18.01.2019 Views

ASA NEWSLETTER 07-08_61

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

AWARD BRIEF :<br />

In recent years, the repidly aging population, stemming from the declining birthrate as well as<br />

accelerating migration of young people to urban areas, has resulted in serious depopulation of<br />

some regional communities in Asian countries.<br />

Considering the way the residents are living in the areas and existing communities should be,<br />

how do you think you can help rebuild the area as a sustainable community through architecture?<br />

In general, the following cases are cited as the main problems of depopulating areas:<br />

- As young people moved to the city, the entire region becomes aged and there is no successor for<br />

regional industry or elderly care.<br />

- Advanced aging and population decline of an area make it difficult for the local infrastructure to<br />

be maintained, making it hard for the area to survive. There processes even cause the decline of<br />

regional culture.<br />

The challenge of this theme will be how you can comprehend and recognize the problems of the<br />

chosen area. Consider approaches such as, but not limited to those listed below:<br />

- A mechanism to prevent the out-migration of young people<br />

- A mechanism to promote in-migration<br />

- Effective utilization of vacant permises<br />

- A mechanism to revitalize regional industries<br />

- A mechanism to attract more investment from outside sources.<br />

SUBMISSION REQUIREMENTS :<br />

Each submission must include the following contents in English:<br />

SITE LOCATION : The participant can select any specific site as the site of their design, but it must<br />

be in an Asian country.<br />

DESIGN RESPONSE : After identifying the site, provide the project description, concept of the<br />

design, basic drawings (including floor plans and elevations), and renderings, or perspective drawings<br />

in any scale.<br />

DELIVERABLES :<br />

- Five A3 sheets (Landscape format 420 x 297 mm)<br />

- File format : High resolution PDF @300 dpi<br />

- File size should be maximum of 20MB in total<br />

- Recommended font size is no smaller than 11pt<br />

- File name : Firstname_Lastname.pdf<br />

*Files that do not meet the specified requirements will not be taken into consideration.<br />

* After the trip, awardee must submit a report on the<br />

benefits of their attendance at the design workhsop<br />

within thirty (30) days after the end date.<br />

SUBMISSION:<br />

Please send your submission to<br />

adfdesignawards2019@gmail.com.<br />

Submission is free.<br />

ELIGIBILITY TO PARTICIPATE :<br />

- Open to professionals, students, and design enthusiasts.<br />

- Submit as an individual or as a team<br />

- No restriction on age, gender or nationality.<br />

- No limits on the number of submissions.<br />

- Work cannot have been published elsewhere before.<br />

- Submission cannot be built work or completed projects.<br />

- The participant should have legal rights and copyrights to all material submitted. If the project<br />

contains any material or elements that are not owned by the participant, the submission shall be<br />

excluded from any consideration. If it is later known that rights have been violated, the prize and<br />

award will be recalled.<br />

- The copyright of the project belongs to the participants.<br />

- All materials submitted maybe displayed and/or published at the discretion of the Aoyama Design<br />

Forum and the Association of Siamese Architects under Royal Patronage.<br />

SCHEDULE :<br />

3RD SEPTEMBER 2018 13TH NOVEMBER 2018 11TH JANUARY 2019 5TH - 9TH MARCH 2019<br />

Open for submission Deadline for submission Announcement of the award winner Travel period to Tokyo, Japan<br />

*The Jury reserves the right to revise dates as deemed appropriate during the award process.<br />

FOR MORE INFORMATION: www.asa.or.th<br />

ENQUIRIES : adfdesignawards2019@gmail.com


์<br />

้<br />

สวัสดีครับ<br />

วันที่ 23-25 กรกฎาคม 25<strong>61</strong> สมาคมฯ พร้อมด้วยคณะกรรมการบริหารฯ ได้เดินทางเยี่ยมชมย่านเมืองเก่าสงขลาและเข้าร่วม<br />

ประชุมการส่งเสริมเมืองสงขลาก้าวสู่มรดกโลก โดยเทศบาลนครเมืองสงขลาเป็นผู้จัดงานในครั ้งนี ้ และได้รับเกียรติอย่างยิ่งจาก<br />

คุณใหม่ สิริกิติยา เจนเซน ธิดาในทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี เข้าร่วมงานด้วย อีกทั ้งมีบุคคลสำคัญ<br />

ต่างๆ ให้การต้อนรับ อาทิ นายดลเดช พัฒนรัฐ ผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลา นายขจรศักดิ ์ สิริโสภา รองผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลา<br />

นายรังษี รัตนปราการ นายกสมาคมภาคีคนรักเมืองสงขลาสมาคม นายสมศักดิ ์ ตินติเสรณี นายกเทศมนตรีเทศบาลนครสงขลา<br />

นายยงยุทธ หนูเนียม อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชมงคลศรีวิชัย และหัวหน้าส่วนราชการ หน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั ้งนี<br />

สมาคมฯ ได้ร่วมเป็นส่วนหนึ่งในการผลักดันนโยบายเพื่อให้สงขลาเมืองเก่าก้าวสู่มรดกโลกต่อไป<br />

วันที่ 25 กรกฎาคม 25<strong>61</strong> สมาคมฯ ในฐานะประธานร่วมกับสถาบันอาคารเขียวไทย ได้ร่วมเปิดงานสัมมนาทางวิชาการและ<br />

แสดงนิทรรศการประจำปี 25<strong>61</strong> “7th TGBI EXPO 2018” ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา ปีนี ้ จัดขึ ้ นภายใต้<br />

แนวคิด “Going Green in Construction Industry” โดยเป็นงานสัมมนาทางวิชาการที่ส่งเสริมพัฒนาวิชาชีพด้านสถาปัตยกรรมและ<br />

วิศวกรรม โดยการนำเทคโนโลยีที่เหมาะสมใช้ในการออกแบบ ก่อสร้าง และการบำรุงรักษาอาคารที่สอดคล้องกับการประหยัด<br />

พลังงานและรักษาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน<br />

สมาคมฯ ได้มีการปรับปรุงพื ้ นที่จอดรถยนต์ โดยจัดสร้างหลังคาและปรับพื ้ นผิวจราจร ส่วนภายในอาคารได้มีการติดตั ้งจอ LCD<br />

เพื่อประสัมพันธ์ข่าวสารสำหรับสมาชิกและผู้ที่สนใจ และปรับเปลี่ยนโต๊ะกลางเพื่อจัดวางอาหารสำหรับรับรองสมาชิกที่มาร่วม<br />

ประชุมหรือการจัดสัมมนาต่างๆ<br />

นายอัชชพล ดุสิตนานนท์<br />

นายกสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ 25<strong>61</strong>-2563<br />

คณะกรรมการบริหารสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ปี 25<strong>61</strong>-2563<br />

นายกสมาคม<br />

นายอัชชพล ดุสิตนานนท์<br />

อุปนายก<br />

นายเมธี รัศมีวิจิตรไพศาล<br />

ผศ.ดร.ธนะ จีระพิวัฒน์<br />

ดร.พินัย สิริเกียรติกุล<br />

นายศักดิ ์ชัย ยวงตระกูล<br />

นายทรงพจน์ สายสืบ<br />

เลขาธิการ<br />

นายปรีชา นวประภากุล<br />

เหรัญญิก<br />

นางภิรวดี ชูประวัติ<br />

ปฏิคม<br />

นายสมชาย เปรมประภาพงษ์<br />

นายทะเบียน<br />

พ.ต.ท.สักรินทร์ เขียวเซ็น<br />

ประชาสัมพันธ์<br />

ผศ.ดร.กมล จิราพงษ์<br />

กรรมการกลาง<br />

นายเทียนทอง กีระนันทน์<br />

ดร.รัฐพงศ์ อังกสิทธิ<br />

นายชายแดน เสถียร<br />

นายรุ่งโรจน์ อ่วมแก้ว<br />

หมายเหตุ : อยู่ระหว่างดำเนินการจดทะเบียนเปลี่ยนแปลง คณะกรรมการบริหารสมาคมฯที่กระทรวงมหาดไทย<br />

