30.07.2013 Views

cache

cache

cache

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

วิทยานิพนธ<br />

เรื่อง<br />

ผลของแบคทีเรีย Paracoccus pantotrophus ตอคุณภาพน้ําและผลผลิต<br />

กุงขาวแวนนาไม<br />

(Litopenaeus vannamei) ในการเลี้ยงดวยน้ําความเค็มต่ํา<br />

Effects of Paracoccus pantotrophus on Water Quality and Production of<br />

Pacific White Shrimp (Litopenaeus vannamei) Cultured in Low Salinity Water<br />

โดย<br />

นางสาวลลิตา พาณิชกรกุล<br />

เสนอ<br />

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร<br />

เพื่อความสมบูรณแหงปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต<br />

(วิทยาศาสตรการประมง)<br />

พ.ศ. 2550


กิตติกรรมประกาศ<br />

ขาพเจาขอขอบพระคุณ ผูชวยศาสตราจารย<br />

ดร.ชลอ ลิ้มสุวรรณ<br />

อาจารยที่ปรึกษา<br />

วิทยานิพนธหลักที่ไดชวยเหลือในการวางแผนงานวิจัยในการทําวิทยานิพนธเลมนี้<br />

ตลอดจนการให<br />

คําปรึกษา แนะนําและตรวจแกไขขอบกพรองตาง ๆ ขอกราบขอบพระคุณ ผูชวยศาสตราจารย<br />

ดร.นิติ ชูเชิด อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธรวมและ<br />

ดร.พรเลิศ จันทรรัชชกูล ที่กรุณาใหคําปรึกษา<br />

และแกไขทําใหวิทยานิพนธสมบูรณยิ่งขึ้น<br />

ขอขอบพระคุณ คุณวีระ และ คุณอรพิน เลขะวิจิตรเลิศ เจาของฟารมเลี้ยงกุง<br />

ตําบลทุงครุ<br />

เขตทุงครุ<br />

กรุงเทพมหานคร ที่ชวยเหลือและเอื้อเฟอสถานที่ในการวิจัย<br />

ตลอดจนอํานวยความ<br />

สะดวกตาง ๆ ในการทําวิจัยครั้งนี้<br />

ขอขอบพระคุณ บริษัท Novozymes Biological, Inc. ประเทศสหรัฐอเมริกา ที่สนับสนุน<br />

ทุนในการทําวิจัยครั้งนี้<br />

ขอขอบคุณพี่<br />

ๆ ปริญญาเอกและเพื่อน<br />

ๆ ปริญญาโททุกคน สําหรับกําลังใจและความ<br />

ชวยเหลือดานตาง ๆ ที่สนับสนุนในการทําวิทยานิพนธจนสําเร็จลุลวงดวยดี<br />

สุดทายนี้<br />

ขอขอบพระคุณ คุณพอ คุณแม พี่สาว<br />

นองสาวและหลานสาวสุดที่รัก<br />

สําหรับ<br />

ความรัก ความอบอุนและความหวงใยซึ่งเปนกําลังใจที่สําคัญจนทําใหขาพเจาสําเร็จการศึกษาใน<br />

ครั้งนี้<br />

ดวยความดีหรือคุณประโยชนอันเกิดจากวิทยานิพนธเลมนี้<br />

ขอมอบใหแกเกษตรกรผูเลี้ยงกุง<br />

ทุกทานที่สรางคุณูปการใหแกวงการเลี้ยงกุงของชาติไทย<br />

ลลิตา พาณิชกรกุล<br />

กุมภาพันธ 2550


สารบัญ<br />

หนา<br />

สารบัญ (1)<br />

สารบัญตาราง (2)<br />

สารบัญภาพ (3)<br />

คํานํา 1<br />

วัตถุประสงค 3<br />

การตรวจเอกสาร 4<br />

อุปกรณและวิธีการ 29<br />

ผลและวิจารณ 46<br />

สรุปและขอเสนอแนะ 76<br />

สรุป 76<br />

ขอเสนอแนะ 77<br />

เอกสารและสิ่งอางอิง<br />

78<br />

ภาคผนวก 92<br />

(1)


สารบัญตาราง<br />

ตารางที่<br />

หนา<br />

1 ผลการวิเคราะหทางสถิติแสดงการศึกษาผลของแบคทีเรีย P. pantotrophus และ<br />

NaNO3ในการควบคุมปริมาณ H2S ในหองปฏิบัติการ<br />

48<br />

2 ผลการวิเคราะหทางสถิติแสดงการศึกษาปริมาณที่เหมาะสมของแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus ในการปองกันการเกิด H2S ในหองปฏิบัติการโดยมีการเติม<br />

NaNO3เพื่อรักษาระดับความเขมขนใหคงที่ตลอดระยะเวลาการทดลอง 51<br />

3 น้ําหนักเฉลี่ยและอัตราการเจริญเติบโตของกุงขาวแวนนาไมในบอทดลองที่ใช<br />

แบคทีเรีย P. pantotrophus และบอควบคุม<br />

53<br />

4 การเปรียบเทียบขอมูลผลผลิตกุงขาวแวนนาไมในบอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus และบอควบคุม<br />

54<br />

5 ตนทุนการผลิตและผลตอบแทนขั้นตนของการเลี้ยงกุงขาวแวนนาไมในบอทดลอง<br />

ที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus และบอควบคุม (เฉลี่ยตอบอ)<br />

56<br />

6 คุณสมบัติของน้ําในบอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus และบอควบคุม 64<br />

7 คาศักยไฟฟารีดอกซในบอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus และบอควบคุม 74<br />

ตารางผนวกที่<br />

1 ผลการวิเคราะหทางสถิติของผลผลิตในบอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus<br />

และบอควบคุม<br />

93<br />

2 ผลการวิเคราะหทางสถิติของคุณสมบัติของน้ําในบอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus และบอควบคุม<br />

94<br />

3 คุณสมบัติของน้ําตลอดการเลี้ยง<br />

95<br />

4 ผลการวิเคราะหทางสถิติของศักยไฟฟารีดอกซพื ้นบอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus และบอควบคุม<br />

103<br />

5 ศักยไฟฟารีดอกซพี้นบอตลอดการเลี้ยง<br />

104<br />

(2)


สารบัญภาพ<br />

ภาพที่<br />

หนา<br />

1 ชั้นของหนาตัดดินพื้นบอ<br />

15<br />

2 การเคลื่อนที่ของน้ําและมวลสารตาง<br />

ๆ ภายในบอเลี้ยงสัตวน้ํา<br />

15<br />

3 การเคลื่อนที่ของสารบริเวณระหวางชั้นดินและน้ําในบอที่ผิวพื้นบอมีออกซิเจน<br />

16<br />

4 การเคลื่อนที่ของสารบริเวณระหวางชั้นดินและน้ําในบอที่ผิวพื้นบอขาดออกซิเจน<br />

16<br />

5 เลนพื้นบอเลี้ยงกุงจากฟารมเลี้ยงกุงเอกชนในเขตอําเภอบางแพ<br />

จังหวัดราชบุรี 32<br />

6 แบคทีเรีย Paracoccus pantotrophus ที่ใชในการทดลอง<br />

32<br />

7 แผนผังฟารมที่ทําการทดลอง<br />

34<br />

8 บอเลี้ยงกุงขาวแวนนาไม<br />

35<br />

9 ลูกกุงระยะโพสลารวา<br />

12 (PL12) ที่นํามาปลอยลงเลี้ยงในบอที่ทําศึกษาทั้ง<br />

6 บอ 44<br />

10 ลูกกุงในถังไฟเบอรกลาสซึ่งภายในบรรจุน้ําในบอเลี้ยงและเปดเครื่องใหออกซิเจน<br />

44<br />

11 หลังทําการปลอยลูกกุงจะใชแบคทีเรียจํานวน<br />

0.45 กิโลกรัมตอบอทุกสัปดาห<br />

จนกระทั่งจับกุง<br />

45<br />

12 การชั่งน้ําหนักกุงดวยเครื่องชั่งน้ําหนักแบบดิจิตอล<br />

45<br />

13 การเจริญเติบโตของกุงขาวแวนนาไมในบอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus<br />

และบอควบคุม<br />

53<br />

14 การเปลี่ยนแปลงความโปรงแสงตลอดการเลี้ยง<br />

65<br />

15 การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิตอนเชาตลอดการเลี้ยง<br />

65<br />

16 การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิตอนบายตลอดการเลี้ยง<br />

66<br />

17 การเปลี่ยนแปลงพีเอชตอนเชาตลอดการเลี้ยง<br />

66<br />

18 การเปลี่ยนแปลงพีเอชตอนบายตลอดการเลี้ยง<br />

67<br />

19 การเปลี่ยนแปลงออกซิเจนที่ละลายในน้ําตอนเชาตลอดการเลี้ยง<br />

67<br />

20 การเปลี่ยนแปลงออกซิเจนที่ละลายในน้ําตอนบายตลอดการเลี้ยง<br />

68<br />

21 การเปลี่ยนแปลงความเค็มตลอดการเลี้ยง<br />

68<br />

22 การเปลี่ยนแปลงการนําไฟฟาตลอดการเลี้ยง<br />

69<br />

23 การเปลี่ยนแปลงความเปนดางรวมตลอดการเลี้ยง<br />

69<br />

24 การเปลี่ยนแปลงความกระดางตลอดการเลี้ยง<br />

70<br />

(3)


สารบัญภาพ (ตอ)<br />

ภาพที่<br />

หนา<br />

25 การเปลี่ยนแปลงแอมโมเนียรวมตลอดการเลี้ยง<br />

70<br />

26 การเปลี่ยนแปลงไนไตรทตลอดการเลี้ยง<br />

71<br />

27 การเปลี่ยนแปลงไนเตรทตลอดการเลี้ยง<br />

71<br />

28 การเปลี่ยนแปลงไฮโดรเจนซัลไฟดตลอดการเลี้ยง<br />

72<br />

29 คาศักยไฟฟารีดอกซตลอดการเลี้ยง<br />

75<br />

(4)


ผลของแบคทีเรีย Paracoccus pantotrophus ตอคุณภาพน้ําและผลผลิต<br />

กุงขาวแวนนาไม<br />

(Litopenaeus vannamei) ในการเลี้ยงดวยน้ําความเค็มต่ํา<br />

Effects of Paracoccus pantotrophus on Water Quality and Production of<br />

Pacific White Shrimp (Litopenaeus vannamei) Cultured in Low Salinity Water<br />

คํานํา<br />

การเลี้ยงกุงขาวแวนนาไม<br />

(Litopenaeus vannamei) ในประเทศไทยสวนใหญมีการปลอย<br />

ลูกกุงลงเลี้ยงในอัตราความหนาแนนที่สูงมากและเลี้ยงดวยอาหารเม็ดสําเร็จรูปที่มีระดับโปรตีนสูง<br />

เพื่อเปนการเพิ่มผลผลิตตอหนวยพื้นที่ใหสูงที่สุด<br />

ดังนั้นของเสียที่ขับถายจากกุงและอาหารที่เหลือ<br />

ในบอจะสะสมมากขึ้นตามระยะเวลาที่เลี้ยง<br />

ซึ่งในสภาวะที่สภาพแวดลอมในบอมีความสมดุล<br />

คือ<br />

มีปริมาณของเสียไมมากและออกซิเจนที่ละลายน้ํามีปริมาณเพียงพอ<br />

แบคทีเรียที่มีอยูภายในบอ<br />

จะยอยสลายของเสียเหลานั้นใหเปนแอมโมเนีย<br />

ไนไตรท ไนเตรทและกาซไนโตรเจนเพื่อระเหยสู<br />

อากาศ แตถาของเสียมีปริมาณมากเกินไป มีการจัดการที่ไมเหมาะสม<br />

อีกทั้งปริมาณออกซิเจนในน้ํา<br />

มีไมเพียงพอ จะมีผลตอการเจริญเติบโตและอัตราการรอดตายของกุง<br />

(ชลอ, 2543) โดยเฉพาะ<br />

บริเวณกลางบอที่มีการสะสมของตะกอนเลนจํานวนมากอาจไมมีออกซิเจนอยูเลย<br />

ทําใหแบคทีเรีย<br />

ในกลุมที่ไมใชออกซิเจนสามารถเจริญเติบโตและทําการยอยสลายแทนกระบวนการเหลานี้จะ<br />

เปนไปอยางชา ๆ และผลิตสารที่มีความเปนพิษตอสัตวน้ํา<br />

ไดแก แอมโมเนีย ไนไตรท กาซมีเทน<br />

และกาซไฮโดรเจนซัลไฟด (H2S) (Hargreaves, 1998; Watanabe, 2001) ซึ่งไฮโดรเจนซัลไฟดเปน<br />

สารประกอบตัวหนึ่งที่มีความเปนพิษโดยตรงตอสัตวน้ํา<br />

(นิศากร และ ชลัญญา, 2526; Bonn and<br />

Follis, 1967; Adelman and Smith, 1972; Oseid and Smith, 1972; Peturiyawate, 1982; Jayamanne,<br />

1986; Boyd and Tucker, 1998) และโดยเฉพาะในบอเลี้ยงกุง<br />

(Suplee and Cotner, 1996) ไฮโดรเจน<br />

ซัลไฟดเกิดจากกระบวนการยอยสลายของสารอินทรียของแบคทีเรียในสภาวะมีปริมาณออกซิเจน<br />

ละลายในน้ําต่ําหรือไมมีเลย<br />

เมื่อมีการสะสมของสารเหลานี้มากขึ้นจะทําใหกุงหยุดกินอาหาร<br />

ออนแอ<br />

เปนโรคและตายในที่สุด<br />

ซึ่งระดับความเขมขนของไฮโดรเจนซัลไฟดที่ทําใหเกิดพิษตอสัตวน้ําอยู<br />

ในชวง 0.01-0.05 มิลลิกรัมตอลิตร (สมพร, 2535) จึงไดมีความพยายามที่จะควบคุมปริมาณ<br />

ไฮโดรเจน ซัลไฟดดวยวิธีทางเคมีและจุลชีววิทยา โดยวิธีทางเคมีจะมีการใชสารเคมีสงผลทํา<br />

ใหแบคทีเรียที่มีประโยชนรวมทั้งสิ่งมีชีวิตเล็ก<br />

ๆ ที่อยูในน้ําถูกทําลายไปดวย<br />

นอกจากนั้นการใช


สารเคมีโดยทั่วไปจะเสียคาใชจายมากและมีความยุงยาก<br />

(Santry, 1966) ดังนั้นการใชวิธีทางจุล<br />

ชีววิทยาจึงเปนทางเลือกหนึ่งเพื่อควบคุมปริมาณไฮโดรเจนซัลไฟด<br />

โดยอาศัยกระบวนการตาง ๆ<br />

ของแบคทีเรียจึงนาจะเปนวิธีที่เหมาะสมและสามารถชวยแกปญหาดังกลาว<br />

(อําพิน, 2540) ซึ่งใน<br />

ปจจุบันมีการใชแบคทีเรีย Paracoccus pantotrophus ชวยในการควบคุมปริมาณไฮโดรเจนซัลไฟด<br />

และคุณภาพน้ําในโรงงานอุตสาหกรรม<br />

(Gallert and Winter, 2005) แบคทีเรียชนิดนี้สามารถดํารง<br />

อยูไดทั้งสภาวะที่มีออกซิเจนและไมมีออกซิเจน<br />

อาศัยอยูไดทั้งในน้ําและในดิน<br />

เมื่ออยูในสภาวะที่มี<br />

ออกซิเจนแบคทีเรียชนิดนี้สามารถออกซิไดซไฮโดรเจนซัลไฟดไดโดยตรง<br />

สวนในสภาวะที่ไมมี<br />

-<br />

ออกซิเจนแบคทีเรียจะใช NO3 เปนตัวรับอิเลคตรอนตัวสุดทายในกระบวนการดีไนตริฟเคชัน<br />

-<br />

(denitrification) (Heukelekian, 1948) โดยแบคทีเรียชนิดนี้ใช<br />

NO3 ในระดับที่ต่ํากวาแบคทีเรียชนิด<br />

อื่น<br />

อีกทั้งยังเปนการปองกันไมใหเกิดซัลไฟดจากกระบวนการซัลเฟตรีดักชัน<br />

(sulfate reduction)<br />

นอกจากนั้นแบคทีเรียชนิดนี้สามารถผลิตในปริมาณมาก<br />

ๆ ได มีความสะดวกตอการใชงาน งายตอ<br />

การเก็บรักษาและการขนสง<br />

ในการศึกษาครั้งนี้เปนการศึกษาประสิทธิภาพของแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus ในการ<br />

ควบคุมปริมาณไฮโดรเจนซัลไฟดในหองปฏิบัติการและในบอเลี้ยงกุงขาวแวนนาไมที่เลี้ยงดวยน้ํา<br />

ความเค็มต่ําเพื่อเปนแนวทางใหแกเกษตรกรในการควบคุมปริมาณไฮโดรเจนซัลไฟดที่เกิดขึ้นใน<br />

บอเลี้ยงกุงและสามารถเพิ่มศักยภาพการผลิตของบอเลี้ยงกุงตอไป<br />

2


วัตถุประสงค<br />

1. ศึกษาการควบคุมปริมาณไฮโดรเจนซัลไฟดในหองปฏิบัติการโดยใชแบคทีเรีย<br />

Paracoccus pantotrophus<br />

2. เปรียบเทียบคุณสมบัติของน้ําที่สําคัญ<br />

ปริมาณไฮโดรเจนซัลไฟดและคาศักยไฟฟา<br />

รีดอกซ (oxidation reduction potential) ของดินพื้นบอเลี้ยงกุงขาวแวนนาไมในน้ําความเค็มต่ําที่ใช<br />

และไมใชแบคทีเรีย P. pantotrophus<br />

3. เปรียบเทียบการเจริญเติบโต อัตราการรอดตายและปริมาณผลผลิตของบอเลี้ยง<br />

กุงขาวแวนนาไมในน้ําความเค็มต่ําที่ใชและไมใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus<br />

4. เปรียบเทียบตนทุนและผลตอบแทนจากการเลี้ยงกุงขาวแวนนาไมในน้ําความเค็มต่ํา<br />

ที่ใชและไมใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus<br />

3


1. กุงขาวแวนนาไม<br />

การตรวจเอกสาร<br />

กุงขาวแวนนาไมเปนกุงที่มีแหลงกําเนิดมาจากทวีปอเมริกา<br />

อเมริกากลางและอเมริกาใต<br />

โดยมีการเลี้ยงกันอยางแพรหลายในทวีปอเมริกาใต<br />

เชน เอกวาดอร เม็กซิโก บราซิล นอกจากนี้<br />

หลายประเทศในทวีปเอเชียก็มีการเลี้ยงกุงชนิดนี้<br />

ไดแก ไตหวัน จีนและอินโดนีเซีย (ชลอ และ<br />

คณะ, 2548) ซึ่งมีแนวโนมการผลิตกุงขาวแวนนาไมมากขึ้น<br />

โดยเฉพาะประเทศไทยหลังจากมีการ<br />

นํากุงขาวแวนนาไมมาทดลองเลี้ยงในเมื่อป<br />

พ.ศ. 2541 แตไมประสบความสําเร็จมากนักจนกระทั่ง<br />

ป พ.ศ. 2545 กรมประมงไดอนุญาตใหนําพอแมพันธุที่ปลอดเชื้อมาเลี้ยง<br />

เนื่องจากลักษณะเดน<br />

ของกุงขาวแวนนาไมที่สามารถกินอาหารไดหลากหลาย<br />

มีความทนทานตอการเปลี่ยนแปลงสภาพ<br />

แวดลอม จึงทําใหมีการเพิ่มจํานวนการเลี้ยงมากขึ้น<br />

พบวาป พ.ศ. 2548 และ พ.ศ. 2549 ประเทศไทย<br />

มีผลผลิตกุงขาวแวนนาไม<br />

360,000 ตัน และ 509,600 ตันตามลําดับ (สมศักดิ์,<br />

2550) โดยการเลี้ยง<br />

กุงขาวแวนนาไมในประเทศไทยแยกตามความเค็มของน้ําไดเปน<br />

2 แบบ (ชลอ และ พรเลิศ, 2547)<br />

คือ<br />

1.1 การเลี้ยงกุงขาวแวนนาไมดวยความเค็มต่ํา<br />

สวนใหญการเลี้ยงกุงขาวแวนนาไมดวยน้ําความเค็มต่ําจะทําในเขตพื้นที่น้ําจืดและใน<br />

พื้นที่ภาคกลางโดยใชน้ําความเค็มต่ํามากจนเกือบจะเปนระดับที่ถือวาเปนน้ําจืด<br />

โดยเกษตรกรจะซื้อ<br />

น้ําเค็มความเขมขนสูงจากนาเกลือใสรถบรรทุกน้ําคันละประมาณ<br />

12-13 ตัน ความเค็ม 100-200<br />

สวนในพันสวน (พีพีที) มาเติมในน้ําจืดเพื่อใหไดความเค็มประมาณ<br />

3-4 พีพีที สวนใหญจะกั้นคอก<br />

กอนโดยใชผาพลาสติกแลวเติมน้ําจากนาเกลือลงไปจนไดความเค็มประมาณ<br />

8-10 พีพีที หลังจาก<br />

นั้นจะนําลูกกุงขาวแวนนาไมระยะโพสลารวา<br />

10-12 (พี 10-12) ที่ปรับความเค็มจากโรงเพาะฟกมา<br />

ปลอยในคอก อนุบาลลูกกุงในคอกประมาณ<br />

3-4 วัน จึงเปดคอกใหลูกกุงกระจายทั่วบอ<br />

อีกวิธีคือ<br />

ไมกั้นคอก<br />

จะเตรียมน้ําความเค็มประมาณ<br />

3-5 พีพีที แลวใหทางโรงเพาะฟกปรับความเค็มของลูก<br />

กุงจนอยูที่ความเค็มที่ต่ําที่สุดประมาณใกลเคียงกับที่จะมาปลอยในบอแลวนําลูกกุงมาปลอยโดยตรง<br />

ซึ่งจะทําใหมีอัตราการรอดตายที่สูงกวา<br />

โดยปลอยลงเลี้ยงในอัตราความหนาแนนประมาณ<br />

70,000-<br />

80,000 ตัวตอไร สวนใหญเกษตรกรจะเลี้ยงใหไดกุงขนาดประมาณ<br />

60-80 ตัวตอกิโลกรัม คือ เลี้ยง<br />

ประมาณ 3 เดือน โดยใชอวนตาหางเพื่อลากกุงขนาดใหญออกขายประมาณครึ่งหนึ่ง<br />

หลังจากนั้น<br />

4


เติมน้ําจืดเขาบอจนเต็ม<br />

และเติมน้ําเค็มอีกรอบเพื่อเพิ่มความเค็ม<br />

เลี้ยงอีกประมาณ<br />

2 สัปดาห จะทํา<br />

ใหกุงในบอโตขึ้น<br />

เชน จากขนาด 80 ตัวตอกิโลกรัมเปน 60 ตัวตอกิโลกรัม<br />

1.2 การเลี้ยงกุงขาวแวนนาไมดวยน้ําความเค็มปกติ<br />

การเลี้ยงกุงขาวแวนนาไมในพื้นที่ภาคใตที่ใชน้ําความเค็มปกติ<br />

คือ ความเค็มประมาณ<br />

10 พีพีทีขึ้นไปนั้น<br />

สวนใหญจะมีการปลอยกุงในอัตราหนาแนนมากกวา<br />

120,000 ตัวตอไร ผลผลิต<br />

ประมาณ 2 ตันตอไร อัตราการรอดตายประมาณ 80 เปอรเซ็นต การเลี้ยงกุงขาวดวยความเค็มปกติ<br />

จะไดผลดีกวาน้ําความเค็มต่ํา<br />

เนื่องจากมีการถายน้ําในปริมาณที่มากในชวงทาย<br />

ๆ ของการเลี้ยง<br />

2. คุณสมบัติของน้ําบางประการที่มีผลตอการเลี้ยงกุงขาวแวนนาไม<br />

ปจจัยที่สําคัญในการเลี้ยงกุงขาวแวนนาไม<br />

คือ คุณสมบัติทางกายภาพ เคมีและชีวภาพของ<br />

น้ํา<br />

เชน ความโปรงแสง อุณหภูมิ ความเปนกรดเปนดาง (พีเอช) ออกซิเจนที่ละลายในน้ํา<br />

ความเค็ม<br />

การนําไฟฟา ความเปนดางรวม ความกระดาง แอมโมเนียรวม ไนไตรท ไนเตรทและไฮโดรเจน<br />

ซัลไฟด (H2S) เปนตน (Brock and Main, 1994) ถาคุณสมบัติของน้ําดีมีความเหมาะสมตอการ<br />

เจริญเติบโตของกุง<br />

กุงก็จะเจริญเติบโตเร็ว<br />

แตถาคุณสมบัติของน้ําไมดีก็จะเกิดปญหาในการเลี้ยงได<br />

ความโปรงแสงของน้ําเปนดัชนีที่บงบอกถึงปริมาณแพลงกตอนพืชและตะกอนแขวนลอย<br />

ในบอเลี้ยงกุงขาวแวนนาไม<br />

ความขุนของน้ําที่เกิดจากแพลงกตอนโดยปกติจะมีประโยชนตอสัตว<br />

น้ํา<br />

เนื่องจากทําใหเกิดอาหารธรรมชาติสําหรับสัตวน้ําที่อุดมสมบูรณและลดปญหาพรรณไมน้ําและ<br />

สาหรายพื้นบอที่แสงแดดสองไมถึง<br />

สําหรับความขุนที่เกิดจากตะกอนดินจะไปทับถมกันที่พื้นบอ<br />

และสารแขวนลอยที่เปนสารอินทรียอาจทําใหเกิดปญหาการขาดออกซิเจนไดกอใหเกิดการเนาเสีย<br />

