่น<br />

พระราชบัญญัติโรงงาน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 25<strong>62</strong><br />

เหตุผลในการออกพระราชบัญญัติฉบับนี ้ เนื่องจากพระ<br />

ราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 ได้ใช้บังคับมาเป็นเวลานาน<br />

แล้ว ทำให้บทบัญญัติบางประการไม่เหมาะสมและสอดคล้อง<br />

กับสภาพการณ์ปัจจุบัน โดยเฉพาะหลักเกณฑ์การควบคุมการ<br />

ประกอบกิจการโรงงานที่มีความเข้มงวดและล่าช้า อันสร้าง<br />

ปัญหาและอุปสรรคต่อการประกอบกิจการโรงงาน สมควร<br />

เปลี่ยนแปลงหลักเกณฑ์การควบคุมการประกอบกิจการโรงงาน<br />

ใหม่เพื่อให้การควบคุมการประกอบกิจการโรงงานเป็นไปเพียง<br />

เท่าที่จำเป็น เกิดความรวดเร็ว ประหยัด และลดภาระแก่ผู้<br />

ประกอบกิจการโรงงานโดยเฉพาะผู้ประกอบกิจการโรงงาน<br />

ขนาดเล็ก โดยการปรับปรุงขั ้นตอนและระยะเวลาการพิจารณา<br />

ของผู้อนุญาตและพนักงานเจ้าหน้าที่ตามกฎหมายให้มีความ<br />

ชัดเจน ลดการใช้ดุลพินิจ ยกเลิกการกำหนดให้มีการต่ออายุใบ<br />

อนุญาตประกอบกิจการโรงงาน และแก้ไขเพิ ่มเติมบทกำหนด<br />

โทษ รวมทั ้งปรับปรุงอัตราค่าธรรมเนียม เพื่อให้เหมาะสมยิ่งขึ ้ น<br />

และสอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจและสังคมปัจจุบัน<br />

รายละเอียดการแก้ไขปรับปรุงบางเรื่องที่น่าสนใจ เช่น<br />

- พระราชบัญญัตินี ้ นอกจากจะไม่ใช้บังคับแก่โรงงาน<br />

ของทางราชการเพื่อประโยชน์แห่งความมั่นคงและความ<br />

ปลอดภัยของประเทศแล้ว ยังเพิ่มเติมให้รัฐมนตรีสามารถออก<br />

ประกาศกำหนดให้โรงงานบางประเภทได้รับยกเว้นจากการ<br />

ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติโรงงานบางส่วนก็ได้ ตามหลักเกณฑ์<br />

วิธีการ และเงื่อนไขที่กำหนด ได้แก่ โรงงานของทางราชการ<br />

โรงงานที่มีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษาวิจัย โรงงานของสถาบัน<br />

การศึกษาในส่วนที่มีวัตถุประสงค์เพื่อการฝึกอบรม โรงงานที่<br />

ดำเนินงานอันมีลักษณะเป็นอุตสาหกรรมในครอบครัว และ<br />

โรงงานที่ดำเนินงานอันมีลักษณะที่จำเป็นและเกี่ยวเนื่องกับ<br />

กิจการที่มิใช่โรงงานตามพระราชบัญญัตินี ้ และตั ้งอยู่ในพื ้ นที่<br />

เดียวกัน<br />

- แก้ไขบทนิยาม “โรงงาน” ให้หมายความถึง อาคาร<br />

สถานที่ หรือยานพาหนะที่ใช้เครื่องจักรมีกำลังรวมหรือเทียบ<br />

เท่าตั ้งแต่ 50 แรงม้าขึ ้ นไป (เดิม 5 แรงม้าขึ ้ นไป) หรือใช้คน<br />

งานตั ้งแต่ 50 คนขึ ้ นไปโดยใช้เครื่องจักรหรือไม่ก็ตาม (เดิม 7<br />

คนขึ ้ นไป) และแก้ไขบทนิยาม “ตั ้งโรงงาน” ให้หมายความถึง<br />

การนำเครื่องจักรมาติดตั ้งในอาคาร สถานที่ หรือยานพาหนะ<br />

ที่จะประกอบกิจการโรงงาน หรือนำคนงานมาประกอบกิจการ<br />

โรงงานในกรณีที่ไม่มีการใช้เครื่องจักร (เดิมจะต้องมีการก่อสร้าง<br />

อาคาร และไม่ครอบคลุมถึงการนำคนงานมาประกอบกิจการ<br />

โรงงานในกรณีที่ไม่มีการใช้เครื่องจักร)<br />

– ในการแบ่งโรงงานออกเป็นสามจำพวกในมาตรา 7<br />

สำหรับโรงงานจำพวกที่ 2 ซึ่งเดิมเป็นจำพวกที่จะต้องแจ้งให้ผู้<br />

อนุญาต (ปลัดกระทรวงหรือผู้ซึ่งได้รับมอบหมาย) ทราบก่อน<br />

แก้ไขเป็น ต้องแจ้งให้พนักงานเจ้าหน้าที่ (ผู้ซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั ้งให้<br />

ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี ้ ) ทราบก่อน ซึ่งจะสอดคล้องกับ<br />

ที่บัญญัติในมาตรา 11 มาแต่เดิมว่า เมื่อจะเริ่มประกอบกิจการ<br />

โรงงานให้แจ้งต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ทราบก่อน<br />

– เพิ่มเรื่อง “ผู้ตรวจสอบเอกชน” ให้ชัดเจนขึ ้ นในมาตรา<br />

9 มาตรา 9/1 ถึง มาตรา 9/6 โดยต้องได้รับใบอนุญาตตรวจ<br />

สอบหรือรับรองจากผู้อนุญาต กำหนดคุณสมบัติและลักษณะต้อง<br />

ห้ามของผู้ขอรับใบอนุญาตตรวจสอบหรือรับรองซึ่งเป็นบุคคล<br />

ธรรมดาและนิติบุคคล ใบอนุญาตตรวจสอบหรือรับรองนี ้ ให้<br />

มีอายุถึงวันสิ ้ นปีปฏิทินแห่งปีที่ 3 นับแต่วันที่ออกใบอนุญาตฯ<br />

– ยกเลิกอายุใบอนุญาตประกอบกิจการโรงงานจำพวก<br />

ที่ 3 ซึ่งเดิมกำหนดให้ใช้ได้จนถึงวันสิ ้ นปีปฏิทินแห่งปีที่ 5 และ<br />

ยกเลิกเรื่องการขอต่ออายุใบอนุญาต ในกรณีโรงงานที่ภายหลัง<br />

มีกำลังรวมของเครื่องจักรลดลงหรือจำนวนคนงานลดลงจนไม่<br />

เข้าข่ายโรงงานตามบทนิยาม ให้ถือว่ายังเป็นโรงงานตามพระ<br />

ราชบัญญัตินี ้ อยู่จนกว่าจะได้แจ้งเลิกประกอบกิจการโรงงาน<br />

– กำหนดหลักเกณฑ์ที่เข้าข่ายจะต้องขออนุญาตขยาย<br />

โรงงานให้ละเอียดขึ ้ น โดยพิจารณาจากกำลังรวมของเครื่องจักร<br />

ที่เพิ่มขึ ้ น และกำลังรวมของเครื่องจักรเดิม นอกจากนั ้น ยัง<br />

ครอบคลุมถึงการดำเนินการในการเพิ่ม เปลี่ยน เปลี่ยนแปลง<br />

เครื่องจักรซึ่งกระทำบนที่ดินแปลงใหม่ที่ติดกับที่ดินที่ตั ้งโรงงาน<br />

เดิมหรือที่ดินที่ได้รับอนุญาตให้ขยายโรงงานไว้เดิม และกำหนด<br />

หลักเกณฑ์การขยายโรงงานบางกรณีที่ให้ได้รับยกเว้นไม่ต้อง<br />

ขออนุญาต เช่น การจัดให้มีหรือเพิ่มประสิทธิภาพการบำบัด<br />

มลพิษ ให้มีมาตรการป้องกันหรือลดเหตุเดือดร้อนรำคาญ เพิ่ม<br />

ประสิทธิภาพเครื่องจักรต้นกำลัง หรือเพื่อให้มีผลกระทบต่อ<br />

สิ่งแวดล้อมลดลง หรือเพื่อประสิทธิภาพด้านพลังงาน<br />

– ปรับปรุงหลักเกณฑ์ในการเปลี่ยนแปลงเครื่องจักรที่<br />

ไม่ถึงขั ้นขยายโรงงาน หรือการเพิ่มเนื ้ อที่อาคารโรงงาน โดยใน<br />

กรณีการเพิ่มเนื ้ อที่อาคารโรงงาน แก้ไขหลักเกณฑ์เป็นตั ้งแต่<br />

1,000 ตารางเมตรขึ ้ นไปในกรณีเนื ้ อที่โรงงานไม่เกิน 2,000


ตารางเมตร หรือตั ้งแต่ 1,000 ตารางเมตรขึ ้ นไปในกรณีเนื ้ อที่<br />

โรงงานเกิน 2,000 ตารางเมตร (เดิมเพิ่มขึ ้ นตั ้งแต่ร้อยละ 50<br />

ขึ ้ นไปไม่ว่าจะมีเนื ้ อที่โรงงานเท่าใด) และกำหนดหลักเกณฑ์ วิธี<br />

การ และเงื่อนไขเพิ่มเติม กรณีเหล่านี ้ ให้ผู้รับใบอนุญาตแจ้งเป็น<br />

หนังสือต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ภายใน 30 วันนับแต่วันที่มีการ<br />