ประธานกรรมาธิการสถาปนิก<br />

ล้านนา<br />

นายอิศรา อารีรอบ<br />

ประธานกรรมาธิการสถาปนิก<br />

อีสาน<br />

นายธนาคม วิมลวัตรเวที<br />

ประธานกรรมาธิการสถาปนิก<br />

ทักษิณ<br />

นายนิพนธ์ หัสดีวิจิตร<br />

คณะกรรมการกองทุนสมาคมสถาปนิกสยาม<br />

ในพระบรมราชูปถัมภ์ ปี 2560-2562<br />

ประธานกรรมการกองทุน<br />

พลเรือเอกฐนิธ กิตติอำพน<br />

กรรมการกองทุน<br />

นายบุญญวัฒน์ ทิพทัส<br />

ดร.ศุภกิจ มูลประมุข<br />

นายประภากร วทานยกุล<br />

พล.อ.ต.ม.ล.ประกิตติ เกษมสันต์<br />

นายอัชชพล ดุสิตนานนท์<br />

นางภิรวดี ชูประวัติ


แก้ไขผังเมืองรวมสมุทรปราการ ก1-11<br />

10 ส.ค. 25<strong>61</strong><br />

กระทรวงมหาดไทยออก กฎกระทรวงให้ใช้บังคับผังเมืองรวม<br />

สมุทรปราการ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 25<strong>61</strong> เพื่อปรับปรุงแก้ไข กฎ<br />

กระทรวงให้ใช้บังคับผังเมืองรวมสมุทรปราการ พ.ศ. 2556<br />

ข้อ 23 วรรคสอง ซึ่งเป็นข้อกำหนดห้ามใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อ<br />

กิจการตามที่กำหนด ในที่ดินประเภท ก1 (ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อ<br />

เกษตรกรรมหรือเกี่ยวข้องกับเกษตรกรรม สถาบันราชการ การ<br />

สาธารณูปโภคและสาธารณูปการ การอนุรักษ์และรักษาสภาพ<br />

แวดล้อมเป็นส่วนใหญ่)<br />

การแก้ไขในกฎกระทรวงฉบับนี ้ เป็นการแก้ไขในที่ดินที่<br />

ห้ามใช้ประโยชน์เพื่อกิจการตามที่กำหนดใน (4) (7) (8) และ<br />

(11) ซึ่งเกี่ยวข้องกับการใช้ที่ดินประเภท โรงแรมประเภทอาคาร<br />

สูงหรืออาคารขนาดใหญ่ การอยู่อาศัยประเภทอาคารสูงหรือ<br />

อาคารขนาดใหญ่ การประกอบพาณิชยกรรมประเภทอาคารสูง<br />

หรืออาคารขนาดใหญ่ และศูนย์ประชุม ตามลำดับ ซึ่งเดิมห้าม<br />

ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการโรงแรม การอยู่อาศัย การประกอบ<br />

พาณิชยกรรม ประเภทอาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญ่ และห้าม<br />

ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อกิจการศูนย์ประชุม<br />

(ทางด้านใต้) และระหว่างคลองบางพลีใหญ่(ทางด้านตะวันตก)<br />

กับคลองบางโฉลง(ทางด้านตะวันออก) โดยได้ยกเว้นสำหรับ<br />

การใช้ที่ดิน 4 ประเภทดังกล่าว คือ โรงแรม การอยู่อาศัย การ<br />

ประกอบพาณิชยกรรม และศูนย์ประชุม ให้ประกอบกิจการได้<br />

ในอาคารที่ไม่ใช่อาคารสูงหรืออาคารขนาดใหญ่พิเศษ และมี<br />

เงื่อนไขต้องตั ้งอยู่ริมถนนสาธารณะที่มีขนาดเขตทางไม่น้อยกว่า<br />

30 เมตร มีพื ้ นที่น้ำซึมผ่านไม่น้อยกว่าร้อยละ 40 ของแปลงที่ดิน<br />

ที่ยื่นขออนุญาต และพื ้ นที่สีเขียวไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 ของแปลง<br />

ที่ดินที่ยื่นขออนุญาต ทั ้งนี ้ พื ้ นที่น ้ำซึมผ่านและพื ้ นที่สีเขียวอาจ<br />

อยู่ในบริเวณเดียวกันได้<br />

ดาวน์โหลด : www.asa.or.th/laws/news2018<strong>08</strong>14/<br />

ต่ออายุพื ้ นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อมชลบุรี<br />

26 ก.ค. 25<strong>61</strong><br />

กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมออก “ประกาศ<br />

กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง ขยายระยะ<br />

เวลาการใช้บังคับประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ<br />

สิ่งแวดล้อม เรื่อง กำหนดเขตพื ้ นที่และมาตรการคุ้มครองสิ่ง<br />

แวดล้อม ในบริเวณพื ้ นที่อำเภอบางละมุง และอำเภอสัตหีบ<br />

จังหวัดชลบุรี พ.ศ. 2553” ลงวันที่ 26 กรกฎาคม 25<strong>61</strong> เพื่อ<br />

ขยายระยะเวลาการใช้บังคับประกาศกระทรวงฯ พ.ศ. 2553 ซึ่ง<br />

เดิมได้ต่ออายุถึงวันที่ 30 กรกฎาคม 25<strong>61</strong> ให้ได้รับการขยาย<br />

ระยะเวลาการใช้บังคับต่อไปอีก 2 ปี จนถึงวันที่ 30 กรกฎาคม<br />

2563<br />

ดาวน์โหลด : www.asa.or.th/laws/news2018<strong>07</strong>31/<br />

กำหนดเขตพื ้ นที่และมาตรการคุ้มครองสิ่ง<br />

แวดล้อมเพชรบุรี-ประจวบคีรีขันธ์<br />

29 มิ.ย. 25<strong>61</strong><br />

ตามข้อกำหนดที่แก้ไข ได้เพิ่มข้อยกเว้นเฉพาะสำหรับ<br />

ที่ดินในบริเวณ ก.1-11 ซึ่งเป็นที่ดินในเขตอำเภอบางพลีที่อยู่<br />

ระหว่างถนนบางนา-ตราด(ทางด้านเหนือ)กับถนนเทพารักษ์<br />

กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้ออก “ประกาศ<br />

กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ ่งแวดล้อม เรื่อง กำหนด<br />

เขตพื ้ นที่และมาตรการคุ้มครองสิ่งแวดล้อม ในบริเวณพื ้ นที่<br />

อำเภอบ้านแหลม อำเภอเมืองเพชรบุรี อำเภอท่ายาง อำเภอ<br />

ชะอำ จังหวัดเพชรบุรี และอำเภอหัวหิน อำเภอปราณบุรี จังหวัด<br />

ประจวบคีรีขันธ์ พ.ศ. 25<strong>61</strong>” เพื่อใช้แทนฉบับเดิม พ.ศ. 2553<br />

ที่กำลังจะหมดอายุลง ประกาศกระทรวงฯ ฉบับนี ้ มีอายุใช้บังคับ<br />

5 ปี ตั ้งแต่ 30 มิ.ย. 25<strong>61</strong> ถึง 29 มิ.ย. 2566 มีเนื ้ อหาที่ได้<br />

ปรับปรุงแก้ไขและเพิ่มเติมในรายละเอียดบางอย่างจากฉบับเดิม<br />

พอสรุปเฉพาะในส่วนที่ที่น่าสนใจและเกี่ยวข้องกับการก่อสร้าง


้<br />

้<br />

ดัดแปลงอาคาร ดังนี ้<br />

สำหรับการก่อสร้าง ดัดแปลง หรือเปลี่ยนการใช้อาคาร<br />

โรงงาน นอกจากโรงงานจำพวกที่ 1 และโรงงานจำพวกที่ 2,<br />

3 ตามบัญชีท้ายประกาศฯ ที่ยกเว้นให้ก่อสร้าง ดัดแปลง หรือ<br />

เปลี่ยนการใช้อาคารได้แล้ว ยังเพิ่มข้อยกเว้นสำหรับโรงงาน<br />

จำพวกที่ 1, 2 และ 3 ที่ประกอบกิจการเกี่ยวกับเกลือ ในพื ้ นที่<br />

บริเวณที่ 2 และบริเวณที่ 3 ด้วย<br />

โรงงานตามที่กำหนดยกเว้นนั้น จะต้องมีเครื่องจักรหรือ<br />

อุปกรณ์เพื่อควบคุมมลพิษหรือแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมเป็นไป<br />