ที่บริเวณดังกลาวและเกิดกาซพิษตามมา<br />

ไดแก แอมโมเนียและไฮโดรเจนซัลไฟด (ยนต, 2530) หาก<br />

น้ําในบอมีความขุนมาก<br />

จะทําใหคาความโปรงแสงของน้ําในบอนอยเกินไปแสงจะสองไมถึงพื้น<br />

บอ ทําใหสาหรายพื้นบอเกิดการตายและเกิดการเนาเสียตามมา<br />

แตถาน้ําในบอเลี้ยงกุงใสเกินไป<br />

อาหารธรรมชาติจะมีนอย ความโปรงแสงที่เหมาะสมในบอเลี้ยงกุงขาวแวนนาไมจะอยูในชวง<br />

25-<br />

50 เซนติเมตร (Brock and Main, 1994)<br />

5


อุณหภูมิของน้ําเปนปจจัยหนึ่งที่ควบคุมการเจริญเติบโตและการแพรพันธุของพืชและสัตว<br />

ซึ่งแหลงน้ําธรรมชาติในประเทศไทยมีอุณหภูมิอยูระหวาง<br />

23-32 องศาเซลเซียส (ศิริเพ็ญ, 2543)<br />

โดยการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิมีความสัมพันธโดยตรงกับฤดูกาล<br />

สภาพภูมิประเทศ กระแสลม<br />

ความลึก สภาพแวดลอม ความเขมแสงและคาการนําไฟฟา การละลายของออกซิเจนในน้ํา<br />

(Boyd,<br />

1990) โดยถาปริมาณความเขมแสงมากก็จะทําใหอุณหภูมิที่ผิวน้ําสูงขึ้น<br />

(เปยมศักดิ์,<br />

2525) สวนคา<br />

การนําไฟฟา (electrical conductivity) ถาอุณหภูมิสูงจะทําใหคาการนําไฟฟาสูงขึ้นเพราะเมื่ออุณหภูมิ<br />

ของน้ําสูงขึ้นจะทําใหการแตกตัวเปนอิออนของเกลือมากขึ้น<br />

(สุธี, 2543) โดยอุณหภูมิมีผลตอการ<br />

กินอาหารและการเจริญเติบโตของกุง<br />

ซึ่งอุณหภูมิที่เหมาะสมกับการเลี้ยงกุงขาวแวนนาไมอยู<br />

ระหวาง 26-33 องศาเซลเซียส (Wickins and Lee, 2002) แตกุงสามารถเจริญเติบโตไดดีที่สุดที่อุณหภูมิ<br />

ระหวาง 25-30 องศาเซลเซียส สวนที่อุณหภูมิ<br />

35 องศาเซลเซียสหรือสูงกวานี้กุงจะตาย<br />

(Boyd and<br />

Fast, 1992)<br />

การเปลี่ยนแปลงของคาพีเอชในบอเลี้ยงกุงจะถูกควบคุมโดยปริมาณคารบอนไดออกไซด<br />

และปริมาณอิออนที่มีอยูในน้ํา<br />

ซึ่งในชวงกลางวันแพลงกตอนพืชจะใชคารบอนไดออกไซดจาก<br />

ไบคารบอเนตเพื่อการสังเคราะหแสงทําใหคาพีเอชสูงขึ้น<br />

ถาแพลงกตอนพืชมีปริมาณมากจะทําให<br />

คาพีเอชสูงในตอนบาย สวนในเวลากลางคืนคารบอนไดออกไซดจะเพิ่มมากขึ้นจากกระบวนการ<br />

หายใจโดยแพลงกตอนพืชและสิ่งมีชีวิตที่อยูในบอรวมทั้งกระบวนการยอยสลายสารอินทรีย<br />

จึงทํา<br />

ใหพีเอชต่ําในตอนเชามืด<br />

(ชลอ, 2543) ปริมาณแพลงกตอนในน้ําก็มีผลตอการเปลี่ยนแปลงพีเอช<br />

ดวย คือ ถามีปริมาณแพลงกตอนมากจะทําใหเกิดความแตกตางของคาพีเอชต่ําสุดและสูงสุดในรอบ<br />

วันมาก ซึ่งจะมีผลกระทบตอปริมาณของสารพิษในบอเลี้ยงกุง<br />

เชน แอมโมเนียและไฮโดรเจน<br />

ซัลไฟด สําหรับระดับพีเอชมีผลตอการเลี้ยงสัตวน้ํารวมทั้งกุง<br />

ถาพีเอชนอยกวา 4 กุงจะตาย<br />

คา<br />

พีเอชระหวาง 4-6 มีการเจริญเติบโตชา คาพีเอชระหวาง 6-9 เปนระดับที่มีการเจริญเติบโตดีที่สุด<br />

คา<br />

พีเอชระหวาง 9-11 การเจริญเติบโตชาและพีเอชมากกวา 11 กุงจะตาย<br />

(Boyd, 1987) คาพีเอชยังมี<br />

บทบาทสําคัญในการควบคุมสารพิษชนิดอื่น<br />

ๆ ที่เปนอันตรายใหมีการแตกตัวเพิ่มขึ้นหรือลดลงได<br />

คือ ถาคาพีเอชมีระดับสูงขึ้นจะทําใหความเปนพิษของแอมโมเนียเพิ่มมากขึ้น<br />

แตถาคาพีเอชมีระดับ<br />

ลดลงจะทําใหเปอรเซ็นตของไฮโดรเจนซัลไฟดเพิ่มมากขึ้น<br />

(Tucker and Boyd, 1985)<br />

ออกซิเจนเปนปจจัยสําคัญมากที่สุดสําหรับสิ่งมีชีวิต<br />

เนื่องจากสิ่งมีชีวิตทุกชนิดจําเปนตอง<br />

ใชออกซิเจนในกระบวนการตาง ๆ ภายในรางกายเพื่อการเจริญเติบโต<br />

ความสามารถในการละลาย<br />

น้ําของกาซออกซิเจนมีจํากัดและขึ้นกับความดันของบรรยากาศ<br />

อุณหภูมิของน้ํา<br />

ปริมาณเกลือแร<br />

6


ตาง ๆ ที่มีอยูในน้ํา<br />

(Boyd, 1982) โดยในบอเลี้ยงกุงการละลายของออกซิเจนในน้ําสวนใหญเกิดขึ้น<br />

จากการใชเครื่องใหอากาศ<br />

เนื่องจากในเวลากลางคืนปริมาณออกซิเจนจะลดลงจนถึงเวลาเชามืด<br />

จึง<br />

มีความจําเปนในการเปดเครื่องใหอากาศเพื่อชวยในการเพิ่มออกซิเจนใหอยูในระดับที่เหมาะสม<br />

และชวยทําใหอัตราการรอดตายเพิ่มมากขึ้นดวย<br />

(Madenjian, 1990) แตแหลงที่ใหออกซิเจนในบอ<br />

เลี้ยงกุงมากที่สุด<br />

คือ กระบวนการสังเคราะหแสงของแพลงกตอนพืชในตอนกลางวัน (Boyd, 1987)<br />

ซึ่งชลอ<br />

และ พรเลิศ (2547) กลาววา ปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ํามีผลตอการกินอาหาร<br />

การ<br />

เจริญเติบโตและสุขภาพกุง<br />

ถาปริมาณออกซิเจนต่ําเกินไปอาจทําใหกุงตายได<br />

Brock and Main<br />

(1994) กลาววา ปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ําควรมากกวา<br />

3 มิลลิกรัมตอลิตร ปริมาณออกซิเจน<br />

ในบอเลี้ยงจะมีการเปลี่ยนแปลงคลายกับคาพีเอช<br />

คือ มีคาต่ําสุดตอนเชามืด<br />

เนื่องจากจะถูกใชไปใน<br />

การยอยสลายสารอินทรียและการหายใจของสิ่งมีชีวิตในบอ<br />

ในตอนกลางวันเมื่อมีแสงแดด<br />

แพลงก<br />

ตอนพืชเริ่มมีการสังเคราะหแสง<br />

ปริมาณออกซิเจนจะเพิ่มขึ้นและมีปริมาณสูงสุดในตอนบาย<br />

โดย<br />

ความเขมขนของออกซิเจนที่ละลายในน้ําที่ต่ํากวา<br />

3.7 มิลลิกรัมตอลิตร เปนระดับที่วิกฤตสําหรับ<br />

การดํารงชีวิตของกุงปกติ<br />

โดยปกติออกซิเจนในบอควรอยูในระดับ<br />

5-8 มิลลิกรัมตอลิตร (Chen,<br />

1985)<br />

ความเค็มมีผลตอการดํารงชีวิตของสัตวน้ํา<br />

โดยเฉพาะอยางยิ่งมีผลกับการควบคุมปริมาณ<br />

น้ําในรางกาย<br />

(ไมตรี และ จารุวรรณ, 2528) แตโดยทั่วไปแลวสัตวน้ํามีความสามารถในการปรับตัว<br />

ใหเขากับสภาพแวดลอมที่เปลี่ยนแปลงไปได<br />

Ponce-Palafox et al. (1997) ไดอธิบายไววา สําหรับ<br />

กุงขาวแวนนาไมที่เลี้ยงในความเค็มสูงกวา<br />

20 พีพีที กุงในระยะ<br />

juvenile จะมีอัตรารอดที่ดี<br />

นอกจากนี้<br />

ความเค็มและอุณหภูมิยังมีผลกับอัตราการรอดตายของสัตวในกลุมครัสเตเซียดวย<br />

(Lester and<br />

Pante, 1991) กุงขาวแวนนาไมในระยะโพสลารวาจะเจริญเติบโตไดดีที่ความเค็มประมาณ<br />

20 พีพีที<br />

และเมื่อความเค็มลดลงเหลือ<br />

5 พีพีที หรือสูงถึง 45 พีพีที การเจริญเติบโตจะลดลง โดยทั่วไปกุงขาว<br />

แวนนาไมสามารถอยูไดในชวงความเค็ม<br />

5-35 พีพีที<br />

คาการนําไฟฟาเปนคาความสามารถในการนําไฟฟาของของเหลว ประสิทธิภาพของการนํา<br />

ไฟฟาของน้ําขึ้นกับปริมาณอิออน<br />

mobility valence และ relative concentration ของน้ําหรือ<br />

ของเหลวนั้น<br />

Reid (1961) รายงานวาความเค็มสามารถวัดไดโดยคาการนําไฟฟาในดินและวัดจาก<br />

ความหนาแนนโดยใช hydrometer ถาคาการนําไฟฟาของสารละลายเพิ่มขึ้น<br />

แสดงวาปริมาณ<br />

อนินทรียสารที่ละลายน้ําสูงขึ้นและถาคานําไฟฟาของสารละลายลดลง<br />

แสดงวาปริมาณอนินทรีย<br />

สารที่ละลายน้ําต่ําลง<br />

(APHA et al., 1989) คาการนําไฟฟาของน้ําธรรมชาติทั่วไปมีคาอยูระหวาง<br />

7


100-1,500 มิลลิซิเมนสตอเซนติเมตร (Todd, 1959) ไมตรี และ จารุวรรณ (2528) ไดกลาววา ปจจัยที่<br />

มีผลตอคาการนําไฟฟา คือ อุณหภูมิ โดยถาอุณหภูมิน้ําเปลี่ยนแปลง<br />

1 องศาเซลเซียส จะทําใหคา<br />

การนําไฟฟาเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมประมาณ<br />

2 เปอรเซ็นต เนื่องจากอุณหภูมิมีผลตอการแตกตัว<br />

เปนอิออนของสารตาง ๆ นอกจากนี้<br />

สมเจตน และคณะ (2529) รายงานวาคาการนําไฟฟาที่นอยกวา<br />

1 มิลลิซิเมนสตอเซนติเมตร จะไมมีความเค็ม สวนคาการนําไฟฟาที่อยูในชวง<br />

2-4 มิลลิซิเมนส<br />

ตอเซนติเมตร มีความเค็มต่ํา<br />

คาการนําไฟฟาอยูในชวง<br />

5-8 มิลลิซิเมนสตอเซนติเมตรมีความเค็ม<br />

ปานกลางและคาการนําไฟฟามากกวา 9 มิลลิซิเมนสตอเซนติเมตร มีความเค็มสูง จากการที่การนํา<br />

ไฟฟามีความสัมพันธกับปริมาณธาตุชนิดตาง ๆ ซึ่งเปนองคประกอบหลักในน้ําทะเล<br />

ทําใหสามารถ<br />

นําคาการนําไฟฟานี้มาใชในการศึกษาหาขอบเขตการแพรกระจายความเค็มจากบอเลี้ยงกุงสูบริเวณ<br />

ขางเคียงได ดังนั้นจึงสามารถใชประโยชนจากคาการนําไฟฟามาเปนพารามิเตอรตรวจสอบการ<br />

ปนเปอนของน้ําจากบอกุงสูแหลงน้ําใตดินที่อยูบริเวณใกลเคียงได<br />

(ประวิทย และ พิภพ, 2539)<br />

ความเปนดาง (alkalinity) หมายถึง ความสามารถหรือคุณสมบัติของน้ําที่ทําใหกรดเปน<br />

2- -<br />

กลาง ความเปนดางของน้ําประกอบดวยคารบอเนต (CO3 ) ไบคารบอเนต (HCO3 ) และ<br />

ไฮดรอกไซด (OH - ) เปนสวนใหญ คาความเปนดางมีผลเกี่ยวเนื่องกับคุณสมบัติดานอื่น<br />

ๆ เชน ความ<br />

เปนกรด (acidity) และความกระดาง (hardness) เปนตน (Brawn et al., 1983) คุณสมบัติที่สําคัญ<br />

ของความเปนดางตอแหลงน้ํา<br />

คือ เปนตัวชวยควบคุมไมใหแหลงน้ํามีการเปลี่ยนแปลงของพีเอ<br />

ชรวดเร็วเกินไป เนื่องจากความเปนดางเปนตัวชวยควบคุมพีเอชในแหลงน้ําไมใหมีการ<br />

เปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว<br />

น้ําที่มีพีเอชต่ํากวา<br />

4.5 จะไมพบคาความเปนดางอยูเลย<br />

(Molye, 1945;<br />

Mairs, 1966) ซึ่งถาคาพีเอชมากกวา<br />

9 หรือนอยกวา 5 จะมีผลทําใหคาการนําไฟฟาสูงขึ้นเพราะน้ําที่<br />

เปนกรดหรือดางแกจะมีปริมาณ H + และ OH - มากซึ่งมีผลตอคาการเคลื่อนที่ของอิออนสูง<br />

สวน<br />

ความรุนแรงของความเปนพิษของโลหะลดลงเมื่อความเปนดางเพิ่มขึ้น<br />

เนื่องจากโดยทั่วไปพีเอช<br />

เพิ่มขึ้นตามความเปนดาง<br />

(Boyd and Tucker, 1998) สําหรับความเปนดางที่เหมาะสมในการเลี้ยง<br />

สัตวน้ําควรอยูในชวง<br />

100-120 มิลลิกรัมตอลิตร (Boyd, 1982)<br />

สวนใหญความกระดางของน้ํามักเกิดจากตะกอนของแคลเซียมอิออน<br />

(Ca 2+ ) และ<br />

แมกนีเซียมอิออน (Mg 2+ ) ซึ่งจะวัดออกมาเปนปริมาณแคลเซียมคารบอเนต<br />

(CaCO3) ปริมาณความ<br />

กระดางรวม หมายถึง ผลรวมของความกระดางอันเนื่องมาจากผลรวมความเขมขนของแคลเซียม<br />

และแมกนีเซียม (ศิริเพ็ญ, 2543) ในแหลงน้ําตามธรรมชาติโดยทั่วไปจะมีคาความกระดางนอยกวา<br />

1,000 มิลลิกรัมตอลิตร ความกระดางมีความสัมพันธกับคาความเปนดางและพีเอช นอกจากนี้ความ<br />

8


กระดางของน้ํายังชวยลดความเปนพิษไดเชนกัน<br />

โดยเฉพาะพวกโลหะหนัก ดังนั้นน้ํากระดาง<br />

ปานกลางหรือสูงจึงมีความเหมาะสมตอการดํารงชีวิตของสัตวน้ํา<br />

ในการแบงความกระดางของน้ํา<br />

จะใชปริมาณ CaCO3 ที่มีอยูเปนเกณฑ<br />

สามารถแบงไดดังนี้<br />

(Sawyer and McCarty, 1967)<br />

น้ําออน<br />

0 - 75 มิลลิกรัมตอลิตร ของ CaCO3 น้ําคอนขางกระดาง<br />

75 - 150 มิลลิกรัมตอลิตร ของ CaCO3 น้ํากระดาง<br />

150 - 300 มิลลิกรัมตอลิตร ของ CaCO3 น้ํากระดางมาก<br />

> 300 มิลลิกรัมตอลิตร ของ CaCO3 แอมโมเนียเปนสารประกอบไนโตรเจนที่เปนพิษตอกุงและสัตวน้ําอื่น<br />

ๆ ยกเวน แพลงกตอน<br />

พืชและแบคทีเรียที่ใชแอมโมเนียเปนอาหาร<br />

โดยแพลงกตอนพืชจะใชไนโตรเจนในรูปของแอมโมเนีย<br />

และไนเตรท (Patrick, 1977) แอมโมเนียที่พบอยูในน้ํามี<br />

2 รูปแบบ ไดแก แอมโมเนีย ที่แตกตัว<br />

+<br />

เปนอิออน (ionize ammonia; NH4 ) ซึ่งไมเปนพิษตอสัตวน้ําและแอมโมเนียที่ไมแตกตัวเปนอิออน<br />

(un-ionize ammonia; NH3) ซึ่งเปนพิษตอสัตวน้ํา<br />

โดยที่องคการอนามัยโลกไดกําหนดมาตรฐาน<br />

ของแหลงน้ําใหมีปริมาณแอมโมเนียไมเกิน<br />

0.5 มิลลิกรัมตอลิตร ทั้งสองรูปนี้จะเปลี่ยนกลับไป<br />

กลับมาขึ้นอยูกับคาพีเอชและอุณหภูมิ<br />

แตจะพบวาคาพีเอชจะสงผลตอการแตกตัวเปนแอมโมเนียที่<br />

ไม แตกตัวเปนอิออนมากกวาอุณหภูมิ (Boyd, 1989) คือ เมื่อพีเอชสูงอัตราสวนของ<br />

แอมโมเนียที่ไมแตกตัวเปนอิออนจะสูงขึ้น<br />

ทําใหความเปนพิษตอสัตวน้ําเพิ่มขึ้น<br />

การที่แอมโมเนีย<br />

ในน้ําสูงขึ้นจะทําใหกุงขับถายแอมโมเนียไดนอยลง<br />

กอใหเกิดการสะสมแอมโมเนียในเลือดและ<br />

เนื้อเยื่อ<br />

ทําใหคา พีเอชของเลือดเพิ่มขึ้นและมีผลตอการทํางานของเอนไซม<br />

แอมโมเนียจะ<br />

ทําใหการใชออกซิเจนของเนื้อเยื่อสูงขึ้น<br />

โดยจะเขาทําลายเหงือกและความสามารถในการขนสง<br />

ออกซิเจน กุงจะออนแอและติดเชื้อโรคไดงาย<br />

แตถาน้ํามีพีเอชลดลง<br />

แอมโมเนียมอิออนจะมี<br />

อัตราสวนที่เพิ่มมากขึ้น<br />

สงผลใหความเปนพิษตอสัตวน้ําลดลง<br />

สวนอุณหภูมิเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น<br />

ความเปนพิษของแอมโมเนียจะสูงตามไปดวย (Boyd, 1982) และเมื่อคาพีเอชลดลง<br />

ความเปนพิษ<br />

ของแอมโมเนียก็จะลดลง ระดับแอมโมเนียที่ทําใหกุงโตชาอยูระหวาง<br />

0.1-0.4 มิลลิกรัมตอลิตร แต<br />

ถาอยูในชวง<br />

0.4-2.0 มิลลิกรัมตอลิตร จะทําใหสัตวน้ําตาย<br />

โดยทั่วไประดับแอมโมเนียที่ปลอดภัย<br />

สําหรับการเลี้ยงกุงควรมีคานอยกวา<br />

0.1 มิลลิกรัมตอลิตร (ชลอ และ พรเลิศ, 2547)<br />

ไนไตรทเปนสารประกอบไนโตรเจนรูปแบบหนึ่งเกิดจากการที่สารอินทรียจมตัวลงและ<br />

ทับถมที่พื้นบอถูกยอยสลาย<br />

โดยแบคทีเรียที่อาศัยอยูในระหวางอนุภาคตะกอนใหเปนธาตุอาหาร<br />

9


พืชตาง ๆ โดยกระบวนการยอยสลายจําเปนตองอาศัยปริมาณออกซิเจนที่เพียงพอ<br />

สําหรับกระบวน<br />

การยอยสลายกอใหเกิดการเพิ่มขึ้นของกาซคารบอนไดออกไซดและทําใหคาพีเอชลดลง<br />

การยอย<br />

สลายโปรตีนทําใหเกิดแอมโมเนียซึ่งเปนอันตรายตอสัตวและถาบริเวณดังกลาวมีออกซิเจนเพียงพอ<br />

และมีแบคทีเรียในกลุม<br />

nitrifying bacteria ก็อาจเกิดปฏิกิริยาตอไปไดไนไตรทและไนเตรท<br />

(จารุมาศ, 2545) กระบวนการไนตริฟเคชัน (nitrification) ซึ่งเปนกระบวนการแปรสภาพแอมโมเนีย<br />

ใหเปนไนไตรทและไนเตรทตามลําดับ โดยการทํางานของจุลินทรีย (วิทยา, 2526; เพิ่มพูน,<br />

2528;<br />

Alexander, 1961) ซึ่งกระบวนการนี้จะเกี่ยวของกับกระบวนการ<br />

amminization ซึ่งเปนกระบวนการ<br />

ที่สารประกอบโปรตีนจะสลายตัว<br />

คือ ถูกจุลินทรียยอยสลายเปนสารประกอบไนโตรเจนพวก amino<br />

compound ตาง ๆ และในที่สุดจะเปนอามีน<br />

(amine) และกรดอะมิโน (amino acid) อีกกระบวนการ<br />

หนึ่งที่เกี่ยวของกันคือ<br />

กระบวนการ ammonification ซึ่งเกิดตอเนื่องจาก<br />

amminization<br />

สารประกอบพวกอามีนหรือกรดอะมิโนจะเปลี่ยนเปนเปนแอมโมเนีย<br />

แอลกอฮอลและพลังงาน<br />

(วิทยา, 2526) การแปรสภาพแอมโมเนียจะเกิดขึ้นโดย<br />

enzymatic oxidation ซึ่งเปนกิจกรรมของ<br />

nitrifying bacteria ซึ่งเปนพวกที่ตองการออกซิเจน<br />

กระบวนการแปรสภาพจะมีอยู<br />

2 ขั้นตอน<br />

คือ<br />

+<br />

ขั้นตอนที่<br />

1 NH3 หรือ NH4 จะถูกออกซิไดซเปนไนไตรท<br />

Enzymatic<br />

+ -<br />

2NH4 + 3O2 2NO2 + 2H2O + 4H + พลังงาน<br />

oxidation<br />

แบคทีเรียที่เกี่ยวของกับกระบวนการนี้ไดแก<br />

Nitrosomonas, Nitrosococcus<br />

ขั้นตอนที่<br />

2 ไนไตรทจะถูกออกซิไดซเปนไนเตรท<br />

Enzymatic<br />

NO 2 - + O2 2NO 3 - + พลังงาน<br />

oxidation<br />

แบคทีเรียที่เกี่ยวของ<br />

ไดแก Nitrobacter<br />

ไนเตรทในแหลงน้ํามีความสําคัญตอการเจริญเติบโตของแพลงกตอนพืช<br />

ปริมาณไนเตรท<br />

จึงสามารถบงชี้ถึงกําลังผลิต<br />

(productivity) ของแหลงน้ําได<br />

แหลงที่มาของไนเตรทไดมาจาก<br />

กระบวนการไนตริฟเคชัน โดยแบคทีเรีย Nitrobacter sp. นอกจากไนเตรทจะเปนธาตุอาหารที่<br />

สําคัญในการควบคุมกระบวนการสังเคราะหแสงของพืชแลว ไนเตรทยังมีบทบาทสําคัญใน<br />

10


กระบวนการยอยสลายสารอินทรียอีกดวย เนื่องจากไนเตรทเปนตัวรับอิเลคตรอนในลําดับถัดลงมา<br />

จากออกซิเจนและมีความสําคัญมากในระดับดินที่การแทรกซึมของออกซิเจนจากน้ําที่อยูเหนือ<br />

ระดับพื้นบอนั้นถูกจํากัด<br />

เมื่อปริมาณออกซิเจนลดลงจนเกือบหมด<br />

แบคทีเรียในกลุม<br />

Pseudomonas,<br />

Moraxella, Spirillum, Thiobacillus และ Bacillus จะทําการยอยสลายสารอินทรียดวยกระบวนการ<br />

ดีไนตริฟเคชัน (denitrification) โดยกระบวนการนี้จะเกิดเฉพาะในชั้นบาง<br />

ๆ ใตผิวดิน ซึ่งอยูติดกับ<br />

ชั้นที่มีออกซิเจนดานบน<br />

(จารุมาศ, 2548) ดังสมการ<br />

-<br />

4NO3 + 5CH2O (organic matter) + 4H + 2N2 + 5CO2 + 7H2O สารอินทรียจะถูกยอยสลายโดยแบคทีเรียที่ใชออกซิเจนจากไนเตรทเปลี่ยนสารอินทรียไป<br />

