11.07.2018 Views

ASA NEWSLETTER 05-06_61

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

์<br />

์<br />

สวัสดีครับ<br />

วันที่ 25-29 พฤษภาคม 25<strong>61</strong> สมาคมฯโดย ม.ล.วรุตม์ วรวรรณ ในฐานะหัวหน้าคณะภัณฑารักษ์ ได้เดินทางไปยังเมือง<br />

เวนิส ประเทศอิตาลี เพื่อร่วมงานนิทรรศการสถาปัตยกรรมร่วมสมัยนานาชาติ เวนิสเบียนนาเล่ ครั ้งที่ 16 “Free Space”<br />

(16th International Architecture Exhibition - La Biennale di Venezia) โดยสมาคมฯร่วมกับสำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย<br />

(สศร.) ได้นำนิทรรศการของไทยร่วมจัดแสดงภายใต้แนวคิด “Blissfully Yours” ซึ่งเป็นแนวคิดหลักของ Thailand Pavilion ในวัน<br />

เปิดงานได้รับเกียรติจากคุณกฤษศญพงษ์ ศิริ ปลัดกระทรวงวัฒนธรรม เป็นประธานในพิธีเปิด คุณวิมลลักษณ์ ชูชาติ ผู้อำนวย<br />

การสำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย คุณธนา เวสโกสิทธิ ์ เอกอัครราชทูตไทย ณ กรุงโรม และกงศุลกิตติมศักดิ ์ประจำเมืองเวนิส<br />

เข้าร่วมพิธีเปิดงานฯ โดยนิทรรศการฯนี ้ จะจัดแสดงจนถึงวันที่ 27 พฤศจิกายน 25<strong>61</strong><br />

วันที่ 2 มิถุนายน 25<strong>61</strong> สมาคมฯ ได้เข้าพบศาสตราจารย์พิเศษ เสนอ นิลเดช ณ บ้านพักส่วนตัว เพื่อมอบรางวัลสมาชิกกิตติมศักดิ<br />

สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ประจำปี 25<strong>61</strong> (หลังจากที่มีพิธีมอบอย่างทางการในงานสถาปนิก’<strong>61</strong>) พร้อมกับ<br />

ร่วมแสดงความยินดี<br />

วันที่ 6-8 มิถุนายน 25<strong>61</strong> สมาคมฯ ได้เข้าร่วมงาน LAO BUILD 2018 ณ เมืองเวียงจันทน์ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชน<br />

ลาว พร้อมกับคณะกรรมาธิการสถาปนิกทั ้ง 3 ภูมิภาค โดยในปีนี ้ ได้รับเกียรติจากคุณพอนไซ สุดทิพง นายกสมาคมสถาปนิกและ<br />

วิศวกรก่อสร้างลาว ให้การต้อนรับคณะกรรมการบริหารสมาคมฯ เป็นอย่างดีและได้รับเชิญให้เข้าร่วมการประชุมสามัญประจำปี<br />

ของสมาคมสถาปนิกลาวฯด้วย<br />

วันที่ 19-26 มิถุนายน 25<strong>61</strong> ผู้แทนสมาคมฯ พร้อมด้วย คุณสถิรัตร์ ตัณฑนันทน์ อดีตประธานสภาสถาปนิกเอเชีย<br />

(ARCASIA) ได้เดินทางไปยังมหานครนิวยอร์ค สหรัฐอเมริกา เข้าร่วมประชุม International Presidents’ Forum เพื่อการพัฒนา<br />

มาตรฐานวิชาชีพและแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ด้านการออกแบบและวางผังเมืองอย่างยั่งยืน ณ Jacob K. Javits Convention<br />

Center หลังจากนั ้นร่วมพิธีมอบวุฒิสถาปนิกกิตติมศักดิ ์ (FAIA) จากสมาคมสถาปนิกอเมริกา (AIA) ให้แก่ คุณสถิรัตร์ ตัณฑนันทน์<br />

ณ โบสถ์ St. Patrick’s Cathedral<br />

พร้อมกันนี ้ ในพิธี AIA President’s Reception นายกสมาคมฯ ได้มอบสมาชิกกิตติมศักดิ ์ของสมาคมสถาปนิกสยาม<br />

ในพระบรมราชูปถัมภ์ให้กับ Mr. Carl Elefante นายกสมาคมสถาปนิกอเมริกา และได้ลงนามความร่วมมือบันทึกข้อตกลงระหว่าง<br />

2 สมาคม เพื่อการพัฒนาวิชาชีพเป็นระยะเวลา 5 ปี<br />

นายอัชชพล ดุสิตนานนท์<br />

นายกสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ 25<strong>61</strong>-2563<br />

คณะกรรมการบริหารสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ปี 25<strong>61</strong>-2563<br />

นายกสมาคม<br />

นายอัชชพล ดุสิตนานนท์<br />

อุปนายก<br />

นายเมธี รัศมีวิจิตรไพศาล<br />

ผศ.ดร.ธนะ จีระพิวัฒน์<br />

ผศ.ดร.วิมลรัตน์ อิสระธรรมนูญ<br />

นายทรงพจน์ สายสืบ<br />

เลขาธิการ<br />

นายปรีชา นวประภากุล<br />

เหรัญญิก<br />

นางภิรวดี ชูประวัติ<br />

ปฏิคม<br />

นายสมชาย เปรมประภาพงษ์<br />

นายทะเบียน<br />

พ.ต.ท.สักรินทร์ เขียวเซ็น<br />

ประชาสัมพันธ์<br />

ผศ.ดร.กมล จิราพงษ์<br />

กรรมการกลาง<br />

นายเทียนทอง กีระนันทน์<br />

ดร.รัฐพงศ์ อังกสิทธิ<br />

นายชายแดน เสถียร<br />

นายรุ่งโรจน์ อ่วมแก้ว<br />

หมายเหตุ : อยู่ระหว่างดำเนินการจดทะเบียนเปลี่ยนแปลง คณะกรรมการบริหารสมาคมฯที่กระทรวงมหาดไทย<br />

ประธานกรรมาธิการสถาปนิก<br />

ล้านนา<br />

นายอิศรา อารีรอบ<br />

ประธานกรรมาธิการสถาปนิก<br />

อีสาน<br />

นายธนาคม วิมลวัตรเวที<br />

ประธานกรรมาธิการสถาปนิก<br />

ทักษิณ<br />

นายนิพนธ์ หัสดีวิจิตร<br />

คณะกรรมการกองทุนสมาคมสถาปนิกสยาม<br />

ในพระบรมราชูปถัมภ์ ปี 2560-2562<br />

ประธานกรรมการกองทุน<br />

พลเรือเอกฐนิธ กิตติอำพน<br />

กรรมการกองทุน<br />

นายบุญญวัฒน์ ทิพทัส<br />

ดร.ศุภกิจ มูลประมุข<br />

นายประภากร วทานยกุล<br />

พล.อ.ต.ม.ล.ประกิตติ เกษมสันต์<br />

นายอัชชพล ดุสิตนานนท์<br />

นางภิรวดี ชูประวัติ


้<br />

ร่วมพิธีเปิ ดนิทรรศการ LaoBuild 18 และร่วม<br />

ประชุมใหญ่สามัญประจำปี ของสมาคมสถาปนิก<br />

และวิศวกรก่อสร้างลาว (ALACE) ณ กรุงเวียงจันทน์<br />

สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว<br />

ระหว่างวันที่ 6-8 มิถุนายน 25<strong>61</strong> ดร.อัชชพล ดุสิตนานนท์<br />

นายกสมาคมฯ ผศ.ดร.ธนะ จีระพิวัฒน์ อุปนายกฝ่ ายต่างประเทศ<br />

นายทรงพจน์ สายสืบ อุปนายกฝ่ ายภูมิภาค ผศ.ดร.รัฐพงษ์<br />

อังกสิทธิ ์ และนายรุ่งโรจน์ อ่วมแก้ว กรรมการบริหารสมาคมฯ<br />

พร้อมทั ้งนายนิพนธ์ หัสดีวิจิตร ประธานกรรมาธิการสถาปนิก<br />

ทักษิณ นายอิสรา อารีย์รอบ ประธานกรรมาธิการสถาปนิกล้าน<br />

นา และนายธนาคม วิมลวัตรเวที ประธานกรรมาธิการสถาปนิก<br />

อีสาน ได้เดินทางไปร่วมพิธีเปิดนิทรรศการ Lao Build 2018<br />

ในวันที่ 7 มิถุนายน ซึ่งเป็นงานแสดงนวัตกรรมและเทคโนโลยี<br />

วัสดุก่อสร้างของสมาคมสถาปนิกและวิศวกรลาว (ALACE) จัด<br />

ขึ ้ นที่ National Convention Center กรุงเวียงจันทน์ และในวัน<br />

ที่ 8 มิถุนายน ได้เข้าร่วมพิธีเปิดการประชุมใหญ่สามัญประจำ<br />

ปี 25<strong>61</strong> ของสมาคมสถาปนิกและวิศวกรก่อสร้างลาว (ALACE)<br />

พิธีมอบสมาชิกกิตติมศักดิ ์สมาคมสถาปนิกสยามฯ<br />

ปี 25<strong>61</strong><br />

เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม 25<strong>61</strong> นายกสมาคมสถาปนิกสยามฯ ได้<br />