ตามมาตรฐานที่กฎหมายกำหนดด้วย<br />

สำหรับอาคารประเภทอื่น ได้เพิ่มห้ามก่อสร้าง ดัดแปลง<br />

หรือเปลี่ยนการใช้อาคาร เป็นอาคารเลี ้ ยงนกแอ่นกินรังใน<br />

บริเวณที่ 1 ถึง 5<br />

ห้ามก่อสร้างหรือดัดแปลงอาคารใดๆ ในบริเวณที่มี<br />

ความลาดชันเกินร้อยละ 35 ซึ่งเดิมไม่ได้กำหนด<br />

หลักเกณฑ์สำหรับพื ้ นที่ในบริเวณที่ 4 และ 5 ที่วัดจาก<br />

แนวชายฝั่งทะเล 50 ถึง 200 เมตร เดิมให้ทำได้เฉพาะอาคาร<br />

ที่สูงไม่เกิน 12 เมตรและมีพื ้ นที่รวมไม่เกิน 2,000 ตารางเมตร<br />

หรืออาคารของทางราชการเพื่อสาธารณประโยชน์ ในประกาศฯ<br />

ฉบับใหม่นี ้ ตัดอาคารของทางราชการเพื่อสาธารณประโยชน์<br />

ออกไป ซึ่งหมายความว่า อาคารของทางราชการก็จะต้องมีความ<br />

สูงและพื ้ นที่รวมตามหลักเกณฑ์เช่นเดียวกัน<br />

หลักเกณฑ์สำหรับพื ้ นที่บริเวณที่ 1 ถึง 5 การก่อสร้าง<br />

โดยรอบเขตที่ดินของโบราณสถาน ในระยะ 100 เมตร ต้องมี<br />

ความสูงไม่เกิน 6 เมตร ในประกาศฯฉบับนี ้ ยังคงเดิมและได้เพิ่ม<br />

ข้อความ “และต้องไม่มีลักษณะบดบังทัศนียภาพ”<br />

โครงการที่ต้องจัดทำรายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อม<br />

เบื ้ องต้น มีการปรับเปลี่ยน เช่น<br />

– โรงแรม อาคารอยู่อาศัยรวม อาคารชุด แก้จาก<br />

จำนวนห้องพัก 10-79 ห้อง หรือมีพื ้ นที่ใช้สอยทุกอาคารรวม<br />

กัน 500-4,000 ตารางเมตร เป็น 30-79 ห้อง หรือ 1,500-<br />

4,000 ตารางเมตร<br />

– กิจการที่นำบ้านพักอาศัยไปให้บริการเป็นสถานที่พัก<br />

ในลักษณะโรงแรม แก้จาก จำนวนห้องพัก 10-79 ห้อง เป็น<br />

30-79 ห้อง<br />

– โรงพยาบาลหรือสถานพยาบาล ที่มีเตียงสำหรับผู้<br />

ป่ วยค้างคืน แก้จาก 10-29 เตียง เป็น 10-59 เตียง<br />

– การจัดสรรที่ดิน แก้จาก ไม่ถึง 250 แปลง เป็นตั ้งแต่<br />

100 แปลงแต่ไม่ถึง 500 แปลง หรือมีเนื ้ อที่ 19-100 ไร่<br />

– ท่าเทียบเรือสาธารณะ จากเดิม ต่ำกว่า 60ตันกรอส<br />

เป็น ตั ้งแต่ 100 ตารางเมตรแต่ไม่ถึง 1,000 ตารางเมตร และ<br />

ท่าเทียบเรือสำราญกีฬา จากเดิม ไม่ถึง 50 ลำ เป็น ตั ้งแต่ 5 ลำ<br />

แต่ไม่ถึง 50 ลำ หรือมีพื ้ นที่ตั ้งแต่ 100 ตารางเมตร แต่ไม่ถึง<br />

1,000 ตารางเมตร<br />

สำหรับโครงการที่ต้องจัดทำ “รายงานการประเมินผล<br />

กระทบสิ่งแวดล้อม” (ประกาศฯฉบับนี ้ เริ่มใช้ชื่อรายงานใหม่นี<br />

แทนคำว่า “รายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม” ที่เคย<br />

ใช้อยู่เดิม เนื่องจากการปรับปรุงแก้ไขพระราชบัญญัติส่งเสริม<br />

และรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติเมื่อไม่นานมานี ้ ) ไม่มี<br />

การเปลี ่ยนแปลง แต่ได้ตัดรายการที่เป็นโครงการที่ต้องจัดทำ<br />

รายงานฯตามปกติอยู่แล้วออกไป คงเหลือโครงการที่นอกเหนือ<br />

จากที่ต้องจัดทำรายงานฯอยู่แล้ว ได้แก่ (ก) โรงแรม อาคารอยู่<br />

อาศัยรวม หรืออาคารชุด ที่อยู่ห่างจากแนวชายฝั่งทะเลไม่เกิน<br />

50 เมตร (ข) กิจการที่นำบ้านพักอาศัย ห้องแถว ตึกแถว บ้าน<br />

แถว ไปให้บริการเป็นสถานที่พักในลักษณะโรงแรมที่มีจำนวน


้<br />

้<br />

ห้องพักตั ้งแต่ 80 ห้องขึ ้ นไป และ (ค) สถานที่ที่ใช้ในการกำจัด<br />

ขยะมูลฝอยที่มีปริมาณในการกำจัดเกิน 50 ตันต่อวัน<br />

มีจุดที่น่าสนใจอีกจุดหนึ่งคือ ข้อ 16 ของประกาศ<br />

กระทรวงฯ กำหนดว่า “การก่อสร้าง ดัดแปลง หรือเปลี่ยนการ<br />

ใช้อาคารเป็นโรงแรม อาคารอยู่อาศัยรวม หรืออาคารชุด ที่อยู่<br />

ห่างจากแนวชายฝั่งทะเลเกินกว่า 50 เมตร และมีจํานวนห้อง<br />

พักตั ้งแต่ 10 ถึง 29 ห้อง ต้องดําเนินการตามข้อกําหนดท้าย<br />

ประกาศนี ้ ”<br />

ข้อกำหนดท้ายประกาศดังกล่าว นอกจากจะได้กำหนด<br />

เกี่ยวกับมาตรการระหว่างการก่อสร้างแล้ว ยังมีมาตรการที่จะ<br />

ต้องดำเนินการก่อนการก่อสร้างด้วย ดังนี<br />

(ก) พิจารณาออกแบบให้มีอัตราส่วนของพื ้ นที่สีเขียว<br />

ร้อยละ 50 ของแปลงที่ดิน สำหรับการก่อสร้างใหม่ในพื ้ นที่ใหม่<br />

ที่ยังไม่เคยมีการใช้ประโยชน์ และร้อยละ 30 ของแปลงที่ดิน<br />

สำหรับการก่อสร้างใหม่ในพื ้ นที่เดิมที่เคยมีการใช้ประโยชน์<br />

ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม 2550เรื่อง แผน<br />

ปฏิบัติการเชิงนโยบายด้านการจัดการพื ้ นที่สีเขียวชุมชนเมือง<br />

อย่างยั่งยืน<br />

(ข) พิจารณาออกแบบและวางผังอาคารให้เหมาะสม<br />

กับสภาพแวดล้อมบริเวณพื ้ นที่และโดยรอบ โดยต้องไม่ก่อให้<br />

เกิดผลกระทบกับชุมชนบริเวณใกล้เคียง<br />

มาตรการก่อนการก่อสร้างดังกล่าวจึงมีผลต่อการ<br />

ออกแบบอาคารโรงแรม อาคารอยู่อาศัยรวม และอาคารชุด<br />

อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ส่วนการที่มาปรากฏเป็นข้อกำหนดท้าย<br />