เปนคารบอนไดออกไซด น้ําและกาซไนโตรเจน<br />

ซึ่งกาซไนโตรเจนที่ถูกสรางขึ้นจะถูกปลอยสู<br />

-<br />

บรรยากาศ สวนคารบอนไดออกไซดจะทําปฏิกิริยากับน้ําเกิดเปนไบคารบอเนต<br />

(HCO3 ) ปฏิกิริยานี้<br />

จะทําใหความเปนกรดของดินลดลง (Boyd, 1995)<br />

ในสภาวะที่ไมมีออกซิเจนแบคทีเรียบางชนิดสามารถใชซัลเฟตและสารประกอบซัลเฟอร<br />

ออกไซดอื่น<br />

ๆ เปนตัวรับอิเลคตรอนในกระบวนการเมตาบอลิซึมจะไดพวกซัลไฟดออกมา ซึ่งซัลไฟด<br />

เปนอิออนที่แตกตัวอยูในสภาวะที่สมดุลกับไฮโดรเจนซัลไฟดซึ่งมีคาพีเอชเปนตัวกําหนดวาซัลไฟด<br />

จะอยูในรูปไฮโดรเจนซัลไฟด<br />

(H2S) ไฮโดรซัลไฟดอิออน (HS - ) หรือไบซัลไฟดอิออน (S 2- ) ซัลไฟด<br />

ที่เปนพิษตอสัตวน้ําจะอยูในรูปของไฮโดรเจนซัลไฟดหรือกาซไขเนา<br />

โดยมีระดับความเขมขนอยู<br />

ในชวง 0.01-0.05 มิลลิกรัมตอลิตร สมพร (2535) รายงานวาไฮโดรเจนซัลไฟดที่ความเขมขน<br />

1.3<br />

มิลลิกรัมตอลิตร จะมีผลทําใหกุงเกิดอาการช็อกเปนอัมพาตและจะตายในที่สุด<br />

3. ความสัมพันธระหวางดินและน้ําในการเลี้ยงกุง<br />

ดินพื้นบอมีความสําคัญในการเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา<br />

คือ ทําหนาที่ในการเก็บกักน้ําเปนที่อยู<br />

อาศัยของสัตวและพืชน้ํา<br />

เปนที่เก็บสะสมของสาร<br />

และเปนศูนยกลางการหมุนเวียนของธาตุอาหาร<br />

ตาง ๆ ภายในบอ (Boyd, 1990; Matida, 1966) อีกทั้งยังเปนบัฟเฟอร<br />

(buffer) และเปนตัวกรองทาง<br />

ชีวภาพโดยดูดยึดสารอินทรียตกคางจากอาหาร สิ่งขับถายและสารเมตาบอไลทตาง<br />

ๆ (Ray and<br />

Chien, 1992) คุณภาพของดินพื้นบอจะสงผลกระทบตอคุณภาพน้ําในบอและตอตัวกุงโดยตรง<br />

11


เนื่องจากกุงใชเวลาสวนใหญอยูบริเวณพื้นกนบอ<br />

(ยนต และ พรพันธ, 2534; Boyd, 1990; Hajek<br />

and Boyd, 1994)<br />

สําหรับกระบวนการทางฟสิกส เคมีและชีวภาพของดินพื้นบอจะเกี่ยวของกับคุณภาพน้ํา<br />

สภาพดินที่ไมดีจะเปนขอจํากัดที่รุนแรงตอการเลี้ยงกุงแบบกึ่งพัฒนาและพัฒนา<br />

(Boyd, 1992; Ray<br />

and Chien, 1992) ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นระหวางดินและน้ําจะสงผลตอคุณภาพน้ํา<br />

การเจริญเติบโตและ<br />

อัตราการรอดตายของสัตวน้ํา<br />

(Hajek and Boyd, 1994) การแลกเปลี่ยนที่เกิดขึ้นระหวางดินและน้ํา<br />

จะเกี่ยวของกับอินทรียวัตถุและออกซิเจน<br />

โดยจะเปนพลังงาน แรธาตุและอาหารสําหรับสิ่งมีชีวิต<br />

ในดินขนาดเล็กและสัตวหนาดิน (Guy, 1992) โดยสามารถแบงดินพื้นบอออกเปนชั้นตามระดับ<br />

ความลึกและปริมาณออกซิเจนที่ใชในการยอยสลายสารอินทรีย<br />

(Barnes and Hughs, 1982; Brown<br />

and McLachlan, 1990; Munsiri et al., 1995) ได 4 ชั้น<br />

คือ<br />

3.1 flocculent layer เปนชั้นบนสุดของดินพื้นบอ<br />

ประกอบดวยพวกซากแพลงกตอนที่ตาย<br />

อาหารเหลือสิ่งขับถาย<br />

จุลินทรีย และอนุภาคขนาดเล็ก การเคลื่อนที่ของน้ําผานบริเวณนี้จะชา<br />

เนื่องจากมีความหนืดสูงกวาน้ําที่หมุนเวียนอยูขางบน<br />

(freely-circulating water) สารตาง ๆ เคลื่อนที่<br />

โดยการพา (convection) และการแพรโดยเฉพาะอยางยิ่งการแพรจะมีบทบาทหลักตอการ<br />

ปลดปลอยสารหรืออิออนตาง ๆ จากน้ําในดิน<br />

(interstitial water) สูน้ําในบอ<br />

สวนการเคลื่อนที่ของ<br />

สารลงสูดินชั้นลางตามชองวางระหวางอนุภาคดินเกิดการแพรและการดูดซึมลงสูดานลาง<br />

(downward seepage) (Boyd, 1995)<br />

3.2 oxidized layer หรือ aerobic zone คือ ดินชั้นบนที่มีออกซิเจน<br />

ไนโตรเจนและซัลเฟอร<br />

ซึ่งอยูในสภาพออกซิไดซ<br />

(oxidized states) ไดแก ไนเตรทและซัลเฟตโดยมีคาศักยไฟฟารีดอกซ<br />

ระหวาง 200-400 มิลลิโวลต ดินชั้นนี้จะเกิดกระบวนการไนตริฟเคชันโดยกลุมแบคทีเรียพวก<br />

คีโมลิโทโทรฟ (chemolithotroph) กระบวนการนี้จะเริ่มจากแอมโมเนียมอิออนจะถูกออกซิไดซเปน<br />

ไนไตรทโดยแบคทีเรีย Nitrosomonas และขั้นที่สองไนไตรทถูกออกซิไดซเปนไนเตรทโดย<br />

แบคทีเรีย Nitrobacter ทั้งสองกระบวนการเปนการหายใจแบบใชออกซิเจน<br />

เรียกแบคทีเรียกลุมนี้วา<br />

ไนตริไฟอิ้งแบคทีเรีย<br />

ดินในชั้นนี้ยังมีกระบวนการตรึงกาซไนโตรเจนโดยเปลี่ยนกาซไนโตรเจน<br />

กลับมาเปนไนเตรท (ดวงพร, 2545; ชลอ และ พรเลิศ, 2547) และกระบวนการดีซัลเฟอริเซชัน<br />

(desulferization) คือ กระบวนการกําจัดซัลเฟอรออกจากสารอินทรียทําใหเกิดซัลเฟตโดยแบคทีเรีย<br />

บางชนิดในชั้นที่มีออกซิเจน<br />

12


3.3 redox potential discontinuity layer (RPD) คือ ดินชั้นกลางซึ่งอยูระหวางชั้นที่มี<br />

ออกซิเจนและไมมีออกซิเจนจะมีการเปลี่ยนจากสภาวะออกซิไดซเปนสภาวะรีดิวซ<br />

ออกซิเจนใน<br />

ดินชั้นนี้จะลดลงจนเกือบหมด<br />

คาศักยไฟฟารีดอกซจะมีคาใกลเคียง 0 มิลลิโวลต (Brown and<br />

McLachlan, 1990) เริ่มมีการเกิดกระบวนการดีไนตริฟเคชัน<br />

โดยไนเตรทจะทําหนาที่เปนตัวรับ<br />

อิเลคตรอนตัวสุดทาย เรียกวา การหายใจแบบไมใชออกซิเจน (anaerobic respiration ในที่นี้ก็คือ<br />

nitrate respiration) ไนเตรทถูกเปลี่ยนเปนกาซไนโตรเจน<br />

สําหรับการใชกลูโคสโดยผานการรีดิวซ<br />

ไนเตรทสรุปเปนสมการไดดังนี้<br />

-<br />

4NO3 + C6H12O6 2N2 + 6CO2 + 6H2O ดังนั้นกระบวนการดีไนตริฟเคชันที่เกิดโดยแบคทีเรียบางชนิด<br />

เชน Escherichia coli<br />

ซึ่งมีความสามารถรีดิวซไนเตรทเปนไนไตรท<br />

แตแบคทีเรียอื่น<br />

ๆ สามารถทําขั้นตอนตอจากนี้ไดอีก<br />

2 ขั้นตอนของการหายใจแบบไมใชออกซิเจน<br />

คือ การรีดิวซไนไตรทเปนกาซไนตรัสออกไซด<br />

(N2O) และรีดิวซตอเปนกาซไนโตรเจน เมื่อเกิดกาซไนตริกออกไซดหรือไนตรัสออกไซดหรือ<br />

ไนโตรเจนถือวาเกิดกระบวนการดีไนตริฟเคชัน ตัวอยางแบคทีเรียที่ทําใหเกิดกระบวนการนี้<br />

เชน<br />

Pseudomonas, Moraxella, Spirillum, Thiobacillus และ Bacillus การเกิดไนตรัสออกไซดเกิดไดดี<br />

เมื่อสิ่งแวดลอมมีไนเตรทปริมาณมากและมีคาพีเอชที่ต่ําแตการเกิดกาซไนโตรเจนจะเกิดไดดีกวา<br />

เมื่อมีสารอินทรียเพียงพอที่จะเปนแหลงพลังงานสรุปเปนสมการไดดังนี้<br />

-<br />

4NO3 + 5CH2O (organic matter) 2N2 + 5CO2 + 7H2O สารอินทรียจะถูกแบคทีเรียที่ใชออกซิเจนจากไนเตรทเปลี่ยนสารอินทรียไปเปน<br />

คารบอนไดออกไซด น้ําและกาซไนโตรเจน<br />

ซึ่งกาซไนโตรเจนที่ถูกสรางขึ้นจะถูกสงออกไปสู<br />

-<br />

บรรยากาศ คารบอนไดออกไซดจะทําปฏิกิริยากับน้ําเกิดเปนไบคารบอเนต<br />

(HCO3 ) ปฏิกิริยานี้จะ<br />

ทําใหดินมีความเปนกรดลดลง (Boyd, 1995)<br />

3.4 reduced layer คือ ดินชั้นลางสุดที่ไมมีออกซิเจนซึ่งเปนชั้นรีดิวซ<br />

ในดินชั้นนี้จะมีคา<br />

-<br />

ศักยไฟฟารีดอกซเปนลบ ภายหลังจากการใชไนเตรท (NO3 ) แมงกานีสออกไซด (MnO2) และเหล็ก<br />

2-<br />

ออกไซด (Fe2O3) จนหมดแลว แบคทีเรียพื้นบอบางชนิดจะใชซัลเฟต<br />

(SO4 ) เปนตัวรับอิเลคตรอน<br />

ซึ่งการใชซัลเฟตในการหายใจเปนการรีดิวซซัลเฟตแบบสลาย<br />

(dissimilatory sulfate reduction)<br />

13


และแบคทีเรียกลุมนี้เจริญในสภาวะไมมีออกซิเจนเทานั้น<br />

เรียกแบคทีเรียกลุมนี้วา<br />

sulfate reducing<br />

bacteria ไดแก Desulfovibrio, Desulfomonas (ดวงพร, 2545) ผลจากการรีดิวซทําใหเกิดไฮโดรเจน<br />

ซัลไฟดสรุปเปนสมการไดดังนี้<br />

2-<br />

SO4 + 2CH2O (organic matter) S 2- + 2CO2 + 2H2O S 2- + 2H + H2S ซัลไฟดซึ่งจะอยูในสามรูปแบบ<br />

คือ ไฮโดรเจนซัลไฟด (H2S) ไฮโดรซัลไฟดอิออน<br />

(HS - ) และไบซัลไฟดอิออน (S 2- ) ในน้ําที่มีพีเอชต่ําจะมีเปอรเซ็นตของไฮโดรเจนซัลไฟดสูง<br />

แตถา<br />

น้ํามีคาพีเอชสูงขึ้นเปอรเซ็นตของไฮโดรเจนซัลไฟดจะลดลง<br />

แตไฮโดรซัลไฟดอิออนและไบซัลไฟด<br />

อิออนมากขึ้นความเปนพิษตอสัตวน้ําลดลงดวย<br />

(ชลอ และ พรเลิศ, 2547) พวกโลหะหนักที่มีความ<br />

วองไวมากจะรวมตัวกับกาซไฮโดรเจนซัลไฟด แลวอยูในรูปตกตะกอนเปนโลหะซัลไฟดซึ่งมีสีดํา<br />

(ดวงพร, 2545)<br />

สําหรับรูปแบบการเคลื่อนยายของสารตาง<br />

ๆ ภายในบอในทางเคมีมี 2 ลักษณะ คือ<br />

ผิวดินพื้นบอที่มีออกซิเจน<br />

(oxidized layer) และผิวดินพื้นบอที่ไมมีออกซิเจน<br />

(reduced layer)<br />

แตน้ําที่อยูขางบนยังมีอากาศ<br />

ชั้นที่มีออกซิเจนจะควบคุมไมใหสารรีดิวซ<br />

เชน พวกไนไตรท เฟอรรัส<br />

ไฮโดรเจนซัลไฟด กาซมีเทนและสารรีดิวซตัวอื่น<br />

ๆ แพรขึ้นไปสูน้ําขางบน<br />

ถาน้ําในบอมีออกซิเจน<br />

สารรีดิวซเหลานี้จะตกตะกอนลงมาอีกครั้ง<br />

อยางไรก็ตามการตกคางนาน ๆ จะเปนอันตรายตอกุง<br />

โดยตรง (สุวณิช, 2540; Boyd, 1992; Masuda and Boyd, 1994)<br />

14


ภาพที่<br />

1 ชั้นของหนาตัดดินพื้นบอ<br />

ที่มา:<br />

Munsiri et al. (1995)<br />

ภาพที่<br />

2 การเคลื่อนที่ของน้ําและมวลสารตาง<br />

ๆ ภายในบอเลี้ยงสัตวน้ํา<br />

ที่มา:<br />

Boyd (1990)<br />

15


ภาพที่<br />

3 การเคลื่อนที่ของสารบริเวณระหวางชั้นดินและน้ําในบอที่ผิวพื้นบอมีออกซิเจน<br />

ที่มา:<br />

Boyd (1995)<br />

ภาพที่<br />

4 การเคลื่อนที่ของสารบริเวณระหวางชั้นดินและน้ําในบอที่ผิวพื้นบอขาดออกซิเจน<br />

ที่มา:<br />

Boyd (1995)<br />

16


4. การวัดคาความเนาเสียของพื้นบอโดยใชคาศักยไฟฟารีดอกซในดิน<br />

(redox potential)<br />

คาศักยไฟฟารีดอกซเปนการวัดเชิงปริมาณของแนวโนมในระบบที่จะออกซิไดซหรือ<br />

รีดิวซสารประกอบ คาศักยไฟฟารีดอกซจะเปนบวกและมีคาสูงในระบบออกซิเดชันในดินที่มี<br />

ออกซิเจนอยูเพียงพอ<br />

คาศักยไฟฟารีดอกซอยูในชวง<br />

0 ถึง +600 มิลลิโวลต และมีคาเปนลบหรือต่ํา<br />

ในระบบรีดักชันรุนแรง คือ ดินที่เนาเสียหรือไมมีออกซิเจนอยูเลย<br />

(ทัศนีย, 2534; Guy, 1992; Boyd,<br />

1995) โดยมีคาศักยไฟฟารีดอกซอยูในชวงติดลบอาจต่ําลงถึง<br />

-200 มิลลิโวลตหรือนอยกวานี้<br />

ดังนี้<br />

คาศักยไฟฟารีดอกซโดยประมาณที่สารประกอบตาง<br />

ๆ ในดินจะถูกรีดิวเปนไปตามสมการ<br />

5. กาซไฮโดรเจนซัลไฟด<br />

O 2 H 2O +380 ถึง +320 มิลลิโวลต<br />

-<br />

NO3 N2, Mn 4+ Mn 2+ +280 ถึง +220 มิลลิโวลต<br />

Fe 3+ Fe 2+ +180 ถึง +150 มิลลิโวลต<br />

2- 2-<br />

SO4 S -120 ถึง -180 มิลลิโวลต<br />

CO 2 CH 4 -200 ถึง -280 มิลลิโวลต<br />

5.1 คุณสมบัติของไฮโดรเจนซัลไฟด<br />

ไฮโดรเจนซัลไฟดเปนกาซพิษ ไมมีสี มีกลิ่นเหม็นคลายไขเนา<br />

จึงมีชื่อเรียกโดยทั่วไป<br />

วากาซไขเนา (Gregg, 1966) เปนกาซที่มีคุณสมบัติติดไฟได<br />

ในอากาศจะมีอยูเจือจาง 0.002 มิลลิกรัม<br />

ตอลิตร เมื่อเผาไหมในอากาศจะใหเปลวไฟสีน้ําเงินออน<br />

หนักกวาอากาศ 1.5392 กรัมตอลิตร (ที่<br />

0<br />

องศาเซลเซียส 760 มิลลิเมตรปรอท) มีความหนาแนนเมื่อเทียบกับอากาศ<br />

1.19 (อากาศ = 1.00) และ<br />

ความสามารถในการละลายน้ําของกาซไฮโดรเจนซัลไฟดจะขึ้นอยูกับอุณหภูมิ<br />

คือ ไฮโดรเจนซัลไฟด<br />

17


1 กรัม จะละลายอยูในน้ํา<br />

187 มิลลิลิตร ที่อุณหภูมิ<br />

10 องศาเซลเซียส (Windholz, 1976) ไฮโดรเจน<br />

ซัลไฟดเมื่อละลายน้ําจะไมเสถียรจะแตกตัวออกเปน<br />

2 รูปแบบ คือ รูปที่ไมแตกตัวเปนอิออน<br />

ไดแก<br />

H2S และรูปที่แตกตัวเปนอิออน<br />

ไดแก HS - และ S 2- โดยถูกควบคุมดวยคาพีเอชของน้ํา<br />

ซึ่งจะอยูใน<br />

สภาพที่สมดุลกัน<br />

ดังสมการ (Sawyer and McCarty, 1967)<br />

5.2 แหลงของไฮโดรเจนซัลไฟด<br />

H 2S HS - + H +<br />

HS - S 2- + H +<br />

แหลงที่มาของไฮโดรเจนซัลไฟดในแหลงน้ํา<br />

มักจะมาจากกระบวนการยอยสลายสาร<br />

โดยธรรมชาติ น้ําเสีย<br />

และของเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม ซึ่งโดยปกติในแหลงน้ําธรรมชาติมักจะ<br />

2-<br />

มีซัลเฟตอิออน (SO4 ) อยูมากและสามารถถูกรีดิวซไดภายใตสภาวะที่ไมมีออกซิเจน<br />

(anaerobic<br />

condition) โดยอาศัยแบคทีเรียสกุล Desulfovibrio ซึ่งมักจะใชไฮโดรเจนอิออน<br />

(H + ) จาก lactate<br />

และ pyruvate เปนแหลงพลังงาน เกิดเปนไฮโดรเจนซัลไฟด<br />

ไฮโดรเจนซัลไฟดเกิดจากการยอยสลายซากของสิ่งมีชีวิต<br />

ซึ่งมีซัลเฟอร<br />

(S) เปน<br />

องคประกอบของกรดอะมิโนบางชนิด เชน ซิสเตอีน (cysteine) เมทไธโอนีน (methionine) ซิสติน<br />

(cystine) รวมทั้งวิตามินและโคเอนไซม<br />

(co-enzyme) บางชนิด (Funchel and Blackbun, 1979) ใน<br />

การยอยสลายพวกซากอินทรียจะมีคา turn over ของซัลไฟดเพียง 4 เปอรเซ็นต (Jørgensen, 1977)<br />

โดยแบคทีเรียสกุล Escherichia และ Proteus ชวยยอยสลายภายใตสภาพที่ไมมีออกซิเจนจะได<br />

ซัลไฟด (S 2- ) และไฮโดรเจนซัลไฟด เปนตน (สมสุข, 2528)<br />

นอกจากนั้นมักพบไฮโดรเจนซัลไฟดในปริมาณที่คอนขางสูง<br />

ในบริเวณที่อยูใกลกับ<br />

แหลงที่มีสารประกอบซัลเฟอรเปนองคประกอบ<br />

เชน พวกไพไรท (pyrite) (FeS) ยิปซั่ม<br />

(gypsvum)<br />

(CaSO4.2H2O) และซัลไฟดของสารทองแดง (Cu) chalcopyrite bornite ซัลไฟดของสังกะสี เชน<br />

sphalerrite ซัลไฟดของตะกั่ว<br />

เชน Galena ซึ่งสารประกอบเหลานี้จะถูกยอยสลายโดยแบคทีเรีย<br />

ภายใตสภาพที่ไมมีออกซิเจนก็จะไดไฮโดรเจนซัลไฟดออกมา<br />

(Jorgensen, 1977; Nurnerg, 1984)<br />

จากการรายงานของ Serokin (1968) และ Dunnettle et al. (1985) กลาววามักพบไฮโดรเจนซัลไฟด<br />

18


ในแหลงน้ําที่อยูชั้นลางสุดและในตะกอนดินในปริมาณที่คอนขางสูง<br />

เนื่องจากบริเวณนี้มีพวกซาก<br />

สิ่งมีชีวิตและอนินทรียสารมากและไมคอยมีสารที่สามารถออกซิไดซได<br />

จึงมักตองอาศัยการทํางาน<br />

ของแบคทีเรียชวยยอยสลายเทานั้น<br />

ซึ่ง<br />

Novazhilova and Berezina (1966) พบวาจํานวนแบคทีเรียที่<br />

ใชในการรีดิวซซัลเฟอรนั้นจะมีอยูในน้ํานอยมาก<br />

เมื่อเปรียบเทียบกับในตะกอนดินโคลนและปริมาณ<br />

ของแบคทีเรียจะเปลี่ยนแปลงไปตามฤดูกาลดวยคือ<br />

ในฤดูรอนจะพบวามีปริมาณไฮโดรเจนซัลไฟด<br />

ในตะกอนโคลนมากกวาในฤดูใบไมผลิ ซึ่งอาจเกิดจากหลังกระบวนการที่เกิดขึ้นในฤดูหนาว<br />

ซึ่ง<br />

มักจะมีกระแสลมและพายุมาก ทําใหแหลงน้ําเกิดการหมุนเวียนไฮโดรเจนซัลไฟดจึงมีโอกาสฟุง<br />

กระจายในมวลน้ํา<br />

ทําใหสัตวน้ําตายเปนจํานวนมากและบางสวนของกาซไขเนานั้นจะระเหยออกสู<br />

บรรยากาศได<br />

5.3 ลักษณะการแพรกระจายของปริมาณซัลไฟดในดินตะกอน<br />

จารุมาศ (2548) กลาวไววาซัลไฟดในรูปแบบตาง ๆ ที่เกิดขึ้นในดินตะกอน<br />

เกิดจาก<br />

กระบวนการชีวภาพและกระบวนการทางอนินทรียเคมี สิ่งมีชีวิตที่มีบทบาทโดยตรงตอการเกิดซัลไฟด<br />

2-<br />

คือ แบคทีเรียกลุมที่ทําการยอยสลายสารอินทรียในดินแบบไมใชออกซิเจน<br />

แตใชซัลเฟต (SO4 )<br />

เปนตัวรับอิเลคตรอนในปฏิกิริยาแบคทีเรียกลุมนี้เรียกวา<br />

sulfate reducing bacteria (เชน<br />

Desulfovibrio) และปฏิกิริยาที่เกิดการยอยสลายของสารอินทรียในกระบวนการ<br />

sulfate reduction<br />

ผลของปฏิกิริยา sulfate reduction จะใหสารประกอบ เชน แอมโมเนียและซัลไฟด<br />

ออกมาสะสมอยูในดินบริเวณนั้นและ/หรืออาจมีการแพรกระจายขึ้นไปที่ผิวดินไดซัลไฟดที่ผลิตใน<br />

ดินจะมีการรวมตัวกับธาตุเหล็กเกิดเปนสารประกอบในรูป FeS ซึ่ง<br />

FeS ก็ยังมีการเปลี่ยนรูปแบบได<br />

สารประกอบที่เรียกวา<br />

pyrite (FeS2) ซึ่งเปนรูปที่ไมละลายน้ําและถือเปนองคประกอบหลักขั้น<br />

สุดทายจากกระบวนการ sulfate reduction ในสภาพดินที่ไมมีออกซิเจนอยูเลย<br />

แตจะพบวาบริเวณ<br />

ผิวหนาดิน โดยทั่วไปที่มีโอกาสสัมผัสกับออกซิเจนในน้ําเหนือผิวดินหรือผิวหนาดินที่มีลักษณะ<br />

โปรง ซึ่งน้ําแทรกซึมผานไดดีจะไมพบปริมาณซัลไฟดอยูเลย<br />

ปฏิกิริยาการยอยสลายสารอินทรียที่<br />

บริเวณดังกลาวก็จะเกิดขึ้นภายใตสภาพที่มีออกซิเจนโดยที่ซัลไฟดหรือไฮโดรเจนซัลไฟดจะเริ่ม<br />