ดำเนินการดังกล่าว<br />

– พระราชบัญญัติฉบับนี ้ ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนด<br />

180 วันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป คือ<br />

ตั ้งแต่วันที่ 28 ตุลาคม 25<strong>62</strong><br />

พระราชบัญญัติโรงงาน (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 25<strong>62</strong><br />

เหตุผลในการออกพระราชบัญญัติฉบับนี ้ เนื่องจาก<br />

แผนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและ<br />

แผนปฏิบัติการกำหนดขั ้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กร<br />

ปกครองส่วนท้องถิ่นกำหนดให้มีการถ่ายโอนภารกิจในการเป็น<br />

พนักงานเจ้าหน้าที่ซึ่งมีอำนาจหน้าที่เกี่ยวกับโรงงานจำพวกที่ 1<br />

และจำพวกที่ 2 ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สมควรแก้ไข<br />

เพิ่มเติมกฎหมายว่าด้วยโรงงานเพื่อให้องค์กรปกครองส่วนท้อง<br />

ถิ่นสามารถดำเนินการในฐานะพนักงานเจ้าหน้าที่ดังกล่าวภาย<br />

ใต้การกำกับดูแลของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และกำหนดกลไก<br />

เพื่อให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีรายได้จากการดำเนินการ<br />

ตามภารกิจที่ถ่ายโอนดังกล่าว<br />

พระราชบัญญัติฉบับนี ้ กำหนดว่า เมื่อรัฐมนตรีแต่งตั ้ง<br />

ผู้บริหารท้องถิ่นหรือข้าราชการส่วนท้องถิ่นขององค์กรปกครอง<br />

ส่วนท้องถิ ่นใดเป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ตามพระราชบัญญัติ<br />

โรงงาน ก็ให้มีอำนาจหน้าที่และความรับผิดตามที่กำหนดไว้<br />

สำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่เฉพาะในส่วนที่เกี่ยวกับโรงงานจ ำพวก<br />

ที่ 1 และโรงงานจำพวกที่ 2 ที่ตั ้งอยู่ในเขตองค์กรปกครองส่วน<br />

ท้องถิ่นนั ้น และค่าธรรมเนียมต่างๆ สำหรับโรงงานจำพวกที่ 2<br />

ให้ตกเป็นรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนั ้น<br />

ดาวน์โหลด : www.asa.or.th/laws/news20190507/<br />

แก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติการนิคมอุตสาหกรรม<br />

แห่งประเทศไทย<br />

16 เม.ย. 25<strong>62</strong><br />

แก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายว่าด้วยการนิคมอุตสาหกรรมแห่ง<br />

ประเทศไทย โดย “พระราชบัญญัติการนิคมอุตสาหกรรมแห่ง<br />

ประเทศไทย (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 25<strong>62</strong>” ประกาศในราชกิจจา<br />

นุเบกษาเมื่อวันที่ 16 เมษายน 25<strong>62</strong> โดยให้ใช้บังคับตั ้งแต่วัน<br />

ถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป<br />

เนื ้ อหาของพระราชบัญญัติการนิคมอุตสาหกรรม<br />

แห่งประเทศไทย (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 25<strong>62</strong> เป็นการแก้ไขเพิ่ม<br />

เติมวัตถุประสงค์และอำนาจหน้าที่ของการนิคมอุตสาหกรรม<br />

แห่งประเทศไทย (กนอ.) ให้ครอบคลุมกิจการที่จำเป็นหรือ<br />

เป็นประโยชน์แก่การดำเนินงานของ กนอ. โดยกำหนดให้มี<br />

บทบัญญัติเกี่ยวกับการโอนกรรมสิทธิ ์ที่ดินที่ได้มาจากการตรา<br />

พระราชกฤษฎีกาเปลี่ยนแปลงสภาพสาธารณสมบัติของแผ่นดิน<br />

ที่ชัดเจน รวมทั ้งกำหนดให้การพิจารณาอนุมัติ อนุญาต ออกใบ<br />

อนุญาต ให้ความเห็นชอบ หรือรับจดทะเบียนหรือรับแจ้งตาม<br />

กฎหมายบางฉบับที่จำเป็นให้เป็นอำนาจหน้าที่ของผู้ว่าการการ<br />

นิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย เพื่อประโยชน์ในการอำนวย<br />

ความสะดวกแก่ผู้ประกอบการในนิคมอุตสาหกรรม และกำหนด<br />

ให้การนำของหรือวัตถุดิบเข้าไปในเขตประกอบการเสรีเพื่อ<br />

พาณิชยกรรมได้รับความสะดวกมากขึ ้ น ในส่วนที่เกี่ยวกับอ ำนาจ<br />

กระทำกิจการ ได้บัญญัติเพิ่ม (4/1) ของมาตรา 10 กำหนด<br />

ให้ กนอ. มีอำนาจรวมถึง การกำกับหรือจัดให้มีระบบป้องกัน<br />

อุบัติภัย ระบบรักษาความปลอดภัย และระบบบำรุงรักษาสิ่ง<br />

แวดล้อม รวมตลอดถึงการควบคุมและจัดการน ้ำเสีย การจัดการ<br />

ขยะมูลฝอย และการจัดการมลภาวะอื่นใดในนิคมอุตสาหกรรม<br />

อีกเรื่องหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับการก่อสร้างอาคาร การ<br />

ประกอบกิจการโรงงาน ภายในนิคมอุตสาหกรรม คือการ<br />

ปรับปรุงแก้ไขมาตรา 42 และบัญญัติเพิ่มมาตรา 42/1 และ<br />

มาตรา 42/2 ซึ่งอยู่ในส่วนที่เกี่ยวกับการประกอบกิจการ<br />

ประโยชน์ และข้อห้าม ของนิคมอุตสาหกรรม โดยมาตรา 42<br />

บัญญัติให้การดำเนินการหรือการกระทำใดของผู้ประกอบ<br />

อุตสาหกรรมหรือผู้ประกอบพาณิชยกรรมที่เกี่ยวข้องกับ (1)<br />

กฎหมายว่าด้วยการขุดดินและถมดิน (2) กฎหมายว่าด้วยการ<br />

ควบคุมอาคาร (3) กฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุข และ (4)<br />

กฎหมายว่าด้วยโรงงาน หากกฎหมายเหล่านี ้ กำหนดให้ผู้ดำเนิน<br />

การหรือผู้กระทำต้องได้รับอนุมัติ อนุญาต ออกใบอนุญาต หรือ<br />

ความเห็นชอบจากหน่วยงานของรัฐหรือคณะกรรมการตาม<br />

กฎหมายนั ้น หรือต้องจดทะเบียนหรือแจ้งต่อหน่วยงานของรัฐ<br />

หรือคณะกรรมการตามกฎหมายนั ้นก่อน ให้ถือว่าผู้ว่าการ กนอ.<br />

หรือผู้ซึ่งผู้ว่าการ กนอ. มอบหมาย เป็นผู้มีอ ำนาจอนุมัติ อนุญาต<br />

ออกใบอนุญาต หรือให้ความเห็นชอบ หรือเป็นผู้มีอำนาจใน<br />

การรับจดทะเบียนหรือรับแจ้งตามกฎหมายนั ้นด้วย ทั ้งนี ้ ให้ผู้<br />

ว่าการหรือผู้ซึ่งผู้ว่าการมอบหมายมีฐานะเป็นเจ้าพนักงานหรือ<br />

พนักงานเจ้าหน้าที่ซึ ่งมีอำนาจในการบังคับการให้เป็นไปตาม<br />

กฎหมายดังกล่าวด้วย<br />

ในการอนุมัติ อนุญาต ออกใบอนุญาต ให้ความเห็น<br />

ชอบ หรือรับจดทะเบียนหรือรับแจ้งดังกล่าว จะต้องปฏิบัติตาม<br />

หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กำหนดไว้ตามกฎหมายนั ้น และ<br />