มอบรางวัลสมาชิกกิตติมศักดิ ์สมาคมสถาปนิกสยามฯ ประจำปี<br />

25<strong>61</strong> พิธีมอบรางวัลฯเริ่มขึ ้ นในช่วงต้นการประชุมใหญ่สามัญ<br />

ประจำปีของสมาคมฯ ณ ห้องจูปิเตอร์ 4-7 อิมแพคเมืองทอง<br />

ธานี (ในงานสถาปนิก’<strong>61</strong>) โดยรายชื่อผู้ได้รับมอบสมาชิก<br />

กิตติมศักดิ ์มีดังนี<br />

1. ศาสตราจารย์พิเศษ เสนอ นิลเดช ศิลปินแห่งชาติ<br />

สาขาทัศนศิลป์ (สถาปัตยกรรมไทยประเพณี) พุทธศักราช<br />

2559 (ผู้แทนรับมอบ)<br />

2. คุณก่อเกียรติ ทองผุด ปัจจุบันรับราชการดำรง<br />

ตำแหน่ง นายช่างศิลปกรรม ระดับชำนาญการ สังกัดกลุ่ม<br />

สถาปัตยกรรม สำนักสถาปัตยกรรม กรมศิลปากร กระทรวง<br />

วัฒนธรรม<br />

3. Mr. Masaharu Rokushika, JIA President 2016-<br />

2018, Chairman of the Board of Directors at Nihon Sekkei,<br />

Inc.<br />

4. Mr. Carl Elefante, FAIA President, American Institute<br />

of Architects, 2018 , Principal, Quinn Evans Architects,<br />

Washington, D.C. (ผู้แทนรับมอบ)<br />

รางวัลเจ้าหน้าที่สมาคมสถาปนิกต่างประเทศดีเด่น<br />

Outstanding International Staff Award 2018<br />

5. Ms. Keiko Miyashita, Program Manager for International<br />

Relations, Japan Institute of Architects<br />

1<br />

2<br />

3<br />

5


Live Design Discourse Workshop ในความร่วมมือ<br />

4 ประเทศ<br />

สมาคมฯ ได้เป็นเจ้าภาพจัดกิจกรรม Live Design Discourse:<br />

The Essential Framework ระหว่างวันที่ 30 เมษายน ถึง 4<br />

พฤษภาคม 25<strong>61</strong> ซึ่งเป็นกิจกรรมความร่วมมือสืบเนื่องจากการ<br />

ลงนาม MOU ระหว่างสมาคมสถาปนิกประเทศมาเลเซีย สิงคโปร์<br />

อินโดนีเซีย และไทย ที่ร่วมลงนามในวันที่ 5 ตุลาคม 2560 ที่<br />

สำนักงานสมาคมสถาปนิกสิงค์โปร์ ประเทศสิงคโปร์ กิจกรรม<br />

ที่สมาคมฯ เป็นเจ้าภาพครั ้งนี ้ เป็นครั ้งที่ 4 หลังจากที่จัดขึ ้ นครั ้ง<br />

แรกในประเทศมาเลเซีย สิงคโปร์ และอินโดนีเซีย ตามลำดับ<br />

โดยกิจกรรมเป็นการที่มีนักศึกษาและสถาปนิกรุ่นใหม่ (อายุต่ำ<br />

กว่า 40 ปี) จาก 4 ประเทศ แบ่งนักศึกษาเป็น 4 กลุ่ม โดยมี<br />

สถาปนิกรุ่นใหม่จากแต่ละประเทศเป็นที่ปรึกษากลุ่ม เข้าศึกษา<br />

พื ้ นที่ บริษัท อู ่กรุงเทพ จำกัด โดยความอนุเคราะห์จากบริษัท<br />

ซึ่งเป็นรัฐวิสาหกิจภายใต้ความควบคุมของกองทัพเรือ ก่อตั ้งมา<br />

ตั ้งแต่ พ.ศ. 2408 ในชื่อเดิม คือ “บริษัท บางกอกด๊อก จำกัด”<br />

ตั ้งอยู่ที่ถนนเจริญกรุง ริมแม่น ้ำเจ้าพระยา ซึ่งพื ้ นที่นี ้ ได้ลดการใช้<br />

ในการต่อเรือและซ่อมบำรุงเรือเนื่องจากกองทัพเรือได้สร้างอู่ต่อ<br />

เรือขนาดใหญ่ขึ ้ นที่อำเภอสัตหีบ จังหวัดชลบุรี และมีนโยบายที่จะ<br />

ให้มีการใช้พื ้ นที่ที่ถนนเจริญกรุงให้เป็นประโยชน์ต่อย่านและต่อ<br />

สาธารณะเพิ่มขึ ้ น จึงเป็นโจทย์ในการศึกษาเสนอการออกแบบ<br />

เพื่อใช้พื ้ นที่ที่ประกอบด้วยอู่แห้ง 2 อู่ และคานเรือ 1 คาน รวมถึง<br />

อาคารโรงต่าง ๆ พร้อมพื ้ นที่เปิดโล่ง บนพื ้ นที่กว่า 20 ไร่ ร่วมกับ<br />

แนวคิดการสร้างประโยชน์เพื่อสังคมร่วมกัน (Creating Shared<br />

Values, CSV) ที่เป็นแนวคิดของ จาก Michael E. Porter แห่ง<br />

มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด ที่ยกระดับการตลาดจาก CSR<br />

บรรยายหัวข้อ “Place Making for Inclusive Territory” โดย คุณ<br />

ยศพล บุญสม จากบริษัท ฉมา จำกัด หลังจากนั ้นได้ปฏิบัติการ<br />

ออกแบบ ณ ห้องสัมมนา โรงแรมแอสเทรา สาทร เป็นเวลา 2<br />

วันเต็ม ในวันที่ 4 พฤษภาคม 25<strong>61</strong> ได้นำเสนอผลงานที่ห้อง<br />

Jupiter 10 ที่อิมแพคเมืองทองธานี ในระหว่างงาน “สถาปนิก<br />

<strong>61</strong>: ไม่ธรรมดา” โดยมีนายกและผู้แทนสมาคมสถาปนิกของ 4<br />

ประเทศความร่วมมือ และผู้สนใจเข้ารับฟังและแสดงความคิด<br />

เห็นต่อผลงานการออกแบบ<br />

การประชุมระหว่างสมาคมสถาปนิกสยามฯ กับ<br />

สมาคมสถาปนิกและวิศวกรก่อสร้างลาว (ALACE)<br />

เมื่อวันที่ 4 พฤษภาคม 25<strong>61</strong> ดร.อัชชพล ดุสิตนานนท์ นายก<br />

สมาคมสถาปนิกสยามฯ และ ผศ.ดร.รัฐพงษ์ อังกสิทธิ ์ กรรมการ<br />

บริหารสมาคมฯ ร่วมกับ คุณสถิรัตร์ ตัณฑนันทน์ อดีตประธาน<br />

สภาสถาปนิกแห่งเอเซีย เข้าร่วมประชุมกับประธานและผู้แทน<br />

สมาคมสถาปนิกและวิศวกรก่อสร้างลาว เพื่อหารือความร่วม<br />

มือระหว่างสองสมาคม ในการพัฒนาวิชาชีพและการส่งเสริม<br />

การประกอบวิชาชีพผ่านกิจกรรมต่าง ๆ สำหรับสมาชิกของ<br />

สมาคมทั ้งสอง<br />

กลุ่มทั ้ง 4 ได้สำรวจพื ้ นที่และรับข้อมูลจากเจ้าหน้าที่<br />

บริษัทฯ และเดินทางไปทัศนศึกษากรณีศึกษาการปรับใช้สถาน<br />

ที่และอาคารเก่าเพื่อรองรับกิจกรรมและธุรกิจสมัยใหม่ ที่ TCDC<br />

ล้ง 1919 และ เอเชียทีค เดอะริเวอร์ฟร้อนท์ และรับฟังการ


้<br />

การประชุมระหว่างสมาคมสถาปนิกสยามฯ กับ<br />

สมาคมสถาปนิกเกาหลี (KIRA)<br />

เมื่อวันที่ 4 พฤษภาคม 25<strong>61</strong> ดร.อัชชพล ดุสิตนานนท์ นายก<br />

สมาคมฯ คุณเมธี รัศมีวิจิตรไพศาล อุปนายกฝ่ ายวิชาชีพ ผศ.ดร.<br />

ธนะ จีระพิวัฒน์ อุปนายกฝ่ ายต่างประเทศ ผศ.ดร.รัฐพงษ์ อัง<br />

กสิทธิ ์ กรรมการบริหารสมาคมฯ และคุณสถิรัตร์ ตัณฑนันทน์<br />

อดีตประธานสภาสถาปนิกแห่งเอเซีย ร่วมประชุมกับกรรมการ<br />

และผู้แทนของสมาคมสถาปนิกเกาหลี เพื่อหารือแลกเปลี่ยน<br />

ความคิดเห็นและประสบการณ์ในการจัดงาน Expo เช่นงาน<br />

“สถาปนิก <strong>61</strong>”<br />

การประชุมระหว่างสมาคมสถาปนิกสยามฯ กับ<br />

สมาคมสถาปนิกญี่ปุ ่ น (JIA)<br />

เมื่อวันที่ 4 พฤษภาคม 25<strong>61</strong> ดร.อัชชพล ดุสิตนานนท์ นายก<br />

สมาคมฯ คุณเมธี รัศมีวิจิตรไพศาล อุปนายกฝ่ ายวิชาชีพ ผศ.ดร.<br />

ธนะ จีระพิวัฒน์ อุปนายกฝ่ ายต่างประเทศ ผศ.ดร.รัฐพงษ์<br />

อังกสิทธิ ์ กรรมการบริหารสมาคมฯ และคุณสถิรัตร์ ตัณฑนันทน์<br />

อดีตประธานสภาสถาปนิกแห่งเอเซีย ร่วมประชุมกับ Mr. Masaharu<br />

Rokushika นายกสมาคมสถาปนิกญี่ปุ ่ น และคณะผู้<br />

แทนจากสมาคมสถาปนิกญี่ปุ ่ น ได้แก่ Mr. Takanobu Ota อดีต<br />

อุปนายก และ Mr. Sumito Takashina อุปนายกฝ่ ายต่างประเทศ<br />

โดยมี Mr. Shinichi Saito สถาปนิกญี่ปุ ่ นเข้าสังเกตการณ์ ทั ้งนี<br />

ได้หารือเรื่องกิจกรรมแลกเปลี่ยนสถาปนิกที่จำเป็นต้องปรับ<br />

รูปแบบวิธีให้เป็นประโยชน์ต่อสมาชิกของทั ้งสองสมาคมในวง<br />

กว้าง และการจัดกิจกรรมอบรมด้านการออกแบบเพื่อรองรับภัย<br />

พิบัติ รวมถึงการจัดทัศนศึกษาสถาปัตยกรรมที่ให้มีสถาปนิกผู้<br />

ออกแบบร่วมให้ข้อมูลเกี่ยวกับอาคารที่สมาชิกไปเยี่ยมชม และ<br />

การเข้าเยี่ยมชมสำนักงานออกแบบของสถาปนิกด้วย<br />

การประชุมระหว่างจตุภาคี<br />

เมื่อวันที่ 4 พฤษภาคม 25<strong>61</strong> ดร.อัชชพล ดุสิตนานนท์ นายก<br />

สมาคมฯ คุณเมธี รัศมีวิจิตรไพศาล อุปนายกฝ่ ายวิชาชีพ ผศ.ดร.<br />

ธนะ จีระพิวัฒน์ อุปนายกฝ่ ายต่างประเทศ ผศ.ดร.รัฐพงษ์ อังกสิ<br />

ทธิ ์ กรรมการบริหารสมาคมฯ และคุณสถิรัตร์ ตัณฑนันทน์ อดีต<br />

ประธานสภาสถาปนิกแห่งเอเซีย ร่วมประชุมกับนายกสมาคม<br />

และผู้แทนสมาคมสถาปนิกจากประเทศมาเลเซีย สิงคโปร์ และ<br />

อินโดนีเซีย ตามบันทึกความร่วมมือระหว่างองค์กรวิชาชีพ 4<br />

ประเทศ โดยมีวาระการประชุมหารือเรื่องกิจกรรม Live Design<br />

Discourse (LDD) ที่ได้ดำเนินการในช่วงเวลา 1 ปีที่ผ่านมา โดย<br />

สมาคมแต่ละประเทศได้เป็นเจ้าภาพจัดกิจกรรมครบทั ้ง 4 ครั ้ง<br />

แล้ว และได้ประเมินสรุปให้ดำเนินการในรอบที่ 2 โดยให้จัด<br />

จำนวน 2 ครั ้ง ที่อินโดนีเซีย และมาเลเซีย ภายใต้หัวข้อร่วมกัน<br />

และวาระเรื่องมาตรฐานและอัตราค่าบริการวิชาชีพ เพื่อให้เกิด<br />

แนวทางการพัฒนาการประกอบวิชาชีพใน 4 ประเทศที่ไปใน<br />

ทิศทางเดียวกัน และในที่ประชุมได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์การ<br />