ปรากฏขึ้นเมื่อระดับความลึกของดินเพิ่มมากขึ้น<br />

ระดับที่มีการสะสมของซัลไฟดสูงสุดมีความ<br />

แตกตางกันขึ้นอยูกับชนิดและองคประกอบทางอินทรียสารของดินตะกอนนั้น<br />

ดินตะกอนใน<br />

ธรรมชาติที่มีลักษณะเปนทรายอาจมีระดับสูงสุดของไฮโดรเจนซัลไฟดที่ประมาณ<br />

6-8 เซนติเมตร<br />

ขณะที่ในดินที่เปนโคลนปนทรายอาจมีระดับสูงสุดอยูที่ใกลผิวดินมากกวา<br />

คือ ในระดับประมาณ<br />

19


2-3 เซนติเมตร เทานั้น<br />

เมื่อพิจารณาดินในระดับที่มีความลึกมากขึ้น<br />

สวนใหญซัลไฟด<br />

ในดินจะมีปริมาณลดลง ทั้งนี้เนื่องจากปริมาณอินทรียสารใหม<br />

ๆ ซึ่งแบคทีเรียนํามาใชจะอยูเฉพาะ<br />

บริเวณผิวหนาดิน นอกจากนี้สารละลายซัลเฟต<br />

(ซึ่งมีแหลงที่มาจากผิวน้ําดานบน)<br />

จะมีปริมาณที่<br />

ลดลงตามความลึกของดินดวย<br />

ในดานการศึกษาการเกิดสารประกอบซัลไฟดในดินจะพบวาอัตราการเกิดไดรับ<br />

อิทธิพลจากปริมาณซัลเฟตตลอดจนกระบวนการทางอนินทรียเคมีที่ทําใหมีการเปลี่ยนรูปตาง<br />

ๆ<br />

ของซัลไฟด (Jørgensen, 1977) และบทบาทดังกลาวอาจสูงกวา 50 เปอรเซ็นตของการยอยสลายเกิด<br />

ขึ้นทั้งหมดในดินในเขตใกลฝงที่มีการสะสมของอินทรียสารสูงอีกดวย<br />

5.4 การผลิตกลิ่นไฮโดรเจนซัลไฟดโดยจุลินทรีย<br />

กลิ่นไฮโดรเจนซัลไฟดเกิดโดยกิจกรรมของจุลินทรีย<br />

ซึ่งสามารถเกิดได<br />

2 วิธี คือ<br />

5.4.1 การยอยสลายสารอินทรียโดยเฉพาะโปรตีนที่มีกํามะถันเปนองคประกอบภาย<br />

ใตสภาวะที่ไมมีออกซิเจน<br />

โดยแบคทีเรียพวก proteolytic bacteria ไดแก Proteus, Escherichia และ<br />

Pseudomonas เรียกปฏิกิริยานี้วา<br />

ดีซัลเฟอเรชัน แบคทีเรียกลุมนี้เปน<br />

facultative anaerobe ดํารงชีวิต<br />

อยูไดในสภาวะที่มีและไมมีออกซิเจน<br />

แตสําหรับการสรางไฮโดรเจนซัลไฟดจะเกิดในสภาวะที่ไม<br />

มีอากาศเทานั้น<br />

5.4.2 การรีดิวซซัลเฟตภายใตสภาวะไมมีออกซิเจน การรีดิวซซัลเฟตที่พื้นบอเกิด<br />

จากกิจกรรมของแบคทีเรียในขณะที่ไมมีออกซิเจน<br />

โดยสามารถใชออกซิเจนในซัลเฟตสําหรับการ<br />

ออกซิไดซสารอินทรีย กลาวคือ ใชซัลเฟตเปนตัวรับอิเลคตรอน ผลคือ ซัลเฟตจะถูกรีดิวซใหเปน<br />

ซัลไฟด ปฏิกิริยานี้จะเกิดขึ้นเมื่อไมมีตัวรับอิเลคตรอนอื่น<br />

ๆ เชน ออกซิเจนหรือไนเตรทดวย แตถา<br />

มีตัวรับอิเลคตรอนทั้งสามชนิดอยูดวยกันแลว<br />

ลําดับที่จะถูกใช<br />

คือ ออกซิเจน ไนเตรทและซัลเฟต<br />

ตามลําดับ (Heukelekian, 1948) แบคทีเรียที่มีความสามารถในการรีดิวซซัลเฟต<br />

คือ พวก sulfatereducing<br />

bacteria เชน Desulfovibrio, Desulfomonas, Desulfotomaculum โดยมี Desulfovibrio<br />

desulfuricans เปนแบคทีเรียที่พบบอยที่สุดและการเกิดซัลไฟดโดยวิธีนี้เปนกลไกที่สําคัญที่สุดของ<br />

การเกิดไฮโดรเจนซัลไฟดในน้ําเสีย<br />

(Dague, 1972)<br />

20


Heukelekian (1948) ไดสรุปวาในน้ําที่ไหลซึ่งจะมีปริมาณออกซิเจนสูงคาศักย<br />

ไฟฟารีดอกซจะสูงตามไปดวยโอกาสที่จะเกิดไฮโดรเจนซัลไฟดเนื่องจากแบคทีเรียที่รีดิวซซัลเฟต<br />

จึงมีนอยมาก คาศักยไฟฟารีดอกซที่จุลินทรียพวกที่รีดิวซซัลเฟตจะเจริญไดดีมีคา<br />

-200 ถึง -300<br />

มิลลิโวลต (Eliassen, 1949; Boon, 1995) สวนพีเอชที่เหมาะสมตอการรีดิวซซัลเฟตอยูในชวง<br />

6.5-<br />

8.0 (Boon, 1995)<br />

จากการศึกษาไดมีการยอมรับกันอยางกวางขวางวา การตกทับถมกันของ<br />

ตะกอนและเมือกของแบคทีเรียในทอน้ําทิ้งเปนที่เกิดของซัลไฟด<br />

(Heukelekian, 1948; Santry,<br />

1966) ในบริเวณบอเก็บรวบรวมและบําบัดน้ําเสีย<br />

แบคทีเรียที่รีดิวซซัลเฟตสามารถเจริญและสราง<br />

ไฮโดรเจนซัลไฟดได เนื่องจากมีปริมาณสารอินทรียและมีตัวรับอิเลคตรอน<br />

คือ ซัลเฟตจากน้ําเสีย<br />

ไฮโดรเจนซัลไฟดที่สรางขึ้นจะซึมผานเขาไปในน้ําเสียที่ไหลอยูแลวทําใหคาศักยไฟฟารีดอกซ<br />

ของน้ําลดลงและถาน้ําเสียที่ไหลนี้ไมไดรับการเติมอากาศเลยและมีอุณหภูมิที่เหมาะสม<br />

คือ 21-32<br />

องศาเซลเซียส จะเกิดสภาวะที่ทําใหแบคทีเรียที่รีดิวซซัลเฟตเจริญขึ้นมาอยางมากมาย<br />

กอใหเกิด<br />

ปญหาเรื่องกลิ่นของไฮโดรเจนซัลไฟดขึ้น<br />

(Dague, 1972) แมในบอน้ําเสียที่มีการใหอากาศก็มีการ<br />

ตกตะกอนทับถมกันเปนจํานวนมาก เมื่อมีการกวนน้ําในบอจะทําใหเกิดการฟุงกระจายของกลิ่น<br />

ออกมาจากตะกอนจนถึงระดับที่เกิดปญหาเรื่องกลิ่นขึ้นไดเชนกัน<br />

สภาวะแวดลอมอื่นที่มีผลตอแบคทีเรียที่รีดิวซซัลเฟต<br />

เชน คาพีเอช โดยพบวา<br />

แบคทีเรียพวกนี้สามารถปรับตัวเจริญและสรางไฮโดรเจนซัลไฟดอยางรวดเร็วในชวงพีเอชต่ํากวา<br />

6<br />

จนถึง 9 เปนอยางนอย สวนคาพีเอชที่เหมาะสมมีคาระหวาง<br />

7.5-8.0 (Pomeroy and Bowlus, 1946<br />

อางโดย Dague, 1972)<br />

คาพีเอชยังมีความสําคัญในดานอื่นนอกจากผลตอแบคทีเรียกลุมนี้ดวยเพราะ<br />

เมื่อไฮโดรเจนซัลไฟดเกิดในน้ําเสียแลวจะเกิดการแตกตัวไดเปนไฮโดรเจนอิออนและซัลไฟด<br />

อิออน 2 แบบ ดังนี้<br />

H 2S H + + HS -<br />

HS - H + + S 2-<br />

21


ถาคาพีเอชเปลี่ยนแปลงจะเกิดการเปลี่ยนแปลงของสมดุลนี้<br />

นั่นคือ<br />

ถาความ<br />

เขมขนของไฮโดรเจนอิออนสูงพีเอชจะลดลงจะเกิดกาซไฮโดรเจนซัลไฟดมาก ถาความเขมขนของ<br />

ไฮโดรเจนอิออนต่ําจะเกิดกาซไฮโดรเจนซัลไฟดนอย<br />

ซึ่งความสําคัญในที่นี้<br />

คือ เฉพาะกาซไฮโดรเจน<br />

ซัลไฟดเทานั้นที่หนีออกจากของเหลวไดแลวออกสูบรรยากาศทําใหเกิดกลิ่นเหม็นขึ้น<br />

(Dague, 1972)<br />

5.5 ความเขมขนต่ําสุดของกลิ่นไฮโดรเจนซัลไฟดที่รับรูได<br />

ความเขมขนของกลิ่นแสดงอยู<br />

ในรูปมวลตอปริมาตร มีหนวยเปนสวนในลานสวน<br />

(มิลลิกรัมตอลิตร) โดยความเขมขนต่ําสุดที่สามารถรับรูไดภายใตสภาวะหนึ่ง<br />

เรียกวา threshold<br />

odor (TO) ซึ่งสารประกอบตาง<br />

ๆ ที่มีกลิ่นจะมีคา<br />

TO แตกตางกันและเปลี่ยนแปลงไปตามผูรับกลิ่น<br />

และสภาวะแวดลอม (Dague, 1972) ในกรณีของกาซไฮโดรเจนซัลไฟดมีคา TO เทากับ 0.0011 มิลลิกรัม<br />

ตอลิตร (Cheremisinoff, 1995)<br />

5.6 ผลเสียของกาซไฮโดรเจนซัลไฟด<br />

จารุมาศ (2545) กลาวไววา กาซไฮโดรเจนซัลไฟดกอใหเกิดผลเสีย คือ<br />

5.6.1 กอใหเกิดปญหาเรื่องกลิ่น<br />

เนื่องจากมีกลิ่นคลายกาซไขเนา<br />

ระดับความเขมขน<br />

ของกาซไฮโดรเจนซัลไฟดที่รับรูไดมีคาต่ํามาก<br />

คือ 0.0011 มิลลิกรัมตอลิตร (Cheremisinoff, 1995)<br />

5.6.2 เปนพิษตอสิ่งมีชีวิต<br />

กาซไฮโดรเจนซัลไฟดในปริมาณความเขมขนที่สูงขึ้นจะ<br />

ทําใหประสาทรับกลิ่นเกิดอาการลา<br />

ในที่สุดกลิ่นเหม็นจึงหายไป<br />

เมื่อมนุษยไดรับกาซนี้เขาไปจะทํา<br />

ใหหมดสติและถึงตายอยางรวดเร็วถาในบรรยากาศมีกาซนี้อยูในปริมาณ<br />

300 มิลลิกรัมตอลิตร<br />

นอกจากนี้ยังเปนพิษตอสิ่งมีชีวิตในน้ําแมในปริมาณนอยกวา<br />

1 มิลลิกรัมตอลิตร ระดับความเปนพิษ<br />

ยังเปลี่ยนแปลงไดตามพีเอช<br />

อุณหภูมิ และการแตกตัวของกาซไฮโดรเจนซัลไฟดเอง<br />

5.6.3 ทําใหเกิดการกัดกรอนของทอคอนกรีตหรืออุปกรณที่ทําจากโลหะ<br />

เนื่องจากเมื่อ<br />

กาซไฮโดรเจนซัลไฟดถูกออกซิไดซจะเกิดเปนกรดซัลฟูริกซึ่งมีฤทธิ์ในการกัดกรอนและเมื่อกรดนี้<br />

ถูกชะลงสูแหลงน้ําจะเกิดสภาวะกรดที่เปนอันตรายตอสิ่งมีชีวิตในแหลงน้ํานั้นไฮโดรเจนซัลไฟดที่<br />

22


เกิดขึ้นในระบบทอน้ําที่มีการเนาเสียภายในนั้นไดมีการกลาวถึงอยางละเอียดโดย<br />

Boon (1995) ทั้ง<br />

ดานสาเหตุ ผลเสียหายที่เกิดขึ้นและการควบคุม<br />

5.6.4 ทําใหแหลงน้ํามีสภาพไมนาดูเพราะเกิดการตกตะกอนสีดําที่คงตัวของโลหะ<br />

ซัลไฟด เนื่องจากกาซไฮโดรเจนซัลไฟดทําปฏิกิริยากับโลหะ<br />

เชน Fe 2+ , Pb 2+ และ Zn 2+<br />

5.7 การควบคุมกลิ่นของกาซไฮโดรเจนซัลไฟด<br />

วิธีการที่ใชในการควบคุมกลิ่นตองพิจารณารวมกับปจจัยอื่น<br />

ๆ ณ จุดที่มีกลิ่น<br />

กลาวคือ<br />

ปจจัยทางเคมี ฟสิกสและชีววิทยาและการเลือกวิธีการควบคุมนั้นจําเปนตองศึกษาลงไปใน<br />

รายละเอียดของการเกิดกลิ่นจึงจะสามารถเลือกวิธีที่เหมาะสมได<br />

(Hartman, 1976) ปจจัยตาง ๆ ที่<br />

ตองพิจารณาในการเลือกวิธีที่ดีที่สุด<br />

คือ สภาพภูมิอากาศทองถิ่น<br />

วิธีการบําบัด ประสบการณ<br />

ความสามารถของผูปฏิบัติงาน<br />

ระยะเวลาและความถี่ที่เกิดกลิ่นแตละชนิดและคาใชจายในการ<br />

แกปญหา (Boon, 1995)<br />

วิธีปฏิบัติในการควบคุมกลิ่น<br />

แบงไดเปน 3 วิธีใหญ ๆ คือ วิธีทางเคมี ฟสิกสและ<br />

ชีววิทยา โดยอาจใชแตเพียงวิธีใดวิธีหนึ่งหรืออาจใชหลายวิธีรวมกันขึ้นกับความเหมาะสม<br />

วิธีทางเคมีโดยการใชสารเคมีในการควบคุมกลิ่นนั้นจะตองใชสารเคมีที่ไมรบกวนตอ<br />

ระบบการบําบัดทางชีววิทยาของโรงบําบัดน้ําเสียและตองไมเปนพิษตอคน<br />

ปลา พืชและสิ่งมีชีวิต<br />

ตาง ๆ การบําบัดโดยใชสารเคมีนี้โดยทั่วไปเสียคาใชจายมากและมีความยุงยาก<br />

(Santry, 1966)<br />

สารเคมีที่ใชในการควบคุมกลิ่น<br />

ไดแก ไนเตรท<br />

ไนเตรทควบคุมการเกิดไฮโดรเจนซัลไฟดโดยแบคทีเรียที่รีดิวซซัลเฟตในน้ําเสียได<br />

จาก<br />

การวิจัยของ Jenneman et al. (1986) ที่ทําการศึกษาถึงผลของไนเตรทที่มีตอการผลิตซัลไฟด<br />

โดยแบคทีเรีย พบวาการเติมไนเตรทจะชวยยับยั้งการผลิตซัลไฟดไดเปนเวลานาน<br />

โดยเหตุผล 2<br />

ประการ คือ ประการแรกการเติมไนเตรททําใหคาศักยไฟฟารีดอกซสูงขึ้นจากการเกิดไนตรัสออกไซด<br />

หรือไนตริกออกไซดหรือทั้งสองอยางทําใหเกิดสภาพแวดลอมแบบออกซิไดซ<br />

สวนประการที่สอง<br />

คือ ปริมาณของแบคทีเรียที่รีดิวซซัลเฟตลดลงจากการที่ตองอยูในสภาพแวดลอมแบบออกซิไดซ<br />

เปนเวลานานและมีความเขมขนของไนตรัสออกไซดสูง เนื่องจากไนตรัสออกไซดเปนพิษตอเซลล<br />

23


(Thom and Marquis, 1984) และไนตริกออกไซดนั้นก็มีฤทธิ์ในการควบคุมการเจริญของแบคทีเรีย<br />

บางชนิด (Mancinelli and McKay, 1983) สําหรับ Jobbagy et.al. (1994) ไดใหเหตุผลของการที่<br />

ไนเตรทสามารถลดการรีดิวซซัลเฟตไปเปนไฮโดรเจนซัลไฟดวาเกิดได 2 ทาง คือแบคทีเรียพวก<br />

denitrifying bacteria มีความสามารถทางเมทาบอลิซึมดีกวาแบคทีเรียพวกที่รีดิวซซัลเฟต<br />

จึง<br />

สามารถใชสิ่งปนเปอนหรือสารที่ไฮโดรไลซไดในน้ําเสียดิบไปเปนสารประกอบที่ใชผลิตไฮโดรเจน<br />

ซัลไฟดไมไดอีก อีกทางหนึ่ง<br />

คือ ในการแขงขันเพื่อแยงสารตั้งตนชนิดเดียวกันพวก<br />

denitrifying<br />

bacteria จะทําใหไดดีกวา<br />

สําหรับการดัดแปลงกลิ่น<br />

(odor modification) แบงเปน 2 แบบ คือ odor counteraction<br />

และ odor masking โดย counteraction หมายถึง การเติมสารที่มีกลิ่นชนิดหนึ่งลงไปผสมกับกลิ่น<br />

ที่ไมตองการเกิดเปนของผสมที่ไมมีกลิ่นหรือมีกลิ่นนอยมาก<br />

สวน masking คือ การเติมสารที่มีกลิ่น<br />

ลงไปและดวยคุณลักษณะและความเขมขนของสารนี้จะทําใหไมสามารถรับรูกลิ่นที่ไมตองการได<br />

ทั้ง<br />

2 แบบมีกลไกที่ซอนทับกันอยูและความแตกตางกันก็ไมชัดเจน<br />

แตอาศัยหลักการที่ทําใหประสาท<br />

รับกลิ่นไมรับรูกลิ่นชั่วคราว<br />

การตอบสนองตอกลิ่นจึงนอยลงหรือเมื่อสารสองชนิดผสมกันในอัตรา<br />

สวนหนึ่งจะไดสารผสมที่มีกลิ่นนอยลงหรือกลิ่นเหม็น<br />

เมื่อไปรวมกับสวนผสมจะทําใหกลิ่นโดยรวม<br />

ดีขึ้น<br />

(Cheremisinoff, 1995) การเลือกและการประยุกตใชที่ถูกตอง<br />

สวนมากจะเปนการลองผิดลอง<br />

ถูก หลักการสําคัญ คือ ใชสารเคมีที่ถูกตองในปริมาณเทาที่จําเปน<br />

ในสถานที่ที่ถูกตองในเวลาที่<br />

ตองการซึ่งเปนงานที่ยาก<br />

โดยเฉพาะในแงของกลิ่นที่มีการเปลี่ยนแปลงและขึ้นกับสภาพ<br />

อุตุนิยมวิทยา วิธีการแบบ masking มีการประยุกตใชกันมากในการควบคุมกลิ่น<br />

(Post, 1956;<br />

Dague, 1972)<br />

สวนวิธีทางชีววิทยาเปนการควบคุมกลิ่นของไฮโดรเจนซัลไฟดโดยอาศัยการทํางานของ<br />

แบคทีเรียซึ่งแบงได<br />

2 กรณี คือ แบคทีเรียที่เติมลงไปจะใชกาซไฮโดรเจนซัลไฟดที่เกิดขึ้นเปนแหลง<br />

ของพลังงานในการเจริญซึ่งเปนการกําจัดกลิ่นและกรณีที่สอง<br />

คือ การเติมแบคทีเรียบางชนิดซึ่งเปน<br />

ปฏิปกษตอแบคทีเรียที่สรางไฮโดรเจนซัลไฟด<br />

เชน ทําใหเกิดการแกงแยงกัน การสรางสารพิษเปน<br />

ตน จัดเปนการปองกันการเกิดกลิ่น<br />

แบคทีเรียที่ใชไฮโดรเจนซัลไฟดเปนแหลงของพลังงานในการ<br />

เจริญสามารถแบงแบคทีเรียเปน 2 กลุม<br />

คือ กลุมแบคทีเรียสังเคราะหแสง<br />

(purple sulfur bacteria, green<br />

sulfur bacteria และ purple nonsulfur bacteria) และกลุม<br />

colorless sulfur bacteria<br />

24


ปฏิกิริยา<br />

แบคทีเรียสังเคราะหแสงกําจัดไฮโดรเจนซัลไฟดไดโดยการออกซิไดซซัลไฟดตาม<br />

HS - -2<br />

+ 2H2O + 2CO2 SO4 + 2(CH2O) + H +<br />

สวนกลุม<br />

colorless sulfur bacteria ออกซิไดซซัลไฟดตามปฏิกิริยา<br />

2- +<br />

H2S + 2O2 SO4 + 2H<br />

กลุม<br />

purple sulfur bacteria สกุลที่มีการศึกษา<br />

คือ Ectothiorhodospira เนื่องจากสะสม<br />

กํามะถันนอกเซลล (Brock, 1994) มีการศึกษาการเปลี่ยนซัลไฟดใหเปนกํามะถัน<br />

โดยแบคทีเรียใน<br />

สกุลนี้พบวาไมมีการสะสมของสารที่มีฤทธิ์กัดกรอนและมีศักยภาพที่จะใชในสภาพแวดลอม<br />

อุตสาหกรรม (Vainstein et al., 1994)<br />

กลุม<br />

green sulfur bacteria สกุลที่มีการศึกษา<br />

คือ Chlorobium โดยพบวาสามารถกําจัด<br />

กํามะถันและตรึงกาซคารบอนไดออกไซดในกาซที่มีองคประกอบเปนกรด<br />

คือ ไฮโดรเจนซัลไฟด<br />

และกาซคารบอนไดออกไซด (Cork et al., 1983)<br />

กลุม<br />

purple nonsulfur bacteria แบคทีเรียกลุมนี้สวนใหญสามารถใชซัลไฟดไดใน<br />

ปริมาณความเขมขนต่ํา<br />

ระดับซัลไฟดที่พวก<br />

purple และ green sulfur bacteria สามารถใชไดดีนั้น<br />

จะเปนพิษตอพวก purple nonsulfur bacteria แบคทีเรียพวกนี้บางชนิดสามารถเจริญไดในสภาวะที่<br />

ไมมีออกซิเจนและสวนมากเจริญไดในสภาวะมีออกซิเจนและอยูในที่มืด<br />

ตัวอยางแบคทีเรียกลุมนี้<br />

ไดแก สกุล Rhodospirillum (Brock, 1994)<br />

กลุม<br />

colorless sulfur bacteria โดยทั่วไปอาจเรียกสมาชิกสกุลนี้วา<br />

nonphotosynthetic<br />

sulfur bacteria (Brock, 1994) สามารถเปลี่ยนซัลไฟดไดเปนซัลเฟตทั้งในสภาวะที่มีออกซิเจน<br />

และไมมีออกซิเจน (Sublette and Sylvester, 1987 a, b, c; Sublette, 1987) การศึกษาผลของ sulfide<br />

loading ที่มีตอการทํางานของถังปฏิกิริยา<br />

(Sublette and Sylvester, 1987 a; Sublette, 1987) และการ<br />

25


สราง Thiobacillus denitrificans สายพันธุทนตอซัลไฟดเพื่อใชในการออกซิไดซซัลไฟดในปริมาณ<br />

ที่สูงขึ้น<br />

(Sublette and Woolsey, 1989)<br />

แบคทีเรียในสกุล Thiobacillus สายพันธุอื่น<br />

ๆ ที่ไดรับความสนใจและมีการศึกษา<br />

เชน<br />

T. intermedius strain 031 (Cho et al., 1991a) Thiobacillus sp. HA 43 (Cho et al., 1991b)<br />

T. thioparus DW44 (Cho et al., 1991c) และ T. thioparus TK-m (Tanji et al., 1989)<br />

นอกจากนี้ในกลุม<br />

colorless sulfur bacteria ยังมีแบคทีเรียในสกุล Xanthomonas แยก<br />

ไดโดย Cho et al. (1992) ซึ่งพบวามีศักยภาพดีกวาสกุล<br />

Thibacillus คือ ใหผลผลิตของการ<br />

ออกซิไดซซัลไฟดเปนพวกโพลีซัลไฟดทําใหไมมีการเปลี่ยนแปลงพีเอชในถังปฏิกิริยา<br />

จากผลของการออกซิไดซไฮโดรเจนซัลไฟดดวยออกซิเจน โดยใชแบคทีเรียพวก<br />

Thiobacillus ผลผลิตสุดทายจะไดซัลเฟตที่ละลายน้ําแลวมีฤทธิ์เปนกรดกอใหเกิดปญหาการ<br />

กัดกรอนและจัดเปนมลภาวะอีกรูปแบบหนึ่ง<br />

การศึกษาในทางเทคโนโลยีชีวภาพแบบใหมจึงใช<br />

หลักการออกซิไดซซัลไฟดใหเปนกํามะถันแทนที่จะออกซิไดซตอจนไดซัลเฟต<br />

ซึ่งทําไดโดยการ<br />

ควบคุมปริมาณออกซิเจน (Buisman et al., 1990 a, b, c) แตจากการวิจัยของ Janssen et al. (1995) ที่<br />

ศึกษาการออกซิไดซซัลไฟดในถังปฏิกิริยาแบบ fed-batch โดยใชแบคทีเรียผสมพวก thiobacilli<br />

พบวา การควบคุมปริมาณออกซิเจนไมสามารถทําใหเกิดเปนธาตุกํามะถันเพียงอยางเดียวได<br />