เมื่อดำเนินการแล้วให้แจ้งหน่วยงานของรัฐหรือคณะกรรมการ


้<br />

ตามกฎหมายนั ้นหรือกฎหมายที่เกี่ยวข้องเพื่อเก็บไว้เป็นหลัก<br />

ฐานด้วย<br />

หลักการของมาตรา 42 นี ้ ยังคงเดิมคือเป็นการให้<br />

อำนาจหน้าที่แก่ผู้ว่าการ กนอ. ในการดำเนินการหรือการกระทำ<br />

ตามกฎหมายอื่น สิ่งที่แตกต่างจากเดิมคือ เดิมกล่าวถึงกฎหมาย<br />

ว่าด้วยโรงงาน กฎหมายว่าด้วยการควบคุมการก่อสร้างอาคาร<br />

และกฎหมายว่าด้วยการผังเมือง ในพระราชบัญญัติฉบับใหม่นี<br />

เพิ่มกฎหมายว่าด้วยการขุดดินและถมดิน และกฎหมายว่าด้วย<br />

การสาธารณสุข และไม่ได้กล่าวถึงกฎหมายว่าด้วยการผังเมือง<br />

และอีกประเด็นหนึ่งคือ เดิมไม่ได้กำหนดว่าให้ กนอ. แจ้งหน่วย<br />

งานของรัฐหรือคณะกรรมการตามกฎหมายอื่นหรือกฎหมายอื่น<br />

ที่เกี่ยวข้องเพื่อเก็บไว้เป็นหลักฐานด้วย<br />

ในกรณีการดำเนินการหรือการกระทำใดภายในนิคม<br />

อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับกฎหมายอื่นนอกเหนือจากกฎหมาย<br />

ดังกล่าวข้างต้น มาตรา 42/1 ที่บัญญัติเพิ่มขึ ้ น ก ำหนดว่าจะต้อง<br />

ได้รับอนุมัติ อนุญาต ออกใบอนุญาต หรือความเห็นชอบจาก<br />

หน่วยงานของรัฐหรือคณะกรรมการตามกฎหมายนั ้น หรือต้อง<br />

จดทะเบียนหรือแจ้งต่อหน่วยงานของรัฐหรือคณะกรรมการตาม<br />

กฎหมายนั ้นก่อน แต่ก็ได้เปิดช่องให้หน่วยงานของรัฐหรือคณะ<br />

กรรมการตามกฎหมายอื่นนั ้นสามารถมอบอำนาจเป็นหนังสือ<br />

ให้ผู้ว่าการ กนอ. หรือผู้ซึ ่งผู้ว่าการมอบหมายเป็นผู้มีอำนาจ<br />

ปฏิบัติการแทนก็ได้<br />

มาตรา 42/2 ที่เพิ่มขึ ้ นบัญญัติว่า ในการอนุมัติ อนุญาต<br />

ออกใบอนุญาต ให้ความเห็นชอบ หรือรับจดทะเบียนหรือรับแจ้ง<br />

ตามมาตรา 42 และมาตรา 42/1 ให้ กนอ. มีอำนาจเรียกเก็บ<br />

ค่าธรรมเนียม ค่าใช้จ่าย หรือค่าอื่นใด ที่กฎหมายว่าด้วยการนั ้น<br />

กำหนดไว้ และให้นำส่งหน่วยงานของรัฐที่มีอำนาจเรียกเก็บค่า<br />

ธรรมเนียม ค่าใช้จ่าย หรือค่าอื่นใดนั ้น ตามหลักเกณฑ์และวิธี<br />

การตามที่ได้ตกลงกัน และให้อำนาจ กนอ. ในการเรียกเก็บค่า<br />

บริการในการดำเนินการเพิ่มเติมได้ตามอัตราที่คณะกรรมการ<br />

กนอ. กำหนด ซึ่งต้องไม่เกินร้อยละ 10 ของค่าธรรมเนียมที่<br />

เรียกเก็บ ค่าบริการในส่วนนี ้ ถือเป็นรายได้ของ กนอ.<br />

มหาดไทย เรื่อง กำหนดบริเวณห้ามก่อสร้างหรือดัดแปลงอาคาร<br />

บางชนิดหรือบางประเภท ในพื ้ นที่บางส่วนในท้องที่แขวงหิรัญ<br />

รูจี แขวงบางยี่เรือ เขตธนบุรี และแขวงสมเด็จเจ้าพระยา แขวง<br />

คลองต้นไทร เขตคลองสาน กรุงเทพมหานคร” และ “ประกาศ<br />

กระทรวงมหาดไทย เรื่อง กำหนดบริเวณห้ามก่อสร้างหรือ<br />

ดัดแปลงอาคารบางชนิดหรือบางประเภท ในพื ้ นที่บางส่วนใน<br />

ท้องที่แขวงพญาไท แขวงสามเสนใน เขตพญาไท และแขวงทุ่ง<br />

พญาไท แขวงถนนพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร” ออก<br />

ตามกฎหมายควบคุมอาคาร มีผลใช้บังคับตั ้งแต่วันที่ 4 เม.ย.<br />

25<strong>62</strong><br />

ประกาศกระทรวงมหาดไทยฉบับแรก ใช้บังคับในพื ้ นที่<br />

โดยรอบพระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช<br />

ภายในรัศมี 300 เมตรจากจุดศูนย์กลางอนุสาวรีย์ ครอบคลุม<br />

พื ้ นที่บางส่วนริมถนนสมเด็จพระเจ้าตากสิน ถนนประชาธิปก<br />

ถนนอินทรพิทักษ์ และถนนลาดหญ้า ที่อยู่โดยรอบวงเวียนใหญ่<br />

โดยแบ่งออกเป็น 2 บริเวณ ได้แก่ บริเวณที่ 1 คือพื ้ นที่โดยรอบ<br />

ภายในรัศมี 200 เมตรจากจุดกึ่งกลางของอนุสาวรีย์ และบริเวณ<br />

ที่ 2 คือพื ้ นที่ถัดจากบริเวณที่ 1 ภายในรัศมี 300 เมตรจากจุด<br />

กึ่งกลางของอนุสาวรีย์ โดยในบริเวณที่ 1 กำหนดห้ามก่อสร้าง<br />

ดัดแปลง หรือเปลี่ยนการใช้เป็นอาคารที่มีความสูงเกิน 17 เมตร<br />

และในบริเวณที่ 2 ห้ามสำหรับอาคารที่มีความสูงเกิน 27 เมตร<br />

ดาวน์โหลด : www.asa.or.th/laws/news2019<strong>04</strong>18/<br />

บริเวณห้ามก่อสร้างโดยรอบอนุสาวรีย์พระเจ้า<br />

ตากสินฯ และอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ<br />

3 เม.ย. 25<strong>62</strong><br />

กระทรวงมหาดไทยออกประกาศกระทรวงมหาดไทยเรื่อง<br />

กำหนดบริเวณห้ามก่อสร้างฯ 2 ฉบับ ได้แก่ “ประกาศกระทรวง<br />

นอกจากนั ้นยังมีข้อกำหนดให้การก่อสร้างอาคารมี<br />

ลักษณะดังต่อไปนี ้ คือ สีของผนังภายนอกต้องเป็นโทนสีครีม ห้าม<br />

ใช้วัสดุสะท้อนแสงหรือวัสดุมันวาว สีของหลังคาต้องเป็นโทนสี<br />

เทาเข้ม และห้ามติดตั ้งหรือวางอุปกรณ์ประเภทกันสาด เครื่อง<br />

ปรับอากาศ เสาอากาศโทรทัศน์หรือวิทยุ หรือส่วนยื่นอื่นๆ ที่<br />

ด้านหน้าอาคาร


ส่วนประกาศกระทรวงมหาดไทยฉบับที่สอง ใช้บังคับ<br />

ในพื ้ นที่โดยรอบอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิภายในรัศมี 300 เมตร<br />