ใช้ SIACAD Softwar ซึ่งเป็นระบบออนไลน์ในการบริหารบริษัท<br />

และโครงการ APEX ที่สมาคมสถาปนิกสิงคโปร์ได้พัฒนา โดยได้<br />

มีกิจกรรมแนะนำการใช้ซอฟท์แวร์ให้กับสมาชิกสมาคมสถาปนิก<br />

มาเลเซียไปก่อนหน้า ซึ่งทางสมาคมสถาปนิกสิงคโปร์ยินดีที่จะ<br />

ให้ผู้เชี่ยวชาญจัดกิจกรรมแนะนำซอฟท์แวร์นี ้ ในประเทศไทยและ<br />

อินโดนีเซียเช่นกัน


์<br />

ร่วมพิธีฉลองครบรอบ 70 ปี สมาคมสถาปนิก<br />

เวียดนาม ณ กรุงฮานอย ประเทศเวียดนาม<br />

ระหว่างวันที่ 21-22 เมษายน 25<strong>61</strong> ผศ.ดร.ธนะ จีระพิวัฒน์<br />

อุปนายกฝ่ ายต่างประเทศ เป็นผู้แทนนายกสามาคมสถาปนิก<br />

สยามในพระบรมราชูปถัมภ์ เดินทางไปกรุงฮานอย ประเทศ<br />

เวียดนาม เพื่อเข้าร่วมพิธีฉลองครบรอบ 70 ปี ของสมาคม<br />

สถาปนิกเวียดนาม (Vietnam Association of Architects, VAA)<br />

ซึ่งก่อตั ้งขึ ้ นเมื่อวันที่ 27 เมษายน 1948 (พ.ศ. 2491) ณ<br />

หมู่บ้าน Than Son จังหวัด Vinh Phuc ประเทศเวียดนาม การ<br />

ก่อตั ้งสมาคมในครั ้งนั ้นประธานาธิบดี โฮ จี มินห์ ได้ส่งจดหมาย<br />

แสดงความยินดีให้แก่สถาปนิกเวียดนามทั่วประเทศ การจัดพิธี<br />

ฉลองครบรอบ 70 ปีนี ้ จัดขึ ้ นที่ Hanoi Opera House และหลัง<br />

จากพิธี นายกสมาคมสถาปนิกเวียดนามในต้อนรับนายกและ<br />

ผู้แทนของสมาคมสถาปนิกและวิศวกรก่อสร้างลาวและสมาคม<br />

สถาปนิกสยามฯ ที่ที่ทำการสมาคมสถาปนิกเวียดนาม และแลก<br />

เปลี่ยนความคิดเห็นในความร่วมมือด้านวิชาชีพและวิชาการ<br />

ระหว่างทั ้ง 3 ประเทศ<br />

ในครั ้งนี ้ ในพิธี AIA President’s Reception นายก<br />

สมาคมฯ ได้นำเหรียญและประกาศนียบัตรสมาชิกกิตติมศักดิ<br />

ของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ไปมอบให้กับ<br />

Mr. Carl Elefante นายกสมาคมสถาปนิกอเมริกา และทั ้งสอง<br />

ได้ลงนามในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือระหว่างสองสมาคม ที่<br />

สร้างความร่วมมือในการพัฒนาวิชาชีพเป็นระยะเวลา 5 ปี<br />

ประชุมร่วมกับ AIA ณ มหานครนิวยอร์ค<br />

ดร.อัชชพล ดุสิตนานนท์ นายกสมาคมสถาปนิกสยาม<br />

ในพระบรมราชูปถัมภ์ พร้อมด้วย คุณเมธี รัตนไพศาลวิจิตร<br />

อุปนายกฝ่ ายวิชาชีพ ผศ.ดร.ธนะ จีระพิวัฒน์ อุปนายกฝ่ ายต่าง<br />

ประเทศ และคุณสถิรัตร์ ตัณฑนันทน์ อดีตประธานสภาสถาปนิก<br />

เอเซีย (ARCASIA) ได้เดินทางไปร่วมงานสัมมนาประจำปีของ<br />

สมาคมสถาปนิกอเมริกา (American Institute of Architects,<br />

AIA) ณ เมืองนิวยอร์ค ประเทศสหรัฐอเมริกา พร้อมทั ้งเข้าร่วม<br />

การประชุม International Presidents’ Forum การประชุมร่วม<br />

สองฝ่ าย AIA-<strong>ASA</strong> เพื่อร่วมมือในการพัฒนามาตรฐานวิชาชีพ<br />

และแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ด้านการออกแบบและวางผังเมือง<br />

อย่างยั่งยืนเพื่อรองรับภัยพิบัติ ที่จัดขึ ้ นที่ Jacob K. Javits Convention<br />

Center และร่วมพิธีมอบวุฒิสถาปนิกกิตติมศักดิ ์ที่ทาง<br />

AIA มอบให้คุณสถิรัตร์ ตัณฑนันทน์ ณ St. Patrick’s Cathedral


บริเวณห้ามก่อสร้างฯ เกาะสมุย<br />

15 พ.ค. 25<strong>61</strong><br />

เทศบาลนครเกาะสมุยออก “เทศบัญญัติเทศบาลนครเกาะสมุย<br />

เรื่อง กำหนดบริเวณห้ามก่อสร้าง ดัดแปลง หรือเปลี่ยนการ<br />

ใช้อาคารบางชนิดหรือบางประเภท ในท้องที่เขตเทศบาลนคร<br />

เกาะสมุย อำเภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี พ.ศ. 2560”<br />

ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 25<strong>61</strong><br />

เพื่อใช้แทนเทศบัญญัติฉบับเดิม ฉบับ พ.ศ. 2556 ที่เคย<br />

กำหนดห้ามก่อสร้างอาคารชุดในเขตเทศบาลนครเกาะสมุย ใน<br />

เทศบัญญัติฉบับใหม่กำหนดข้อยกเว้นยอมให้สร้างอาคารชุดได้<br />

ในบางพื ้ นที่โดยมีข้อกำหนดเงื่อนไข<br />

อาคารชุดตามเทศบัญญัติฉบับนี ้ หมายความว่า<br />

อาคารที่บุคคลสามารถแยกการถือกรรมสิทธิ ์ออกได้เป็นส่วน<br />

ๆ โดยแต่ละส่วนประกอบด้วยกรรมสิทธิ ์ในทรัพย์ส่วนบุคคลและ<br />

กรรมสิทธิ ์ร่วมในทรัพย์ส่วนกลาง<br />

เทศบัญญัติฉบับนี ้ กำหนดพื ้ นที่ในเขตเทศบาลคร<br />

เกาะสมุย ออกเป็น 6 บริเวณ อย่างไรก็ตามข้อกำหนดใน<br />

เทศบัญญัติแบ่งได้เป็น 2 กลุ่มเท่านั ้น คือ บริเวณที่ 6 ซึ่งเป็น<br />

พื ้ นที่ส่วนใหญ่ของเกาะสมุย ห้ามมิให้ก่อสร้างอาคารชุด ส่วน<br />

บริเวณอื่นๆ ได้แก่ บริเวณที่ 1, 2, 3, 4 และ 5 ห้ามก่อสร้าง<br />

อาคารชุด เว้นแต่<br />

1. พื ้ นที่ในบริเวณที่วัดจากแนวชายฝั่งทะเลของ<br />

เกาะสมุยเข้าในแผ่นดินตั ้งแต่ 50 เมตร ถึง 200 เมตร ให้<br />

ก่อสร้างอาคารชุดพื ้ นที่รวมไม่เกิน 2,000 ตารางเมตร ความสูง<br />

ไม่เกิน 12 เมตร และมีที่ว่างไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ของแปลง<br />

ที่ดินที่ยื่นขออนุญาต<br />

2. พื ้ นที่ในบริเวณที่วัดจากแนวชายฝั่งทะเลของ<br />

เกาะสมุยเข้าในแผ่นดินเกินระยะ 200 เมตร ให้ก่อสร้างอาคาร<br />

ชุด ความสูงไม่เกิน 12 เมตร และมีที่ว่างไม่น้อยกว่าร้อยละ 50<br />

ของแปลงที่ดินที่ยื่นขออนุญาต<br />

3. พื ้ นที่ที่มีความสูงจากระดับน ้ำทะเลตั ้งแต่ 80 เมตร<br />

ข้อสังเกต:<br />

1. แม้เทศบัญญัติฉบับนี ้ จะแบ่งบริเวณไว้ถึง 6 บริเวณ<br />

แต่กลับไม่ได้มีข้อกำหนดที่แตกต่างกันในระหว่างบริเวณที่ 1<br />

ถึง 5 การแบ่งบริเวณเป็นเพียงการนำเอาการใช้ประโยชน์ที่ดิน<br />

ตามผังเมืองรวมชุมชนเกาะสมุยมาใช้ในเทศบัญญัติฉบับนี ้ (1<br />

สีเหลือง 2 สีส้ม 3 สีแดง 4 สีม่วง 5 สีม่วงอ่อน 6 สีเขียว)<br />

2. จากข้อกำหนดสำหรับบริเวณที่ 1 ถึง 5 ข้อยกเว้น<br />

กรณีที่ 3 (ข้อ 6.3 พื ้ นที่ที่มีความสูงจากระดับน ้ำทะเลตั ้งแต่ 80<br />

เมตร) ไม่ได้กำหนดเงื่อนไขให้ปฏิบัติอย่างใดเอาไว้เลย ซึ่งหาก<br />

ไม่ใช่ความผิดพลาด ก็จะหมายความว่าในบริเวณนอกเหนือจาก<br />

บริเวณที่ 6 ตามแผนที่ท้ายเทศบัญญัติ ในพื ้ นที่ที่มีความสูงจาก<br />

ระดับน ้ำทะเลตั ้งแต่ 80 เมตร จะสามารถก่อสร้างอาคารชุดได้<br />

โดยไม่มีข้อจำกัด อย่างไรก็ตาม พื ้ นที่ที่เป็นภูเขาจะอยู่ในบริเวณ<br />

ที่ 6 ส่วนในบริเวณที่ 1 ถึง 5 อาจจะไม่มีพื ้ นที่ที่มีความสูงจาก<br />

ระดับน ้ำทะเลตั ้งแต่ 80 เมตรอยู่เลยก็เป็นได้<br />

ดาวน์โหลด : www.asa.or.th/laws/news2018<strong>05</strong>24/<br />

กรุงเทพมหานครลดขั ้นตอนการตรวจและควบคุม<br />

อาคาร<br />

15 พ.ค. 25<strong>61</strong><br />

ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร พล.ต.อ.อัศวิน ขวัญเมือง ได้ออก<br />

“ระเบียบกรุงเทพมหานครว่าด้วยวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการตรวจ<br />

และควบคุมอาคาร พ.ศ. 25<strong>61</strong>” ลงวันที่ 11 พฤษภาคม 25<strong>61</strong><br />