ทางดาน ไคเนติกสของการออกซิไดซซัลไฟดดวยวิธีเคมีและชีวภาพ (Buisman et al.,<br />

1990d) และไคเนติกสของเชื้อแบคทีเรียผสมในการออกซิไดซซัลไฟดและซัลเฟอรดวยออกซิเจน<br />

(Buisman et al., 1991)<br />

ในสวนของแบคทีเรียที่เปนปฏิปกษตอจุลินทรียที่สรางไฮโดรเจนซัลไฟด<br />

ซึ่งในสภาพ<br />

แวดลอมตามธรรมชาติมีแบคทีเรียหลายประเภทที่สามารถยับยั้งการเจริญของกันและกันได<br />

เชน<br />

มีการสรางสารพิษ สารปฏิชีวนะหรือสารบางอยางที่ทําใหแบคทีเรียอีกประเภทหนึ่งไมเจริญไดหรือ<br />

ถูกทําลายไป แบคทีเรียที่สรางกรดก็เปนพวกหนึ่งที่เปนปฏิปกษตอแบคทีเรียชนิดอื่น<br />

เนื่องจากกรด<br />

ที่เกิดขึ้นสามารถยับยั้งการเจริญของแบคทีเรียชนิดอื่นได<br />

ตัวอยางแบคทีเรียที่สรางกรดที่สําคัญ<br />

เชน<br />

แบคทีเรียที่ผลิตกรดโพรพิโอนิค<br />

(proprionic acid) แบคทีเรียที่ผลิตกรดอะซีติก<br />

(acetic acid) และ<br />

แบคทีเรียที่ผลิตกรดแลกติก<br />

(lactic acid)<br />

26


แบคทีเรียโพรพิโอนิคหมักน้ําตาลกลูโคส<br />

กรดแลกติก กรดไพรูวิก (pyruvic acid) และ<br />

คารโบไฮเดรตไดกรดโพรพิโอนิค กรดแอซีติกและคารบอนไดออกไซด (Buchanan et al., 1974)<br />

ในกระบวนการหมักที่ใชแบคทีเรียโพรพิโอนิคจึงสามารถปองกันการปนเปอนจากจุลินทรียอื่น<br />

ๆ<br />

ได เนื่องจากกรดที่เกิดขึ้น<br />

เชื้อที่ถูกยับยั้ง<br />

ไดแก แบคทีเรียและรา (Noyes, 1969)<br />

แบคทีเรียที่ผลิตกรดแลกติกเปนผลิตผลหลักจากการหมักน้ําตาลตาง<br />

ๆ และสาร<br />

ประกอบบางชนิดที่หมักได<br />

แบคทีเรียที่ผลิตกรดแลกติกแบงเปน<br />

2 กลุมคือ<br />

พวก homofermentative<br />

เปลี่ยนน้ําตาลกลูโคสไปเปนเอทิล<br />

แอลกอฮอล (ethyl alcohol) กรดแอซีติก กรดโพรพิโอนิกและ<br />

คารบอนไดออกไซด การลดลงของพีเอชในสภาพแวดลอมที่แบคทีเรียที่ผลิตกรดแลกติกเจริญอยู<br />

เกิดจากกรดแลกติกเปนสวนใหญและทําใหมีฤทธิ์ตอตานแบคทีเรียชนิดอื่น<br />

ๆ ตัวอยางแบคทีเรีย<br />

กลุมนี้ที่สําคัญ<br />

ไดแก Lactobacillus และ Streptococcus (Salminen and Wright, 1993; Brock, 1994)<br />

การหมักที่เกิดกรดแลกติกสามารถยับยั้งการเจริญของแบคทีเรียชนิดอื่น<br />

เชน การทําอาหารหมักดอง<br />

ตาง ๆ เปนตน<br />

6. แบคทีเรีย Paracoccus pantotrophus<br />

บริเวณพื้นบอหลังจากออกซิเจนถูกใชจนหมดจากกระบวนการหายใจ<br />

ทําใหเกิดสภาพไร<br />

ออกซิเจนในดิน แบคทีเรียในกลุม<br />

facultative anaerobe และ obligate anaerobe (เปนแบคทีเรียพวก<br />

ที่ไมตองการออกซิเจน<br />

โดยพลังงานที่เกิดขึ้นภายในเซลลไดจากขบวนการหมัก<br />

(fermentation)<br />

หรือ การหายใจแบบไมใชออกซิเจน) จะดึงโมเลกุลออกซิเจนจากสารประกอบอื่น<br />

ๆ มาใชแทนโดย<br />

-<br />

เลือกใชสารประกอบที่มีระดับออกซิเดชันสูง<br />

ๆ มาใชกอนเรียงตามลําดับดังนี้<br />

คือ NO3 , MnO2,<br />

2- -<br />

Fe2O3 และ SO4 ตามลําดับ หลังจากใช NO3 , MnO2 และ Fe2O3 จนหมดแลว แบคทีเรียในกลุม<br />

2-<br />

sulfate reducing bacteria จะรีดิวซ SO4 ทําใหเกิดไฮโดรเจนซัลไฟด หลังจากนั้นแบคทีเรีย<br />

P.<br />

pantotrophus (Ralney et al., 1999) ซึ่งเปนแบคทีเรียแกรมลบที่สามารถดํารงชีวิตไดทั้งสภาวะที่มี<br />

ออกซิเจนและไมมีออกซิเจน (facultatively lithoautotrophic bacterium) พบทั่วไปทั้งในดินและน้ํา<br />

2-<br />

จะออกซิไดซ H2S ใหเปนซัลเฟต (SO4 )ได (Friedrich et al., 2001; Rother et al., 2001) ดังสมการ<br />

ที่<br />

1<br />

H 2S + 2O 2 SO 4 2- + 2H + (1)<br />

27


2- 2- 2-<br />

อีกทั้งยังสามารถออกซิไดซไธโอซัลเฟต<br />

(S2O3 ) และซัลไฟท (SO3 ) ใหเปน SO4 ได<br />

(Friedrich et al., 2001) ดังสมการที่<br />

2 และ 3 ตามลําดับ<br />

- 2- +<br />

S2O3 + 5H2O 2SO4 + 10H (2)<br />

Sulfur-oxidizing enzyme system<br />

2- 2- +<br />

SO3 + H2O SO4 + 2H (3)<br />

Sulfur-oxidizing system, sulfite oxidoreductase<br />

-<br />

นอกจากนี้<br />

P. pantotrophus ยังสามารถใช NO3 เปนตัวรับอิเลคตรอนตัวสุดทายในการ<br />

ออกซิไดซซัลเฟอร (S) ดังสมการที่<br />

4<br />

- 2-<br />

4 NO3 + 3S 3SO4 + 2N2 (4)<br />

จากคุณสมบัติเหลานี้แบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus มีการนํามาใชในการปรับปรุงและบําบัด<br />

คุณภาพน้ําในโรงงานอุตสาหกรรม<br />

(Gallert and Winter, 2005)<br />

28


อุปกรณและวิธีการ<br />

การศึกษาครั้งนี้ไดแบงออกเปน<br />

2 ขั้นตอน<br />

คือ การศึกษาการใชแบคทีเรีย Paracoccus<br />

pantotrophus ในการควบคุมปริมาณไฮโดรเจนซัลไฟดในหองปฎิบัติการและการศึกษาการใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus ในบอเลี้ยงกุงขาวแวนนาไมในที่เลี้ยงดวยน้ําความเค็มต่ํา<br />

โดยทั้ง<br />

2 ขั้นตอนมีวิธี<br />

การศึกษาดังนี้<br />

1. การศึกษาในหองปฏิบัติการ<br />

1.1 การเตรียมการทดลอง<br />

1.1.1 การเตรียมไฮโดรเจนซัลไฟด<br />

ทําการทดลองในหองปฏิบัติการ ภาควิชาชีววิทยาประมง คณะประมง<br />

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร โดยนําเลนจากพื้นบอเลี้ยงกุงจากฟารมเลี้ยงกุงเอกชนในเขตอําเภอบาง<br />

แพ จังหวัดราชบุรี (ภาพที่<br />

5) มาผสมกับอาหารกุงในอัตราสวนเลนพื้นบอปริมาณ<br />

200 กรัมตอ<br />

อาหารกุง<br />

50 กรัม นํามาใสใน flask ปริมาตร 1,000 มิลลิลิตร กอนที่จะเติมน้ําจากบอเลี้ยงกุงความ<br />

เค็มประมาณ 5 พีพีที ลงไปจนไดปริมาตรรวม 1,000 มิลลิลิตร<br />

1.1.2 การเตรียมแบคทีเรีย<br />

แบคทีเรียที่ใชในการทดลอง<br />

คือ P. pantotrophus หรือ PondDtox ซึ่งไดรับความ<br />

อนุเคราะหจากบริษัท Novozymes Biological, Inc. ประเทศสหรัฐอเมริกา (ภาพที่<br />

6) ประกอบ<br />

ดวยแบคทีเรีย 1 สายพันธุ<br />

คือ P. pantotrophus จํานวน 3.1x10 9 cfu/gram บรรจุอยูในถุงที่สามารถ<br />

ละลายน้ําได<br />

แตละถุงมีน้ําหนัก<br />

0.45 กิโลกรัม<br />

1.2 การดําเนินการทดลอง<br />

จากการทดลองขั้นตน<br />

เมื่อทําการศึกษาเปรียบเทียบหาระดับความเขมขนที่เหมาะสม<br />

ในการเติมแบคทีเรีย P. pantotrophus พบวาระดับความเขมขนต่ําสุดที่สามารถควบคุมปริมาณ<br />

29


ไฮโดรเจนซัลไฟดไดมีคาไมเกิน 10 มิลลิกรัมตอลิตร จากนั้นจึงนําคาความเขมขนที่ไดจากการทดลอง<br />

ขั้นตนนี้ไปใชในการจัดระดับความเขมขนที่เหมาะสมในการทดลองทั้ง<br />

2 การทดลองตอไปไดดังนี้<br />

การทดลองที่<br />

1 การศึกษาผลของแบคทีเรีย P. pantotrophus และ NaNO3 ในการ<br />

ควบคุมปริมาณ H2S ในหองปฏิบัติการ<br />

นําเลนจากพื้นบอกุงผสมรวมกับอาหารกุงในขอ<br />

1.1 มาหมักทิ้งไวนาน<br />

3 วันเพื่อให<br />

เกิดกาซไฮโดรเจนซัลไฟดและบรรจุลง flask จํานวน 12 ใบ จากนั้นจึงแบงกลุมการทดลองออกเปน<br />

4 กลุม<br />

กลุมละ<br />

3 ซ้ํา<br />

ดังนี้<br />

กลุมที่<br />

1 (กลุมควบคุม)<br />

ไมมีการเติมแบคทีเรียและ NaNO3 ลงไปใน flask ทดลอง<br />

กลุมที่<br />

2 เติมเฉพาะ NaNO3 ปริมาณ 200 มิลลิกรัมตอลิตร<br />

กลุมที่<br />

3 เติมแบคทีเรียปริมาณ 5 มิลลิกรัมตอลิตร และ NaNO3 200 มิลลิกรัมตอลิตร<br />

กลุมที่<br />

4 เติมแบคทีเรียปริมาณ 10 มิลลิกรัมตอลิตร และ NaNO3 200 มิลลิกรัมตอลิตร<br />

การทดลองที่<br />

2 การศึกษาปริมาณที่เหมาะสมของแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus ในการ<br />

ปองกันการเกิด H2S ในหองปฏิบัติการโดยมีการเติม NaNO3 เพื่อรักษาระดับความเขมขนใหคงที่<br />

ตลอดระยะเวลาการทดลอง<br />

นํา flask ที่มีเลนจากพื้นบอกุงผสมรวมกับอาหารกุงในขอ<br />

1.1 จํานวน 18 ใบ จากนั้น<br />

จึงแบงกลุมการทดลองออกเปน<br />

6 กลุม<br />

กลุมละ<br />

3 ซ้ํา<br />

ดังนี้<br />

กลุมที่<br />

1 (กลุมควบคุม)<br />

ไมมีการเติมแบคทีเรียและ NaNO3 ลงไปใน flask<br />

กลุมที่<br />

2 เติมเฉพาะ NaNO3 ปริมาณ 10 มิลลิกรัมตอลิตร<br />

กลุมที่<br />

3 เติมแบคทีเรียปริมาณ 0.1 มิลลิกรัมตอลิตร และ NaNO3 10 มิลลิกรัมตอลิตร<br />

กลุมที่<br />

4 เติมแบคทีเรียปริมาณ 1 มิลลิกรัมตอลิตร และ NaNO3 10 มิลลิกรัมตอลิตร<br />

กลุมที่<br />

5 เติมแบคทีเรียปริมาณ 5 มิลลิกรัมตอลิตร และ NaNO3 10 มิลลิกรัมตอลิตร<br />

กลุมที่<br />

6 เติมแบคทีเรียปริมาณ 10 มิลลิกรัมตอลิตร และ NaNO3 10 มิลลิกรัมตอลิตร<br />

30


จากนั้นนํา<br />

flask ทั้งสองการทดลองเก็บไวในที่มืดที่อุณหภูมิ<br />

28-30 องศาเซลเซียส ซึ่ง<br />

-<br />

ตรวจวัดปริมาณ H2S โดยใชชุดทดสอบ H2S ในน้ําจากบริษัท<br />

Hach (U.S.A.) สวนปริมาณ NO3 ใน<br />

-<br />

น้ําตรวจวัดโดยใชชุดทดสอบ<br />

NO3 จากภาควิชาปฐพีวิทยา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร<br />

โดยทําการทดลองเปนระยะเวลา 7 วัน<br />

1.3 การวิเคราะหขอมูลทางสถิติ<br />

การศึกษาทั<br />

้ง 2 การทดลองทําการวิเคราะหความแตกตางทางสถิติโดยใชโปรแกรม<br />

สําเร็จรูปดวยวิธีการของ Tukey’s test<br />

31


ภาพที่<br />

5 เลนพื้นบอเลี้ยงกุงจากฟารมเลี้ยงกุงเอกชนในเขตอําเภอบางแพ<br />

จังหวัดราชบุรี<br />

ภาพที่<br />

6 แบคทีเรีย Paracoccus pantotrophus ที่ใชในการทดลอง<br />

32


2. การศึกษาในบอเลี้ยงกุงขาวแวนนาไม<br />

ทําการศึกษาในฟารมเลี้ยงกุงเอกชน<br />

ที่ตําบลทุงครุ<br />

เขตทุงครุ<br />

กรุงเทพมหานคร ซึ่งเปน<br />

ฟารมเลี้ยงกุงดวยน้ําความเค็มต่ําเลี้ยงแบบระบบปดน้ําหมุนเวียน<br />

คือ ขณะจับกุงจะมีการระบายน้ํา<br />

ออกจากบอเลี้ยงเขาสูบอพักน้ํา<br />

หลังจากทําการบําบัดน้ําใหมีคุณภาพที่เหมาะสมแลวก็จะนําน้ํากลับ<br />

มาใชเลี้ยงกุงในรุนตอไป<br />

พื้นที่ฟารมทั้งหมด<br />

52 ไร ประกอบดวยพื้นที่บอพักน้ําประมาณ<br />

10 ไร พื้นที่<br />

บอเลี้ยงกุงประมาณ<br />

18 ไร ทั้งหมด<br />

7 บอ โดย แตละบอมีพื้นที่บอละ<br />

2.5 ไร มีความลึกประมาณ<br />

1.60 เมตร ขึงเชือกเพื่อปองกันนกและมีการลอมตาขายรอบบอเพื่อปองกันปู<br />

ซึ่งอาจจะเปนพาหะ<br />

ของโรคไวรัสหลายชนิดเขาไปในบอ การศึกษาครั้งนี้ใชบอทดลองทั้งหมด<br />

6 บอ (ภาพที่<br />

8) โดย<br />

แบงเปน 2 กลุม<br />

คือ<br />

กลุมทดลองประกอบดวยบอเลี้ยงกุงขาวแวนนาไม<br />

จํานวน 3 บอ คือ บอที่<br />

1-3 ใชเปนบอ<br />

ทดลองที่มีการใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus<br />

กลุมควบคุมประกอบดวยบอเลี้ยงกุงขาวแวนนาไม<br />

จํานวน 3 บอ คือ บอที่<br />

4-6 ใชเปนบอ<br />

ควบคุมที่ไมมีการใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus<br />

33


บอทดลองที่<br />

1<br />

บอทดลองที่<br />

2<br />

บอทดลองที่<br />

3<br />

โรงเก็บอาหาร<br />

บานพัก<br />

ภาพที่<br />

7 แผนผังฟารมที่ทําการทดลอง<br />

คลองสงน้ํา<br />

(คลองราชพฤกษ)<br />

บอพักน้ํา<br />

บอพักน้ํา<br />

ทางเขาฟารม<br />

บอทดลองที่<br />

4<br />

บอทดลองที่<br />

5<br />

บอทดลองที่<br />

6<br />

บอเลี้ยง<br />

N<br />

34


ภาพที่<br />

8 บอเลี้ยงกุงขาวแวนนาไม<br />

บอที่<br />

1<br />

บอที่<br />

2<br />

35


ภาพที่<br />

8 (ตอ)<br />

บอที่<br />

3<br />

บอที่<br />

4<br />

36


ภาพที่<br />

8 (ตอ)<br />

บอที่<br />

5<br />

บอที่<br />

6<br />

37


2. 1 การเตรียมบอ<br />

สําหรับบอที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus หลังจากการเลี้ยงรอบที่ผานมาตากบอนาน<br />

2 สัปดาหและนําดินเลนพื้นบอออกกอนหวานปูนมารลในปริมาณ<br />

500-1,000 กิโลกรัมตอไร และ<br />

ใช PondDtox ซึ่งประกอบดวยแบคทีเรีย<br />

1 สายพันธุ<br />

คือ P. pantotrophus จํานวน 3.1x10 9 cfu/gram<br />

บรรจุอยูในถุงที่สามารถละลายน้ําได<br />

แตละถุงมีน้ําหนัก<br />

0.45 กิโลกรัม ใสบอละ 1 ถุง โดยแชลงใน<br />

ถังที่มีน้ําบรรจุอยูผสมใหเขากัน<br />

แลวนําไปสาดใหทั่วบนดินพื้นบอที่เปยกชื้นใชเวลาในการปรับ<br />

สภาพบอนานประมาณ 7 วัน จึงนําน้ําเขาบอ<br />

สวนบอควบคุมตากบอนาน 2 สัปดาห และนําดินเลน<br />

พื้นบอออกกอนหวานปูนมารลในปริมาณ<br />

500-1,000 กิโลกรัมตอไร<br />

2.2 การเตรียมน้ํา<br />

หลังจากเตรียมบอเรียบรอย สูบน้ําจากคลองราชพฤกษซึ่งมีความเค็มอยูระหวาง<br />

5-8<br />

พีพีที เขาสูบอพักน้ํา<br />

หลังจากนั้นใสไตรคลอรฟอนในอัตราความเขมขน<br />

1.0 มิลลิกรัมตอลิตร เพื่อ<br />

กําจัดสัตวจําพวกกุงและปู<br />

ซึ่งอาจจะเปนพาหะนําเชื้อไวรัสดวงขาวหรือไวรัสชนิดอื่น<br />

ๆ และเปด<br />

เครื่องใหอากาศเต็มที่เปนเวลา<br />

1 วัน เพื่อใหสารเคมีผสมทั่วบอ<br />

พักน้ําไวเปนเวลา<br />

1 เดือน หลังจาก<br />

นั้นสูบน้ําจากบอพักน้ําเขาสูบอเลี้ยงทั้ง<br />

6 บอ โดยผานถุงกรองไนลอน เพื่อปองกันสัตวน้ําตาง<br />

ๆ<br />

เขาไปในบอใหไดระดับน้ําสูงประมาณ<br />

1.30 เมตร เปดเครื่องใหอากาศเพื่อใหน้ําหมุนเวียน<br />

ใสปูน<br />

ขาวและโดโลไมท (CaMg(CO3) 2) ทิ้งไวประมาณ<br />

2-3 วัน เพื่อใหคุณภาพน้ําตาง<br />

ๆ มีความเหมาะสม<br />

และเกิดอาหารธรรมชาติ เชน แพลงกตอนพืชและแพลงกตอนสัตว ในบอทดลองกอนปลอยลูกกุง<br />

1 วัน จะใชแบคทีเรีย P. pantotrophus บอละ 1 ถุง แชลงในถังที่มีน้ําบรรจุอยูผสมใหเขากัน<br />

แลว<br />

นําไปสาดใหทั่วบอ<br />

(ภาพที่<br />

11) หลังจากนั้นจึงปลอยลูกกุง<br />

สวนบอควบคุมปลอยลูกกุงตามปกติ<br />

แต<br />

ไมมีการใสแบคทีเรีย P. pantotrophus<br />

2.3 การปลอยลูกกุง<br />

นําลูกกุงระยะโพสลารวา<br />

12 (PL12) ที่ผานการตรวจดวยเทคนิคพีซีอาร<br />

(PCR:<br />

polymerase chain reaction) หรือปฏิกิริยาลูกโซโพลีเมอเรสวาปลอดเชื้อไวรัสดวงขาว<br />

(White Spot<br />

Syndrome Virus; WSSV) ไวรัสหัวเหลือง (Yellow Head Virus; YHV) ไวรัสทอรา (Taura<br />

Syndrome Virus; TSV) และไวรัสตัวพิการ (Infectious Hypodermal and Hematopoietic Necrosis<br />

38


Virus; IHHNV) (ภาพที่<br />

9) และผานการปรับระดับความเค็มจากโรงเพาะฟกลงมาที่<br />

5 พีพีที เมื่อลูก<br />

กุงลําเลียงมาถึงฟารมในเวลาประมาณ<br />

17.00 น. แลวจึงนําลูกกุงที่บรรจุอยูในถุงพลาสติกใสลงใน<br />

ถังไฟเบอรกลาสซึ่งภายในบรรจุน้ําในบอเลี้ยงปริมาตรประมาณ<br />

400 ลิตร พรอมทั้งเปดเครื่องให<br />

อากาศตลอดเวลา เพื่อปรับอุณหภูมิของน้ําในบอและในถุงที่บรรจุลูกกุงใหมีอุณหภูมิใกลเคียงกัน<br />

ประมาณ 30 นาที หลังจากนั้นปลอยลูกกุงผานทางสายยางที่ตออยูกับถังไฟเบอรกลาสลงสูบอเลี้ยง<br />

ในอัตราความหนาแนน 60,000 ตัวตอไร (38 ตัวตอตารางเมตร) ทั้ง<br />

6 บอ (ภาพที่<br />

10)<br />

2.4 การเลี้ยงและการใหอาหาร<br />

ใชอาหารเม็ดสําเร็จรูปสําหรับกุงขาวแวนนาไมที่มีปริมาณโปรตีน<br />

34 เปอรเซ็นต<br />

ไขมัน 5 เปอรเซ็นต ความชื้น<br />

12 เปอรเซ็นต และใยอาหาร (fiber) 4 เปอรเซ็นต ใหอาหารวันละ<br />

4 ครั้ง<br />

คือ 7.00, 11.00, 16.00 และ 22.00 น. โดยเดินหวานรอบบอจากขอบบอเขาไปภายในบอ โดย<br />

เริ่มใหอาหารวันแรกในปริมาณ<br />

1 กิโลกรัมตอกุง<br />

100,000 ตัว หลังจากนั้นเพิ่มอาหาร<br />

200 กรัมตอ<br />

กุง<br />

100,000 ตัวตอวัน เมื่อกุงอายุ<br />

20 วัน จึงเริ่มทําการปรับอาหารตามยอ<br />

โดยเริ่มจากใสอาหารในยอ<br />

5 กรัมตออาหาร 1 กิโลกรัม ใชเวลาตรวจอาหารในยอ 3 ชั่วโมง<br />

เมื่อกุงอายุ<br />

60 วัน ใสอาหารในยอ 5<br />

กรัมตออาหาร 1 กิโลกรัม ใชเวลาตรวจอาหารในยอ 2.5 ชั่วโมง<br />

และเมื่อกุงอายุ<br />

90 วัน ใสอาหารใน<br />

ยอ 5 กรัมตออาหาร 1 กิโลกรัม ใชเวลาตรวจอาหารในยอ 2 ชั่วโมง<br />

ในระหวางการเลี้ยงไมมีการถาย<br />

น้ํา<br />

แตจะมีการเติมน้ําจากบอพักน้ําเขามาทดแทนสวนที่ระเหยหรือซึมออกไปและเมื่อความเค็มของ<br />

น้ําในบอเลี้ยงลดลงเรื่อย<br />

ๆ ในกรณีที่มีฝนตกติดตอกันหลายวันจะนําน้ําเค็มจากนาเกลือมาเติมเพื่อ<br />

เพิ่มความเค็มของน้ําในบอเลี้ยงใหอยูในระดับที่เหมาะสมตอการเจริญเติบโต<br />

2.5 การใชเครื่องใหอากาศ<br />

ในบอเลี้ยงกุงขาวแวนนาไมทั้ง<br />

6 บอ ใชเครื่องใหอากาศแบบเครื่องยนตขนาด<br />

10 แรงมา<br />

โดยใชเครื่องยนต<br />

2 เครื่องตอบอ<br />

แตละเครื่องจะมีแขนตีน้ํา<br />

4 แขน แตละแขนมีใบพัดตีน้ําจํานวน<br />

12-14 วง และเครื่องใหอากาศแบบมอเตอรไฟฟาขนาด<br />

3 แรงมาอีก 1 เครื่อง<br />

ซึ่งแตละเครื่องมี<br />

2<br />

แขน แตละแขนมีใบพัดตีน้ําจํานวน<br />

12 วง การเปดเครื่องใหอากาศในเวลากลางวันเริ่มเปดหลังจาก<br />

หวานอาหารไปแลว 2.5 ชั่วโมง<br />

และปดกอนใหอาหาร 0.5 ชั่วโมง<br />

สําหรับเวลากลางคืนเริ่มเปดเวลา<br />

20.00 น. เปนตนไปจนถึงตอนเชาเวลาประมาณ 7.00 น. ในกรณีที่บางชวงที่สภาพอากาศมืดครึ้มหรือ<br />