จากจุดศูนย์กลางอนุสาวรีย์ ครอบคลุมพื ้ นที่บางส่วนริมถนน<br />

พญาไท ถนนพหลโยธิน และถนนราชวิถี ที่อยู่โดยรอบอนุสาวรีย์<br />

ชัยสมรภูมิ ประกาศกระทรวงมหาดไทยฉบับนี ้ มีข้อกำหนด<br />

ลักษณะอาคารเช่นเดียวกัน คือ สีของผนังภายนอกต้องเป็น<br />

โทนสีครีม ห้ามใช้วัสดุสะท้อนแสงหรือวัสดุมันวาว สีของหลังคา<br />

ต้องเป็นโทนสีเทาเข้ม และห้ามติดตั ้งหรือวางอุปกรณ์ประเภท<br />

กันสาด เครื่องปรับอากาศ เสาอากาศโทรทัศน์หรือวิทยุ หรือ<br />

ส่วนยื่นอื่นๆ ที่ด้านหน้าอาคาร<br />

ทั ้งสองฉบับ มีข้อยกเว้นไม่ใช้บังคับสำหรับ อาคาร<br />

โบราณสถาน พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ศาสนสถาน หรืออาคาร<br />

ต่างๆ ที่ใช้เพื่อการศาสนาหรือศิลปวัฒนธรรม<br />

ประกาศกระทรวงมหาดไทยสองฉบับนี ้ มีอายุใช้บังคับ<br />

หนึ่งปีคือจนถึงวันที่ 3 เม.ย. 2563 ซึ่งก่อนจะครบอายุหนึ่งปีจะ<br />

ต้องมีการออกข้อบัญญัติกรุงเทพมหานครหรือกฎกระทรวงเพื่อ<br />

ใช้บังคับเป็นการถาวรแทน หากไม่ออก ข้อกำหนดต่างๆตาม<br />

ประกาศกระทรวงมหาดไทยฉบับนี ้ ก็จะถูกยกเลิกไปโดยปริยาย<br />

ดาวน์โหลด : www.asa.or.th/laws/news2019<strong>04</strong><strong>04</strong>/<br />

พ ร ะ ร า ช บ ั ญ ญ ั ต ิ ภ า ษี ที ่ ดิ น แ ล ะ สิ ่ ง ป ล ู<br />

พ.ศ. 25<strong>62</strong><br />

12 ม.ค. 25<strong>62</strong><br />

พระราชบัญญัติภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง พ.ศ. 25<strong>62</strong> ประกาศ<br />

ในราชกิจจานุเบกษาแล้ว เมื่อวันที่ 12 มกราคม 25<strong>62</strong> โดยมี<br />

ผลใช้บังคับตั ้งแต่วันถัดจากวันประกาศ คือวันที่ 13 มกราคม<br />

25<strong>62</strong> เป็นต้นไป ส่วนการจัดเก็บภาษีสำหรับที่ดินและสิ่งปลูก<br />

สร้างตามพระราชบัญญัตินี ้ จะเริ่มใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม<br />

2563 เป็นต้นไป<br />

พระราชบัญญัติฉบับนี ้ ออกมาเพื่อใช้แทนพระราช<br />

บัญญัติภาษีโรงเรือนและที่ดิน พุทธศักราช 2475 และพระ<br />

ราชบัญญัติภาษีบำรุงท้องที่ พ.ศ. 2508 โดยให้ยกเลิกพระราช<br />

บัญญัติทั ้งสอง รวมถึงพระราชบัญญัติ พระราชกำหนด ประกาศ<br />

ของคณะปฏิวัติ ที่เป็นฉบับปรับปรุงแก้ไขของพระราชบัญญัติทั ้ง<br />

สองทั ้งหมด และหากมีกฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับใดที่ใช้<br />

บังคับอยู่ก่อนที่อ้างไปถึงภาษีโรงเรือนและที่ดิน หรือภาษีบำรุง<br />

ท้องที่ ก็”ไม่ให้”มีความหมายเป็นการกล่าวถึงหรืออ้างถึงภาษี<br />

ตามพระราชบัญญัติภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างนี ้ (มาตรา 4)<br />

พระราชบัญญัติฉบับนี ้ บัญญัติให้องค์กรปกครองส่วน<br />

ท้องถิ่นมีอำนาจจัดเก็บภาษีจากที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างที่อยู่ใน<br />

เขตองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนั ้น และให้เป็นรายได้ขององค์กร<br />

ปกครองส่วนท้องถิ่นนั้น (มาตรา 7) มีที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างบาง<br />

ประเภทที่ได้รับยกเว้นจากการจัดเก็บภาษีตามพระราชบัญญัติ<br />

นี ้ ซึ่งรวมถึง ทรัพย์สินส่วนกลางที่มีไว้เพื่อใช้หรือเพื่อประโยชน์<br />

ร่วมกันสำหรับเจ้าของร่วมตามกฎหมายว่าด้วยอาคารชุด ที่ดิน<br />

อันเป็นสาธารณูปโภคตามกฎหมายว่าด้วยการจัดสรรที่ดิน<br />

ที่ดินอันเป็นพื ้ นที่สาธารณูปโภคตามกฎหมายว่าด้วยการนิคม<br />

อุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย เป็นต้น และกำหนดเพิ่มได้โดย<br />

ออกเป็นกฎกระทรวง (ดู มาตรา 8)<br />

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจะต้องจัดทำบัญชีรายการ<br />

ที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง แสดงประเภท จำนวน ขนาดของที่ดินและ<br />

สิ่งปลูกสร้าง การใช้ประโยชน์ในที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง และราย<br />

ละเอียดอื่นที่จำเป็นแก่การประเมินภาษี ประกาศไว้ณ สำนักงาน<br />

หรือที่ทำการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นหรือสถานที่อื่นด้วย<br />

ตามที่เห็นสมควร รวมทั ้งจัดส่งข้อมูลให้แก่ผู้เสียภาษีแต่ละราย<br />

ทราบ (มาตรา 30) หากผู้เสียภาษีเห็นว่าไม่ถูกต้องตามความ<br />

เป็นจริง สามารถยื่นคำร้องต่อผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อขอแก้ไขข้อมูล<br />

ให้ถูกต้องได้(มาตรา 32) ในกรณีที่การใช้ประโยชน์ในที่ดินหรือ<br />

สิ่งปลูกสร้างเปลี่ยนแปลงไป ไม่ว่าด้วยเหตุผลใด อันมีผลทำให้<br />

ที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างต้องเสียภาษีในอัตราที่สูงขึ ้ นหรือลดลง ผู้<br />

เสียภาษีต้องแจ้งการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ในที่ดินหรือ


สิ่งปลูกสร้างนั ้นต่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภายใน 60 วัน<br />

นับแต่วันที่มีการเปลี่ยนแปลงหรือรู้ถึงเหตุดังกล่าว (มาตรา 33)<br />

หากไม่แจ้งต้องระวางโทษปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท (มาตรา<br />

85)การจัดเก็บภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง มี 4 ประเภท โดย<br />

กำหนดเพดานอัตราภาษีไว้ ดังนี ้ (มาตรา 37)<br />

(1) ที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างที่ใช้ประโยชน์ในการ<br />

ประกอบเกษตรกรรม ไม่เกิน 0.15% ของฐานภาษี<br />

(2) ที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างที่ใช้ประโยชน์เป็นที่อยู่อาศัย<br />

ไม่เกิน 0.3% ของฐานภาษี<br />

(3) ที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างที่ใช้ประโยชน์อื่นนอกจาก<br />

(1) หรือ (2) ไม่เกิน 1.2% ของฐานภาษี<br />

(4) ที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างที่ทิ ้ งไว้ว่างเปล่าหรือไม่ได้ท ำ<br />

ประโยชน์ตามควรแก่สภาพ ไม่เกิน 1.2%<br />

ส่วนอัตราภาษีที่ใช้จัดเก็บจริงจะเป็นเท่าใด ให้ตราเป็น<br />

พระราชกฤษฎีกา ในกรณีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใดมีความ<br />

ประสงค์ที่จะจัดเก็บภาษีในอัตราที่สูงกว่าที่กำหนดในพระราช<br />

กฤษฎีกาก็มีอำนาจตราข้อบัญญัติท้องถิ่นกำหนดอัตราภาษีที่<br />

ใช้จัดเก็บภายในเขตองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนั ้นได้ แต่ต้อง<br />

ไม่เกินอัตราที่กำหนดในพระราชบัญญัติ โดยจะต้องได้รับความ<br />

เห็นชอบจากคณะกรรมการภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างประจำ<br />

จังหวัดก่อน (ยกเว้นกรุงเทพมหานคร) กรณีคณะกรรมการฯ<br />

ประจำจังหวัดไม่เห็นชอบ ให้ส่งความเห็นคืนผู้บริหารท้องถิ่น<br />

เพื่อเสนอสภาท้องถิ่นแก้ไข ซึ่งสภาท้องถิ่นอาจพิจารณาแก้ไข<br />

หรือไม่ก็พิจารณายืนยันด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าสองในสาม<br />