ซึ่งเป็นผลสืบเนื่องมาจากการเข้าร่วมการประชุมรายงานผลการ<br />

ดำเนินการตามแนวทางการปรับปรุงสภาพแวดล้อมสำหรับการ<br />

ประกอบธุรกิจในประเทศไทยของธนาคารโลกเพื่อลดขั ้นตอนให้<br />

เกิดความสะดวก ยกระดับประสิทธิภาพการให้บริการ เพื่อส่ง<br />

เสริมการประกอบธุรกิจ โดยได้ปรับปรุงการตรวจและควบคุม<br />

อาคาร คือ<br />

• การตรวจสอบอาคาร เมื่อมีการออกใบอนุญาตฯ หรือ<br />

ใบรับแจ้งฯ ตามมาตรา 39 ทวิ สำนักการโยธาและสำนักงาน<br />

เขตต้องดำเนินการตรวจอาคาร จากเดิมให้มีการตรวจทุก 15<br />

วัน จนกว่าการก่อสร้างจะแล้วเสร็จ เหลือให้ตรวจ 3 ครั ้ง ได้แก่


ครั ้งที่ 1 เมื่อเริ่มทำการก่อสร้าง ครั ้งที่ 2 เมื่อทำการก่อสร้าง<br />

โครงสร้างของอาคาร และครั ้งที่ 3 เมื่อดำเนินการก่อสร้างแล้ว<br />

เสร็จ<br />

• การออกใบรับรองการก่อสร้างอาคาร กำหนดให้<br />

อาคารประเภทควบคุมการใช้ที่ไม่เป็นอาคารขนาดใหญ่ ต้อง<br />

ดำเนินการออกใบรับรองการก่อสร้างภายใน จากเดิม 30 วัน<br />

เหลือ 15 วัน นับแต่วันที่ได้รับแจ้งเป็นหนังสือให้เจ้าพนักงาน<br />

ท้องถิ่นทราบ<br />

• หากพบว่ามีการก่อสร้างโดยมิได้รับอนุญาต ให้ทำ<br />

รายงานพร้อมความเห็นเสนอต่อผู้บังคับบัญชาตามล ำดับชั้นโดย<br />

เร็ว เพื่อให้เจ้าพนักงานท้องถิ่น ออกคำสั่งให้ระงับการก่อสร้าง<br />

และให้ถือปฏิบัติตามแนวทางการดำเนินการเกี่ยวกับคดีความ<br />

ผิดตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคารที่ผู้ว่าฯ กทม. สั่งการ<br />

อนึ่ง ระเบียบกรุงเทพมหานครฉบับนี ้ ได้ยกเลิกระเบียบ<br />

ฉบับเดิมคือ ระเบียบกรุงเทพมหานครว่าด้วยวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับ<br />

การขออนุญาตและการควบคุมการก่อสร้างอาคาร พ.ศ. 2525<br />

ซึ่งออกมานานแล้วและครอบคลุมถึงขั้นตอนการอนุญาตด้วย แต่<br />

ในระเบียบฉบับใหม่ ไม่ได้ครอบคลุมถึงขั ้นตอนดังกล่าวด้วย<br />

ดาวน์โหลด : www.asa.or.th/laws/news2018<strong>05</strong>17/<br />

พระราชบัญญัติเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก<br />

14 พ.ค. 25<strong>61</strong><br />

พระราชบัญญัติเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก พ.ศ. 25<strong>61</strong><br />

ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ.<br />

25<strong>61</strong> เพื่อดำเนินการพัฒนาพื ้ นที่ภาคตะวันออกให้เป็นระบบ<br />

และโดยสอดคล้องกับหลักการพัฒนาอย่างยั่งยืน โดยเฉพาะ<br />

อย่างยิ่งการส่งเสริมการประกอบพาณิชยกรรมและอุตสาหกรรม<br />

ที่ใช้เทคโนโลยีขั ้นสูง ทันสมัย สร้างนวัตกรรม และเป็นมิตรต่อ<br />

สิ่งแวดล้อม<br />

ก่อนหน้านี ้ รัฐบาลที่จัดตั ้งโดยคณะรักษาความสงบ<br />

แห่งชาติ (คสช.) ได้กำหนดพื ้ นที่ “ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาค<br />

ตะวันออก” (Eastern Economic Corridor) ขึ ้ นเพื่อส่งเสริมการ<br />

ค้าและการลงทุนและการอำนวยความสะดวกในการประกอบ<br />

กิจการ ครอบคลุมพื ้ นที่สามจังหวัดในภาคตะวันออก ได้แก่<br />

จังหวัดฉะเชิงเทรา ชลบุรี และระยอง และเขตจังหวัดอื่นที่ติดต่อ<br />

หรือเกี่ยวข้อง ซึ่งมีศักยภาพในการพัฒนาด้วยความพร้อมด้าน<br />

การคมนาคม การขนส่ง โครงสร้างพื ้ นฐาน ความต้องการของผู้<br />

ประกอบการ การจัดหาทรัพยากรต่าง ๆ และความเชื่อมโยงกับ<br />

ศูนย์กลางเศรษฐกิจอื่น ๆ และ คสช. ได้ออกคำสั่งหัวหน้าคณะ<br />

รักษาความสงบแห่งชาติหลายฉบับเพื่อกำหนดมาตรการพัฒนา<br />

ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออกขึ ้ นเพื ่อดำเนินการไป<br />

พลางก่อนมาตั ้งแต่ต้นปี พ.ศ. 2560 รวมทั ้งต่อมาได้มีการออก<br />

ประกาศคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนเรื่องมาตรการส่งเสริม<br />

การลงทุนในพื ้ นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก และประกาศ<br />

คณะกรรมการนโยบายการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวัน<br />

ออกเพื่อกำหนดเขตส่งเสริมในนิคมอุตสาหกรรมหลายแห่ง<br />

“เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก” ได้แก่พื ้ นที่จังหวัด<br />

ฉะเชิงเทรา ชลบุรี และระยอง และพื ้ นที่อื่นใดที่อยู่ในภาคตะวัน<br />

ออกที่กำหนดเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาเป็นเขตพัฒนาพิเศษ<br />

ภาคตะวันออก โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ<br />

(1) พัฒนากิจกรรมทางเศรษฐกิจที่ทันสมัยและเป็น<br />

มิตรต่อสิ่งแวดล้อมเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของ<br />

ประเทศ<br />

(2) จัดให้มีการให้บริการภาครัฐแบบเบ็ดเสร็จครบ<br />

วงจรเพื่อลดอุปสรรคและต้นทุนในการประกอบกิจการ<br />

(3) จัดทำโครงสร้างพื ้ นฐานและระบบสาธารณูปโภคที่<br />

มีประสิทธิภาพ มีความต่อเนื่อง ประชาชนสามารถเข้าถึงได้โดย<br />

สะดวกและเชื่อมโยงกันอย่างเป็นระบบโดยสมบูรณ์<br />

(4) กำหนดการใช้ประโยชน์ในที่ดินอย่างเหมาะสมกับ<br />

สภาพและศักยภาพของพื ้ นที่โดยสอดคล้องกับหลักการพัฒนา<br />

อย่างยั่งยืน<br />

(5) พัฒนาเมืองให้มีความทันสมัยระดับนานาชาติที่<br />

เหมาะสมต่อการอยู่อาศัยอย่างสะดวก ปลอดภัย เข้าถึงได้โดย<br />

ถ้วนหน้าและการประกอบกิจการอย่างมีคุณภาพ<br />

พระราชบัญญัติเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก พ.ศ.<br />

25<strong>61</strong> ได้ให้เหตุผลในการตราพระราชบัญญัติฉบับนี ้ ไว้ว่า โดยที่<br />

ภาคตะวันออกเป็นพื ้ นที่ที่มีศักยภาพทางเศรษฐกิจสูง หากมี<br />

การพัฒนาพื ้ นที่อย่างต่อเนื่อง เป็นระบบและโดยสอดคล้องกับ<br />

หลักการพัฒนาอย่างยั่งยืนแล้วจะทำให้การใช้ที่ดินในภาคตะวัน<br />

ออกเป็นไปอย่างเหมาะสมกับสภาพและศักยภาพของพื ้ นที่ได้<br />

อย่างแท้จริง ทั ้งยังจะช่วยเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน<br />

ของประเทศโดยรวม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การส่งเสริมให้มีการ<br />

ประกอบพาณิชยกรรมและอุตสาหกรรมที่ใช้เทคโนโลยีขั้นสูง ทัน<br />

สมัย สร้างนวัตกรรม และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและการเกษตร<br />

กรรมดั ้งเดิม ตลอดจนวิถีชีวิตของชุมชนในพื ้ นที่ดังกล่าว แต่<br />

กฎหมายที่ใช้บังคับอยู่ในปัจจุบันไม่เอื ้ อต่อการพัฒนาพื ้ นที่ตาม<br />

แนวทางดังกล่าว ไม่มีการวางแผนการบริหารพื ้ นที่แบบองค์รวม<br />

การพัฒนาด้านต่าง ๆ จึงเป็นไปอย่างแยกส่วนและกระจัดกระจาย<br />

ผลของการขาดการบูรณาการดังกล่าว ทำให้ไม่สามารถพัฒนา<br />

พื ้ นที่ภาคตะวันออกได้อย่างเต็มศักยภาพทั ้งการจัดทำระบบ<br />

สาธารณูปโภคขั ้นพื ้ นฐานของหน่วยงานของรัฐต่างๆ ยังขาด<br />

ความต่อเนื่องและเชื่อมโยงกัน กรณีจึงสมควรกำหนดให้ภาค


ตะวันออกเป็นเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก มีการวางแผน<br />

การใช้ประโยชน์ที่ดินในพื ้ นที่ชัดเจนแน่นอนโดยเหมาะสมกับ<br />

สภาพและศักยภาพของพื ้ นที่ สอดคล้องกับหลักการพัฒนา<br />

อย่างยั่งยืน มีการบูรณาการการจัดทำโครงสร้างพื ้ นฐานและ<br />

สาธารณูปโภคให้ต่อเนื่องและเชื่อมโยงกันทั ้งในและนอกเขต<br />

พัฒนาพิเศษภาคตะวันออก พัฒนาเมืองให้มีความทันสมัยระดับ<br />

นานาชาติที่เหมาะสมต่อการอยู่อาศัยและการประกอบกิจการ<br />

มีการให้บริการภาครัฐแบบเบ็ดเสร็จครบวงจร รวมทั ้งให้สิทธิ<br />

ประโยชน์แก่ผู้ประกอบกิจการในเขตส่งเสริมเศรษฐกิจพิเศษ<br />

เป็นการเฉพาะ<br />

พระราชบัญญัติฉบับนี ้ มีผลกระทบต่อการควบคุม<br />

อาคารและการควบคุมตามกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้องกับการ<br />

ก่อสร้างที่มีอยู่หลายฉบับ เช่น กฎหมายการผังเมือง กฎหมาย<br />

การส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม กฎหมายควบคุม<br />

อาคาร กฎหมายการจัดสรรที่ดิน กฎหมายการขุดดินและถม<br />

ดิน เป็นต้น<br />

การดำเนินโครงการหรือกิจการใดภายในเขตพัฒนา<br />

พิเศษภาคตะวันออกที่ต้องจัดทำรายงานการประเมินผลกระทบ<br />

สิ่งแวดล้อม สุขภาพของประชาชนหรือชุมชนตามที่มีกฎหมาย<br />

กำหนด ให้คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติแต่งตั ้งคณะ<br />

กรรมการผู้ชำนาญการเป็นการเฉพาะเพื่อพิจารณาให้ความเห็น<br />

หรือความเห็นชอบรายงานการประเมินผลกระทบสิ ่งแวดล้อม<br />

ของโครงการหรือกิจการนั ้น โดยต้องดำเนินการให้แล้วเสร็จ<br />

ภายใน 120 วันนับแต่วันที่ได้รับรายงานที่ถูกต้องและมีข้อมูล<br />

ครบถ้วน (มาตรา 8 วรรคหนึ่ง)<br />

ในการพัฒนาเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก พระ<br />

ราชบัญญัติกำหนดให้ “สำนักงานคณะกรรมการนโยบายเขต<br />

พัฒนาพิเศษภาคตะวันออก” เป็นผู้จัดทำ นโยบายและแผนภาพ<br />

รวมเพื ่อการพัฒนาเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก แผนการ<br />