39


มีฝนตกปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ํามีคาต่ํา<br />

ปริมาณแอมโมเนียหรือไนไตรทสูงหรือมีแพลงกตอน<br />

พืชตายเปนจํานวนมากก็จะเปดเครื่องใหอากาศตลอดเวลา<br />

2.6 การศึกษาอัตราการเจริญเติบโต อัตราการรอดตายและผลผลิตของกุงขาวแวนนาไม<br />

ในบอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus และบอควบคุม<br />

เมื่อกุงอายุ<br />

35 วัน จะเริ่มสุมกุงโดยใชแหเพื่อนํามาชั่งน้ําหนักและหลังจากนั้นทุก<br />

ๆ 2<br />

สัปดาหจนกระทั่งสิ้นสุดการเลี้ยง<br />

(ภาพที่<br />

12) โดยจะสุมกุงอยางนอยบอละ<br />

2 จุด คือ บริเวณมุมบอ<br />

และบริเวณหนาเครื่องใหอากาศ<br />

หลังจากนั้นนําคาที่ไดมาคํานวณหาน้ําหนักเฉลี่ยและอัตราการเจริญ<br />

เติบโตของกุง<br />

การศึกษาอัตราการเจริญเติบโต<br />

อัตราการเจริญเติบโตแตละชวง = น้ําหนักกุงเฉลี่ยปจจุบัน<br />

- น้ําหนักกุงเฉลี่ยครั้งกอน<br />

(กรัมตอตัวตอวัน) ระยะเวลาที่เพิ่มจากการชั่งครั้งกอน<br />

(วัน)<br />

อัตราการเจริญเติบโตสะสม = น้ําหนักกุงเฉลี่ยปจจุบัน<br />

- น้ําหนักลูกกุงตอนปลอย<br />

(กรัมตอตัวตอวัน) อายุการเลี้ยง<br />

(วัน)<br />

การศึกษาปริมาณผลผลิต<br />

ปริมาณผลผลิต (กิโลกรัมตอไร) = น้ําหนักกุงที่จับไดทั้งหมด<br />

พื้นที่บอ<br />

(ไร)<br />

การศึกษาอัตราการรอดตาย<br />

อัตราการรอดตาย (เปอรเซ็นต) = จํานวนกุงที่เหลือ<br />

x 100<br />

จํานวนกุงที่ปลอยทั้งหมด<br />

40


2.7 การศึกษาคุณสมบัติของน้ํา<br />

เก็บตัวอยางน้ําในบอเลี้ยงทั้ง<br />

6 บอ เพื่อวิเคราะหคาปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ํา<br />

อุณหภูมิและความเปนกรดเปนดาง (พีเอช) โดยทําการวิเคราะหทุกวัน ๆ ละ 2 ครั้ง<br />

ในเวลา 7.00 น.<br />

และ 16.00 น. สวนคุณสมบัติของน้ําอื่น<br />

ๆ ไดแก ความเค็ม ความเปนดางทั้งหมด<br />

ความกระดางรวม<br />

ความนําไฟฟา ความโปรงแสง ปริมาณแอมโมเนีย ไนไตรท ไนเตรทและปริมาณไฮโดรเจนซัลไฟด<br />

จะทําการวิเคราะหทุก ๆ 7 วัน จนกระทั่งจับกุง<br />

การวิเคราะหคุณสมบัติของน้ําที่ทําการศึกษา<br />

มีดังนี้<br />

- ความโปรงแสง วิเคราะหโดยใช Secchi disk<br />

- อุณหภูมิน้ํา<br />

วิเคราะหโดยใชเครื่อง<br />

YSI DO 200-4M<br />

- พีเอช วิเคราะหโดยใชเครื่องวัดพีเอช<br />

Ecoscan pH 5/6<br />

- ปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ํา<br />

วิเคราะหโดยใชเครื่อง<br />

YSI DO 200-4M<br />

- ความเค็ม วิเคราะหโดยใชเครื่อง<br />

YSI 30/10 FT<br />

- ความนําไฟฟา วิเคราะหโดยใชเครื่อง<br />

YSI 30/10 FT<br />

- ความเปนดางรวม วิเคราะหโดยใชวิธี Titration (APHA et al., 1995)<br />

- ความกระดาง วิเคราะหโดยใชวิธี EDTA Titrimetric Method (APHA et al., 1995)<br />

- แอมโมเนียรวม วิเคราะหโดยใชวิธี Phenol-hypochlorite method (APHA et al.,<br />

1995)<br />

- ไนไตรท วิเคราะหโดยใชวิธีของ APHA et al.(1995)<br />

- ไนเตรท วิเคราะหโดยใชชุดทดสอบไนเตรทในน้ํา<br />

ภาควิชาปฐพีวิทยา มหาวิทยาลัย<br />

เกษตรศาสตร<br />

- ไฮโดรเจนซัลไฟด วิเคราะหโดยใชชุดทดสอบปริมาณ H2S ในน้ําจากบริษัท<br />

Hach<br />

(U.S.A.)<br />

ควบคุม<br />

2.8 การศึกษาคาศักยไฟฟารีดอกซในบอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus และบอ<br />

ในระหวางการเลี้ยงทําการวิเคราะหคาศักยไฟฟารีดอกซทั้ง<br />

6 บอจะวิเคราะหทุก ๆ<br />

2 สัปดาหดวยเครื่อง<br />

Ecoscan EUTECH Instruments ในบริเวณแนวหวานอาหารจํานวน 4 จุด และ<br />

บริเวณกลางบอจํานวน 4 จุด จนกระทั่งสิ้นสุดการเลี้ยง<br />

41


3. การศึกษาเปรียบเทียบผลตอบแทนการเลี้ยงกุงขาวแวนนาไม<br />

3.1 การวิเคราะหตนทุนและผลตอบแทนจากการเลี้ยงกุงขาวแวนนาไมดวยน้ําความเค็มต่ํา<br />

ตามวิธีของ ศศิวิมล (2544) และ จักรกฤษ (2547) มีรายละเอียด ดังนี้<br />

ตนทุน = คาพันธุกุง<br />

+ คาอาหารกุง<br />

+ คาไฟฟาและน้ํามันเชื้อเพลิง<br />

+ คาน้ําเค็ม<br />

+<br />

คาวัสดุ + ปูนและเคมีภัณฑ + คาแรงงาน + คาอุปกรณและซอมบํารุง +<br />

คาใชจายเบ็ดเตล็ด + คาเชาที่ดิน<br />

+ คาปรับปรุงบอ + คาดอกเบี้ย<br />

ผลตอบแทนทั้งหมด<br />

= ปริมาณผลผลิตกุง<br />

x ราคากุงที่ขายได<br />

ผลตอบแทนสุทธิ = ผลตอบแทนทั้งหมด<br />

– ตนทุนผันแปร<br />

กําไรสุทธิ = ผลตอบแทนทั้งหมด<br />

– ตนทุนทั้งหมด<br />

3.2 องคประกอบของผลตอบแทนของการลงทุนประกอบดวยผลตอบแทนทางตรงจาก<br />

รายไดจากการขายกุงที่ไดจากการเลี้ยงซึ่งคํานวณจาก<br />

รายไดจากการขายกุง<br />

= ปริมาณผลผลิตกุง<br />

x ราคากุงที่ขายได<br />

ซึ่งผลตอบแทนหรือรายไดมาจากการขายกุ<br />

งเพียงอยางเดียว<br />

4. การวิเคราะหขอมูลทางสถิติ<br />

นําขอมูลอัตราการเจริญเติบโต อัตราการรอดตาย ผลผลิต คุณสมบัติของน้ําและคาศักย<br />

ไฟฟารีดอกซของบอที่มีการใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus และบอควบคุมมาเปรียบเทียบกันทาง<br />

สถิติโดยใชวิธี t-test (Steel and Torrie, 1980)<br />

42


5. สถานที่ทําการวิจัย<br />

5.1 ฟารมเลี้ยงกุงเอกชน<br />

ตําบลทุงครุ<br />

เขตทุงครุ<br />

กรุงเทพมหานคร<br />

5.2 อาคารจินดาเทียมเมธ ภาควิชาชีววิทยาประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขต<br />

บางเขน กรุงเทพมหานคร<br />

6. ระยะเวลาการวิจัย<br />

ระหวางเดือนกรกฎาคม 2549 – กุมภาพันธ 2550<br />

43


ภาพที่<br />

9 ลูกกุงระยะโพสลารวา<br />

12 (PL12) ที่นํามาปลอยลงเลี้ยงในบอที่ทําศึกษาทั้ง<br />

6 บอ<br />

ภาพที่<br />

10 ลูกกุงในถังไฟเบอรกลาสซึ่งภายในบรรจุน้ําในบอเลี้ยงและเปดเครื่องใหอากาศ<br />

ตลอดเวลา กอนปลอยลูกกุงผานทางสายยางที่ตออยูกับถังไฟเบอรกลาสลงสูบอเลี้ยง<br />

44


ภาพที่<br />

11 หลังจากปลอยลูกกุงจะใชแบคทีเรียจํานวน<br />

0.45 กิโลกรัมตอบอทุกสัปดาห<br />

จนกระทั่งจับกุง<br />

ภาพที่<br />

12 การสุมกุงชั่งน้ําหนักดวยเครื่องชั่งน้ําหนักแบบดิจิตอล<br />

45


ผลและวิจารณ<br />

1. การศึกษาผลของแบคทีเรีย P. pantotrophus และ NaNO 3 ในการควบคุมปริมาณ H 2S ใน<br />

หองปฏิบัติการ<br />

จากผลการศึกษาผลของแบคทีเรีย P. pantotrophus และ NaNO3ในการควบคุมปริมาณ H2S ในหองปฏิบัติการ แสดงไวดังตารางที่<br />

1 พบวา<br />

กลุมที่<br />

1 ซึ่งเปนกลุมควบคุมที่ไมมีการเติมแบคทีเรียและ<br />

NaNO3 จะมีคา H2S เพิ่มขึ้นอยาง<br />

ตอเนื่อง<br />

เนื่องจากในกลุมควบคุมไมมีการเติมแบคทีเรียและ<br />

NaNO3 จึงทําใหไมสามารถควบคุมคา<br />

H2S ได คา H2S จึงเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องตั้งแตเริ่มจนสิ้นสุดการทดลอง<br />

กลุมที่<br />

2 เปนกลุมที่มีการเติมเฉพาะ<br />

NaNO3 200 มิลลิกรัมตอลิตร คา H2S จะคอย ๆ ลดลง<br />

-<br />

จนถึงวันที่<br />

5 หลังจากนั้นคา<br />

H2S จะมีคาเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องจนสิ้นสุดการทดลอง<br />

สวนคา NO3 คอย ๆ ลดลงจนกระทั่งมีคาเปนศูนยตั้งแตวันที่<br />

5 เปนตนไปจนสิ้นสุดการทดลอง<br />

กลุมที่<br />

3 เปนกลุมที่มีการเติมแบคทีเรียในปริมาณ<br />

5 มิลลิกรัมตอลิตร และ NaNO3 200<br />

มิลลิกรัมตอลิตร คา H2S มีแนวโนมลดลงจนถึงวันที่<br />

4 หลังจากนั้นคา<br />

H2S จะมีคาเพิ่มขึ้นอยาง<br />

-<br />

ตอเนื่องจนสิ้นสุดการทดลอง<br />

สวนคา NO3 จะคอย ๆ ลดลงจนกระทั่งมีคาเปนศูนยตั้งแตวันที่<br />

4<br />

เปนตนไปจนสิ้นสุดการทดลอง<br />

กลุมที่<br />

4 เปนกลุมที่มีการเติมแบคทีเรียในปริมาณ<br />

10 มิลลิกรัมตอลิตร และ NaNO3 200<br />

มิลลิกรัมตอลิตร พบวาคา H2S มีแนวโนมลดลงจนถึงวันที่<br />

3 หลังจากนั้นคา<br />

H2S จะมีคาเพิ่มขึ้น<br />

-<br />

อยางตอเนื่องจนสิ้นสุดการทดลอง<br />

สวนคา NO3 จะคอย ๆ ลดลงจนกระทั่งมีคาเปนศูนยตั้งแตวันที่<br />

3 เปนตนไปสิ้นสุดการทดลอง<br />

จากผลการทดลองแสดงใหเห็นวาการเติมแบคทีเรีย P. pantotrophus รวมกับ NaNO3 สามารถลดปริมาณ H2S ไดผลดีที่สุด<br />

รองลงมา คือ การเติม NaNO3 เพียงอยางเดียวและการไมเติม<br />

ทั้งแบคทีเรียและ<br />

NaNO3 ตามลําดับ โดยกลุมที่<br />

3 ที่มีการเติมแบคทีเรียในปริมาณ<br />

5 มิลลิกรัม<br />

ตอลิตร และ NaNO3 200 มิลลิกรัมตอลิตร สามารถลดปริมาณ H2S ไดผลดีที่สุดและการลดลง<br />

46


-<br />

ของปริมาณ NO3 ในกลุมทดลองที่<br />

2, 3 และ 4 จะแตกตางกัน เนื่องจากการเติมแบคทีเรียของแตละ<br />

-<br />

กลุมมีปริมาณแตกตางกัน<br />

โดยกลุมที่มีการเติมแบคทีเรียที่มีความเขมขนสูงจะมีปริมาณ<br />

NO3 ลดลง<br />

มากกวากลุมที่มีการเติมแบคทีเรียที่มีความเขมขนต่ําและกลุมที่ไมมีการเติมแบคทีเรีย<br />

เนื่องจาก<br />

-<br />

ในสภาวะที่ไมมีออกซิเจนแบคทีเรียจะใช<br />

NO3 เปนตัวรับอิเลคตรอนตัวสุดทายแทนออกซิเจน<br />

(ดวงพร, 2545) การรีดิวซไนเตรทจะทําใหการเจริญเติบโตของพวกแบคทีเรียที่สรางซัลไฟดเจริญ<br />

ไดชาลงทําใหมีการผลิตซัลไฟดลดลงอีกดวย โดยแบคทีเรีย P. pantotrophus มีความตองการ<br />

ไนเตรทในปริมาณที่นอยมาก<br />

ทําใหกระบวนการดีไนตริฟเคชันไมตองใชไนเตรทในปริมาณสูงจน<br />

เกิดการขาดแหลงออกซิเจน จึงเปนการชวยปองกันการเกิดการออกซิไดซซัลเฟตไปเปนซัลไฟดอีก<br />

ทางหนึ่งดวย<br />

ซึ่งจากการศึกษาของ<br />

พุทธ และ วลีรัตน (2547) พบวาการเติม NaNO3 ลงไปเพื่อรักษา<br />

-<br />

คาศักยไฟฟารีดอกซใหอยูในชวงที่มี<br />

NO3 และการเกิดขึ้นของ<br />

H2S จะลดนอยลง ดังนั้น<br />

คา H2S จึง<br />

-<br />

มีคาลดลงซึ่งสัมพันธกับคา<br />

NO3 ที่ลดลง<br />

เนื่องจากเลนพื้นบอที่เลี้ยงกุงอาจมีแบคทีเรียบางชนิดอยู<br />

-<br />

เมื่อมีการเติม<br />

NaNO3 ลงไปทําให NO3 ถูกนําไปใชในกระบวนการของแบคทีเรียซึ่งเปนการชวย<br />

เพิ่มการทํางานของแบคทีเรียที่มีอยูในปริมาณนอยใหสามารถทํางานไดดีขึ้น<br />

จึงชวยลดคา H2S ได<br />

ในระดับหนึ่ง<br />

ซึ่งสอดคลองกับการศึกษาของ<br />

Santschi et al. (1990) ที่กลาวไววา<br />

ในสภาวะที่<br />

- -<br />

ตะกอนดินขาดออกซิเจน NO3 จะถูกเปลี่ยนเปนไนไตรท<br />

(NO2 ) ไนตรัสออกไซด (N2O) และกาซ<br />

ไนโตรเจน (N2) โดยกระบวนการดีไนตริฟเคชันซึ่งออกซิเจนจะถูกดึงออกจากสารประกอบ<br />

-<br />

ไนโตรเจนเพื่อนําไปใชในการสรางพลังงานของแบคทีเรียทําใหปริมาณ<br />

NO3 ลดลง<br />

47


ตารางที่<br />

1 ผลการวิเคราะหทางสถิติแสดงการศึกษาผลของแบคทีเรีย P. pantotrophus และ<br />

NaNO3 ในการควบคุมปริมาณ H2S ในหองปฏิบัติการ<br />

่ ่ ่ ่ วัน พารามิเตอร<br />

(มิลลิกรัมตอลิตร)<br />

กลุมที<br />

1 กลุมที<br />

2 กลุมที<br />

3 กลุมที<br />

4<br />

0 H2S 3.98 ± 0.00<br />

- NO3 a<br />

0.00a 3.98 ± 0.00 a 3.98 ± 0.00<br />

0.00<br />

a 3.98 ± 0.00<br />

0.00<br />

a<br />

0.00a 1 H2S 4.77 ± 0.27<br />

- NO3 c<br />

0.00 a<br />

3.89 ± 0.16 bc<br />

10.00± 0.00 b<br />

3.53 ± 0.31 ab<br />

10.00± 0.00 b<br />

2.65 ± 0.53 a<br />

10.00± 0.00 b<br />

2 H2S 5.04 ± 0.27<br />

- NO3 d<br />

0.00 a<br />

3.71 ± 0.27 c<br />

5.00 ± 0.00b 3.09 ± 0.41 b<br />

5.00 ± 0.00b 1.59 ± 0.00 a<br />

2.50 ± 0.00 b<br />

3 H2S 5.30 ± 0.27<br />

- NO3 d<br />

0.00 a<br />

3.36 ± 0.40 c<br />

5.00 ± 0.00 b<br />

2.21 ± 0.16 b<br />

2.50 ± 0.00 b<br />

1.33 ± 0.00 a<br />

0.00 a<br />

4 H2S 5.83 ± 0.00<br />

- NO3 c<br />

0.00 a<br />

2.47 ± 0.31 b<br />

2.50 ± 0.00 b<br />

1.06 ± 0.92 a<br />

0.00 a<br />

1.80 ± 0.28 ab<br />

0.00 a<br />

5 H2S 6.01 ± 0.16 b 2.30 ± 0.31 a 1.59 ± 0.00 a 2.21 ± 0.67 a<br />

NO 3 -<br />

6 H 2S<br />

NO 3 -<br />

7 H 2S<br />

NO 3 -<br />

0.00 a<br />

6.54 ± 0.16 b<br />

0.00 a<br />

6.89 ± 0.27 c<br />

0.00 a<br />

0.00 a<br />

2.69 ± 1.21 a<br />

0.00 a<br />

3.36 ± 0.40 b<br />

0.00 a<br />

0.00 a<br />

1.94 ± 0.31 a<br />

0.00 a<br />

2.12 ± 0.53 a<br />

0.00 a<br />

0.00 a<br />

3.18 ± 0.27 a<br />

0.00 a<br />

3.71 ± 0.27 b<br />

หมายเหตุ คาเฉลี่ย<br />

± สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานในแนวนอนที่กํากับดวยอักษรที่แตกตางกัน<br />

มีความแตกตางกันทางสถิติอยางมีนัยสําคัญ (P


2. การศึกษาปริมาณที่เหมาะสมของแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus ในการปองกันการเกิด H2S ใน<br />

หองปฏิบัติการ โดยมีการเติม NaNO3 เพื่อรักษาระดับความเขมขนใหคงที่ตลอดระยะเวลาการ<br />

ทดลอง<br />

ผลการศึกษาปริมาณที่เหมาะสมของแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus ในการปองกันการเกิด H2S ในหองปฏิบัติการ โดยมีการเติม NaNO3เพื่อรักษาระดับความเขมขนใหคงที่ตลอดระยะเวลาการทดลอง แสดงไวดังตารางที่<br />

2 พบวา<br />

กลุมที่<br />

1 ซึ่งเปนกลุมควบคุมที่ไมมีการเติมแบคทีเรียและ<br />

NaNO3 จะมีคา H2S เพิ่มขึ้นอยาง<br />

ตอเนื่องตั้งแตเริ่มจนสิ้นสุดการทดลอง<br />

กลุมที่<br />

2 เปนกลุมที่มีการเติมเฉพาะ<br />

NaNO3 10 มิลลิกรัมตอลิตร พบวาคา H2S คอย ๆ<br />

ลดลงจนถึงวันที่<br />

4 หลังจากนั้นคา<br />

H2S จะมีคาเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องจนสิ้นสุดการทดลอง<br />

สวนคา<br />

-<br />

NO3 จะมีการเติมใหมีปริมาณที่เพียงพออยูเสมอ<br />

อาจเนื่องจากแมมีการเติม<br />

NaNO3 ลงไปแตไมมี<br />

การเติมแบคทีเรีย ซึ่งแบคทีเรียที่มีอยูในเลนพื้นบอกุงอาจสามารถลดคา<br />

H2S ไดระดับหนึ่ง<br />

แต<br />

แบคทีเรียยังมีปริมาณไมเพียงพอที่จะทําใหคา<br />

H2S หมดไปได<br />

กลุมที่<br />

3 เปนกลุมที่มีการเติมแบคทีเรียในปริมาณ<br />

0.1 มิลลิกรัมตอลิตร และ NaNO3 10<br />

มิลลิกรัมตอลิตร พบวาคา H2S มีแนวโนมลดลงจนถึงวันที่<br />

4 ซึ่งมีคาเปนศูนยและจะมีคาเปนศูนย<br />

-<br />

ตอไปจนสิ้นสุดการทดลอง<br />

สวนคา NO3 จะมีการเติมใหมีปริมาณที่เพียงพออยูเสมอ<br />

กลุมที่<br />

4 เปนกลุมที่มีการเติมแบคทีเรียในปริมาณ<br />

1 มิลลิกรัมตอลิตร และ NaNO3 10<br />

มิลลิกรัมตอลิตร พบวาคา H2S มีแนวโนมลดลงจนถึงวันที่<br />

4 ซึ่งมีคาเปนศูนยและจะมีคาเปนศูนย<br />

-<br />

ตอไปจนสิ้นสุดการทดลอง<br />

สวนคา NO3 จะมีการเติมใหมีปริมาณที่เพียงพออยูเสมอ<br />

กลุมที่<br />

5 เปนกลุมที่มีการเติมแบคทีเรียในปริมาณ<br />

5 มิลลิกรัมตอลิตร และ NaNO3 10<br />

มิลลิกรัมตอลิตร พบวาคา H2S มีแนวโนมลดลงจนถึงวันที่<br />

3 ซึ่งมีคาเปนศูนยและจะมีคาเปนศูนย<br />

-<br />

ตอไปจนสิ้นสุดการทดลอง<br />

สวนคา NO3 จะมีการเติมใหมีปริมาณที่เพียงพออยูเสมอ<br />

49


กลุมที่<br />

6 เปนกลุมที่มีการเติมแบคทีเรียในปริมาณ<br />

10 มิลลิกรัมตอลิตร และ NaNO3 10<br />

มิลลิกรัมตอลิตร พบวาคา H2S มีแนวโนมลดลงจนถึงวันที่<br />

3 ซึ่งมีคาเปนศูนยและจะมีคาเปนศูนย<br />

-<br />

ตอไปจนสิ้นสุดการทดลอง<br />

สวนคา NO3 จะมีการเติมใหมีปริมาณที่เพียงพออยูเสมอ<br />

จากการศึกษาในกลุมที่<br />

3, 4, 5 และ 6 พบวาจากการเติมทั้งแบคทีเรียและ<br />

NaNO3 ทําใหคา<br />

H2S ลดลงอยางตอเนื่อง<br />

แตความเขมขนที่เหมาะสมที่สุด<br />

คือ กลุมที่<br />

5 และ 6 เนื่องจากสามารถลด<br />

คา H2S จนมีคาเปนศูนยไดภายใน 3 วันเทานั้น<br />

สวนในกลุมที่<br />

3 และ4 สามารถลดคา H2S ไดหมด<br />

-<br />

ภายใน 4 วัน ที่เปนเชนนี้เนื่องจากแบคทีเรียที่เติมลงไปสามารถใช<br />

NO3 จากการเติม NaNO3 ได<br />

อยางเพียงพอตลอดการทดลอง ทําใหกระบวนการทํางานของแบคทีเรียเกิดขึ้นไดอยางตอเนื่องและ<br />

สมบูรณ สวนกลุมที่<br />

2 ที่มีการเติมเฉพาะ<br />

NaNO3 10 มิลลิกรัมตอลิตรอยางเดียว สามารถลดปริมาณ<br />

H2S ไดในระดับหนึ่ง<br />

คือ สามารถลดไดถึงวันที่<br />

4 แตไมสามารถกําจัดไดหมดและตั้งแตวันที่<br />

5 เปน<br />

ตนไปปริมาณ H2S จะคอย ๆ เพิ่มขึ้นจนสิ้นสุดการทดลอง<br />

ดังนั้นจากการทดลองขั้นตนในหองปฏิบัติการ<br />

พบวาความเขมขนของแบคทีเรีย P.<br />

pantotrophus ที่ต่ําที่สุดและมีประสิทธิภาพเพียงพอที่จะสามารถลดปริมาณไฮโดรเจนซัลไฟด<br />

ไดหมด คือ 0.1 มิลลิกรัมตอลิตร จึงมีการนําแบคทีเรีย P. pantotrophus ที่ความเขมขนนี้มาใช<br />

ทดลองในบอเลี้ยงกุงขาวแวนนาไมที่เลี้ยงดวยน้ําความเค็มต่ํา<br />

50


ตารางที่<br />

2 ผลการวิเคราะหทางสถิติแสดงการศึกษาปริมาณที่เหมาะสมของแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus<br />