ประกาศแทนที่จะไปกำหนดอยู่ในตัวประกาศ และการที่ใช้คำ<br />

ว่า “พิจารณาออกแบบ(และวางผัง)ให้…” แทนการบังคับด้วยคำ<br />

ว่า “ต้อง…” จะมีนัยยะในเชิงบังคับที่เข้มน้อยกว่าปกติหรือไม่คง<br />

ต้องหาคำตอบกันต่อไป<br />

ดาวน์โหลด : www.asa.or.th/laws/news2018<strong>07</strong>03-2/<br />

คณะกรรมการสภาสถาปนิกวาระปี 25<strong>61</strong>-2564<br />

20 มิ.ย. 25<strong>61</strong> ปรับปรุง 12 ก.ค. 25<strong>61</strong>, 2 ส.ค. 25<strong>61</strong><br />

คณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ 5 มิถุนายน 25<strong>61</strong> อนุมัติให้แต่ง<br />

ตั ้งกรรมการในคณะกรรมการสภาสถาปนิก (กรรมการสภา<br />

สถาปนิกตามมาตรา 24(3)) จำนวน 5 คน ตามที่กระทรวง<br />

มหาดไทยเสนอ เพื่อดำรงตำแหน่งแทนกรรมการที่ครบวาระ<br />

ประกอบด้วย<br />

1. นายทวีเกียรติ ศรีสกุลเมฆี<br />

2. นางดวงขวัญ จารุดุล<br />

3. นายสิงห์ชัย ทุ่งทอง<br />

4. นายสมชาย วัฒนะวีระชัย<br />

5. นายธนภัทร เลาหจรัสแสง<br />

ทำให้ขณะนี ้ มีกรรมการสภาสถาปนิกชุดใหม่ครบ 20<br />

คนแล้ว และจะเริ่มวาระอย่างเป็นทางการเมื่อรัฐมนตรีว่าการ<br />

กระทรวงมหาดไทยในฐานะสภานายกพิเศษกำหนดให้มีการ<br />

ประชุมคณะกรรมการภายใน 30 วัน โดยจะถือวันดังกล่าว<br />

เป็นวันเริ่มวาระของกรรมการสภาสถาปนิกชุดใหม่ ซึ่งจะมีการ<br />

ประชุมครั ้งแรกในวันพฤหัสบดีที่ 12 กรกฎาคม 25<strong>61</strong> นี<br />

สำหรับกรรมการสภาสถาปนิกอีก 15 คนที่ได้รับเลือก<br />

ตั ้งจากสมาชิกสามัญสภาสถาปนิกในการนับคะแนนเมื่อวัน<br />

ที่ 18 พฤศจิกายน 2560 ได้แก่ (สถ = สถาปัตยกรรมหลัก,<br />

สผ = สถาปัตยกรรมผังเมือง, ภส = ภูมิสถาปัตยกรรม, สน =<br />

สถาปัตยกรรมภายในและมัณฑนศิลป์ )<br />

กรรมการสภาสถาปนิก ตามมาตรา 24(1) (มิได้ดำรง<br />

ตำแหน่งคณาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษาระดับปริญญา) จำนวน<br />

10 คน<br />

1. พลเรือเอกฐนิธ กิตติอำพน (สถ)<br />

2. พล.อ.ต. ม.ล.ประกิตติ เกษมสันต์ (สถ)<br />

3. นายวิวัฒน์ จิตนวล (สถ)<br />

4. นายชาญณรงค์ แก่นทอง (สน)<br />

5. นางเมธินี สุวรรณะบุณย์ (สน)<br />

6. นายบุญญวัฒน์ ทิพทัส (สถ)<br />

7. นายสุวัฒน์ วสะภิญโญกุล (สถ)<br />

8. นายอดุลย์ เหรัญญะ (สถ)<br />

9. นางราศี ทองเงิน (สผ)<br />

10. นายพรเทพ หงส์ลดารมภ์ (ภส)<br />

กรรมการสภาสถาปนิก ตามมาตรา 24(2) (ดำรง<br />

ตำแหน่งคณาจารย์ในสถาบันอุดมศึกษาระดับปริญญา) 5 คน<br />

1. นางไขศรี ภักดิ ์สุขเจริญ (สถ)<br />

2. นางจันทนี เพชรานนท์ (สน)<br />

3. นายพงศ์ศักดิ ์ วัฒนสินธุ์ (ภส)<br />

4. นายวิรัตน์ รัตตากร (สน)<br />

5. นายรุจิโรจน์ อนามบุตร (สผ)<br />

เมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม 25<strong>61</strong> นายปวิณ ช ำนิประศาสน์<br />

รองปลัดกระทรวงมหาดไทย ผู้แทนรัฐมนตรีว่าการกระทรวง<br />

มหาดไทย ในฐานะสภานายกพิเศษแห่งสภาสถาปนิก เป็น<br />

ประธานเปิดการประชุมคณะกรรมการสภาสถาปนิกเริ่มวาระ<br />

พ.ศ. 25<strong>61</strong>-2564 และรับฟังการรายงานผลการเลือกตั ้ง และ<br />

แต่งตั ้งคณะกรรมการสภาสถาปนิก รวมถึงการบรรยายสรุป<br />

การดำเนินงานของสภาสถาปนิก จากนั ้น คณะกรรมการสภา<br />

สถาปนิกวาระ พ.ศ. 25<strong>61</strong>-2564 เปิดประชุมเพื่อเลือกนายก<br />

สภาสถาปนิก อุปนายกสภาสถาปนิกคนที่หนึ่งและอุปนายกสภา


สถาปนิกคนทิ่ 2 โดย พลเรือเอกฐนิธ กิตติอำพน ได้รับเลือกเป็น<br />

นายกสภาสถาปนิก ผศ.ดร.ไขศรี ภักดิ ์สุขเจริญ ได้รับเลือกเป็น<br />

อุปนายกสภาสถาปนิกคนที่หนึ่ง และนายชาญณรงค์ แก่นทอง<br />

ได้รับเลือกเป็นอุปนายกคนที่สอง จากนั ้นคณะกรรมการสภา<br />

สถาปนิกวาระ พ.ศ. 2558-25<strong>61</strong> ส่งมอบหน้าที่คณะกรรมการ<br />

สภาสถาปนิก วาระ พ.ศ. 25<strong>61</strong>-2564 และการหารือร่วมกัน<br />

ระหว่างคณะกรรมการทั ้งสองวาระ<br />

ต่อมา เนื่องจากนายอดุลย์ เหรัญญะ กรรมการสภา<br />

สถาปนิกซึ่งได้รับเลือกตั ้งตามมาตรา 24(1) ได้ลาออกจาก<br />

ตำแหน่งกรรมการเนื่องจากมีปัญหาสุขภาพส่วนตัวและความไม่<br />

พร้อมทางด้านครอบครัว มีผลตั ้งแต่วันที่ 17 กรกฎาคม 25<strong>61</strong><br />

คณะกรรมการสภาสถาปนิก จึงได้มีมติในการประชุมเมื่อวัน<br />

ที่ 2 สิงหาคม 25<strong>61</strong> แต่งตั ้งนายประกิต พนานุรัตน์ ซึ่งเป็นผู้<br />