ใช้ประโยชน์ในที่ดินในภาพรวม แผนพัฒนาโครงสร้างพื ้ นฐาน<br />

และระบบสาธารณูปโภค แผนการดำเนินงาน และแผนการให้<br />

บริการภาครัฐแบบเบ็ดเสร็จครบวงจรที่สะดวกและรวดเร็ว เพื่อ<br />

ให้ประชาชนในพื ้ นที่ได้รับประโยชน์สูงสุดและให้การใช้พื ้ นที่มี<br />

ประสิทธิภาพ พร้อมทั ้งกำหนดหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องซึ่ง<br />

รับผิดชอบการดำเนินการเสนอต่อคณะกรรมการนโยบายเพื่อให้<br />

ความเห็นชอบ และเมื่อคณะกรรมการนโยบายให้ความเห็นชอบ<br />

แล้ว ให้เป็นหน้าที่ของหน่วยงานดังกล่าวในการดำเนินการ เว้น<br />

แต่คณะกรรมการนโยบายจะกำหนดเป็นอย่างอื่น (มาตรา 29<br />

วรรคหนึ่ง)<br />

เมื่อคณะกรรมการนโยบายให้ความเห็นชอบแผนตาม<br />

มาตรา 29 แล้ว ให้สำนักงานร่วมกับกรมโยธาธิการและผังเมือง<br />

และหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้องจัดทำรายละเอียดของแผนผัง<br />

การใช้ประโยชน์ในที่ดินและแผนผังการพัฒนาโครงสร้างพื ้ นฐาน<br />

และระบบสาธารณูปโภคให้สอดคล้องกับแผนดังกล่าว โดยต้อง<br />

ดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในหนึ่งปีนับแต่วันที่คณะกรรมการ<br />

นโยบายให้ความเห็นชอบแผนนั ้น (มาตรา 30 วรรคหนึ่ง)<br />

แผนผังที่จัดทำขึ ้ นตามมาตรา 30 เมื่อได้รับความเห็น<br />

ชอบจากคณะกรรมการนโยบายและคณะรัฐมนตรีอนุมัติแล้ว<br />

ให้ผังเมืองตามกฎหมายว่าด้วยการผังเมืองในส่วนที่ใช้บังคับ<br />

ในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกอยู่ก่อนวันที่คณะรัฐมนตรี<br />

มีมติอนุมัติแผนผังนั ้นเป็นอันยกเลิกไป และให้กรมโยธาธิการ<br />

และผังเมืองดำเนินการจัดทำผังเมืองขึ ้ นใหม่ให้สอดคล้องกับ<br />

แผนผังดังกล่าว ในระหว่างที่ยังจัดทำผังเมืองไม่แล้วเสร็จ ให้<br />

ถือว่าแผนผังที่คณะรัฐมนตรีอนุมัติเป็นผังเมืองรวมตามกฎหมาย<br />

ว่าด้วยการผังเมืองสำหรับแต่ละจังหวัดที่อยู่ในเขตพัฒนาพิเศษ<br />

ภาคตะวันออก (มาตรา 32)<br />

ในกรณีที่เห็นสมควร เพื่อประโยชน์ในการพัฒนา<br />

อุตสาหกรรมของประเทศไปสู่การใช้เทคโนโลยีขั ้นสูง สร้าง<br />

นวัตกรรม และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม รวมทั ้งการพัฒนา<br />

ขีดความสามารถในการแข่งขันในด้านต่าง ๆ คณะกรรมการ<br />

นโยบายจะกำหนดให้พื ้ นที่ใดในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก<br />

เป็น “เขตส่งเสริมเศรษฐกิจพิเศษ” เพื่อวัตถุประสงค์ในการผลัก<br />

ดันการลงทุนในอุตสาหกรรมเป้าหมายพิเศษด้านใดด้านหนึ่ง<br />

หรือหลายด้านที่ไม่เป็นปฏิปักษ์ต่อกันก็ได้ (มาตรา 39, 40)<br />

การดำเนินการหรือการกระทำใดภายในเขตส่งเสริม<br />

เศรษฐกิจพิเศษที่เกี่ยวข้องกับกฎหมายหลายฉบับ ที่มีการ<br />

กำหนดให้ผู้ดำเนินการหรือผู้กระทำต้องได้รับอนุมัติ อนุญาต<br />

ใบอนุญาต หรือความเห็นชอบจากหน่วยงานของรัฐหรือคณะ<br />

กรรมการตามกฎหมายนั ้น หรือต้องจดทะเบียน หรือแจ้งต่อ<br />

หน่วยงานของรัฐหรือคณะกรรมการตามกฎหมายนั ้นก่อน พระ<br />

ราชบัญญัติฉบับนี ้ บัญญัติให้ เลขาธิการคณะกรรมการนโยบาย<br />

เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก เป็นผู้มีอำนาจอนุมัติ อนุญาต<br />

ออกใบอนุญาต หรือให้ความเห็นชอบ หรือเป็นผู้มีอำนาจใน<br />

การรับจดทะเบียนหรือรับแจ้งตามกฎหมายนั ้น กฎหมายเหล่า<br />

นี ้ ได้แก่ (มาตรา 43 วรรคหนึ่ง)<br />

(1) กฎหมายว่าด้วยการขุดดินและถมดิน<br />

(2) กฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร<br />

(3) กฎหมายว่าด้วยการจดทะเบียนเครื่องจักร<br />

(4) กฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุข<br />

(5) กฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมือง เฉพาะเพื่อการ<br />

อนุญาตให้คนต่างด้าวตามมาตรา 54 (1) หรือ (2) อยู่ต่อใน<br />

ราชอาณาจักร<br />

(6) กฎหมายว่าด้วยทะเบียนพาณิชย์<br />

(7) กฎหมายว่าด้วยโรงงาน


้<br />

้<br />

(8) กฎหมายว่าด้วยการจัดสรรที่ดิน<br />

พระราชบัญญัติได้กำหนดให้ ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษ<br />

ภาคตะวันออก และ เขตส่งเสริม ที่กำหนดและประกาศตาม<br />

คำสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ 2/2560 เรื่อง<br />

การพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก ลงวันที ่ 17<br />

มกราคม พุทธศักราช 2560 เป็นเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวัน<br />

ออก หรือ เขตส่งเสริมเศรษฐกิจพิเศษ แล้วแต่กรณี ตามพระราช<br />

บัญญัตินี ้ จนกว่าคณะกรรมการนโยบายจะได้มีมติให้ยกเลิกหรือ<br />

กำหนดเป็นอย่างอื่น (มาตรา 67)<br />

ปรับปรุงแก้ไขพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษา<br />

คุณภาพสิ่งแวดล้อม<br />

19 เม.ย. 25<strong>61</strong><br />

ปรับปรุงแก้ไขพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่ง<br />

แวดล้อม พ.ศ. 2535 โดย “พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษา<br />

คุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 25<strong>61</strong>” ประกาศ<br />

ในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ 19 เมษายน 25<strong>61</strong> โดยให้ใช้<br />

บังคับเมื่อพ้นกำหนด 90 วันนับแต่วันประกาศในราชกิจจา<br />

นุเบกษา คือตั ้งแต่วันที่ 19 กรกฎาคม 25<strong>61</strong><br />

เนื ้ อหาของพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่ง<br />

แวดล้อมแห่งชาติ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 25<strong>61</strong> เป็นการปรับปรุงแก้ไข<br />

ในส่วนที ่เกี่ยวกับการจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่ง<br />

แวดล้อม เพื่อให้สอดคล้องกับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย<br />

และปรับปรุงหลักเกณฑ์การปฏิบัติให้สอดคล้องกับสภาวการณ์<br />

ที่เปลี่ยนแปลงไป เพื่อให้มีมาตรฐานอันเป็นที่ยอมรับและได้รับ<br />

ความเชื่อมั่นจากทุกภาคส่วนในการดำรงไว้ซึ่งการรักษาคุณภาพ<br />

สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติควบคู่ไปกับการพัฒนา<br />

ประเทศอย่างสมดุล<br />

สืบเนื่องมาจากรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย<br />

พุทธศักราช 2560 ได้บัญญัติไว้ในมาตรา 278 ให้มีการจัดทำ<br />

กฎหมายที่จำเป็นตามมาตรา 58 ซึ่งกำหนดให้“การดำเนินการ<br />

ใดของรัฐหรือที่รัฐจะอนุญาตให้ผู้ใดดำเนินการ ถ้าการนั ้นอาจมี<br />

ผลกระทบต่อทรัพยากรธรรมชาติ คุณภาพสิ่งแวดล้อม สุขภาพ<br />

อนามัย คุณภาพชีวิต หรือส่วนได้เสียสำคัญอื่นใดของประชาชน<br />

หรือชุมชนหรือสิ่งแวดล้อมอย่างรุนแรง รัฐต้องดำเนินการให้<br />

มีการศึกษาและประเมินผลกระทบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมและ<br />

สุขภาพของประชาชนหรือชุมชน และจัดให้มีการรับฟังความคิด<br />

เห็นของผู้มีส่วนได้เสียและประชาชนและชุมชนที่เกี่ยวข้องก่อน<br />

เพื่อนำมาประกอบการพิจารณาดำเนินการหรืออนุญาตตามที่<br />

กฎหมายบัญญัติ” โดยให้จัดทำร่างกฎหมายให้แล้วเสร็จภายใน<br />

240 วันนับแต่วันประกาศใช้รัฐธรรมนูญ และให้สภานิติบัญญัติ<br />

แห่งชาติพิจารณาให้แล้วเสร็จภายใน 60 วันนับแต่วันที่ได้รับร่าง<br />

พระราชบัญญัติ<br />

การปรับปรุงแก้ไขเริ่มตั ้งแต่การเปลี่ยนชื่อเรียกของ<br />

“รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม” เป็น “รายงานการ<br />

ประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม” และบัญญัติ “ส่วนที่ 4 การจัด<br />

ทำรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม” ขึ ้ นใหม่ทั ้งหมด<br />

ซึ่งพอจะสรุปการปรับปรุงและความแตกต่างระหว่างของเดิมกับ<br />

ของใหม่เฉพาะบางประเด็นที่น่าสนใจได้ดังนี<br />

• การประกาศกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข<br />

ในการจัดทำรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ได้ระบุ<br />

ไว้ในพระราชบัญญัติเลยว่า อย่างน้อยต้องประกอบด้วย “สาระ<br />

สำคัญเกี่ยวกับรายละเอียดโครงการหรือกิจการหรือการดำเนิน<br />

การ สภาพสิ่งแวดล้อมปัจจุบัน การประเมินทางเลือกในการ<br />

ดำเนินการ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่อาจเกิดขึ ้ น<br />