ในการปองกันการเกิด H2S ในหองปฏิบัติการ โดยมีการเติม NaNO3 เพื่อรักษาระดับความ<br />

เขมขนใหคงที่ตลอดระยะเวลาการทดลอง<br />

วัน พารามิเตอร<br />

(มก./ล)<br />

0 H2S NO 3 -<br />

1 H 2S<br />

NO 3 -<br />

2 H 2S<br />

NO 3 -<br />

3 H 2S<br />

NO 3 -<br />

4 H 2S<br />

NO 3 -<br />

5 H 2S<br />

NO 3 -<br />

6 H 2S<br />

NO 3 -<br />

7 H 2S<br />

NO 3 -<br />

กลุมที่<br />

1 กลุมที่<br />

2<br />

0.00 a<br />

0.00 a<br />

1.33 ± 0.27 b<br />

0.00 a<br />

1.42 ± 0.15 b<br />

0.00 a<br />

1.50 ± 0.15 c<br />

0.00 a<br />

1.59 ± 0.27 c<br />

0.00 a<br />

2.03 ± 0.15 c<br />

0.00 a<br />

2.48 ± 0.15 c<br />

0.00 a<br />

2.74 ± 0.40 c<br />

0.00 a<br />

0.00 a<br />

0.00 a<br />

1.42 ± 0.41 b<br />

10.00 ± 0.00 b<br />

1.33 ± 0.27 b<br />

10.00 ± 0.00 b<br />

1.24 ± 0.16 b<br />

10.00 ± 0.00 b<br />

1.15 ± 0.16 b<br />

10.00 ± 0.00 b<br />

1.33 ± 0.27 b<br />

10.00 ± 0.00 b<br />

1.42 ± 0.41 b<br />

10.00 ± 0.00 b<br />

1.68 ± 0.55 b<br />

10.00 ± 0.00 b<br />

กลุมที่<br />

3<br />

0.00 a<br />

0.00 a<br />

1.59 ± 0.00 b<br />

10.00 ± 0.00 b<br />

1.42 ± 0.15 b<br />

10.00 ± 0.00 b<br />

1.33 ± 0.27 b<br />

10.00 ± 0.00 b<br />

0.00 b<br />

10.00 ± 0.00 b<br />

0.00 a<br />

10.00 ± 0.00 b<br />

0.00 a<br />

10.00 ± 0.00 b<br />

0.00 a<br />

10.00 ± 0.00 b<br />

กลุมที่<br />

4<br />

0.00 a<br />

0.00 a<br />

1.50 ± 0.15 b<br />

10.00 ± 0.00 b<br />

1.33 ± 0.27 b<br />

10.00 ± 0.00 b<br />

1.24 ± 0.31 b<br />

10.00 ± 0.00 b<br />

0.00 a<br />

10.00 ± 0.00 b<br />

0.00 a<br />

10.00 ± 0.00 b<br />

0.00 a<br />

10.00 ± 0.00 b<br />

0.00 a<br />

10.00 ± 0.00 b<br />

กลุมที่<br />

5<br />

0.00 a<br />

0.00 a<br />

0.80 ± 0.00 a<br />

10.00 ± 0.00 b<br />

0.35 ± 0.31 a<br />

10.00 ± 0.00 b<br />

0.00 a<br />

10.00 ± 0.00 b<br />

0.00 a<br />

10.00 ± 0.00 b<br />

0.00 a<br />

10.00 ± 0.00 b<br />

0.00 a<br />

10.00 ± 0.00 b<br />

0.00 a<br />

10.00 ± 0.00 b<br />

51<br />

กลุมที่<br />

6<br />

0.00 a<br />

0.00 a<br />

0.53 ± 0.00 a<br />

10.00 ± 0.00 b<br />

0.18 ± 0.31 a<br />

10.00 ± 0.00 b<br />

0.00 a<br />

10.00 ± 0.00 b<br />

0.00 a<br />

10.00 ± 0.00 b<br />

0.00 a<br />

10.00 ± 0.00 b<br />

0.00 a<br />

10.00 ± 0.00 b<br />

0.00 a<br />

10.00 ± 0.00 b<br />

หมายเหตุ คาเฉลี่ย<br />

± สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานในแนวนอนที่กํากับดวยอักษรที่แตกตางกันมีความแตกตาง<br />

กันทางสถิติอยางมีนัยสําคัญ (P


3. การศึกษาผลของแบคทีเรีย P. pantotrophus ตออัตราการเจริญเติบโต อัตราการรอดตายและ<br />

ผลผลิตของกุงขาวแวนนาไมในบอเลี้ยง<br />

ปลอยลูกกุงขาวแวนนาไมในบอเลี้ยงทั้ง<br />

6 บอ ในวันที่<br />

19 สิงหาคม 2549 และจับกุงใน<br />

วันที่<br />

7 ธันวาคม 2549 โดยผลการเลี้ยงกุงขาวแวนนาไมในบอทดลองที่มีการใชแบคทีเรีย<br />

P.<br />

pantotrophus และบอควบคุม แสดงไวในตารางที่<br />

3 และภาพที่<br />

9 ตลอดระยะเวลาการเลี้ยงไมพบกุง<br />

ปวยเปนโรคหรือแสดงอาการผิดปกติ เนื่องจากกุงขาวแวนนาไมที่มาใชศึกษาในครั้งนี้ไดผานการ<br />

ตรวจดวยเทคนิคพีซีอารวาปลอดเชื้อไวรัสดวงขาว<br />

ไวรัสหัวเหลือง ไวรัสทอราและ IHHNV ผล<br />

การศึกษาพบวา บอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus ใหผลผลิตเฉลี่ย<br />

840±40.0 กิโลกรัมตอ<br />

ไร กุงมีน้ําหนักเฉลี่ย<br />

16.77±0.43 กรัม อัตราการเจริญเติบโต 0.15±0.01 กรัมตอวัน อัตราการรอด<br />

ตาย 83.6±6.08 เปอรเซ็นตและอัตราการแลกเนื้อ<br />

1.16±0.06 ในขณะที่บอควบคุมที่ไมใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus ใหผลผลิตเฉลี่ย<br />

633.33±41.63 กิโลกรัมตอไร กุงมีน้ําหนักเฉลี่ย<br />

15.31±0.35 กรัม<br />

อัตราการเจริญเติบโต 0.14±0.01 กรัมตอวัน อัตราการรอดตาย 69.03±6.18 เปอรเซ็นต และอัตรา<br />

การแลกเนื้อ<br />

1.52±0.17 เมื่อนําคาเฉลี่ยทั้งหมดนี้มาทดสอบทางสถิติพบวามีความแตกตางกันอยาง<br />

มีนัยสําคัญ (P


ตารางที่<br />

3 น้ําหนักเฉลี่ยและอัตราการเจริญเติบโตของกุงขาวแวนนาไมในบอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus และบอควบคุม<br />

เวลาเลี้ยง<br />

บอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus บอควบคุม<br />

(สัปดาห) น้ําหนักเฉลี่ย<br />

อัตราการเจริญเติบโต น้ําหนักเฉลี่ย<br />

อัตราการเจริญเติบโต<br />

(กรัม) (กรัมตอตัวตอวัน) (กรัม) (กรัมตอตัวตอวัน)<br />

5 3.06 0.09 2.91 0.08<br />

7 5.15 0.15 4.71 0.13<br />

9 7.26 0.15 6.17 0.1<br />

11 10.51 0.23 9.18 0.21<br />

13 13.89 0.24 12.34 0.23<br />

15 16.77 0.21 15.31 0.21<br />

กรัม<br />

20.00<br />

15.00<br />

10.00<br />

5.00<br />

0.00<br />

น้ําหนักเฉลี่ย<br />

5 7 9 11 13 15<br />

เวลาเลี<br />

้ยง (สัปดาห)<br />

บอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus บอควบคุม<br />

ภาพที่<br />

13 การเจริญเติบโตของกุงขาวแวนนาไมในบอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus<br />

และบอควบคุม<br />

53


ตารางที่<br />

4 การเปรียบเทียบขอมูลผลผลิตกุงขาวแวนนาไมในบอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus<br />

และบอควบคุม<br />

บอ ขนาดบอ ระยะเวลา น้ําหนัก<br />

อัตราการ อัตราการ ผลผลิต อัตราการ<br />

(ไร) ที่เลี้ยง<br />

เฉลี่ย<br />

รอดตาย แลกเนื้อ<br />

(กิโลกรัม/ไร) เจริญเติบโต<br />

(วัน) (กรัม) (เปอรเซ็นต)<br />

(กรัม/วัน)<br />

บอทดลอง ( เติมจุลินทรีย P. pantotrophus )<br />

1 2.5 111 17.24 77.33 1.22 800 0.16<br />

2 2.5 111 16.39 89.47 1.11 880 0.15<br />

3 2.5 111 16.67 84.00 1.16 840 0.15<br />

เฉลี่ย<br />

2.5 111 16.77±0.43a 83.6±6.08a 1.16±0.06a 840±40.00a 0.15±0.01a บอควบคุม ( ไมเติมจุลินทรีย P. pantotrophus )<br />

4 2.5 111 15.38 67.17 1.62 620 0.14<br />

5 2.5 111 15.63 64.00 1.62 600 0.14<br />

6 2.5 111 14.93 75.93 1.32 680 0.13<br />

เฉลี่ย<br />

2.5 111 15.31±0.35b 69.03±6.18 b 1.52±0.17b 633.33±41.63b 0.14±0.01b หมายเหตุ 1 ไร เทากับ 1,600 ตารางเมตร<br />

คาเฉลี่ย±คาเบี่ยงเบนมาตรฐานในแนวตั้งที่กํากับ<br />

54


4. การศึกษาเปรียบเทียบตนทุนและผลตอบแทนขั้นตนจากการเลี้ยงและจําหนายกุงขาวแวนนาไม<br />

ระหวางบอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus และบอควบคุม<br />

จากการศึกษาเปรียบเทียบตนทุนการผลิตและผลตอบแทนขั้นตนจากการเลี้ยงกุงขาว<br />

แวนนาไมในบอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus และบอควบคุม (ตารางที่<br />

5) พบวาบอ<br />

ทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus มีตนทุนการผลิตเฉลี่ยเทากับ<br />

52,446 บาทตอไร รายไดเฉลี่ย<br />

เทากับ 117,600 บาทตอไร สวนบอควบคุมมีตนทุนการผลิตเฉลี่ยเทากับ<br />

47,892 บาทตอไร<br />

รายไดเฉลี่ยเทากับ<br />

85,500 บาทตอไร ซึ่งการเลี้ยงกุงขาวแวนนาไมในบอทดลองจะใหผลตอบแทน<br />

ที่ดีกวาบอควบคุมซึ่งจะเห็นไดจากบอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus จะมีกําไรสุทธิขั้นตน<br />

เฉลี่ย<br />

65,154 บาทตอไร โดยมีคามากกวาในบอควบคุม ซึ่งมีกําไรสุทธิขั้นตนเฉลี่ยเพียง<br />

37,608 บาท<br />

ตอไรอยางมีนัยสําคัญ (P


ตารางที่<br />

5 ตนทุนการผลิตและผลตอบแทนขั้นตนของการเลี้ยงกุงขาวแวนนาไมในบอทดลอง<br />

ที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus และบอควบคุม (เฉลี่ยตอบอ)<br />

หนวย : บาท<br />

บอทดลอง บอควบคุม<br />

ตนทุน<br />

<br />

- คาแบคทีเรีย P. pantotrophus 12,750 -<br />

- คาลูกพันธุ<br />

10,500 10,500<br />

- คาอาหาร 65,131 66,030<br />

- คาสารเคมีและปจจัยการผลิต 14,400 14,400<br />

- คาน้ํามัน<br />

10,167 10,333<br />

- คาซอมแซมและคาใชจายอื่น<br />

ๆ 9,900 10,200<br />

- คาแรงงาน 8,267 8,267<br />

- รวมตนทุนทั้งหมด<br />

131,114 119,730<br />

- รวมตนทุน (บาทตอไร) 52,446 47,892<br />

- รวมตนทุน (บาทตอกิโลกรัม)<br />

- กุงขนาด<br />

60 ตัวตอกิโลกรัม ๆ ละ 140 บาท<br />

62 76<br />

- กุงขนาด<br />

65 ตัวตอกิโลกรัม ๆ ละ 135 บาท<br />

- ผลผลิตทั้งหมด<br />

(กิโลกรัม) 2,100 1,583<br />

- ผลผลิตตอไร (กิโลกรัม)<br />

รายได<br />

840 633<br />

- รายไดทั้งหมด<br />

294,000 213,750<br />

- รายได (บาทตอไร) 117,600 85,500<br />

- รายได (บาทตอกิโลกรัม)<br />

ผลตอบแทน<br />

140 135<br />

กําไรขั้นตนทั้งหมด<br />

162,886 94,020<br />

กําไรสุทธิขั้นตน(บาทตอไร)<br />

65,154 37,608<br />

กําไรสุทธิขั้นตน<br />

(บาทตอกิโลกรัม) 78 59<br />

* ราคากุงขาวแวนนาไม<br />

ณ วันที่<br />

7 ธันวาคม พ.ศ.2549<br />

56


5. การศึกษาคุณสมบัติของน้ําในบอทดลองใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus และบอควบคุม<br />

คุณสมบัติของน้ําในบอทดลองและบอควบคุม<br />

แสดงไวในตารางที่<br />

6<br />

5.1 ความโปรงแสง<br />

ความโปรงแสงของบอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus มีคาอยูระหวาง<br />

7-40<br />

เซนติเมตร และมีคาเฉลี่ย<br />

16.82±8.00 เซนติเมตร สวนบอควบคุมที่ไมใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus<br />

มีคาอยูระหวาง<br />

8-35 เซนติเมตร และมีคาเฉลี่ย<br />

18.13±8.57 เซนติเมตร (ตารางผนวกที่<br />

3) คาเฉลี่ย<br />

ความโปรงแสงของบอที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus และบอควบคุม (ตารางที่<br />

6 และภาพที่<br />

14)<br />

ไมมีความแตกตางกันทางสถิติอยางมีนัยสําคัญ (P>0.05) (ตารางผนวกที่<br />

2) คาความโปรงแสงทั้งใน<br />

บอทดลองและบอควบคุมมีคาที่สูงในชวงแรกของการเลี้ยง<br />

เนื่องจากปริมาณแพลงกตอนยังมีนอย<br />

แตในขั้นตอนการเตรียมน้ํามีการใชโดโลไมท<br />

ซึ่งมีองคประกอบหลัก<br />

คือ แคลเซียมและแมกนีเซียม<br />

ซึ่งเปนธาตุอาหารสําคัญสําหรับแพลงกตอนพืชและจากปริมาณอาหารที่เพิ่มขึ้นในระหวางการเลี้ยง<br />

ทําใหปริมาณแพลงกตอนเพิ่มขึ้นเรื่อย<br />

ๆ โดยเฉพาะในชวงทายของการเลี้ยงนั้นคาความโปรงแสง<br />

ลดต่ําลงมากเนื่องจากแพลงกตอนพืชจะใชทั้งแอมโมเนียและไนเตรทเปนแหลงของไนโตรเจน<br />

(จูอะดี และ คณะ, 2528) แตในระหวางการศึกษาครั้งนี้ไมพบสาหรายตามพื้นบอ<br />

เนื่องจากปริมาณ<br />

แพลงกตอนชวยปองกันการเกิดสาหรายตามพื้นบอหรือขี้แดด<br />

(benthic algae) ซึ่งเกิดบอยเมื่อน้ําใส<br />

หรือมีความโปรงแสงมาก โดยเฉพาะถาน้ําใสมากในระยะแรกเปนเวลานาน<br />

(ชลอ, 2534; Boyd,<br />

1989)<br />

5.2 อุณหภูมิน้ํา<br />

อุณหภูมิน้ําตอนเชาของบอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus มีคาอยูระหวาง<br />

29.0-30.1 องศาเซลเซียส และมีคาเฉลี่ย<br />

29.5±0.28 องศาเซลเซียส สวนบอควบคุมที่ไมใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus มีคาอยูระหวาง<br />

29.0-29.9 องศาเซลเซียส และมีคาเฉลี่ย<br />

29.6±0.23 องศาเซลเซียส<br />

สวนอุณหภูมิน้ําตอนบายของบอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus มีคาอยูระหวาง<br />

31.0-33.5<br />

องศาเซลเซียส และมีคาเฉลี่ย<br />

32.0±0.69 องศาเซลเซียส สวนบอควบคุมที่ไมใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus มีคาอยูระหวาง<br />

30.3-33.5 องศาเซลเซียส และมีคาเฉลี่ย<br />

32.0±0.73 องศาเซลเซียส<br />

(ตารางผนวกที่<br />

3) คาเฉลี่ยอุณหภูมิน้ําในบอทดลองและบอควบคุม<br />

(ตารางที่<br />

6 และภาพที่<br />

15-16)<br />

57


ไมมีความแตกตางกันทางสถิติอยางมีนัยสําคัญ (P>0.05) (ตารางผนวกที่<br />

2) เนื่องจากบอเลี้ยงกุงที่ใช<br />

ในการศึกษาครั้งนี้อยูในฟารมเดียวกันอุณหภูมิน้ําจึงไมแตกตางกัน<br />

โดยตลอดระยะเวลาการเลี้ยง<br />

อุณหภูมิน้ําตอนเชาและบายอยูในระดับที่เหมาะสมกับการเลี้ยงกุงขาวแวนนาไม<br />

ซึ่งอุณหภูมิที่<br />

เหมาะสมกับการเลี้ยงกุงขาวแวนนาไมอยูระหวาง<br />

26-33 องศาเซลเซียส (Wickins and Lee, 2002)<br />

5.3 พีเอช<br />

พีเอชของน้ําในตอนเชาของบอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus มีคาอยูระหวาง<br />

7.61-7.92 และมีคาเฉลี่ย<br />

7.75±0.07 สวนบอควบคุมที่ไมใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus มีคาอยู<br />

ระหวาง 7.60-7.84 และมีคาเฉลี่ย<br />

7.73±0.06 สวนพีเอชของน้ําตอนบายของบอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus มีคาอยูระหวาง<br />

8.24-8.48 และมีคาเฉลี่ย<br />

8.37±0.05 สวนบอควบคุมที่ไมใช<br />

แบคทีเรีย P. pantotrophus อยูระหวาง<br />

8.22-8.55 และมีคาเฉลี่ย<br />

8.38±0.06 (ตารางผนวกที่<br />

3)<br />

พีเอชของน้ําของบอทดลองและบอควบคุม<br />

(ตารางที่<br />

6 และภาพที่<br />

17-18) ไมมีความแตกตางกันทาง<br />

สถิติอยางมีนัยสําคัญ (P>0.05) (ตารางผนวกที่<br />

2) โดยการเปลี่ยนแปลงของพีเอชในบอเลี้ยงกุงใน<br />

ตอนกลางวันแพลงกตอนพืชจะใชคารบอนไดออกไซด ซึ่งไดจากการหายใจของสิ่งมีชีวิตและ<br />

ไบคารบอเนตในน้ําเพื่อการสังเคราะหแสงทําใหคาพีเอชสูงขึ้น<br />

สวนในตอนกลางคืนคารบอน<br />

ไดออกไซดถูกปลอยออกมาจากการหายใจของแพลงกตอนและสิ่งมีชีวิตในน้ําทําใหปริมาณ<br />

คารบอนไดออกไซดสะสมเพิ่มขึ้นและมากที่สุดในตอนเชามืดทําใหพีเอชลดลง<br />

(Boyd, 1982) โดย<br />

แหลงน้ําที่เหมาะสมตอการดํารงชีวิตของกุงไมควรมีการเปลี่ยนแปลงของพีเอชเกินกวา<br />

0.5 หนวย<br />

ในรอบวัน (ชลอ, 2543) พีเอชของน้ําที่เหมาะสมแกการเลี้ยงกุงขาวแวนนาไมควรอยูระหวาง<br />

7.0-<br />

9.0 (Brock and Main, 1994) ดังนั้นพีเอชของน้ําในตอนเชาและบายตลอดการศึกษาในครั้งนี้จึงมีคา<br />

พีเอชอยูในชวงที่เหมาะสม<br />

5.4 ปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ํา<br />

ปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ําตอนเชาของบอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus<br />

มีคาอยูระหวาง<br />

4.81-5.37 มิลลิกรัมตอลิตร และมีคาเฉลี่ย<br />

5.08±0.18 มิลลิกรัมตอลิตร สวนบอ<br />

ควบคุมที่ไมใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus มีคาอยูระหวาง<br />

4.81-5.30 มิลลิกรัมตอลิตร และมี<br />

คาเฉลี่ย<br />

5.03±0.14 มิลลิกรัมตอลิตร ปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ําตอนบายของบอทดลองที่ใช<br />

แบคทีเรีย P. pantotrophus มีคาอยูระหวาง<br />

7.13-9.68 มิลลิกรัมตอลิตร และมีคาเฉลี่ย<br />

8.59±0.62<br />

58


มิลลิกรัมตอลิตร สวนบอควบคุมที่ไมใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus มีคาอยูระหวาง<br />

7.04-9.96<br />

มิลลิกรัมตอลิตร และมีคาเฉลี่ย<br />

8.20±0.74 มิลลิกรัมตอลิตร (ตารางผนวกที่<br />

3) คาเฉลี่ยปริมาณ<br />

ออกซิเจนที่ละลายในน้ําของบอทดลองและบอควบคุม<br />

(ตารางที่<br />

6 และภาพที่<br />

19-20) มีความ<br />

แตกตางกันทางสถิติอยางมีนัยสําคัญ (P0.05) (ตารางผนวกที่<br />

2 ) โดยความเค็มของน้ําทั้งบอทดลองและบอควบคุมจะคอย<br />

ๆ ลดลงเมื่อ<br />

ระยะเวลาการเลี้ยงเพิ่มขึ้น<br />

เนื่องมาจากมีการเติมน้ําจืดเขาไปทดแทนน้ําสวนที่ระเหยและรั่วซึม<br />

ออกไปเพื่อรักษาระดับน้ําในบอใหมีความลึกประมาณ<br />

1.3 เมตร สวนในสัปดาหที่<br />

12 ของการเลี้ยง<br />

ไดนําน้ําเค็มจากนาเกลือมาเติมเพื่อเพิ่มความเค็ม<br />

แตความเค็มของน้ําเพิ่มขึ้นเพียงเล็กนอยเทานั้น<br />

Wickins and Lee (2002) รายงานวา กุงขาวแวนนาไมสามารถเจริญเติบโตไดในน้ําความเค็มระหวาง<br />

0-35 พีพีที แต ชลอ และ พรเลิศ (2547) แนะนําวาการเลี้ยงกุงขาวแวนนาไมดวยน้ําความเค็มต่ําใน<br />

ระหวางการเลี้ยงควรรักษาระดับความเค็มไมใหต่ํากวา<br />

3 พีพีที จะทําใหการเลี้ยงไดผลผลิตสูงและ<br />

สามารถเลี้ยงกุงไดขนาดใหญ<br />

5.6 การนําไฟฟา<br />

คาการนําไฟฟาของบอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus มีคาอยูระหวาง<br />

4.90-<br />

11.87 มิลลิซิเมนสตอเซนติเมตร และมีคาเฉลี่ย<br />

8.30±2.17 มิลลิซิเมนสตอเซนติเมตร สวนบอควบคุม<br />

ที่ไมใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus มีคาอยูระหวาง<br />

5.10-9.86 มิลลิซิเมนสตอเซนติเมตร และมี<br />

59


คาเฉลี่ย<br />

7.69±1.58 มิลลิซิเมนสตอเซนติเมตร (ตารางผนวกที่<br />

3) คาเฉลี่ยของคาการนําไฟฟาในบอ<br />

ทดลองและบอควบคุม (ตารางที่<br />

6 และภาพที่<br />

22) ไมมีความแตกตางกันทางสถิติอยางมีนัยสําคัญ<br />

(P>0.05) (ตารางผนวกที่<br />

2) คาการนําไฟฟามีความสัมพันธกับความเค็มและมีการเปลี่ยนแปลงไป<br />

ในทิศทางเดียวกันกับความเค็มตลอดระยะเวลาในการทดลอง (Boyd, 1982; 2002)<br />

5.7 ความเปนดางรวม<br />

คาความเปนดางรวมของบอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus มีคาอยูระหวาง<br />

94-303 มิลลิกรัมตอลิตร และมีคาเฉลี่ย<br />

194±51 มิลลิกรัมตอลิตร สวนบอควบคุมที่ไมใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus มีคาอยูระหวาง<br />

93-244 มิลลิกรัมตอลิตร และมีคาเฉลี่ย<br />

182±38 มิลลิกรัมตอลิตร<br />

(ตารางผนวกที่<br />

3) คาความเปนดางรวมของบอทดลองและบอควบคุม (ตารางที่<br />

6 และภาพที่<br />

23)<br />

ไมมีความแตกตางกันทางสถิติอยางมีนัยสําคัญ (P>0.05) (ตารางผนวกที่<br />

2) โดยคาความเปนดาง<br />

รวมมีความสําคัญมากในการเพาะเลี้ยงกุง<br />

ซึ่งจะมีความสัมพันธกับอัตราการรอดตายและการเจริญ<br />

เติบโตของกุงทะเลทุกชนิด<br />

(ชลอ และ พรเลิศ, 2547) โดยคาความเปนดางรวมของบอทดลองและ<br />

บอควบคุมตลอดระยะเวลาการเลี้ยงอยูในระดับที่เหมาะสมกับการเลี้ยงกุงขาวแวนนาไม<br />

แตชวง<br />

ทายของการเลี้ยงมีฝนตกติดตอกันหลายวันจึงไดมีการเติมวัสดุปูนลงไปเพื่อรักษาคาความเปนดาง<br />