มีคุณสมบัติตามมาตรา 27 และมาตรา 24(1) แห่งพระราช<br />

บัญญัติสถาปนิก พ.ศ. 2543 เป็นกรรมการสภาสถาปนิกแทน<br />

นายอดุลย์ เหรัญญะ ตั ้งแต่วันที่ 2 สิงหาคม 25<strong>61</strong> เป็นต้นไป<br />

รายชื่อคณะกรรมการสภาสถาปนิก วาระ พ.ศ. 25<strong>61</strong>-<br />

2564 ในขณะนี ้ จึงประกอบด้วย<br />

พลเรือเอกฐนิธ กิตติอำพน นายกสภาสถาปนิก<br />

นางไขศรี ภักดิ ์สุขเจริญ อุปนายกสภาสถาปนิกคนที่หนึ่ง<br />

นายชาญณรงค์ แก่นทอง อุปนายกสภาสถาปนิกคนที่สอง<br />

พล.อ.ต. ม.ล.ประกิตติ เกษมสันต์ เลขาธิการสภาสถาปนิก<br />

นางเมธินี สุวรรณะบุณย์ ประชาสัมพันธ์<br />

นายสุวัฒน์ วสะภิญโญกุล เหรัญญิก<br />

นางจันทนี เพชรานนท์ นายทะเบียน<br />

กรรมการสภาสถาปนิกท่านอื่นๆ ได้แก่ นายวิวัฒน์ จิตนวล, นาย<br />

บุญญวัฒน์ ทิพทัส, นางราศี ทองเงิน, นายพรเทพ หงส์ลดารมภ์,<br />

นายพงศ์ศักดิ ์ วัฒนสินธุ์, นายวิรัตน์ รัตตากร, นายรุจิโรจน์ อนาม<br />

บุตร, นายประกิต พนานุรัตน์, นายทวีเกียรติ ศรีสกุลเมฆี, นาง<br />

ดวงขวัญ จารุดุล, นายสิงห์ชัย ทุ่งทอง, นายสมชาย วัฒนะวีระชัย<br />

และนายธนภัทร เลาหจรัสแสง<br />

ข้อกำหนดส้วมสาธารณะ<br />

22 มิ.ย. 25<strong>61</strong><br />

มีกฎหมายที่ประกาศใช้บังคับฉบับหนึ่งซึ่งจะมีผลต่อการ<br />

ออกแบบห้องน ้ำสาธารณะต่อไปในอนาคต คือ กฎกระทรวง<br />

สุขลักษณะการจัดการสิ่งปฏกูล พ.ศ. 25<strong>61</strong> ออกตามความใน<br />

พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 ประกาศในราชกิจ<br />

จานุเบกษาเมื่อ 22 มิถุนายน 25<strong>61</strong> และมีผลใช้บังคับเมื่อพ้น<br />

กำหนด 60 วันนับแต่วันประกาศ คือตั ้งแต่วันที่ 22 สิงหาคม<br />

25<strong>61</strong> เป็นต้นไป<br />

กฎกระทรวงฉบับนี ้ เป็นการกำหนดมาตรฐานการ<br />

ดำเนินการเกี่ยวกับการจัดการสิ่งปฏิกูล ซึ่งมีขั ้นตอนการดำเนิน<br />

การหลายขั ้นตอนตั ้งแต่การเก็บ ขน และกำจัด เพื่อให้การจัดการ<br />

สิ่งปฏิกูลเหมาะสมและถูกสุขลักษณะอันทำให้สามารถควบคุม<br />

และป้องกันไม่ให้มีการแพร่กระจายของโรค<br />

ส่วนที่น่าสนใจในกฎกระทรวงฉบับนี ้ คือ หมวด 1<br />

สุขลักษณะของส้วม โดยเฉพาะในส่วนที่เกี่ยวกับส้วมสาธารณะ<br />

ซึ่งตามกฎกระทรวงฉบับนี ้ หมายความถึง ส้วมที่จัดไว้เพื่อให้<br />

บริการเป็นการทั่วไปในสถานที่ต่างๆ ทั ้งกรณีที่มีการจัดเก็บค่า<br />

บริการและไม่จัดเก็บค่าบริการ และให้หมายความรวมถึงส้วมที่<br />

จัดไว้เพื่อให้บริการภายในหน่วยงานของรัฐหรือหน่วยงานของ<br />

เอกชน<br />

ข้อ 7 ของกฎกระทรวงกำหนดให้เจ้าของหรือผู้ครอบ<br />

ครองอาคารหรือสถานที่ที่ให้บริการส้วมสาธารณะต้องดำเนิน<br />

การให้ส้วมสาธารณะถูกสุขลักษณะตลอดเวลาที่เปิดให้บริการ<br />

ซึ่งบางเรื่องมีผลต่อการออกแบบและการกำหนดรายการ<br />

ประกอบแบบสำหรับห้องส้วม เช่น<br />

– การจัดให้มีอ่างล้างมือพร้อมสบู ่หรือผลิตภัณฑ์อื่นใด<br />

สำหรับทำความสะอาดมือซึ่งพร้อมใช้งาน<br />

– จัดให้มีสายฉีดน ้ำชำระที่สะอาดและอยู่ในสภาพ<br />

พร้อมใช้งาน หรือกระดาษชำระชนิดยุ่ยและกระจายตัวได้ง่าย<br />

เมื ่อเปียกน ้ำซึ่งสามารถทิ ้ งลงในโถส้วมได้ ในกรณีที่กระดาษ<br />

ชำระเป็นชนิดที ่ไม่สามารถทิ ้ งลงในโถส้วมได้หรือระบบกำจัด<br />

สิ่งปฏิกูลไม่สามารถรองรับกระดาษชำระได้ให้รวบรวมกระดาษ<br />

ชำระที่ใช้แล้วใส่ที่รองรับมูลฝอยที่ถูกสุขลักษณะ สะอาด มีฝา<br />

ปิดมิดชิด อยู่ในสภาพดี ไม่รั่วซึม และเก็บขนไปกำจัดอย่างถูก<br />

สุขลักษณะ<br />

– ในส้วมต้องมีการถ่ายเทอากาศที่ดีหรือระบบระบาย<br />

อากาศเพื่อการถ่ายเทอากาศที่ดี<br />

– ประตูห้องส้วม ต้องมีที่จับเปิดและปิดที่สะอาด มี<br />

อุปกรณ์ยึดประตูด้านในที่สามารถไขจากด้านนอกได้ โดยประตู<br />

ต้องเปิดออกจากด้านใน เป็นบานพับ บานเลื่อน หรือเป็นรูปแบบ<br />

อื่น เพื่อให้สามารถเข้าช่วยเหลือผู้ใช้บริการในกรณีหมดสติได้<br />

ในกรณีของประตูห้องส้วม อาจทำให้การออกแบบและ<br />

การกำหนดรายการอุปกรณ์ของห้องส้วมต้องแตกต่างไปจากที่<br />

เคยปฏิบัติแต่เดิม คือ (1) ถ้าเป็นบานพับ ต้องเปิดออก และ (2)<br />

ล็อคประตูด้านในต้องสามารถไขจากด้านนอกได้อย่างไรก็ตาม<br />

ในกฎกระทรวงได้กำหนดบทเฉพาะกาลสำหรับหลักเกณฑ์เรื่อง<br />

ประตูห้องส้วมที่ต้องเปิดออกจากด้านในนี ้ ไม่ใช้บังคับกับส้วม<br />

สาธารณะที่ดำเนินการอยู่แล้วในวันก่อนวันที่กฎกระทรวงนี ้ ใช้<br />

บังคับ<br />

ดาวน์โหลด : www.asa.or.th/laws/news20180626/


งาน Kuala Lumpur Architecture Festival (KLAF)<br />

2018<br />

ระหว่างวันที่ 4 ถึง 7 กรกฎาคม 25<strong>61</strong> ผศ.ดร.ธนะ จีระพิ-<br />

วัฒน์ อุปนายกฝ่ ายต่างประเทศ และ คุณเมธี รัศมีวิจิตรไพศาล<br />

อุปนายกฝ่ ายวิชาชีพ เข้าร่วมกิจกรรมประจำปีของสมาคม<br />

สถาปนิกมาเลเซีย (Pertubuhan Akitek Malaysia (PAM) -<br />

Malaysian Institute of Architects) ชื่องาน Kuala Lumpur<br />

Architecture Festival 2018 ภายใต้หัวข้อ CHANGES ซึ่งมี<br />

กิจกรรมการจัดแสดงนิทรรศการผลงาน งานแสดงสินค้าด้าน<br />

การออกแบบและก่อสร้างในชื่อ ARCHIDEX 2018 งานสัมมนา<br />

ในชื่องาน DATUM ที่แบ่งออกเป็น DATUM-EDU เป็นการ<br />

สัมมนาด้านการศึกษาสถาปัตยกรรม โดยวิทยากรจากสถาบัน<br />

การศึกษาจากหลากหลายประเทศ และมี รศ.ดร.มล.ปิยะธิดา<br />

ทวีปรังษีพร จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมเป็นวิทยากรด้วย<br />