ในกรณีที่ที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างใดมีการใช้ประโยชน์<br />

หลายประเภท ให้จัดเก็บภาษีตามสัดส่วนของการใช้ประโยชน์<br />

ที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้าง ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่รัฐมนตรี<br />

ว่าการกระทรวงการคลังและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย<br />

ร่วมกันประกาศกำหนด (มาตรา 38)<br />

ในการคำนวณภาษีที่ต้องเสียในแต่ละปี จะคำนวณจาก<br />

มูลค่าที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง โดยมูลค่าที่ดินจะใช้ราคาประเมิน<br />

ทุนทรัพย์ที่ดินเป็นเกณฑ์ในการคำนวณ และมูลค่าสิ่งปลูก<br />

สร้างจะใช้ราคาประเมินทุนทรัพย์สิ่งปลูกสร้างเป็นเกณฑ์ในการ<br />

คำนวณ ในกรณีของห้องชุดจะใช้ราคาประเมินทุนทรัพย์ห้องชุด<br />

เป็นเกณฑ์ในการคำนวณ (มาตรา 35) โดยกรมธนารักษ์จะเป็น<br />

ผู้จัดทำบัญชีกำหนดราคาประเมินต่างๆ ให้แก่องค์กรปกครอง<br />

ส่วนท้องถิ ่น (มาตรา 36) และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจะ<br />

ประกาศราคาประเมิน อัตราภาษีที่จัดเก็บ และรายละเอียดอื่น<br />

ที่จำเป็น ณ สำนักงานหรือที่ทำการขององค์กรปกครองส่วนท้อง<br />

ถิ่นก่อนวันที่ 1 กุมภาพันธ์ของแต่ละปี (มาตรา 39)<br />

พระราชบัญญัติฯได้บัญญัติเกี่ยวกับการได้รับยกเว้น<br />

มูลค่าของฐานภาษีไว้ ดังนี ้<br />

– ในกรณีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างที่เจ้าของซึ่งเป็นบุคคล<br />

ธรรมดาใช้ประโยชน์ในการประกอบเกษตรกรรม ให้ได้รับยกเว้น<br />

มูลค่าของฐานภาษีรวมกันในการคำนวณภาษีไม่เกิน 50 ล้าน<br />

บาท (มาตรา 40)<br />

– ในกรณีที่ดินและสิ่งปลูกสร้างที่บุคคลธรรมดาใช้เป็น<br />

ที่อยู่อาศัยและมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านในวันที่ 1 มกราคมของปี<br />

ภาษี หากเป็นเจ้าของและที่ดินและสิ่งปลูกสร้างให้ได้รับยกเว้น<br />

มูลค่าของฐานภาษีในการคำนวณภาษีไม่เกิน 50 ล้านบาท แต่<br />

หากเป็นเจ้าของสิ่งปลูกสร้างแต่ไม่ได้เป็นเจ้าของที่ดิน ให้ได้รับ<br />

ยกเว้นไม่เกิน 10 ล้านบาท (มาตรา 41)<br />

ในกรณียกเว้นเหล่านี ้ การคำนวณภาษีจะใช้ฐานภาษี<br />

ซึ่งคำนวณได้ตามปกติ หักด้วยมูลค่าของฐานภาษีที่ได้รับยกเว้น<br />

(มาตรา 42)<br />

สำหรับที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างที่ทิ ้ งไว้ว่างเปล่าหรือไม่ได้<br />

ทำประโยชน์ตามควรแก่สภาพ หากยังคงสภาพดังกล่าวเป็นเวลา<br />

สามปีติดต่อกัน ในปีที่สี่อัตราภาษีที่จัดเก็บจะเพิ่มขึ ้ น 0.3% และ<br />

จะเพิ่มอัตราเช่นนี ้ ทุกๆ สามปี แต่อัตราภาษีรวมทั ้งหมดแล้วต้อง<br />

ไม่เกิน 3% (มาตรา 43)<br />

ในแต่ละปี องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจะส่งแบบ<br />

ประเมินภาษีให้แก่ผู้เสียภาษีภายในเดือนกุมภาพันธ์ (มาตรา<br />

44) ซึ่งผู้เสียภาษีจะต้องชำระภาษีภายในเดือนเมษายนของทุก<br />

ปี (มาตรา 46) โดยอาจขอผ่อนชำระเป็นงวด งวดละเท่าๆ กัน<br />

ก็ได้ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ก ำหนดในกฎกระทรวง (มาตรา<br />

52)<br />

ในช่วงสองปีแรกของการจัดเก็บภาษีที่ดินและสิ่งปลูก<br />

สร้าง พระราชบัญญัตินี ้ ได้กำหนดอัตราภาษีตามมูลค่าของฐาน<br />

ภาษีไว้ในบทเฉพาะกาล ดังนี ้ (มาตรา 94)<br />

(1) ที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างที่ใช้ประโยชน์ในการ<br />

ประกอบเกษตรกรรม – ไม่เกิน 75 ล้านบาท 0.01%, เกิน 75<br />

ไม่เกิน 100 ล้านบาท 0.<strong>03</strong>%, เกิน 100 ไม่เกิน 500 ล้าน<br />

บาท 0.05%, เกิน 500 ไม่เกิน 1,000 ล้านบาท 0.07%, เกิน<br />

1,000 ล้านบาทขึ ้ นไป 0.1%<br />

(2) ที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างที่เจ้าของ(บุคคลธรรมดา)<br />

ใช้เป็นที่อยู่อาศัยและมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน – ไม่เกิน 25 ล้าน<br />

บาท 0.<strong>03</strong>%, เกิน 25 ไม่เกิน 50 ล้านบาท 0.05%, เกิน 50<br />

ล้านบาทขึ ้ นไป 0.1%<br />

(3) สิ่งปลูกสร้างที่เจ้าของ(บุคคลธรรมดา)ใช้เป็นที่<br />

อยู่อาศัยและมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน – ไม่เกิน 40 ล้านบาท<br />

0.02%, เกิน 40 ไม่เกิน 65 ล้านบาท 0.<strong>03</strong>%, เกิน 65 ไม่เกิน<br />

90 ล้านบาท 0.05%, เกิน 90 ล้านบาทขึ ้ นไป 0.1%<br />

(4) ที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างที่ใช้เป็นที่อยู่อาศัย นอก<br />

เหนือจาก (2) และ (3) – ไม่เกิน 50 ล้านบาท 0.02%, เกิน


้<br />

50 ไม่เกิน 75 ล้านบาท 0.<strong>03</strong>%, เกิน 75 ไม่เกิน 100 ล้าน<br />

บาท 0.05%, เกิน 100 ล้านบาทขึ ้ นไป 0.1%<br />

(5) ที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างที่ใช้ประโยชน์อื่นนอกจาก<br />

(1) ถึง (4) – ไม่เกิน 50 ล้านบาท 0.3%, เกิน 50 ไม่เกิน<br />

200 ล้านบาท 0.4%, เกิน 200 ไม่เกิน 1,000 ล้านบาท 0.5%,<br />

เกิน 1,000 ไม่เกิน 5,000 ล้านบาท 0.6%, เกิน 5,000 ล้าน<br />

บาทขึ ้ นไป 0.7%<br />

(6) ที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างที่ทิ ้ งไว้ว่างเปล่าหรือไม่ได้ท ำ<br />

ประโยชน์ตามควรแก่สภาพ – อัตราเท่ากับ (5)<br />

ในการคำนวณภาษี สามารถหักมูลค่าของฐานภาษีด้วยมูลค่าที่<br />

ได้รับยกเว้นตามมาตรา 40 หรือมาตรา 41 ได้ (มาตรา 95)<br />

นอกจากนี ้ ในช่วงสามปีแรก พระราชบัญญัตินี ้ ยังได้<br />

บรรเทาการชำระภาษีให้ ดังนี<br />

– ที่ดินหรือสิ่งปลูกสร้างที่เจ้าของที่ดินซึ่งเป็นบุคคล<br />

ธรรมดาใช้ประโยชน์ในการประกอบเกษตรกรรม ให้ยกเว้นการ<br />

จัดเก็บ (มาตรา 96)<br />

– กรณีการประเมินภาษีสูงกว่าภาษีโรงเรือนและที่ดิน<br />

หรือภาษีบำรุงท้องที่ที่ต้องเสียอยู่เดิม ให้ชำระตามจำนวนที่ต้อง<br />

เสียหรือพึงชำระในปีก่อน เหลือจำนวนภาษีเท่าใดให้ชำระเพียง<br />

ร้อยละ 25 ของจำนวนภาษีที่เหลือ ในปีที่หนึ่ง, ร้อยละ 50 ของ<br />

จำนวนภาษีที่เหลือ ในปีที่สอง, และร้อยละ 75 ของจำนวนภาษี<br />

ที่เหลือ ในปีที่สาม (มาตรา 97)<br />

ดาวน์โหลด : www.asa.or.th/laws/news2019<strong>03</strong>15/<br />

พื ้ นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อมบางกะเจ้า<br />

28 ก.พ. 25<strong>62</strong><br />

กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ออกกฎกระทรวง<br />

กำหนดเขตพื ้ นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อมในพื ้ นที่บางกะเจ้า<br />

