30.07.2013 Views

cache

cache

cache

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

ในแหลงน้ําที่อยูชั้นลางสุดและในตะกอนดินในปริมาณที่คอนขางสูง<br />

เนื่องจากบริเวณนี้มีพวกซาก<br />

สิ่งมีชีวิตและอนินทรียสารมากและไมคอยมีสารที่สามารถออกซิไดซได<br />

จึงมักตองอาศัยการทํางาน<br />

ของแบคทีเรียชวยยอยสลายเทานั้น<br />

ซึ่ง<br />

Novazhilova and Berezina (1966) พบวาจํานวนแบคทีเรียที่<br />

ใชในการรีดิวซซัลเฟอรนั้นจะมีอยูในน้ํานอยมาก<br />

เมื่อเปรียบเทียบกับในตะกอนดินโคลนและปริมาณ<br />

ของแบคทีเรียจะเปลี่ยนแปลงไปตามฤดูกาลดวยคือ<br />

ในฤดูรอนจะพบวามีปริมาณไฮโดรเจนซัลไฟด<br />

ในตะกอนโคลนมากกวาในฤดูใบไมผลิ ซึ่งอาจเกิดจากหลังกระบวนการที่เกิดขึ้นในฤดูหนาว<br />

ซึ่ง<br />

มักจะมีกระแสลมและพายุมาก ทําใหแหลงน้ําเกิดการหมุนเวียนไฮโดรเจนซัลไฟดจึงมีโอกาสฟุง<br />

กระจายในมวลน้ํา<br />

ทําใหสัตวน้ําตายเปนจํานวนมากและบางสวนของกาซไขเนานั้นจะระเหยออกสู<br />

บรรยากาศได<br />

5.3 ลักษณะการแพรกระจายของปริมาณซัลไฟดในดินตะกอน<br />

จารุมาศ (2548) กลาวไววาซัลไฟดในรูปแบบตาง ๆ ที่เกิดขึ้นในดินตะกอน<br />

เกิดจาก<br />

กระบวนการชีวภาพและกระบวนการทางอนินทรียเคมี สิ่งมีชีวิตที่มีบทบาทโดยตรงตอการเกิดซัลไฟด<br />

2-<br />

คือ แบคทีเรียกลุมที่ทําการยอยสลายสารอินทรียในดินแบบไมใชออกซิเจน<br />

แตใชซัลเฟต (SO4 )<br />

เปนตัวรับอิเลคตรอนในปฏิกิริยาแบคทีเรียกลุมนี้เรียกวา<br />

sulfate reducing bacteria (เชน<br />

Desulfovibrio) และปฏิกิริยาที่เกิดการยอยสลายของสารอินทรียในกระบวนการ<br />

sulfate reduction<br />

ผลของปฏิกิริยา sulfate reduction จะใหสารประกอบ เชน แอมโมเนียและซัลไฟด<br />

ออกมาสะสมอยูในดินบริเวณนั้นและ/หรืออาจมีการแพรกระจายขึ้นไปที่ผิวดินไดซัลไฟดที่ผลิตใน<br />

ดินจะมีการรวมตัวกับธาตุเหล็กเกิดเปนสารประกอบในรูป FeS ซึ่ง<br />

FeS ก็ยังมีการเปลี่ยนรูปแบบได<br />

สารประกอบที่เรียกวา<br />

pyrite (FeS2) ซึ่งเปนรูปที่ไมละลายน้ําและถือเปนองคประกอบหลักขั้น<br />

สุดทายจากกระบวนการ sulfate reduction ในสภาพดินที่ไมมีออกซิเจนอยูเลย<br />

แตจะพบวาบริเวณ<br />

ผิวหนาดิน โดยทั่วไปที่มีโอกาสสัมผัสกับออกซิเจนในน้ําเหนือผิวดินหรือผิวหนาดินที่มีลักษณะ<br />

โปรง ซึ่งน้ําแทรกซึมผานไดดีจะไมพบปริมาณซัลไฟดอยูเลย<br />

ปฏิกิริยาการยอยสลายสารอินทรียที่<br />

บริเวณดังกลาวก็จะเกิดขึ้นภายใตสภาพที่มีออกซิเจนโดยที่ซัลไฟดหรือไฮโดรเจนซัลไฟดจะเริ่ม<br />

ปรากฏขึ้นเมื่อระดับความลึกของดินเพิ่มมากขึ้น<br />

ระดับที่มีการสะสมของซัลไฟดสูงสุดมีความ<br />

แตกตางกันขึ้นอยูกับชนิดและองคประกอบทางอินทรียสารของดินตะกอนนั้น<br />

ดินตะกอนใน<br />

ธรรมชาติที่มีลักษณะเปนทรายอาจมีระดับสูงสุดของไฮโดรเจนซัลไฟดที่ประมาณ<br />

6-8 เซนติเมตร<br />

ขณะที่ในดินที่เปนโคลนปนทรายอาจมีระดับสูงสุดอยูที่ใกลผิวดินมากกวา<br />

คือ ในระดับประมาณ<br />

19

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!