DATUM-GREEN เป็นการสัมมนาด้านการออกแบบที่เป็นมิตรกับ<br />

สิ่งแวดล้อม และ DATUM-KL เป็นการสัมมนาด้านวิชาชีพการ<br />

ออกแบบสถาปัตยกรรมที่มีวิทยากรที่เป็นสถาปนิก วิศวกร และ<br />

นักออกแบบที่มีผลงานโดดเด่นจากหลายประเทศ และมีคุณยศ-<br />

พล บุญสม แห่งบริษัท ฉมา จำกัด เป็นวิทยากรในการสัมมนานี ้<br />

การประชุม ARCASIA Committee on Architecture<br />

Education<br />

ผศ.ดร.เพชรลัดดา เพ็ชรภักดี จากมหาวิทยาลัมมหาสารคาม<br />

เป็นผู้แทนสมาคมสถาปนิกสยามฯ เข้าร่วมประชุมคณะ<br />

กรรมการ ARCASIA Committee on Architecture Education<br />

(ACAE) Round Table เมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม 25<strong>61</strong> ณ กรุง<br />

กัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย โดยมีสมาคมสถาปนิกมาเลเซีย<br />

(PAM) เป็นเจ้าภาพ โดยมีผู้แทนสมาคมสถาปนิกสมาชิก ARCA-<br />

SIA รวม 21 ประเทศเข้าร่วมประชุม โดยมีวาระด้านความร่วม<br />

มือด้านการศึกษาสถาปัตยกรรม ได้แก่ การแลกเปลี่ยนนักศึกษา<br />

และอาจารย์ระหว่างประเทศสมาชิก การจัดทำฐานข้อมูลด้าน<br />

การศึกษาในมหาวิทยาลัยที่เปิดสอนหลักสูตรสถาปัตยกรรม<br />

ที่ได้รับการรับรอง (Accredited) การจัดทำวารสารวิชาการ<br />

ด้านสถาปัตยกรรม Architecture Research Journal การจัดทำ<br />

Architectural Timeline Chart, 2nd Edition ซึ่งการรวบรวมบันทึก<br />

กิจกรรม ความร่วมมือ การประชุมต่าง ๆ ระหว่างปี 2000-<br />

2015 การจัดทำโคการประกวด Thesis of the Year (TOY)<br />

การจัด Summer Program Workshop ซึ่งเป็นกิจกรรมสำหรับ<br />

นักศึกษาสถาปัตยกรรม ชั ้นปีที่ 4-5 โดยทาง PAM จะเป็นเจ้า<br />

ภาพในเดือนธันวาคม 25<strong>61</strong> การนำเสนอสรุปกิจกรรมด้านการ<br />

ศึกษาสถาปัตยกรรมในประเทศสมาชิกในงาน Asian Council of<br />

Architects 2018 (ACA18) และกิจกรรม Student Jamboree<br />

ของนักศึกษาจากประเทศสมาชิก ที่กรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ ่ น<br />

ในเดือนกันยายน นี ้


้<br />

้<br />

การประชุมความร่วมมือ 4 ประเทศ (4-Nation<br />

Collaboration)<br />

เมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม ผศ.ดร.ธนะ จีระพิวัฒน์ อุปนายกฝ่ าย<br />

ต่างประเทศและคุณเมธี รัศนวิจิตรไพศาล อุปนายกฝ่ ายวิชาชีพ<br />

เข้าร่วมประชุมความร่วมมือของสมาคมสถาปนิก 4 ประเทศ<br />

ประกอบด้วย มาเลเซีย สิงคโปร์ ไทย และอินโดนีเซีย โดยมี<br />

นายกสมาคมและผู้แทนของสมาคมทั ้ง 4 ประเทศร่วมประชุม<br />

โดยมีวาระด้านความร่วมมือต่าง ๆ ดังนี ้ การสนับสนุน<br />

ASEAN AUN-ADERA sub-network ในการจัดทำฐานข้อมูล<br />

สถาบันการศึกษาด้านสถาปัตยกรรมในประเทศ ASEAN การจัด<br />

กิจกรรมให้สมาชิกสมาคมต่าง ๆ ในการนำซอฟท์แวร์ด้านการ<br />

บริหารจัดการงานออกแบบสถาปัตยกรรมและการก่อสร้างด้วย<br />

ระบบออนไลน์ ที่ทางสมาคมสถาปนิกสิงคโปร์ได้พัฒนาขึ ้ น โดย<br />

สมาคมสถาปนิกสิงคโปร์ยินดีที่จะจัดให้ผู้เชี่ยวชาญเป็นวิทยากร<br />

อบรมการใช้ซอฟท์แวร์ดังกล่าวให้กับสมาชิกของสมาคมใน 4<br />

ประเทศความร่วมมือนี<br />

การสร้างความต่อเนื่องของความร่วมมือ 4 ประเทศใน<br />

ระยะยาว การเปิดเสรีการประกอบวิชาชีพระหว่างประเทศความ<br />

ร่วมมือ การจัดทำหนังสือการออกแบบสถาปัตยกรรมที่รวบรวม<br />

ผลงานที่ควรได้รับการเผยแพร่ของประเทศความร่วมมือ และ<br />

การจัดกิจกรรม Live Design Discourse (LDD) Workshops<br />

สำหรับนักศึกษาและสถาปนิกรุ่นใหม่ใน 4 ประเทศ ซึ่งได้ดำเนิน<br />

การครบรอบ 1 ปี ที่จัดกิจกรรม LDD ครบใน 4 ประเทศแล้ว<br />

ซึ่งมีผลงานที่ทางสมาคมสถาปนิกมาเลเซียจะเป็นผู้รวบรวมและ<br />

ตีพิมพ์เพื่อเผยแพร่ต่อไป<br />

กรรมาธิการสถาปนิกทักษิณ<br />

กรรมาธิการสถาปนิกทักษิณ สมาคมสถาปนิกสยาม<br />

ในพระบรมราชูปถัมภ์ ร่วมกับ บริษัท เออีซี โปรซีเคียว<br />

จ ำก ัด เ ชิ ญส ถาปนิ ก ว ิศ วก ร และผู ้ส นใ จเ ข ้า ร่ วมง านส ัม<br />

เรื่อง “ระบบความปลอดภัยที่จำเป็นต้องมีในโรงแรม, อาคาร,<br />

หอพัก, คอนโด และโรงงาน ในวันศุกร์ที่ 20 กรกฎาคม 25<strong>61</strong><br />

เวลา 18.00 – 22.00 น. ณ ห้องปรมี ชั ้น 3 ต้นอ้อย แกรนด์<br />

โฮเต็ล อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา<br />

เมื่อวันเสาร์ที่ 4 สิงหาคม 25<strong>61</strong> กรรมาธิการสถาปนิกทักษิณ<br />

สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ร่วมกับ บริษัท เวล<br />

คราฟท์ โปรดัคส์ จำกัด จัดกิจกรรมแข่งขันฟุตบอล WILLY <strong>ASA</strong><br />

TAKSIN CUP 2018 เวลา <strong>08</strong>.30 – 22.00 น. ณ สนามคอหงส์<br />

อารีน่า อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา มีสถาปนิก วิศวกร และ<br />

ผู้ที่สนใจเข้าร่วมในกิจกรรมครั ้งนี


Ten for Ninety 2018 : Health is Now<br />

Ten for Ninety 2018 : Health is Now คือก้าวใหม่ในปีที่ 3 ของ<br />

โครงการ เป็นการสร้างรูปแบบกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพรูปแบบ<br />

ใหม่ในพื ้ นที่สวนสาธารณะเดิม เพื่อตอบสนองการใช้งานของ<br />

กลุ่มผู้ใช้งานในพื ้ นที่จริง รวมถึงให้เกิดการใช้งานในพื ้ นที่สวน<br />

สาธารณะได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ โดยมี “สวนลุมพินี”สวน<br />