ซึ่งประกอบด้วย 6 ตำบลของอำเภอพระประแดง จังหวัด<br />

สมุทรปราการ พื ้ นที่นี ้ เป็นพื ้ นที่ที่มีคุณค่าทางธรรมชาติอัน<br />

ควรแก่การอนุรักษ์ และปัจจุบันเริ่มมีการเปลี่ยนแปลงการใช้<br />

ประโยชน์ที่ดินจากพื ้ นที่เกษตรกรรมเป็นพื ้ นที่ชุมชนมากขึ ้ น ส่ง<br />

ผลให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อม<br />

กฎกระทรวงฉบับนี ้ กำหนดหลักเกณฑ์มาตรการ<br />

คุ้มครองเพื่อรักษาระบบนิเวศตามธรรมชาติไว้โดยมีข้อกำหนด<br />

ที่น่าสนใจ ได้แก่<br />

– ห้ามก่อสร้าง ดัดแปลง หรือเปลี่ยนการใช้ อาคาร<br />

ประเภทต่างๆ ได้แก่ โรงงาน (เว้นแต่การก่อสร้างทดแทน โดย<br />

จะต้องมีการควบคุมมลพิษหรือแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมให้เป็น<br />

ไปตามมาตรฐานที่กฎหมายกำหนด) โรงแรม อาคารชุด ท่า<br />

เทียบเรือสำราญและกีฬา และห้ามก่อสร้างอาคารทุกประเภท<br />

ในที่ดินของรัฐที่ได้จัดซื ้ อตามโครงการสวนกลางมหานคร (เว้น<br />

แต่อาคารที่ใช้เพื่อสาธารณประโยชน์ หรือทดแทนอาคารเดิมซึ่ง<br />

ไม่ขัดกับมาตรการต่างๆที่กำหนด)<br />

– ห้ามกระทำการหรือประกอบกิจกรรม ได้แก่ การ<br />

จัดสรรที่ดิน การทำสนามกอล์ฟ ฯลฯ<br />

– การก่อสร้าง ดัดแปลงอาคาร จะต้องมีความสูงถึง<br />

ยอดผนังไม่เกิน 9 เมตร เว้นแต่อาคารทรงจั่ว ปั ้นหยา หรือทรง<br />

ไทย สูงรวมได้ไม่เกิน 12 เมตร และในพื ้ นที่ว่างตามกฎหมาย<br />

ควบคุมอาคาร ให้มีไม้ยืนต้นซึ่งเป็นพันธุ์ไม้พื ้ นเมืองไม่น้อยกว่า<br />

ร้อยละ 50 ของพื ้ นที่ว่างดังกล่าว<br />

– การใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อการอยู่อาศัยประเภทบ้าน<br />

เดี่ยวให้มีพื ้ นที่อาคารรวมกันไม่เกิน 200 ตารางเมตร การ<br />

ประกอบพาณิชยกรรมที่ไม่ใช่ห้องแถว ตึกแถว ให้มีพื ้ นที่ประกอบ<br />

การไม่เกิน 50 ตารางเมตร และการใช้ประโยชน์ที่ดินดังกล่าว<br />

ต้องไม่เกินร้อยละ 50 ของที่ดินในแต่ละตำบล โดยยกเว้น 6<br />

บริเวณ (บริเวณ ก. ถึง ฉ.) ที่กำหนดในกฎกระทรวง<br />

ดาวน์โหลด : www.asa.or.th/laws/news2019<strong>03</strong>05/


้<br />

กรรมาธิการสถาปนิกทักษิณ<br />

เมื่อวันเสาร์ที่ 2 มีนาคม 25<strong>62</strong> กรรมาธิการสถาปนิกทักษิณ<br />

ศูนย์ภูเก็ต สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ร่วม<br />

กับ บริษัท โมเก้น (ประเทศไทย) จำกัด เชิญสถาปนิก วิศวกร<br />

และผู้สนใจเข้าร่วมกิจกรรม DINNER TALK เวลา 18.00–23.00<br />

น. ณ ร้านเธอ จังหวัดภูเก็ต<br />

ภาพบรรยากาศการจัดงาน<br />

เมื่อวันเสาร์ที่ 20 เมษายน 25<strong>62</strong> กรรมาธิการสถาปนิก<br />

ทักษิณ ศูนย์สุราษฎร์ธานีและเกาะสมุย สมาคมสถาปนิก<br />

สยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้จัด อบรมคอมพิวเตอร์เพื่อ<br />

งานสถาปัตยกรรม “ENSCAPE FOR SKETCHUP” วิทยากร<br />

โดย นายสมยศ ชัยเจริญ (อาจารย์เบิ ้ ม) ในวันเสาร์ที่ 20<br />

เมษายน 25<strong>62</strong> เวลา 09.00 – 17.00 น. ณ ห้องประชุม<br />

VDO Conference อาคารทีปังกรรัศมีโชติ สำนักวิทยบริการและ<br />

เทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี อ.เมือง<br />

จ.สุราษฎร์ธานี<br />

ภาพบรรยากาศการจัดงาน<br />

กรรมาธิการสถาปนิกทักษิณ สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรม<br />

ราชูปถัมภ์ ร่วมกับ บริษัท ทรีเค โฮมเบส จำกัด เชิญสถาปนิก<br />

วิศวกร และผู้สนใจเข้าร่วมกิจกรรม DESIGNER TALK หัวข้อ<br />

เสวนา ” UrbanLiving ไลฟ์ สไตล์การใช้ชีวิตที่ไม่จำกัด “ใน<br />

ว ัน เ ส า ร ์ที่ 1 6 มี น า ค ม 2 5 6 2 เ ว ล า 1 5 . 0 0 น . เ ป็ น ต ้น ไ ป<br />

ณ บุญถาวร 3K HomeBase อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา<br />

ภาพบรรยากาศการจัดงาน<br />

กรรมาธิการสถาปนิกทักษิณ ศูนย์ตรัง สมาคมสถาปนิกสยาม<br />

ในพระบรมราชูปถัมภ์ ดำเนินการโครงการอบรมคอมพิวเตอร์<br />

โปรแกรม SKETCHUP และ PROFILE BUILDER วันที่ 9 – 11<br />

เมษายน 25<strong>62</strong> เวลา 08.00 - 17.00 น. ณ อาคาร 4<br />

ชั ้น 3 แผนกวิชาสถาปัตยกรรม วิทยาลัยเทคนิคตรังมีอาจารย์<br />

นักศึกษา สถาปนิก และผู้ที่สนใจเข้าร่วมโครงการนี<br />

ภาพบรรยากาศการจัดงาน<br />

กรรมาธิการสถาปนิกทักษิณ ศูนย์ 3 จังหวัดชายแดนใต้ สมาคม<br />

สถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ โครงการสัมมนาทาง<br />

วิชาชีพโดยวิทยากรสถาปนิกที่มีผลงานดีเด่น ครั ้งที่ 3 โดย<br />

หม่อมหลวง วรุตม์ วรวรรณ จาก Vin Varavarn Architects ใน<br />

วันเสาร์ที่ 30 มีนาคม 25<strong>62</strong> เวลา 13.00 – 15.30 น. ณ<br />

MELAYU LIVING อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี<br />

ภาพบรรยากาศการจัดงาน<br />

เมื่อวันที่ 30 เมษายน 25<strong>62</strong> กรรมาธิการสถาปนิกทักษิณ<br />

สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้เดินร่วมงาน<br />

สถาปนิก’<strong>62</strong> “กรีน อยู่ ดี : Living Green” เข้าร่วมรับเสด็จ<br />

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และเข้าร่วม<br />

ประชุมใหญ่สามัญ ณ ศูนย์แสดงสินค้าและการประชุมอิมแพ็ค<br />

เมืองทองธานี<br />

ภาพบรรยากาศการจัดงาน


พิธีทำบุญและรดน ้ำดำหัวสมาคมสถาปนิกสยามฯ<br />

เมื่อวันที่ 20 เมษายน 25<strong>62</strong> เวลา 09.00 น. สมาคมสถาปนิก<br />

สยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ร่วมกับสมาพันธ์สมาคมศิษย์เก่า<br />

