18.01.2019 Views

ASA NEWSLETTER 07-08_61

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

Ten for Ninety 2018 : Health is Now<br />

Ten for Ninety 2018 : Health is Now คือก้าวใหม่ในปีที่ 3 ของ<br />

โครงการ เป็นการสร้างรูปแบบกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพรูปแบบ<br />

ใหม่ในพื ้ นที่สวนสาธารณะเดิม เพื่อตอบสนองการใช้งานของ<br />

กลุ่มผู้ใช้งานในพื ้ นที่จริง รวมถึงให้เกิดการใช้งานในพื ้ นที่สวน<br />

สาธารณะได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ โดยมี “สวนลุมพินี”สวน<br />

สาธารณะขนาดใหญ่ใจกลางเมืองที่มีผู้ใช้งานหลากหลาย<br />

เป็นต้นแบบในการสร้างพื ้ นที่กิจกรรมเพื่อส่งเสริมสุขภาพในครั ้ง<br />

นี ้ กิจกรรมในครั ้งนี ้ เป็นการเปิดโอกาสให้นักศึกษาและผู้ที่สนใจ<br />

เรื่องพื ้ นที่สาธารณะ ได้ทดลองทำงานออกแบบพื ้ นที่สาธารณะ<br />

ร่วมกับทีมพี่เลี ้ ยงสถาปนิกรุ่นใหม่จากบริษัท Cloud-Floor และ<br />

IF (Integrated Field) ทีมพี่เลี ้ ยงด้านการจัดทำสื่อจากบริษัท<br />

mor and farmer และคณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร<br />

มหาวิทยาลัยศิลปากร<br />

รูปแบบกิจกรรมในโครงการ Ten for Ninety 2018<br />

เป็นการนำเอากระบวนการออกแบบพื ้ นที่สาธารณะโดยการมี<br />

ส่วนร่วมมาใช้ในการสร้างงาน โดยแบ่งเป็น 3 ส่วนหลัก คือ<br />

1. การเก็บรวมรวมข้อมูล : สังเกต สัมภาษณ์ วิเคราะห์<br />

พฤติกรรมผู้ใช้งานสวนลุมพินี เพื่อนำไปสู่การกำหนดกิจกรรม<br />

รูปแบบและขนาดของพื ้ นที่ที่จะเกิดขึ ้ น<br />

2. การออกแบบและการพัฒนาแบบ: การออกแบบ<br />

อุปกรณ์สำหรับการยืดเหยียด และการออกแบบพื ้ นที่โดยรอบ<br />

3. การก่อสร้าง: การเขียนแบบสำหรับการก่อสร้างและ<br />

การออกแบบรายละเอียดเพื่อการก่อสร้างรวมทั้งการควบคุมการ<br />

ก่อสร้างให้เป็นไปตามระยะเวลาที่กำหนด<br />

“Stretching Station” นอกจากจะเป็นผลลัพธ์ของการ<br />

ออกแบบที่มุ่งตอบสนองความต้องการของทั ้งผู้ดูแลสวนลุมพินี<br />

และผู้ใช้งานในสวนลุมพินีในทุกกลุ่ม ยังเป็นผลลัพธ์ที่น่าภาค<br />

ภูมิใจของการนำกระบวนการออกแบบพื ้ นที่สาธารณะโดยการ<br />

มีส่วนร่วมมาใช้ในการออกแบบ ทำให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้เกิด<br />

ความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการมีส่วนร่วมในทุกกระบวนการ<br />

ไม่ว่าจะเป็นการร่วมเก็บข้อมูล การร่วมออกแบบ และการร่วม<br />

อำนวยการก่อสร้างให้เป็นไปตามเป้าหมาย<br />

<strong>ASA</strong>-CAN Workshop 2018 “CONNECT-KLONG-<br />

NEXT: รถไฟฟ้ามาหา ณ คลอง”<br />

กรรมาธิการสถาปนิกเพื่อสังคมและเมือง (<strong>ASA</strong>-CAN)<br />

กรรมาธิการอนุรักษ์ศิลปสถาปัตยกรรม <strong>ASA</strong> VERNADOC<br />

สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์ ร่วมด้วยภาคี<br />

สถาบันการศึกษาและนักออกแบบ มหาวิทยาลัยศิลปากร<br />

สถาบันอาศรมศิลป์ มหาวิทยาลัยรังสิต ดำเนินการจัดโครงการ<br />

ปฏิบัติการออกแบบด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม <strong>ASA</strong>-CAN<br />

Workshop 2018 “CONNECT-KLONG-NEXT: รถไฟฟ้ามาหา<br />

ณ คลอง” พร้อมร่วมเรียนรู้กับวิทยากรพิเศษ Professor Nabeel<br />

Hamdi ผู้เชี่ยวชาญด้านการออกแบบและวางผังอย่างมีส่วนร่วม<br />

(Action Planning) จาก Harvard University และ University<br />

College London ไปเมื่อระหว่างวันที่ 16- 29 กรกฎาคม 25<strong>61</strong><br />

โดยเป็นการร่วมพัฒนาข้อเสนอการเชื่อมต่อพื ้ นที่ชุมชน<br />

ริมคลองกับระบบคมนาคมใหม่ของเมือง ภายใต้คำถามหลักที่<br />

ว่า “เมื่อระบบการเดินทางของเมืองเปลี่ยน ชีวิตผู้คนเสมือนถูก<br />

ตัดขาดด้วยเส้นทางคมนาคมใหม่ๆ พื ้ นที่รอยต่อระหว่างคลอง<br />

และรถไฟฟ้าน่าจะเป็นอย่างไรเพื่อประโยชน์ของคนเมือง และ<br />

จะเชื่อมโยงทั ้งผู้ใช้รถไฟฟ้ากับผู้ใช้ชีวิตในเส้นทางคลองเดิมด้วย

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!