สาธารณะขนาดใหญ่ใจกลางเมืองที่มีผู้ใช้งานหลากหลาย<br />

เป็นต้นแบบในการสร้างพื ้ นที่กิจกรรมเพื่อส่งเสริมสุขภาพในครั ้ง<br />

นี ้ กิจกรรมในครั ้งนี ้ เป็นการเปิดโอกาสให้นักศึกษาและผู้ที่สนใจ<br />

เรื่องพื ้ นที่สาธารณะ ได้ทดลองทำงานออกแบบพื ้ นที่สาธารณะ<br />

ร่วมกับทีมพี่เลี ้ ยงสถาปนิกรุ่นใหม่จากบริษัท Cloud-Floor และ<br />

IF (Integrated Field) ทีมพี่เลี ้ ยงด้านการจัดทำสื่อจากบริษัท<br />

mor and farmer และคณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร<br />

มหาวิทยาลัยศิลปากร<br />

รูปแบบกิจกรรมในโครงการ Ten for Ninety 2018<br />

เป็นการนำเอากระบวนการออกแบบพื ้ นที่สาธารณะโดยการมี<br />

ส่วนร่วมมาใช้ในการสร้างงาน โดยแบ่งเป็น 3 ส่วนหลัก คือ<br />

1. การเก็บรวมรวมข้อมูล : สังเกต สัมภาษณ์ วิเคราะห์<br />

พฤติกรรมผู้ใช้งานสวนลุมพินี เพื่อนำไปสู่การกำหนดกิจกรรม<br />

รูปแบบและขนาดของพื ้ นที่ที่จะเกิดขึ ้ น<br />

2. การออกแบบและการพัฒนาแบบ: การออกแบบ<br />

อุปกรณ์สำหรับการยืดเหยียด และการออกแบบพื ้ นที่โดยรอบ<br />

3. การก่อสร้าง: การเขียนแบบสำหรับการก่อสร้างและ<br />

การออกแบบรายละเอียดเพื่อการก่อสร้างรวมทั้งการควบคุมการ<br />

ก่อสร้างให้เป็นไปตามระยะเวลาที่กำหนด<br />

“Stretching Station” นอกจากจะเป็นผลลัพธ์ของการ<br />

ออกแบบที่มุ่งตอบสนองความต้องการของทั ้งผู้ดูแลสวนลุมพินี<br />

และผู้ใช้งานในสวนลุมพินีในทุกกลุ่ม ยังเป็นผลลัพธ์ที่น่าภาค<br />

ภูมิใจของการนำกระบวนการออกแบบพื ้ นที่สาธารณะโดยการ<br />

มีส่วนร่วมมาใช้ในการออกแบบ ทำให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้เกิด<br />

ความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการมีส่วนร่วมในทุกกระบวนการ<br />

ไม่ว่าจะเป็นการร่วมเก็บข้อมูล การร่วมออกแบบ และการร่วม<br />

อำนวยการก่อสร้างให้เป็นไปตามเป้าหมาย<br />

<strong>ASA</strong>-CAN Workshop 2018 “CONNECT-KLONG-<br />

NEXT: รถไฟฟ้ามาหา ณ คลอง”<br />

กรรมาธิการสถาปนิกเพื่อสังคมและเมือง (<strong>ASA</strong>-CAN)<br />

กรรมาธิการอนุรักษ์ศิลปสถาปัตยกรรม <strong>ASA</strong> VERNADOC<br />

สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์ ร่วมด้วยภาคี<br />

สถาบันการศึกษาและนักออกแบบ มหาวิทยาลัยศิลปากร<br />

สถาบันอาศรมศิลป์ มหาวิทยาลัยรังสิต ดำเนินการจัดโครงการ<br />

ปฏิบัติการออกแบบด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม <strong>ASA</strong>-CAN<br />

Workshop 2018 “CONNECT-KLONG-NEXT: รถไฟฟ้ามาหา<br />

ณ คลอง” พร้อมร่วมเรียนรู้กับวิทยากรพิเศษ Professor Nabeel<br />

Hamdi ผู้เชี่ยวชาญด้านการออกแบบและวางผังอย่างมีส่วนร่วม<br />

(Action Planning) จาก Harvard University และ University<br />

College London ไปเมื่อระหว่างวันที่ 16- 29 กรกฎาคม 25<strong>61</strong><br />

โดยเป็นการร่วมพัฒนาข้อเสนอการเชื่อมต่อพื ้ นที่ชุมชน<br />

ริมคลองกับระบบคมนาคมใหม่ของเมือง ภายใต้คำถามหลักที่<br />

ว่า “เมื่อระบบการเดินทางของเมืองเปลี่ยน ชีวิตผู้คนเสมือนถูก<br />

ตัดขาดด้วยเส้นทางคมนาคมใหม่ๆ พื ้ นที่รอยต่อระหว่างคลอง<br />

และรถไฟฟ้าน่าจะเป็นอย่างไรเพื่อประโยชน์ของคนเมือง และ<br />

จะเชื่อมโยงทั ้งผู้ใช้รถไฟฟ้ากับผู้ใช้ชีวิตในเส้นทางคลองเดิมด้วย


้<br />

รูปแบบใด” มีนักศึกษาสถาปัตยกรรมเข้าร่วมโครงการกว่า 80<br />

คน จาก 9 สถาบัน ดำเนินการศึกษาและเสนอผลงานในสอง<br />

พื ้ นที่หลัก คือ โครงการที่ 1.การส่งเสริมการโดยสารทางเรือ<br />

บริการของกรุงเทพธนาคมจากสถานีรถไฟฟ้าบางหว้ามายัง<br />

ริมคลองบางหลวงที่ได้เริ่มดำเนินการแล้ว ด้วยการเชื่อมโยง<br />

ข้อมูลวิถีชุมชนริมน ้ำให้คนเมืองได้เรียนรู้ผ่านงานศิลปะติดตั ้ง<br />

ระหว่างเส้นทางเดินเรือ ผลงานภาพเขียนสถาปัตยกรรม (<strong>ASA</strong><br />

Vernadoc) และการปรับปรุงพื ้ นที่ส่วนกลางของวัดกำแพงบาง<br />

เพื่อรองรับคนในชุมชนและนักท่องเที่ยว และโครงการที่ 2.<br />

คือการเชื่อมโยงชุมชนย่านสามวัดหลวงสมัยรัชกาลที่ 3 คือ<br />

วัดหนังราชวิหาร วัดราชโอรสารามราชวรวิหารและวัดนางนอง<br />

วรวิหาร ผ่านกิจกรรม “เดินตามตรอก ออกตามคลอง” พร้อม<br />

การเรียนรู้วิถีชีวิตริมคลองฝั่งธนบุรี ทั ้งนี ้ ผลงานของนักศึกษาได้<br />

นำเสนอต่อชุมชนและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียจากหลายภาคส่วน เช่น<br />

กรุงเทพธนาคม เจ้าอาวาสวัดต่างๆ ชุมชนโดยรอบ เครือข่าย<br />

ชุมชนริมคลองฝั่งธนบุรี และมุ่งหวังว่าโครงการพื ้ นที่การเรียน<br />

รู้ทางวัฒนธรรมของชุมชน วัด ตลาด โรงเรียนและคนเมือง ที่<br />

เริ่มต้นในทั ้งสองพื ้ นที่จะสามารถต่อยอดนำไปสู่การพัฒนาได้<br />

จริงในอนาคตต่อไป<br />

สมาคมฯ ร่วมบริจาคเงินสภากาชาดไทย<br />

หลังจากจบงานสถาปนิก’<strong>61</strong> “Beyond Ordinary : ไม่ธรรมดา”<br />

ในปีนี ้ สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ มีการจัด<br />

กิจกรรมการประมูล–จำหน่าย วัสดุ-อุปกรณ์ที่ใช้จัดนิทรรศการ<br />

ในส่วนของพื ้ นที่ เพื่อนำรายได้จากกิจกรรมดังกล่าวไปบริจาค<br />

ให้แก่สภากาชาดไทย เพื่อบำรุงสภากาชาดไทยซึ่งมีพระบาท<br />

สมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช เป็นพระบรม<br />

ราชูปถัมภ์ สภากาชาดไทย สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ ์ พระบรม<br />

ราชินีนาถ เป็นสภานายิกาสภากาชาดไทย สมเด็จพระเทพรัตน<br />

ราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เป็นอุปนายิกาผู้อำนวยการ<br />