จากโครงการหรือกิจการหรือการดำเนินการทั ้งทางตรงและ<br />

ทางอ้อม การมีส่วนร่วมของประชาชนในการประเมินผลกระทบ<br />

สิ่งแวดล้อม และมาตรการป้องกันแก้ไขผลกระทบสิ่งแวดล้อม<br />

และการชดเชยเยียวยาความเดือดร้อนหรือเสียหาย” หัวข้อ<br />

สาระสำคัญเหล่านี ้ เดิมมีกำหนดอยู่ในเอกสารแนวทางการจัด<br />

ทำรายงานฯ อยู่แล้ว ยกเว้นสาระสำคัญที่จะต้องเพิ่มขึ ้ นเพื่อให้<br />

สอดคล้องกับรัฐธรรมนูญ คือ การมีส่วนร่วมของประชาชนใน<br />

การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (มาตรา 48 วรรคสอง)<br />

• ผู้ตรวจสอบรายงานฯ และเอกสารที่เกี่ยวข้องที่เสนอ<br />

มา นอกจากเป็นอำนาจหน้าที่ของ สผ. แล้ว ตามพระราชบัญญัติ<br />

ฉบับที่ 2 ยังเพิ่ม “หรือหน่วยงานของรัฐตามที่คณะกรรมการ<br />

สิ่งแวดล้อมแห่งชาติมอบหมายให้ปฏิบัติหน้าที่แทน” (มาตรา<br />

50 วรรคสาม) สำหรับการมอบหมายให้ปฏิบัติหน้าที่ตรวจสอบ<br />

รายงานฯ แทนนี ้ สผ. โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสิ่ง<br />

แวดล้อมแห่งชาติอาจมอบหมายให้หน่วยงานของรัฐแห่งอื่น<br />

ปฏิบัติหน้าที่แทนได้ เว้นแต่เป็นโครงการที่ต้องทำ EHIA ทั ้งนี<br />

ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ<br />

กำหนด (มาตรา 50 วรรคห้า)<br />

• ในขั ้นตอนการพิจารณาของคณะกรรมการผู้ชำนาญ<br />

การ (คชก.) ได้บัญญัติเพิ่มเพื่อให้เกิดความชัดเจนขึ ้ นคือ ใน<br />

กรณีที่ คชก. ไม่ให้ความเห็นชอบ ผู้ดำเนินการหรือผู้ขออนุญาต<br />

จะต้องแก้ไขเพิ่มเติมหรือจัดทำรายงานฯใหม่ตามแนวทาง ราย<br />

ละเอียด ประเด็น หรือหัวข้อที่ คชก. กำหนด “ภายใน 180<br />

วันนับแต่วันที่ได้รับแจ้งผลการพิจารณาของ คชก. มิฉะนั ้นให้<br />

ถือว่าผู้ดำเนินการหรือผู้ขออนุญาตไม่ประสงค์จะเสนอรายงาน<br />

การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม และให้ถือว่าจบกระบวนการ<br />

พิจารณารายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม แต่ไม่ตัด<br />

สิทธิที่ผู้ดำเนินการหรือผู้ขออนุญาตจะเสนอรายงานการประเมิน


ผลกระทบสิ่งแวดล้อมใหม่” (มาตรา 51/1 วรรคสอง) ส่วนใน<br />

กรณีที่ คชก. ไม่ให้ความเห็นชอบ ก็ “ให้ถือว่าจบกระบวนการ<br />

พิจารณารายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม แต่ไม่ตัด<br />

สิทธิที่ผู้ดำเนินการหรือผู้ขออนุญาตจะเสนอรายงานการประเมิน<br />

ผลกระทบสิ่งแวดล้อมใหม่” (มาตรา 51/1 วรรคสี่) และบัญญัติ<br />

เพิ่มไว้เพื่อให้เกิดความชัดเจนด้วยว่า การให้ความเห็นชอบหรือ<br />

ไม่ให้ความเห็นชอบนั้น ความเห็นของ คชก. ให้เป็นที่สุด (มาตรา<br />

51/1 วรรคห้า)<br />

• เมื่อ คชก. ให้ความเห็นชอบแล้ว ยังคงกำหนดให้<br />

หน่วยงานผู้อนุญาตต้องนำมาตรการตามที่เสนอไว้ในรายงานฯ<br />

ไปกำหนดเป็นเงื่อนไขในการสั่งอนุญาตหรือต่ออนุญาต โดยให้<br />

ถือว่าเป็นเงื่อนไขที่ก ำหนดตามกฎหมายในเรื่องนั้นๆ ด้วย พระราช<br />

บัญญัติ ฉบับที่ 2 เน้นในจุดนี ้ เพิ่มขึ ้น โดยเพิ่มข้อความก ำหนดให้เจ้า<br />

หน้าที่ซึ่งมีอ ำนาจอนุญาตนำรายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการที่ผู้<br />

ดำเนินการหรือผู้ขออนุญาตต้องจัดท ำไปกำหนดเป็นเงื่อนไขในการ<br />

สั่งอนุญาตหรือต่ออายุใบอนุญาตด้วย (มาตรา 51/3 วรรคสอง)<br />

• สำหรับ “รายงานผลการปฏิบัติตามมาตรการที่ก ำหนด<br />

ไว้ในรายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม” นี ้ เป็นส่วนหนึ่ง<br />

ของมาตรการในการติดตามตรวจสอบและพัฒนาระบบการประเมิน<br />

ผลกระทบสิ่งแวดล้อม โดยผู้ดำเนินการหรือผู้ขออนุญาตซึ่งได้รับ<br />

อนุญาตแล้ว ต้องจัดท ำรายงานดังกล่าวเสนอต่อเจ้าหน้าที่ซึ่งมีอ ำนาจ<br />

อนุญาต อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่คณะ<br />

กรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติประกาศก ำหนด (มาตรา 51/5)<br />

• รายงานฯ ที่ได้รับความเห็นจากคณะกรรมการสิ่ง<br />

แวดล้อมแห่งชาติ หรือได้รับความเห็นชอบ หรือถือว่าได้รับความ<br />

เห็นชอบจาก คชก. สามารถนำไปใช้เพื่อเสนอขอรับความเห็น<br />

ชอบจากคณะรัฐมนตรี หรือประกอบการพิจารณาอนุญาตตาม<br />

กฎหมายได้เป็นระยะเวลา 5 ปี นับแต่วันที่ สผ. หรือหน่วยงาน<br />

ที่ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติหน้าที่แทน ได้มีหนังสือแจ้งความ<br />

เห็นหรือความเห็นชอบ แล้วแต่กรณี (มาตรา 51/6)<br />

สำหรับรายงานฯที่ได้ยื่นไว้ก่อนวันที่พระราชบัญญัติ<br />

นี ้ ใช้บังคับและยังอยู่ในระหว่างการพิจารณา ให้ถือว่าเป็น<br />

รายงานฯตามพระราชบัญญัติที่ได้แก้ไขเพิ่มเติมนี ้ ซึ่งจะต้อง<br />

ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กำหนดตามที่ได้แก้ไขเพิ ่ม<br />

เติม ส่วนรายงานฯที่คณะกรรมการผู้ชำนาญการฯได้ให้ความ<br />

เห็นชอบหรือถือได้ว่าให้ความเห็นชอบ หรือที่คณะกรรมการสิ่ง<br />

แวดล้อมได้ให้ความเห็นแล้ว สามารถนำไปใช้เพื่อเสนอขอรับ<br />

ความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีหรือประกอบการพิจารณา<br />

อนุญาตตามกฎหมายได้ ภายในระยะเวลา 5 ปี<br />

ดาวน์โหลด : www.asa.or.th/laws/news20180425/<br />

กรรมาธิการสถาปนิกอีสาน<br />

กรรมาธิการสถาปนิกอีสาน สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรม<br />

ราชูปถัมภ์ ได้รับเชิญเข้าร่วมงาน LAO BUILD 2018 ระหว่างวันที่<br />

7-9 มิถุนายน 25<strong>61</strong> สถานที่จัดงาน ณ National Convention<br />

Centre เวียงจันทร์ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ทาง<br />

กรรมาธิการสถาปนิกอีสานฯ ได้จัดกิจกรรมดูงาน LAO BUILD<br />

2018 และจัดกิจกรรมทัศนศึกษาวังเวียง-เวียงจันทร์ ขึ ้ นเพื่อ<br />

เป็นการกระชับความสัมพันธ์ในกลุ่มสถาปนิกในภูมิภาคอีสาน<br />

กรรมาธิการสถาปนิกอีสาน สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรม<br />

ราชูปถัมภ์ ร่วมกับ บริษัท กระจกไทยอาซาฮี จำกัด (มหาชน)<br />

ได้จัดงานเสวนาหัวข้อ “การออกแบบสถาปัตยกรรมโครงการ<br />

อสังหาริมทรัพย์ – อสังหา....สถาปัตย์” วิทยากร คุณ ศรัทธา<br />

เจริญรัตน์ บริษัท ศถา อาคิเทค จำกัด ผู้ออกแบบโครงการของ<br />

บริษัท อนันดา ดีเวลลอปเม้นท์ จำกัด (มหาชน) และบริษัท เอ<br />

พี (ไทยแลนด์) จำกัด (มหาชน) ในวันศุกร์ที่ 25 พฤษภาคม<br />

25<strong>61</strong> เวลา 18.00 น. – 21.00 น. ณ ร้านอาหารเดอะพาร์ค<br />

จังหวัดนครราชสีมา


กรรมาธิการสถาปนิกทักษิณ<br />

กรรมาธิการสถาปนิกทักษิณ สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรม<br />

ราชูปถัมภ์ ร่วมกับ บริษัท วิสต้า อินโน จำกัด เชิญสถาปนิก<br />

วิศวกร และผู้สนใจเข้าร่วมงานสัมมนา หัวข้อ “SPORT FLOOR-<br />

ING SYSTEM“INDUSTRIAL FLOORING & DECORATIVE FLOOR-<br />

ING” ในวันศุกร์ที่ 20 เมษายน 25<strong>61</strong> เวลา 18.00 – 22.00<br />

น. ณ โรงแรมต้นอ้อย แกรนด์ โฮลเต็ล ห้อง จุพา 2 อำเภอ<br />

หาดใหญ่ จังหวัดสงขลา<br />

ก ร ร ม า ธิ ก า ร ส ถ า ป นิ ก ท ั ก ษิ ณ ส ม า ค ม ส ถ า ป นิ ก ส ย า ม<br />

ในพระบรมราชูปถัมภ์ ร่วมกับ บริษัท รอยัล อินเตอร์เทรด<br />

จ ำ ก ัด เ ชิ ญ ส ถ า ป นิ ก ว ิ ศ ว ก ร แ ล ะ ผู ้ส น ใ จ เ ข ้า ร่ ว ม ง า น ส ัม<br />

หัวข้อ “การเลือกใช้ผนัง EQUITONE และการสร้างสรรค์งาน<br />

เปลือกอาคารแบบ 3 มิติ” ในวันศุกร์ที่ 18 พฤษภาคม 25<strong>61</strong><br />

เวลา 18.00 – 22.00 น. ณ ห้องสราญรมย์ ชั ้น 2 โรงแรมนิว<br />

ซีซั่น สแควร์ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา<br />

เมื่อวันที่ 5 - 7 พฤษภาคม 25<strong>61</strong> กรรมาธิการสถาปนิกทักษิณ<br />

สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้เดินร่วมงาน<br />

สถาปนิก’<strong>61</strong> “ไม่ธรรมดา” ณ อิมแพ็ค เมืองทองธานี เข้าร่วม<br />

ประชุมใหญ่สามัญ และเข้าร่วมรับเสด็จสมเด็จพระเทพรัตนราช<br />

สุดาฯ สยามบรมราชกุมารี<br />

ตัวแทนคณะกรรมาธิการสถาปนิกทักษิณฯ, คณะกรรมาธิการ<br />

สถาปนิกล้านนา, คณะกรรมาธิการสถาปนิกอีสาน และคณะ<br />

กรรมการบริหารสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์<br />

เดินทางร่วมงาน LAO BUILD 2018 ภายใต้หัวข้อ “Touring<br />

House and Hotel” ที่ทางสมาคมสถาปนิกลาวฯ (ALACE) จัดขึ ้ น<br />

ในวันที่ 7 - 9 มิถุนายน 25<strong>61</strong> ณ กรุงเวียงจันทร์ สาธารณรัฐ<br />

ประชาธิปไตยประชาชนลาว<br />

กรรมาธิการสถาปนิกทักษิณ สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรม<br />