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ แห่งประเทศไทย (<strong>ASA</strong>SA) ได้จัด<br />

งานพิธีทำบุญและรดน ้ำขอพรสถาปนิกอาวุโส เนื่องในเทศกาล<br />

สงกรานต์และวันคล้ายสถาปนาสมาคมสถาปนิกสยามฯ<br />

ภายในงานเดียวกันได้มีพิธีเจิมป้ายห้องประชุม<br />

“พระสาโรชรัตนนิมมานก์” และห้องประชุม “มติ ตั ้งพานิช”<br />

โดยมีสถาปนิกอาวุโส คณะกรรมการบริหารฯ ศิษย์เก่าคณะ<br />

สถาปัตย์ฯและสมาชิกสมาคมฯ เข้าร่วมงานอย่างอบอุ่น<br />

เมื่อวันที่ 4 - 5 พฤษภาคม 25<strong>62</strong> กรรมาธิการสถาปนิก<br />

ทักษิณ สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้จัด<br />

โครงการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการ เพื่อเตรียมตัวในการทดสอบ<br />

ความรู้ผู้ขอรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพสถาปัตยกรรม<br />

ควบคุม มีสถาปนิก นักศึกษา และผู้ที่สนใจเข้าร่วมโครงการ โดย<br />

มีวิทยากรจิตอาสาดังนี ้ อาจารย์ วิวัฒน์ จิตนวล, อาจารย์เศก-<br />

สรร กิตยวัฒน์, อาจารย์กาญจน์ เพียรเจริญ, อาจารย์ปรัชญา<br />

ชลเจริญ, อาจารย์ทวีศักดิ ์ ชาญวิรวงศ์, อาจารย์ดุสิต ปานงาม,<br />

อาจารย์อธิปัตย์ ยินดี และอาจารย์มณูศักดิ ์ หลีเจริญเป็นอย่างยิ่ง<br />

ภาพบรรยากาศการจัดงาน<br />

<strong>ASA</strong> Meet Suppliers<br />

เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 28 มีนาคม 25<strong>62</strong> สมาคมสถาปนิก<br />

สยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้จัดงาน <strong>ASA</strong> Meet Suppliers<br />

2019 ณ โรงแรมสวิสโซเทล เลอ คองคอร์ด เป็นงานที่จัดขึ ้ น<br />

เพื่อเป็นการขอบคุณบริษัทที่ได้ให้การสนับสนุนกิจกรรมของ<br />

สมาคมฯ มาโดยตลอดในรอบปีที่ผ่านมา และเป็นการรับฟัง<br />

ความคิดเห็นจากผู้เข้าร่วมงานในการร่วมสนับสนุนกิจกรรม<br />

ต่างๆ ของสมาคมฯ เพื่อนำไปพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรม<br />

ของสมาคมฯ ทั ้งนี ้ สมาคมสถาปนิกสยามฯ ขอขอบคุณผู้ให้การ<br />

สนับสนุนกิจกรรมของสมาคมฯทุกท่าน


์<br />

ทางเลียบเจ้าพระยา สร้างสรรค์หรือทำลาย<br />

วันที่ 2 พฤษภาคม 25<strong>62</strong> สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรม<br />

ราชูปถัมภ์ ได้จัดกิจกรรมเวทีสาธารณะ หัวข้อ “ทางเลียบ<br />

เจ้าพระยา สร้างสรรค์หรือทำลาย” เพื่อรับฟังข้อคิดเห็น<br />

อย่างรอบด้านจากทั ้งองค์กรภาครัฐ-เอกชนรวมทั ้งภาค<br />

ประชาสังคม และหาแนวทางที่เหมาะสมในการพัฒนาพื ้ นที่<br />

ริมฝั่งแม่น ้ำเจ้าพระยาอย่างยั่งยืนต่อไป โดยได้รับเกียรติจาก<br />

ผู้ทรงคุณวุฒินำเสนอข้อเท็จจริง อาทิ ผศ.ดร.อันธิกา สวัสดิ<br />

ศ รี ( โ ฆ ษ ก โ ค ร ง ก า ร พ ั ฒ น า ริ ม แำ มเ จ่ ้า น้ พ ร ะ ย า ) ป ริ ญ ญ า<br />

เทวานฤมิตรกุล (กรรมการสภามหาวิทยาลัยจากผู้ดำรง<br />

ตำแหน่งรองอธิการบดี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์) ผศ.ดร.<br />

สิตางศุ์ พิลัยหล้า (อาจารย์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชา<br />

วิศวกรรมทรัพยากรน ้ำ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์) อ. ขวัญ<br />

สรวง อติโพธิ (อาจารย์พิเศษประจำคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์<br />

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย) อ. พิชญ์ พงษ์สวัสดิ ์ (อาจารย์คณะ<br />

รัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย) และ นายยศพล บุญสม<br />

(กลุ่มเพื่อนแม่น ้ำ) โดยกิจกรรมในครั ้งนี ้ ได้รับความสนใจจาก<br />

ทั ้งภาครัฐและเอกชนตอบรับเข้าร่วมรับฟังและแสดงความคิด<br />

เห็นทั ้งสิ ้ น 35 องค์กร ได้แก่<br />

1. กระทรวงกลาโหม<br />

2. กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา<br />

3. กรมชลประทาน<br />

4. กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม<br />

5. กรมทรัพยากรน ้ำ<br />

6. กรมส่งเสริมสุขภาพ<br />

7. กรมธนารักษ์<br />

8. กรมเจ้าท่า<br />

9. กองจัดการคุณภาพเสียงและสิ่งแวดล้อม<br />

กรุงเทพมหานคร<br />

10. สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจแห่งชาติ<br />

11. สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ กระทรวงสาธารณะ<br />

สุข<br />

12. สำนักงานเขตบางพลัด<br />

13. สำนักผังเมือง กรุงเทพมหานคร<br />

14. สำนักงานระบบขนส่ง สำนักการจราจรและขนส่ง<br />

กรุงเทพมหานคร<br />

15. สำนักสิ่งแวดล้อมชุมชนและพื ้ นที่เฉพาะ สำนักงาน<br />

นโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม<br />

16. สำนักการระบายน ้ำ กรุงเทพมหานคร<br />

17. สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร<br />

18. สำนักการวางผังและพัฒนาเมือง กรุงเทพมหานคร<br />

ฝ่ ายวิชาชีพ<br />

19. สำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร<br />

20. สำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ<br />

21. สภาทนายความ<br />

22. สมาคมสถาปนิกผังเมืองไทย<br />

23. สมาคมคนพิการแห่งประเทศไทย<br />

24. สมาคมอสังหาริมทรัพย์ไทย<br />

25. สมาคมอนุรักษ์ศิลปกรรมและสิ่งแวดล้อม<br />

26. มูลนิธิสืบนาคะเสถียร<br />

27. มูลนิธิสถาบันการเดินและจักรยานไทย<br />

28. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย ศิลปากร<br />

29. คณะสถาปัตยกรรมและการออกแบบ มหาวิทยาลัย<br />

เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี<br />

30. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ<br />

มหาวิทยาลัย อัสสัมชัญ<br />

31. สถาบันอาศรมศิลป์<br />

32. สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย<br />

33. สถาบันวิจัยสภาวะแวดล้อม จุฬาลงกรณ์<br />

มหาวิทยาลัย<br />

34. พรรคเสรีรวมไทย<br />

35. พรรคประชาธิปัตย์<br />

วันที่ 1 พฤษภาคม 25<strong>62</strong> ในเว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา ได้<br />

มีประกาศ พระราชบัญญัติการอุดมศึกษา พ.ศ. 25<strong>62</strong> เรื่อง<br />

สถาบันอุดมศึกษามีหน้าที่ในการบริการทางวิชาการเท่านั ้น<br />

(อ้างอิงตามความในมาตรา 40 หน้าที่ 65 พระราชบัญญัติ<br />

การอุดมศึกษา พ.ศ. 25<strong>62</strong>)<br />

ดาวน์โหลด http://asa.or.th/news/professional-practice-news/


โครงการพัฒนาวิชาชีพ ครั้งที่ 11/<strong>62</strong><br />

Building Material Visit Series รอบรู้เรื่องวัสดุก่อสร้าง ครั้งที่ 3-<strong>62</strong><br />