สภากาชาดไทย โดยรายได้ทั ้งหมดรวมเป็นเงินทั ้งสิ ้ น 11,000<br />

บาท ซึ่งทางสมาคมสถาปนิกสยามฯ ขอขอบคุณผู้ร่วมกิจกรรม<br />

ทุกท่าน มา ณ ที่นี<br />

สำหรับงานสถาปนิก’62 เตรียมพบกับกิจกรรมและ<br />

นิทรรศการที่น่าสนใจ ซึ่งจะจัดขึ ้ นในระหว่างวันที่ 30 เมษายน-<br />

5 พฤษภาคม 2562 ณ อาคารชาเลนเจอร์ฮอลล์ 1-3<br />

อาคารอิมแพ็ค เมืองทองธานี


์<br />

แสดงความยินดีนายกสภาสถาปนิก<br />

เมื่อวันที่ 10 สิงหาคม 25<strong>61</strong> นายอัชชพล ดุสิตนานนท์ นายก<br />

สมาคมสถาปนิกสยามฯ แสดงความยินดีกับ พลเรือเอกฐนิธ<br />

กิตติอำพน เนื่องในโอกาสที่ได้รับแต่งตั ้งเป็นนายกสภาสถาปนิก<br />

ปี 25<strong>61</strong>-2564 อย่างเป็นทางการ พร้อมด้วยคุณภิรวดี ชูประวัติ<br />

คุณเทียนทอง กีระนันท์ คณะกรรมการบริหารสมาคมฯ ร่วมกับ<br />

คุณบุญญวัฒน์ ทิพย์ทัส พล.อ.ต.ม.ล.ประกิตติ เกษมสันต์ คณะ<br />

กรรมการกองทุนสมาคมฯ<br />

สมาคมฯ ร่วมผลักดันสงขลาสู่เมืองมรดกโลก<br />

เมื่อวันจันทร์ที่ 23-24 กรกฎาคม 25<strong>61</strong> นายอัชชพล<br />

ดุสิตนานนท์ นายกสมาคมสถาปนิกสยามฯ พร้อมด้วยคณะ<br />

กรรมการบริหารสมาคมฯ ได้เดินทางเยี่ยมเมืองสงขลาและเข้า<br />

ร่วมประชุมการส่งเสริมเมืองสงขลาให้ก้าวสู่เมืองมรดกโลก ซึ่ง<br />

งานนี ้ ได้รับเกียรติอย่างยิ่งจาก คุณใหม่ สิริกิติยา เจนเซน ธิดา<br />

ในทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนราชกัญญา สิริวัฒนาพรรณวดี เข้า<br />

ร่วมงานในครั ้งนี ้ โดยมีบุคคลสำคัญต่างๆ ให้การต้อนรับ อาทิ<br />

นายดลเดช พัฒนรัฐ ผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลานายขจรศักดิ<br />

สิริโสภา รองผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลา นายรังษี รัตนปราการ<br />

นายกสมาคมภาคีคนรักเมืองสงขลาสมาคม นายสมศักดิ ์ ติน<br />

ติเสรณี นายกเทศมนตรีเทศบาลนครสงขลา นายยงยุทธ หนู<br />

เนียม อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชมงคลศรีวิชัย และหัวหน้า<br />

ส่วนราชการ หน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมถึงชาวสงขลาได้<br />

มีโอกาสต้อนรับ นำความปลาบปลื ้ มมาสู่ชาวสงขลาเป็นอย่าง<br />

ยิ่ง ทั ้งนี ้ สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้ร่วม<br />

เป็นส่วนหนึ่งในการผลักดันนโยบายเพื่อให้เมืองสงขลาก้าวสู่<br />

เมืองมรดกโลกต่อไป<br />

ร่วมเปิ ดงาน 7th TGBI EXPO 2018<br />

เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม 25<strong>61</strong> ดร.อัชชพล ดุสิตนานนท์ นายก<br />

สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็นประธานร่วม<br />

เปิดงานสัมมมนาทางวิชาการและแสดงนิทรรศการประจำปี<br />

25<strong>61</strong> “7th TGBI EXPO 2018” ณ ศูนย์นิทรรศการและการ<br />

ประชุมไบเทค บางนา จัดโดยสถาบันอาคารเขียวไทย ภายใน<br />

งานประกอบด้วย งานสัมมนาทางวิชาการส่งเสริมพัฒนาวิชาชีพ<br />

ด้านสถาปัตยกรรมและวิศวกรรมที่ยั่งยืน โดยการนำเทคโนโลยีที่<br />

เหมาะสมใช้ในการออกแบบ ก่อสร้าง และการบำรุงรักษาอาคาร<br />

ที่สอดคล้องกับการประหยัดพลังงานและรักษาสิ่งแวดล้อม ทั ้ง<br />

ยังมีงานนิทรรศการแสดงสินค้าและบริการที่เกี่ยวข้องกับอาคาร<br />

เขียว โดยมีบริษัทชั ้นนำของประเทศไทย นำเสนอนวัตกรรม<br />

และเทคโนโลยีใหม่มานำเสนอในงานฯ รวมถึงผลิตภัณฑ์ Green<br />

Product มาต่อยอดสิ่งปลูกสร้างไทยในอนาคต


MEMBER CORNER<br />

สมาชิกสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ที่ผ่านการอนุมัติจากที่ประชุมกรรมการบริหาร<br />

ประจาเดือนกรกฎาคม 25<strong>61</strong><br />

สมาชิกประเภท สามัญ ราย 5 ปี<br />

สมาชิกประเภท ภาคี รายปี<br />

สมาชิกประเภท สมทบ รายปี<br />

• บุคคลทั่วไป<br />

• นักศึกษา<br />

จานวน 10 คน<br />

จานวน 2 คน<br />

จำนวน 3 คน<br />

จานวน - คน<br />

ประจำเดือนสิงหาคม 25<strong>61</strong><br />

สมาชิกประเภท สามัญ ราย 5 ปี<br />

สมาชิกประเภท ภาคี รายปี<br />

สมาชิกประเภท สมทบ รายปี<br />

• บุคคลทั่วไป<br />

• นักศึกษา<br />

จานวน 15 คน<br />

จานวน 4 คน<br />

จำนวน 6 คน<br />

จานวน 15 คน<br />

สมาชิกประเภท นิติบุคคล<br />

• ต่ออายุสมาชิก<br />

• ขึ ้ นทะเบียนใหม่<br />

จานวน 2 บริษัท<br />

จำนวน - บริษัท<br />

สมาชิกประเภท นิติบุคคล<br />

• ต่ออายุสมาชิก<br />

• ขึ ้ นทะเบียนใหม่<br />

จานวน 4 บริษัท<br />

จำนวน - บริษัท<br />

ผลิตภัณฑที่สามารถชวยใหโครงการ<br />

ไดรับคะแนนในการจัดทำ LEED V4 และ WELL V2<br />

กาว กาวสเปรยกระปอง เทปกาว ยาแนว และผลิตภัณฑกันไฟลาม<br />

1. TAIKEN GM ซิลิโคนยาแนวชนิดไมระเหยไอกรด ผานการทดสอบ Non-Stain Test<br />

2. TAIKEN SR ซิลิโคนยาแนวชนิดไมระเหยไอกรดผสมสารยับยั้งเชื้อรา<br />

3. TAIKEN FC ซิลิโคนยาแนวสำหรับงานที่อาจตองสัมผัสอาหาร<br />

4. PROTITE PROMERIC PU7 โพลียูรีเทนยาแนว ผานการทดสอบ Non-Stain Test<br />

5. PROTITE Acoustical Sealant ยาแนวกันเสียง<br />

6. PROTITE A-1<strong>61</strong> อคริลิคยาแนว<br />

7. PROTITE M-121 โพลีบิวเทนยาแนวสำหรับผนังหองเย็น<br />

8. 3M Fire Barrier FD 150+ ยาแนวกันไฟลาม<br />

9. 3M Scotch-Weld 94CA Cylinder Spray Adhesive<br />

กาวสูตรโซลเวนทเอนกประสงค<br />

10. 3M Fastbond 30NF กาวสูตรน้ำเอนกประสงค<br />

11. 3M Fastbond 49 Insulation Adhesive กาวสูตรน้ำสำหรับการติดฉนวนหุมทอ<br />

12. 3M Fastbond 4224NF Pressure Sensitive Adhesive กาวสูตรน้ำสำหรับติดพรม<br />

13. 3M Super 77 Multi-Purpose Spray Adhesive Low VOC

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!