ราชูปถัมภ์ จัดงานแสดงมุทิตาจิตสถาปนิกอาวุโส และขอบคุณ<br />

คณะกรรมการจัดงานสถาปนิกทักษิณ’<strong>61</strong> “สองเล เสเริน” จัด<br />

เมื่อวันเสาร์ที่ 12 พฤษภาคม 25<strong>61</strong> เวลา 17.30 – 24.00<br />

น. ณ ร้านอาหาร Cello Ville อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา<br />

มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวนมากมายทั ้งสถาปนิก วิศวกร และผู้<br />

ที่สนใจ


การเข้าร่วมโครงการเสวนาและนิทรรศการ<br />

“เรือนไทยถิ่นภูเก็ตอัตลักษณ์พื ้ นถิ ่นคุณค่าแห่ง<br />

แผ่นดิน”<br />

เมื่อวันที่ 15 มิถุนายนที่ผ่านมา คุณปองขวัญ ลาซูส เป็นตัวแทน<br />

สมาคมสถาปนิกสยามฯ เข้าร่วมเสวนา เรื่อง “เกณฑ์การให้<br />

รางวัลอนุรักษ์ ศิลปสถาปัตยกรรมดีเด่น” ของสมาคมสถาปนิก<br />

สยามฯ ในโครงการเสวนาและนิทรรศการ “เรือนไทยถิ่นภูเก็ต<br />

อัตลักษณ์พื ้ นถิ่น คุณค่าแห่งแผ่นดิน” ณ อาคารเฉลิมพระเกียรติ<br />

มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต จัดโดย หน่วยอนุรักษ์สิ ่งแวดล้อม<br />

ธรรมชาติและศิลปกรรมท้องถิ่นจังหวัดภูเก็ต สำนักงาน<br />

วัฒนธรรมจังหวัดภูเก็ต มูลนิธิท้าวเทพกษัตรีท้าวศรีสุนทร โดย<br />

มีรองผู้ว่าราชการจังหวัดภูเก็ตกล่าวเปิดงาน มีการบรรยายเรื่อง<br />

“เรือนไทยถิ่นภูเก็ต มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมไข่มุกแห่ง<br />

อันดามัน” โดยอาจารย์ศิวพงศ์ ทองเจือ ผู้ช่วยผู้อ ำนวยการสำนัก<br />

ศิลปวัฒนธรรม มหาวิทาลัยราชภัฏภูเก็ตและผู้วิจัยเรือนพื ้ นถิ่น<br />

ภูเก็ต จากนั ้นมีการบรรยายเรื่องการอนุรักษ์เรือนพื ้ นถิ่นล้าน<br />

นาและการบริหารจัดการพิพิธภัณฑ์เรือนโบราณล้านนา โดย<br />

นางสาวฐาปนีย์ เครือระยา หัวหน้าฝ่ ายส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม<br />

สำนักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่<br />

ส่วนในช่วงสุดท้ายเป็นการเสวนาและแลกเปลี่ยนเรียน<br />

รู้กรณีศึกษาเกณฑ์การขึ ้ นทะเบียนบัญชีมรดกภูมิปัญญาทาง<br />

วัฒนธรรม สาขางานช่างฝีมือดั ้งเดิม “เรือนโคราช” โดยผู้ช่วย<br />

ศาสตราจารย์นฤมล ปิยะวิทย์ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ สำนัก<br />

ศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนคราชสีมา เกณฑ์<br />

การให้รางวัลอนุรักษ์ศิลปสถาปัตยกรรมดีเด่น สมาคมสถาปนิก<br />

สยามฯ โดยคุณปองขวัญและแนวทางในอนาคตการอนุรักษ์<br />

มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม “เรือนพ่อคง” เรือนโคราช ที่<br />

ได้รับรางวัลอนุรักษ์ฯ ดีเด่น สมาคมสถาปนิกสยามฯ ปี 25<strong>61</strong><br />

และมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมจากกระทรวงวัฒนธรรม 2<br />

รางวัลในปีเดียว โดย ผศ.ดร.ณัฐกิตติ ์ อินทร์สวรรค์ ผู้อำนวยการ<br />

สำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา<br />

จากนั ้นมีการนำชมนิทรรศการ และนำชมเรือนโบราณพื ้ นถิ่น<br />

ภูเก็ต<br />

• ตำบลฉลอง เรือนไทยพุทธ บ้านฉลองและเรือนชาว<br />

ไทยเชื ้ อสายจีน บ้านบนสวน<br />

• ตำบลกมลา เรือนไทยมุสลิม บ้านหัวควน<br />

• ตำบลเชิงทะเล เรือไทยพุทธ บ้านหาดสุรินทร์ และ<br />

เรือนไทยมุสลิม บ้านบางเทา<br />

• ตำบลสุนทร เรือนไทยพุทธ บ้านท่าเรือ<br />

<strong>ASA</strong> Dialogues<br />

เมื่อวันที่ 22 เมษายน 25<strong>61</strong> สมาคมสถาปนิกสยามฯ จัด<br />

บรรยายโครงการ <strong>ASA</strong> Dialogues ซึ่งได้รับเกียรติจากวิทยากร<br />

รับเชิญจากประเทศญี่ปุ ่ น คุณ TETSUO KONDO ที่มีผลงานการ<br />

ออกแบบ House in Chayagasaka, A Path in the Forest และ<br />

Nakade House ณ ห้องออดิทอเรียม ณ TCDC โดยมี ผศ.<br />

กิจโชติ นันทนศิริวิกรม กล่าวเปิดงาน และ อ.หรรษา ศรีเลิศ<br />

ชัยพาณิช เป็นพิธีกร พร้อมด้วย ผศ.ดร.คัทลียา จิรประเสริฐกุล<br />

เป็นผู้ดำเนินรายการซึ่งมีสมาชิกและผู้ที่สนใจเข้าร่วมฟังบรรยาย<br />

เป็นจำนวนมาก


้<br />

มูลนิธิเอสซีจีส่งมอบอาคาร “เอื ้ อสุข””ให้แก่พี่น้อง<br />

ชาวปากพนังเพื่อใช้พักพิงในยามเกิดอุทกภัย..<br />

เมื่อปลายปี 2559 ได้เกิดภัยธรรมชาติครั ้งใหญ่ขึ ้ นในเขตพื ้ นที่<br />

ภาคใต้ต้องสูญเสียชีวิตและทรัพย์สิน บางพื ้ นที่ถูกน ำท่วมขังเป็น<br />

ระยะเวลานาน ซึ่งความเสียหายในครั ้งนั ้นครอบคลุม12 จังหวัด<br />

ภาคใต้โดย3 อำเภอที่ได้รับผลกระทบอย่างหนัก ได้แก่ อ.ชะอวด<br />

อ.ปากพนัง และ อ.เชียรใหญ่ จ.นครศรีธรรมราช มูลนิธิเอส<br />

ซีจีร่วมกับสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ธุรกิจ<br />

ซีเมนต์และผลิตภัณฑ์ก่อสร้าง ในเอสซีจี และเพื่อนพนักงาน<br />

เอสซีจีจิตอาสา จัดสร้างอาคาร “เอื ้ อสุข” ขึ ้ นในพื ้ นที่วัดโคกแสง<br />

ต.ขนาบนาก อ.ปากพนัง จ.นครศรีธรรมราช<br />

คุณปรีชา นวประภากุล อุปนายกสมาคมสถาปนิกสยาม<br />

ในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้ดำเนินการจัดประกวดแบบก่อสร้าง<br />

อาคาร โดยเปิดโอกาสให้บุคคลทั่วไป กลุ่มสมาชิกของสมาคม<br />

และบริษัทต่างๆ ในเขตพื ้ นที่ภาคใต้เข้ามามีส่วนร่วมในการ<br />

ประกวดแบบอาคาร เราต้องการแบบที่ดี มีคุณภาพ ปลอดภัย<br />

มั่นคง และมีพื ้ นที่ใช้สอยที่สะดวกเหมาะสมกับการอยู่อาศัย<br />

ชั่วคราวอีกทั ้งยังเป็นการสนับสนุนให้นักออกแบบได้ประชัน<br />

ความคิดได้สร้างสรรค์คุณค่าและสร้างประโยชน์แก่ชุมชน<br />

โดยแบบที่ชนะการประกวดจะถูกนำไปก่อสร้างจริงและ<br />

ป้องกันภัยให้คนในชุมชนได้จริง ด้วยความร่วมมือจากมูลนิธิเอส<br />

ซีจี สมาคมสถาปนิกสยามฯ ธุรกิจซีเมนต์และผลิตภัณฑ์ก่อสร้าง<br />

ในเอสซีจี และเพื่อนพนักงานเอสซีจีจิตอาสา จึงเกิดเป็นอาคาร<br />

“เอื ้ อสุข” ซึ่งเป็นอาคารอเนกประสงค์ มีคุณสมบัติแข็งแรง มั่นคง<br />

ทนทาน สามารถรองรับการเกิดอุทกภัยและวาตภัย ได้ ชาว<br />

บ้านสามารถเข้ามาพักพิงหลับภัยบนอาคารได้ประมาณ 200<br />

คน และพักพิงอยู่ได้เป็นระยะเวลานับแรมเดือน ด้านในอาคาร<br />

จะมีห้องน ้ำไว้ปลดทุกข์อย่างถูกสุขลักษณะ มีห้องสำรองเสบียง<br />

อาหารแห้ง มีพื ้ นที่สำหรับประกอบกิจวัตรประจำวัน เช่น หุงหา<br />

อาหาร ซักล้างฯ ซึ่งจะช่วยให้พี่น้องผู้ประสบภัยสามารถดำรง<br />

ชีวิตอยู่ได้อย่างดี<br />

Thai Pavilion of 16th Biennale Architettura di<br />

Venezia<br />

เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 25<strong>61</strong> เวลา 11:30 น. ณ เมืองเวนิส<br />

ประเทศอิตาลี สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์<br />

ร่วมกับ สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม<br />

ได้จัดพิธีเปิดศาลาไทย (Thailand Pavilion) ภายใต้แนวคิด<br />

‘Blissfully Yours’ ในงานนิทรรศการสถาปัตยกรรมนานาชาติ<br />

เวนิสเบียนนาเล่ ครั ้งที่ 16 (16th International Architecture<br />

Exhibition - La Biennale di Venezia) โดยมีนายกฤษศญพงษ์<br />

ศิริ ปลัดกระทรวงวัฒนธรรมให้เกียรติเป็นประธานในพิธี และ<br />

ผู้อำนวยการสำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย เอกอัครราชทูต<br />