ขอเชิญสมาชิกสมาคม สถาปนิก เข้าร่วมกิจกรรมทัศนศึกษา หา<br />

ประสบการณ์ความรู้เกี่ยวกับสุขภัณฑ์และอุปกรณ์ประกอบเพื่องาน<br />

สถาปัตยกรรม โดย สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์<br />

เยี่ยมชม Technical Center ที่ออกแบบเพื่อให้เข้าใจกลไกการท างาน<br />

ภายในของผลิตภัณฑ์ รวมถึงนวัตกรรมใหม่ ๆ เช่น การประหยัดน้ า เทคโนโลยี<br />

ความสะอาด เทคโนโลยีการยับยั้งและฆ่าเชื้อแบคทีเรียชมการผลิต และรับฟัง<br />

การบรรยายเปิดประสบการณ์ ณ โรงงานที่มีเทคโนโลยีแม่นย า ประสิทธิภาพสูง<br />

แห่งใหม่<br />

“เยือนโรงงานสุขภัณฑ์ TOTO”<br />

ให้ความรู ้ และสนับสนุนรายการโดย Toto<br />

ด าเนิ นรายการโดย : คุณปฏิกร ณ สงขลา<br />

วันเสาร์ที่ 20 - วันอาทิตย์ที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 25<strong>62</strong><br />

ณ เขตประกอบการอุตสาหกรรมเหมราชสระบุรี อ.หนองแค จ.สระบุรี<br />

อัตราค่าลงทะเบียนพร้อม อาหาร / ห้องพัก (พักคู่) และรถรับส่งไปกลับ จาก สมาคมฯ ไปยังสถานที่<br />

● สมาชิกสมาคมสถาปนิกสยามฯ 700 บาท ● สถาปนิกและผู้สนใจทั่วไป 1,500 บาท<br />

สนใจสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมและลงทะเบียนล่วงหน้า ได้ที่ สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ฝ่ายจัดอบรม<br />

โทรศัพท์ 0-2319-6555 ต่อ 202, 206 / โทรสาร ต่อ 2<strong>04</strong>, 0-2319-6419 หรือดาวน์โหลด ใบตอบรับลงทะเบียนได้ที่ www.asa.or.th<br />

***กิจกรรมครั้งนี้ขอสงวนสิทธิ์ส าหรับสถาปนิก มัณฑนากร หรือผู้ประกอบวิชาชีพเท่านั้น***<br />

(รับเพียง 30 ท่านเท่านั้น กรณีมีผู้สมัครเกินจ านวนที่ก าหนด สมาคมฯ สงวนสิทธิ์ส าหรับผู้ที่ช าระเงินลงทะเบียนก่อน)<br />

หมายเหตุ : ผู้เข้าร่วมกิจกรรมกรุณาแต่งกายสุภาพ และสวมรองเท้าหุ้มส้น


ประมวลภาพงานสถาปนิก’<strong>62</strong> ครั ้งที่ 33 วันที่ 30 เมษายน - 5 พฤษภาคม 25<strong>62</strong><br />

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินทรงเป็นพิธีเปิดงานสถาปนิก’<strong>62</strong> เมื่อวันที่ 30 เมษายน<br />

25<strong>62</strong> ณ อิมแพค เมืองทองธานี<br />

นิทรรศการ GREEN BUILDING SHOWCASE<br />

นิทรรศการ ZERO WASTE<br />

นิทรรศการ INNOVATIVE GREEN MATEREALS<br />

นิทรรศการ INTERNATIONAL DESIGN COMPETTION 2019<br />

นิทรรศการ SMART CITIES<br />

นิทรรศการ EMERGING ARCHITECTURE AWARDS 2019


นิทรรศการ <strong>ASA</strong> WORKSHOP & STUDENTS<br />

นิทรรศการผลงานนักศึกษาคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์<br />

<strong>ASA</strong> FRIENDS<br />

นิทรรศการ WATER COLOUR<br />

หมอบ้าน<br />

<strong>ASA</strong> CREW<br />

<strong>ASA</strong> FORUM & SEMINAR<br />

นิทรรศการ ภูมิปัญญา3 ภูมิภาคสู่ปัจจุบัน<br />

<strong>ASA</strong> SHOP<br />

นิทรรศการ <strong>ASA</strong> RUN<br />

<strong>ASA</strong> CLUB<br />

<strong>ASA</strong> NIGHT


โครงการพัฒนาวิชาชีพ ครั้งที่ 14/<strong>62</strong><br />

Building Material Visit Series รอบรู้เรื่องวัสดุก่อสร้าง ครั้งที่ 4-<strong>62</strong><br />

ขอเชิญสมาชิกสมาคม สถาปนิก นิสิต - นักศึกษาสถาปัตยกรรม เข้าร่วมกิจกรรมทัศนศึกษา<br />

หาประสบการณ์ความรู้เกี่ยวกับงานสถาปัตยกรรม และผลิตภัณฑ์เขียวส าหรับงานก่อสร้าง<br />

โดย สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์<br />

เยี่ยมเยือนอาคารส านักงาน เงินมาธุรกิจ แบบสบาย ๆ กับอีกอาคารรักษ์โลก รับฟังการบรรยายให้ความรู้<br />

โดยสถาปนิกออกแบบอาคาร และผู้เชี่ยวชาญงานอาคารเขียว<br />

ให้ความรู้ และสนับสนุนรายการโดย เงินมาธุรกิจ คุณศัลยเวทย์ ประเสริฐวิทยาการ ดร. จตุวัฒน์ วโรดมพันธ์<br />

ด าเนินรายการโดย : คุณปฏิกร ณ สงขลา<br />

วันเสาร์ที่ 28 กันยายน พ.ศ. 25<strong>62</strong> เวลา 08.15 - 12.00 น. ณ รามอินทรา ซอย 12 กรุงเทพฯ<br />

อัตราค่าลงทะเบียน (เดินทางไปยังสถานที่กันเอง)<br />

สมาชิกสมาคมฯ/ นิสิต นักศึกษา (ระดับ ป.ตรี) ทั่วไป 300 บาท<br />

นิสิต นักศึกษา (ระดับ ป.ตรี) ที่เป็นสมาชิกสมาคมฯ 100 บาท<br />

สถาปนิกและผู้สนใจทั่วไป 500 บาท<br />

ผู้เข้าร่วมสัมมนาจะได้รับวุฒิบัตรจาก สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์<br />

สนใจสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมและลงทะเบียนล่วงหน้า ได้ที่ สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ฝ่ายจัดอบรม<br />

โทรศัพท์ 0-2319-6555 ต่อ 202, 206 / โทรสาร ต่อ 2<strong>04</strong>, 0-2319-6419 หรือดาวน์โหลด ใบตอบรับลงทะเบียนได้ที่ www.asa.or.th<br />

(รับเพียง 30 ท่านเท่านั้น กรณีมีผู้สมัครเกินจ านวนที่ก าหนด สมาคมฯ สงวนสิทธิ์ส าหรับผู้ที่ช าระเงินลงทะเบียนก่อน)<br />

หมายเหตุ : ผู้เข้าร่วมกิจกรรมกรุณาแต่งกายสุภาพ และสวมรองเท้าหุ้มส้น


MEMBER CORNER<br />

สมาชิกสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ที่ผ่านการอนุมัติจากที่ประชุมกรรมการบริหาร<br />

ประจาเดือนมีนาคม 25<strong>62</strong><br />

สมาชิกประเภท สามัญ ราย 5 ปี<br />

สมาชิกประเภท ภาคี รายปี<br />

สมาชิกประเภท สมทบ รายปี<br />

• บุคคลทั่วไป<br />

• นักศึกษา<br />

จานวน 18 คน<br />

จานวน 4 คน<br />

จำนวน 24 คน<br />

จานวน - คน<br />

ประจำเดือนเมษายน 25<strong>62</strong><br />

สมาชิกประเภท สามัญ ราย 5 ปี<br />

สมาชิกประเภท ภาคี รายปี<br />

สมาชิกประเภท สมทบ รายปี<br />

• บุคคลทั่วไป<br />

• นักศึกษา<br />

จานวน 54 คน<br />

จานวน 9 คน<br />

จำนวน 18 คน<br />

จานวน 6 คน<br />

สมาชิกประเภท นิติบุคคล<br />

• ต่ออายุสมาชิก<br />

• ขึ ้ นทะเบียนใหม่<br />

จานวน 5 บริษัท<br />

จำนวน 2 บริษัท<br />

สมาชิกประเภท นิติบุคคล<br />

• ต่ออายุสมาชิก<br />

• ขึ ้ นทะเบียนใหม่<br />

จานวน 3 บริษัท<br />

จำนวน - บริษัท

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!