ไทยประจำสาธารณรัฐอิตาลี กงสุลกิตติมศักดิ ์ประจำเมือง<br />

เวนิส ผู้แทนสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์<br />

คณะภัณฑารักษ์ และสถาปนิกจำนวนมากทั ้งชาวไทยและต่าง<br />

ประเทศให้เกียรติร่วมงาน โดยนิทรรศการครั ้งนี ้ จะจัดแสดงไป<br />

จนถึงวันที่ 27 พฤศจิกายน 25<strong>61</strong>


โครงการพัฒนาวิชาชีพ ครั้งที ่ 13/<strong>61</strong><br />

Building Material Lecture Series รอบรู ้เรื ่องวัสดุก่อสร้าง ครั้งที ่ 3-<strong>61</strong><br />

ขอเชิญสมาชิกสมาคมฯ สถาปนิก นิสิต - นักศึกษาสถาปัตยกรรม และผู้สนใจทั่วไปเข้าร่วม<br />

กิจกรรมอบรมความรู้ด้านวัสดุ และการก่อสร้างแบบผู้รู้จริง<br />

โดย สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์<br />

พบกับการสัมมนาน าเสนอข้อมูลเจาะลึกเรื่องของสุขภัณฑ์และอุปกรณ์ประกอบ อุปกรณ์ห้องน้ า<br />

มาบอกเล่าเรื่องราววัสดุ การใช้งาน การติดตั้ง การบ ารุงรักษา การทดสอบ และ นวัตกรรม<br />

เพื่อการใช้งานอย่างถูกต้อง เหมาะสม มีประสิทธิภาพ รวมถึงกรณีศึกษาที่น่าสนใจ<br />

“สุขา (ภัณฑ์) อยู่หนใด?”<br />

โดย : Cotto, Toto, Lixil, Pongchai Patana และ Sanwa<br />

ด าเนินรายการโดย : คุณวิญญู วานิชศิริโรจน์, คุณปฏิกร ณ สงขลา<br />

วันเสาร์ที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 25<strong>61</strong> เวลา 09.00 - 16.00 น. ณ ห้องประชุมใหญ่ อาคารสมาคมสถาปนิกสยามฯ<br />

ด าเนินรายการโดย : คุณวิญญู วานิชศิริโรจน์, คุณปฏิกร ณ สงขลา<br />

อัตราค่าลงทะเบียนพร้อมเอกสารประกอบ / อาหารกลางวัน / อาหารว่าง<br />

● สมาชิกสมาคมฯ/ นิสิต นักศึกษา (ระดับ ป.ตรี) ทั่วไป 500 บาท<br />

● นิสิต นักศึกษา (ระดับ ป.ตรี) ที่เป็นสมาชิกสมาคมฯ 100 บาท<br />

● สถาปนิกและผู้สนใจทั่วไป 1,200 บาท<br />

ท่านที่มาสัมมนาในครั้งนี้จะได้ คะแนน ISA PLUS 1 POINT เพื่อแลกของรางวัล กรุณาน าบัตร ISA PLUS ติดตัวมาทุกครั้งที่<br />

เข้าร่วมสัมมนา (ผู้เข้าร่วมสัมมนาจะได้รับวุฒิบัตรจาก สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์)<br />

สนใจสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมและลงทะเบียนล่วงหน้า ได้ที่ สมาคมสถาปนิกสยามฯ ฝ่ายจัดอบรม<br />

โทรศัพท์ 0-2319-6555 ต่อ 202, 2<strong>06</strong> / โทรสาร ต่อ 204, 0-2319-6419 หรือดาวน์โหลด ใบตอบรับลงทะเบียนได้ที่<br />

www.asa.or.th<br />

รับเพียง 80 ท่านเท่านั้น กรณีมีผู้สมัครเกินจ านวนที่ก าหนดไว้ สมาคมฯ สงวนสิทธิ์ส าหรับผู้ที่ช าระเงินลงทะเบียนก่อน


ประมวลภาพงานสถาปนิก’<strong>61</strong><br />

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี เสด็จ<br />

พระราชดำเนินทรงเป็นพิธีเปิดงานสถาปนิก’<strong>61</strong> เมื่อวันที่<br />

6 พฤษภาคม 25<strong>61</strong><br />

Introduction Pavilion<br />

Moving System Pavilion<br />

Main Stage<br />

นิทรรศการ Working Space Pavilion<br />

Meeting Space Pavilion<br />

นิทรรศการผลงานสำนักงานสถาปนิก<br />

Living Space Pavilion<br />

นิทรรศการ <strong>ASA</strong> ARCHITECTURAL DESIGN AWARDS 2018


นิทรรศการ <strong>ASA</strong> Architectural School<br />

นิทรรศการ <strong>ASA</strong> Conversation & Vernadoc<br />

นิทรรศการ <strong>ASA</strong> CAN<br />

<strong>ASA</strong> CLUB<br />

<strong>ASA</strong> NIGHT<br />

<strong>ASA</strong> Internation Design Competition<br />

<strong>ASA</strong> FORUM และ <strong>ASA</strong> SEMINAR<br />

หมอบ้าน<br />

นิทรรศการ <strong>ASA</strong> Friend<br />

<strong>ASA</strong> CREW


้<br />

ประกาศรางวัลอนุรักษ์ศิลปสถาปัตยกรรมดีเด่น ประจำปี 25<strong>61</strong><br />

ตามที่โครงการคัดเลือกผลงานรางวัลอนุรักษ์ศิลปสถาปัตยกรรม ประจำปี 25<strong>61</strong> ของสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์<br />

มีการเสนอชื่ออาคาร ชุมชน บุคคล และองค์กร เข้าพิจารณาจำนวน 19 รายการ บัดนี ้ คณะกรรมการตัดสินได้ดำเนินการพิจารณา<br />

คัดเลือกตามขั ้นตอน และสรุปผลการพิจารณาเป็นที่เรียบร้อยแล้วดังรายละเอียดต่อไปนี<br />

รางวัลอนุรักษ์ศิลปสถาปัตยกรรมดีเด่น<br />

อาคารสถาบันและอาคารสาธารณะ<br />

1. อาคารหอประชุมเกษตรกลางบางเขน กรุงเทพมหานคร<br />

2. สถานีตำรวจภูธรอำเภอสรรพยา (โรงพักเก่า) จังหวัดชัยนาท<br />

3. เรือนพ่อคง เรือนโคราช มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา<br />

จังหวัดนครราชสีมา<br />

อาคารพาณิชย์<br />

4. ร้านเอี ๊ยะเซ้งกงษี กรุงเทพมหานคร<br />

5. อาคาร a.e.y. space จังหวัดสงขลา<br />

เคหะสถานและบ้านเรือนเอกชน<br />

6. คุ้มหลวงเมืองลำพูน จังหวัดลำพูน<br />

7. บ้านสี่พระยา กรุงเทพมหานคร<br />

กลุ ่มอาคาร<br />

8. กลุ่มอาคารตึกเก่าในเมืองสงขลาชุดที่ปฏิบัติการอนุรักษ์<br />

โดยนางสาวเกล้ามาศ ยิบอินซอย<br />

ปูชนียสถานและวัดวาอาราม<br />

9. มัสยิดรายาสายบุรี จังหวัดปัตตานี<br />

รางวัลอนุร้กษ์ศิลปสถาปัตยกรรมดีเด่น<br />

ประเภทบุคคลและองค์กร<br />

10. นายประมุข บรรเจิดสกุล<br />

11. รองศาสตราจารย์ สมชาติ จึงสิริอารักษ์<br />

12. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ปริญญา ชูแก้ว<br />

ประกาศนียบัตร อาคารควรค่าแก่การอนุรักษ์<br />

13. พิพิธภัณฑ์โรงเรียน ดาราวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่<br />

14. อาคารพาณิชย์ (จี่อันตึ ้ ง - แสงฟ้า - มีจงมี )<br />

จังหวัดนครราชสีมา<br />

15. บ้านหมื่นมณีมโนปการ จังหวัดอุตรดิตถ์<br />

16. ชุมชนตลาดใหญ่ เมืองตะกั่วป่ า/เมืองเก่าตะกั่วป่ า<br />

จังหวัดพังงา<br />

* สามารถดูข้อมูลเกี่ยวกับรางวัลฯเพิ่มเติมได้ที่ www.asa.or.th<br />

1<br />

10<br />

9<br />

12<br />

2<br />

6<br />

5<br />

13<br />

3 11<br />

4<br />

8<br />

7


้<br />

ประกาศรางวัลผลงานการออกแบบสถาปัตยกรรมดีเด่น ประจำปี 25<strong>61</strong><br />

ตามที่สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้ดำเนินการจัดการคัดเลือกผลงานสถาปัตยกรรมดีเด่น ประจำปี 25<strong>61</strong><br />

โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมผลงานสถาปัตยกรรมที่มีคุณค่าให้เผยแพร่เป็นที ่รู้จักต่อสาธารณะนั ้น ในการนี ้ สมาคมฯขอแจ้ง<br />

ผลการคัดเลือก ดังนี<br />

<strong>ASA</strong> AD Award - Silver<br />

Chulalongkorn University Centenary Park<br />

N7A Architect - Landprocess<br />

<strong>ASA</strong> AD Award - Bronze<br />

<strong>ASA</strong> Lanna Center, Somdoon Architects<br />

<strong>ASA</strong> AD Award - Commendation<br />

Novice’s Living Quarters, Buddhanimit Temple, Skarn Chiyawat<br />

Jury Panel Members<br />

Chulathat Kittibutr : Associate Professor Dr. Tanit Charoenpong : Mathar Bunnag,Lek : Professor Dr. Erwin Viray :<br />

Professor Nasrine Seraji<br />

* สามารถดูข้อมูลเกี่ยวกับรางวัลฯเพิ่มเติมได้ที่ www.asa.or.th


MEMBER CORNER<br />

สมาชิกสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ หนังสือ International Awarded Thai Landscape<br />

ที่ผ่านการอนุมัติจากที่ประชุมกรรมการบริหาร Architectures & Architects<br />

โดยความร่วมมือของสถาบันอาศรมศิลป์ และสมาคมสถาปนิก<br />

ประจำเดือนพฤษภาคม - มิถุนายน 25<strong>61</strong><br />

สมาชิกประเภท สามัญ ราย 5 ปี<br />

สมาชิกประเภท ภาคี รายปี<br />

สมาชิกประเภท สมทบ รายปี<br />

• บุคคลทั่วไป<br />

• นักศึกษา<br />

สมาชิกประเภท นิติบุคคล<br />

• ต่ออายุสมาชิก<br />

• ขึ ้ นทะเบียนใหม่<br />

จานวน 102 คน<br />

จานวน 17 คน<br />

จำนวน 25 คน<br />

จานวน 198 คน<br />

จานวน 7 บริษัท<br />

จำนวน - บริษัท<br />

สยามฯ ที่รวบรวมผลงานรางวัลระดับนานาชาติ ของบริษัท<br />

สถาปนิกและภูมิสถาปนิกชั ้นนำของไทย 25 บริษัท ภายใน<br />

ตัวเล่มที่มีความหนากว่า 400 หน้า ราคาเล่มละ 1,000 บาท<br />

บริการจัดส่งฟรี สามารถสั่งซื ้ อได้ที่สมาคมสถาปนิกสยามฯ<br />

โทร 02-319-6555 ต่อ 116

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!