รวมใหเหมาะสมตอการเลี้ยง<br />

ซึ่งคาความเปนดางรวมที่เหมาะสมกับการเลี้ยงกุงขาวแวนนาไมมีคา<br />

อยูระหวาง<br />

120-180 (สุรศักดิ์,<br />

2546)<br />

5.8 ความกระดาง<br />

คาความกระดางของบอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus มีคาอยูระหวาง<br />

758-1826 มิลลิกรัมตอลิตร และมีคาเฉลี่ย<br />

1260±329 มิลลิกรัมตอลิตร สวนบอควบคุมที่ไมใช<br />

แบคทีเรีย P. pantotrophus มีคาอยูระหวาง<br />

772-1532 มิลลิกรัมตอลิตร และมีคาเฉลี่ย<br />

1142±220<br />

มิลลิกรัมตอลิตร (ตารางผนวกที่<br />

3) คาความกระดางของบอทดลองและบอควบคุม (ตารางที่<br />

6 และ<br />

ภาพที่<br />

24) ไมมีความแตกตางกันทางสถิติอยางมีนัยสําคัญ (P>0.05) (ตารางผนวกที่<br />

2) ตลอด<br />

ระยะเวลาที่ทําการเลี้ยง<br />

พบวาความกระดางมีคาคอนขางคงที่หรือลดลงบางเล็กนอยในบางชวงจาก<br />

การเติมน้ําจืด แตเนื่องจากในระหวางการเลี้ยงไดมีการเติมแรธาตุลงไปในชวงเวลาที่กุงมีการลอก<br />

คราบเพื่อรักษาระดับของความกระดางไมใหเปลี่ยนแปลงมากเกินไป<br />

คาความกระดางของน้ําทั้งใน<br />

บอทดลองและบอควบคุมของการศึกษาครั้งนี้สวนใหญอยูในระดับที่เหมาะสมตอการเลี้ยงกุง<br />

คือ<br />

60


ไมต่ํากวา<br />

1,000 มิลลิกรัมตอลิตร (ชลอ และ พรเลิศ, 2547) แตมีบางชวงเวลาที่ต่ํากวาระดับที่<br />

เหมาะสม คือ ชวงกอนที่จะมีการนําน้ําเค็มจากนาเกลือมาเติม<br />

5.9 แอมโมเนียรวม<br />

ปริมาณแอมโมเนียรวมของบอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus มีคาอยูระหวาง<br />

0.02-0.81 มิลลิกรัมตอลิตร และมีคาเฉลี่ย<br />

0.27±0.18 มิลลิกรัมตอลิตร สวนบอควบคุมที่ไมใช<br />

แบคทีเรีย P. pantotrophus มีคาอยูระหวาง<br />

0.01-0.78 มิลลิกรัมตอลิตร และมีคาเฉลี่ย<br />

0.30±0.21<br />

มิลลิกรัมตอลิตร (ตารางผนวกที่<br />

3) แอมโมเนียรวมของบอทดลองและบอควบคุม (ตารางที่<br />

6 และ<br />

ภาพที่<br />

25) ไมมีความแตกตางกันทางสถิติอยางมีนัยสําคัญ (P>0.05) (ตารางผนวกที่<br />

2) โดย<br />

แอมโมเนียรวมมีแนวโนมเพิ่มสูงขึ้นตามระยะเวลาการเลี้ยงที่เพิ่มขึ้นโดยในชวงแรกของการเลี้ยง<br />

ทั้งในบอทดลองและบอควบคุมปริมาณอาหารที่ใชในการเลี้ยงกุงยังมีไมมากนัก<br />

เนื่องจากกุงยังมี<br />

ขนาดเล็ก แตในชวงทายของการเลี้ยงทั้งในบอทดลองและบอควบคุมมีแอมโมเนียรวมเพิ่มสูงขึ้น<br />

เนื่องจากกุงมีขนาดใหญขึ้นปริมาณอาหารที่ใหในแตละวันจะมากขึ้นดวย<br />

ดังนั้นเมื่อกุงกินอาหาร<br />

มากขึ้นของเสียที่ขับถายออกมาจากกุงและเศษอาหารที่เหลือเพิ่มสูงขึ้นตามไปดวย<br />

รวมทั้งปริมาณ<br />

แพลงกตอนที่เพิ่มมากขึ้นและบางสวนที่ตายจะเพิ่มแอมโมเนีย<br />

แตอยางไรก็ตามระดับแอมโมเนีย<br />

รวมของบอทดลองและบอควบคุมตลอดระยะเวลาการเลี้ยงยังอยูในระดับที่เหมาะสมตอการเลี้ยง<br />

กุงขาวแวนนาไม<br />

ซึ่งแอมโมเนียรวมที่เหมาะสมตอการเลี้ยงกุงควรจะมีปริมาณนอยกวา<br />

1 มิลลิกรัม<br />

ตอลิตร (Brock and Main, 1994)<br />

5.10 ไนไตรท<br />

ปริมาณไนไตรทของบอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus มีคาอยูระหวาง<br />

0.00-<br />

0.09 มิลลิกรัมตอลิตร และมีคาเฉลี่ย<br />

0.04±0.02 มิลลิกรัมตอลิตร สวนบอควบคุมที่ไมใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus มีคาอยูระหวาง<br />

0.01-0.08 มิลลิกรัมตอลิตร และมีคาเฉลี่ย<br />

0.04±0.02 มิลลิกรัมตอ<br />

ลิตร (ตารางผนวกที่<br />

3) ปริมาณไนไตรทของบอทดลองและบอควบคุม (ตารางที่<br />

6 และภาพที่<br />

26)<br />

ไมมีความแตกตางกันทางสถิติอยางมีนัยสําคัญ (P>0.05) (ตารางผนวกที่<br />

2) โดยในชวงทายของการ<br />

เลี้ยงปริมาณไนไตรททั้งในบอทดลองและบอควบคุมมีแนวโนมเพิ่มสูงขึ้น<br />

เนื่องจากปริมาณ<br />

แอมโมเนียรวมที่เพิ่มสูงขึ้นตามระยะการเลี้ยงจึงเกิดกระบวนการไนตริฟเคชัน<br />

โดยแบคทีเรียกลุม<br />

nitrifying bacteria เชน Nitrosomonas sp. และ Nitrococcus sp. เปลี่ยนแอมโมเนียเปนไนไตรทกอนที่ไน<br />

61


ไตรท จะเปลี่ยนเปนไนเตรทโดย<br />

Nitrobacter sp. ในสภาวะที่มีออกซิเจนเพียงพอ<br />

แตไน<br />

ไตรทในบออาจเกิดจากไนเตรทเปลี่ยนเปนไนไตรทไดโดยแบคทีเรียในบริเวณเลนพื้นบอ<br />

โดยเฉพาะบริเวณกลางบอที่มีตะกอนตาง<br />

ๆ ทับถมในปริมาณมากจึงทําใหกระบวนการไนตริฟเค<br />

ชันเกิดไมสมบูรณสงผลใหเกิดการสะสมไนไตรทในบอขึ้นได (ชลอ และ พรเลิศ, 2547; Boyd,<br />

1982) อยางไรก็ตามปริมาณไนไตรททั้งในบอทดลองและบอควบคุมที่ทําการศึกษาอยูในระดับที่<br />

เหมาะสมตอการเลี้ยงกุง<br />

คือ มีคาปริมาณไนไตรทนอยกวา 0.1 มิลลิกรัมตอลิตร (Brock and<br />

Main, 1994)<br />

5.11 ไนเตรท<br />

ปริมาณไนเตรทของบอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus มีคาอยูระหวาง<br />

5.0-<br />

10.0 มิลลิกรัมตอลิตร และมีคาเฉลี่ย<br />

9.11±1.93 มิลลิกรัมตอลิตร สวนบอควบคุมที่ไมใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus มีคาอยูระหวาง<br />

5.0-10.0 มิลลิกรัมตอลิตร และมีคาเฉลี่ย<br />

8.89±2.10 มิลลิกรัมตอ<br />

ลิตร (ตารางผนวกที่<br />

3) ปริมาณไนเตรทของบอทดลองและบอควบคุม (ตารางที่<br />

6 และภาพที่<br />

27)<br />

ไมมีความแตกตางกันทางสถิติอยางมีนัยสําคัญ (P>0.05) (ตารางผนวกที่<br />

3) เนื่องจากชวงเวลาที่<br />

ทําการศึกษาไดมีการใชเครื่องใหอากาศอยางเพียงพอทําใหเกิดการยอยสลายสารอินทรียแบบใช<br />

ออกซิเจนของแบคทีเรียกลุมไนตริไฟอิ้งแบคทีเรีย<br />

(nitrifying bacteria) ในกระบวนการ<br />

ไนตริฟเคชัน (nitrification) เริ่มจากแอมโมเนียมอิออนถูกออกซิไดซเปนไนไตรทโดยแบคทีเรีย<br />

Nitrosomonas และถูกออกซิไดซตอไปเปนไนเตรทโดยแบคทีเรีย Nitrobacter<br />

5.12 ไฮโดรเจนซัลไฟด<br />

ปริมาณไฮโดรเจนซัลไฟดของบอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus ไมพบ<br />

ไฮโดรเจน<br />

ซัลไฟด สวนบอควบคุมที่ไมใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus มีคาอยูระหวาง<br />

0.00-1.86 มิลลิกรัมตอ<br />

ลิตร และมีคาเฉลี่ย<br />

0.74±0.67มิลลิกรัมตอลิตร (ตารางผนวกที่<br />

3) ปริมาณไฮโดรเจนซัลไฟดของบอ<br />

ทดลองและบอควบคุม (ตารางที่<br />

6 และภาพที่<br />

28) มีความแตกตางกันทางสถิติอยางมีนัยสําคัญ<br />

(P


กวาบอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus เนื่องจากสารอินทรียถูกทั้งยอยสลายโดยแบคทีเรีย<br />

กลุม<br />

sulfate reducing bacteria ไดแก Desulfovibrio, Desulfotomaculum และ Desulfomonas ผลจาก<br />

การรีดิวซทําใหเกิดกาซไฮโดรเจนซัลไฟดหรือกาซไขเนา (ดวงพร, 2545) แตในบอทดลองที่ใช<br />

แบคทีเรีย P. pantotrophus ซึ่งเปนแบคทีเรียกลุม<br />

sulfur-oxidizing bacteria สามารถออกซิไดซกาซ<br />

2- 2- 2-<br />

ไฮโดรเจนซัลไฟด ซัลเฟอร (S) ไธโอซัลเฟต (S2O3 ) ซัลไฟท (SO3 ) ใหเปนซัลเฟต (SO4 )<br />

63


ตารางที่<br />

6 คุณสมบัติของน้ําในบอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus และบอควบคุม<br />

คุณสมบัติของน้ํา<br />

บอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus บอควบคุม<br />

พิสัย คาเฉลี่ย<br />

พิสัย คาเฉลี่ย<br />

ความโปรงแสง (เซนติเมตร) 7.0-40.0 16.82±8.00 a 8.0-35.0 18.13±8.57 a<br />

อุณหภูมิน้ํา<br />

(องศาเซลเซียส) -เชา 29.0-30.1 29.5±0.28 a 29.0-29.9 29.6±0.23 a<br />

-บาย 31.0-33.5 32.0±0.69 a 30.3-33.5 32.0± 0.73 a<br />

พีเอช -เชา 7.61-7.92 7.75±0.07 a 7.60-7.84 7.73±0.06 a<br />

-บาย 8.24-8.48 8.37±0.05 a 8.22-8.55 8.38±0.06 a<br />

ออกซิเจนที่ละลายในน้ํา<br />

-เชา 4.81-5.37 5.08±0.18 a 4.81-5.30 5.03±0.14 a<br />

(มิลลิกรัมตอลิตร) -บาย 7.13-9.68 8.59±0.62 b 7.04-9.96 8.20±0.74 a<br />

ความเค็ม (พีพีที) 2.60-6.80 4.68±1.30 a 2.80-5.50 4.28±0.87 a<br />

การนําไฟฟา (มิลลิซิเมนสตอเซนติเมตร) 4.90-11.87 8.30±2.17 a 5.10-9.86 7.69±1.58 a<br />

ความเปนดางรวม (มิลลิกรัมตอลิตร) 94-303 194±51 a 93-244 182±38 a<br />

ความกระดาง (มิลลิกรัมตอลิตร) 758-1826 1260±329 a 772-1532 1142±220 a<br />

แอมโมเนียรวม (มิลลิกรัมตอลิตร) 0.02-0.81 0.27±0.18 a 0.01-0.78 0.30±0.21 a<br />

ไนไตรท (มิลลิกรัมตอลิตร) 0.00-0.09 0.04±0.02 a 0.01-0.08 0.04±0.02 a<br />

ไนเตรท (มิลลิกรัมตอลิตร) 5.0-10.0 9.11±1.93 a 5.0-10.0 8.89±2.10 a<br />

ไฮโดรเจนซัลไฟด (มิลลิกรัมตอลิตร) 0.00-0.00 0.00±0.00 b 0.00-1.86 0.74±0.67 a<br />

หมายเหตุ คาเฉลี่ย±คาเบี่ยงเบนมาตรฐานในแนวนอนที่กํากับดวยอักษรที่แตกตางกันมีความ<br />

แตกตางกันทางสถิติอยางมีนัยสําคัญ (P


เซนติเมตร<br />

ภาพที่<br />

14 การเปลี่ยนแปลงความโปรงแสงตลอดการเลี้ยง<br />

องศาเซลเซียส<br />

40<br />

30<br />

20<br />

10<br />

0<br />

40.00<br />

30.00<br />

20.00<br />

10.00<br />

0.00<br />

ความโปรงแสง<br />

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15<br />

เวลาเลี้ยง<br />

(สัปดาห)<br />

บอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus บอควบคุม<br />

อุณหภูมิน้ําตอนเชา<br />

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15<br />

เวลาเลี<br />

้ยง (สัปดาห)<br />

บอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P . pantotrophus บอควบคุม<br />

ภาพที่<br />

15 การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิตอนเชาตลอดการเลี้ยง<br />

65


องศาเซลเซียส<br />

40.00<br />

30.00<br />

20.00<br />

10.00<br />

0.00<br />

ภาพที่<br />

16 การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิตอนบายตลอดการเลี้ยง<br />

7.90<br />

7.80<br />

7.70<br />

7.60<br />

7.50<br />

อุณหภูมิน้ําตอนบาย<br />

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15<br />

เวลาเลี<br />

้ยง (สัปดาห)<br />

บอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus บอควบคุม<br />

พีเอชตอนเชา<br />

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15<br />

เวลาเลี้ยง<br />

(สัปดาห)<br />

บอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus บอควบคุม<br />

ภาพที่<br />

17 การเปลี่ยนแปลงพีเอชตอนเชาตลอดการเลี้ยง<br />

66


ภาพที่<br />

18 การเปลี่ยนแปลงพีเอชตอนบายตลอดการเลี้ยง<br />

มิลลิกรัมตอลิตร<br />

8.50<br />

8.40<br />

8.30<br />

8.20<br />

6.00<br />

5.00<br />

4.00<br />

3.00<br />

2.00<br />

พีเอชตอนบาย<br />

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15<br />

เวลาเลี้ยง<br />

(สัปดาห)<br />

บอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus บอควบคุม<br />

ออกซิเจนที่ละลายในน้ําตอนเชา<br />

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15<br />

เวลาเลี<br />

้ยง (สัปดาห)<br />

บอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus บอควบคุม<br />

ภาพที่<br />

19 การเปลี่ยนแปลงออกซิเจนที่ละลายในน้ําตอนเชาตลอดการเลี้ยง<br />

67


ภาพที่<br />

20 การเปลี่ยนแปลงออกซิเจนที่ละลายในน้ําตอนบายตลอดการเลี้ยง<br />

พีพีที<br />

มิลลิกรัมตอลิตร<br />

10.00<br />

8.00<br />

6.00<br />

4.00<br />

2.00<br />

6.00<br />

5.00<br />

4.00<br />

3.00<br />

2.00<br />

1<br />

ออกซิเจนที่ละลายในน้ําตอนบาย<br />

ภาพที่<br />

21 การเปลี่ยนแปลงความเค็มตลอดการเลี้ยง<br />

2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15<br />

เวลาเลี<br />

้ยง (สัปดาห)<br />

บอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus บอควบคุม<br />

ความเค็ม<br />

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15<br />

เวลาเลี้ยง<br />

(สัปดาห)<br />

บอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus บอควบคุม<br />

68


มิลลิซิเมนสตอเซนติเมตร<br />

ภาพที่<br />

22 การเปลี่ยนแปลงการนําไฟฟาตลอดการเลี้ยง<br />

มิลลิกรัมตอลิตร<br />

10.00<br />

8.00<br />

6.00<br />

4.00<br />

2.00<br />

300.00<br />

250.00<br />

200.00<br />

150.00<br />

100.00<br />

50.00<br />

0.00<br />

การนําไฟฟา<br />

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15<br />

เวลาเลี้ยง<br />

(สัปดาห)<br />

บอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus บอควบคุม<br />

ความเปนดางรวม<br />

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15<br />

เวลาเลี้ยง<br />

(สัปดาห)<br />

บอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus บอควบคุม<br />

ภาพที่<br />

23 การเปลี่ยนแปลงความเปนดางรวมตลอดการเลี้ยง<br />

69


มิลลิกรัมตอลิตร<br />

ภาพที่<br />

24 การเปลี่ยนแปลงความกระดางตลอดการเลี้ยง<br />

มิลลิกรัมตอลิตร<br />

2000.00<br />

1500.00<br />

1000.00<br />

500.00<br />

0.80<br />

0.60<br />

0.40<br />

0.20<br />

0.00<br />

0.00<br />

ความกระดาง<br />

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15<br />

เวลาเลี้ยง<br />

(สัปดาห)<br />

บอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus บอควบคุม<br />

แอมโมเนียรวม<br />

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15<br />

เวลาเลี้ยง<br />

(สัปดาห)<br />

บอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus บอควบคุม<br />

ภาพที่<br />

25 การเปลี่ยนแปลงแอมโมเนียรวมตลอดการเลี้ยง<br />

70


มิลลิกรัมตอลิตร<br />

ภาพที่<br />

26 การเปลี่ยนแปลงไนไตรทตลอดการเลี้ยง<br />

มิลลิกรัมตอลิตร<br />

0.10<br />

0.08<br />

0.06<br />

0.04<br />

0.02<br />

0<br />

12.00<br />

10.00<br />

8.00<br />

6.00<br />

4.00<br />

ไนไตรท<br />

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15<br />

เวลาเลี้ยง<br />

(สัปดาห)<br />

บอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus บอควบคุม<br />

ไนเตรท<br />

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15<br />

เวลาเลี้ยง<br />

(สัปดาห)<br />

บอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus บอควบคุม<br />

ภาพที่<br />

27 การเปลี่ยนแปลงไนเตรทตลอดการเลี้ยง<br />

71


มิลลิกรัมตอลิตร<br />

3<br />

2.5<br />

2<br />

1.5<br />

1<br />

0.5<br />

0<br />

ไฮโดรเจนซัลไฟด<br />

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15<br />

เวลาเลี้ยง<br />

(สัปดาห)<br />

บอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus บอควบคุม<br />

ภาพที่<br />

28 การเปลี่ยนแปลงไฮโดรเจนซัลไฟดตลอดการเลี้ยง<br />

72


6. การศึกษาคาศักยไฟฟารีดอกซในบอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus และบอควบคุม<br />

คาศักยไฟฟารีดอกซบริเวณแนวหวานอาหารของบอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus<br />

มีคาอยูระหวาง<br />

-15 ถึง -67 มิลลิโวลต และมีคาเฉลี่ย<br />

-45.29±20.22 มิลลิโวลต สวนบอควบคุมที่ไม<br />

ใชแบคทีเรีย P. pantotrophus มีคาอยูระหวาง<br />

-53 ถึง -102 มิลลิโวลต และมีคาเฉลี่ย<br />

-82.57±20.33<br />

มิลลิโวลต พบวาคาศักยไฟฟารีดอกซทั้งในบริเวณแนวหวานอาหารและกลางบอของบอทดลอง<br />

และบอควบคุม (ตารางที่<br />

7 และภาพที่<br />

29) มีความแตกตางกันทางสถิติอยางมีนัยสําคัญ (P


บอควบคุมมีคาเปนลบทุกระยะเวลาที่ทําการศึกษาและมีแนวโนมคาติดลบมากขึ้น<br />

เมื่อระยะเวลา<br />

การเลี้ยงมากขึ้น<br />

(ดํารง, 2540)<br />

ตารางที่<br />

7 คาศักยไฟฟารีดอกซในบอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus และบอควบคุม<br />

ระยะเวลา<br />

เลี้ยง<br />

บอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus บอควบคุม<br />

(สัปดาห) แนวหวานอาหาร กลางบอ แนวหวานอาหาร กลางบอ<br />

(มิลลิโวลต) (มิลลิโวลต) (มิลลิโวลต) (มิลลิโวลต)<br />

2 -15 -29 -53 -92<br />

4 -26 -45 -83 -106<br />

6 -42 -64 -91 -111<br />

8 -54 -78 -84 -113<br />

10 -61 -86 -96 -116<br />

12 -52 -93 -82 -124<br />

14 -67 -98 -102 -146<br />

74


มิลลิโวลต<br />

-30<br />

-80<br />

-130<br />

-180<br />

ศักยไฟฟารีดอกซ<br />

1 2 3 4 5 6 7<br />

เวลาเลี้ยง<br />

(สัปดาห)<br />

บอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus ( แนวหวานอาหาร )<br />

บอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus ( กลางบอ )<br />

บอควบคุม ( แนวหวานอาหาร )<br />

บอควบคุม ( กลางบอ )<br />

ภาพที่<br />

29 คาศักยไฟฟารีดอกซตลอดการเลี้ยง<br />

75


สรุปและขอเสนอแนะ<br />

สรุป<br />

1. การเติมแบคทีเรีย Paracoccus pantotrophus สามารถควบคุมปริมาณไฮโดรเจนซัลไฟด<br />

ที่เกิดขึ้นจากการผสมเลนพื้นบอกุงและอาหารกุงได<br />

อยางไรก็ตามจําเปนจะตองมีปริมาณไนเตรทที่<br />

เพียงพอตลอดการทดลองเพื่อใหกระบวนการทํางานของแบคทีเรียเกิดขึ้นอยางตอเนื่องจึงจะไดผลดี<br />

2. บอเลี้ยงกุงขาวแวนนาไมที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus ตลอดระยะเวลาในการเลี้ยง<br />

ไดผลผลิต 840 กิโลกรัมตอไร มีอัตราการรอดตาย 84 เปอรเซ็นต อัตราการเจริญเติบโต 0.15 กรัม<br />

ตอวัน น้ําหนักเฉลี่ยของกุง<br />

17 กรัม และอัตราการแลกเนื้อ<br />

1.16 ซึ่งใหผลดีกวาบอควบคุมซึ่งไดผล<br />

ผลิต 633 กิโลกรัมตอไร มีอัตราการรอดตาย 69 เปอรเซ็นต อัตราการเจริญเติบโต 0.14 กรัมตอวัน<br />

น้ําหนักเฉลี่ยของกุง<br />

15 กรัม และอัตราการแลกเนื้อ<br />

1.52 ซึ่งมีความแตกตางกันทางสถิติอยางมี<br />

นัยสําคัญ<br />

3. คุณภาพน้ําตลอดระยะเวลาที่ทําการศึกษาในบอที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus และบอ<br />

ควบคุมมีคาใกลเคียงกัน แตพบวาปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้ําชวงบายของบอทดลองที่ใช<br />

แบคทีเรียชนิดนี้มีคาสูงกวาบอควบคุม<br />

ไมตรวจพบปริมาณไฮโดรเจนซัลไฟดในบอที่ใชแบคทีเรีย<br />

ชนิดนี้ตลอดระยะเวลาในการเลี้ยง<br />

สวนในบอควบคุมปริมาณไฮโดรเจนซัลไฟดจะเริ่มตรวจพบใน<br />

สัปดาหที่<br />

5 เปนตนไปจนกระทั่งจับกุง<br />

ซึ่งมีความแตกตางกันทางสถิติอยางมีนัยสําคัญและคา<br />

ศักยไฟฟารีดอกซของบอทดลองที่ใชแบคทีเรียชนิดนี้มีคาเปนลบต่ํากวาบอควบคุม<br />

ซึ่งมีความ<br />

แตกตางกันทางสถิติอยางมีนัยสําคัญเชนกัน<br />

4. ในบอทดลองที่มีการใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus ในระหวางการเลี้ยงกุงขาวแวนนาไม<br />

จะมีตนทุนในการผลิตสูงกวาบอที่ไมใชแบคทีเรียชนิดนี้<br />

แตจะใหผลผลิตและผลตอบแทนที่สูงกวา<br />

76


ขอเสนอแนะ<br />

1. ในชวง 4 สัปดาหแรกของการเลี้ยงอาจไมตองใชแบคทีเรีย<br />

Paracoccus pantotrophus<br />

เนื่องจากไมมีการตรวจพบไฮโดรเจนซัลไฟด<br />

ดังนั้นจึงควรเริ่มใสแบคทีเรียชนิดนี้หลังจากการเลี้ยง<br />

ผานไปประมาณ 4 สัปดาห ซึ่งจะเปนการลดคาใชจายในดานตนทุนในการเลี้ยงได<br />

2. ควรเก็บแบคทีเรีย P. pantotrophus ไวในภาชนะบรรจุที่ปดสนิท<br />

เก็บไวในบริเวณแหง<br />

และเย็น หางจากแสงแดด ความรอน นอกจากนั้นควรหลีกเลี่ยงการหายใจเอาแบคทีเรียเขาไป<br />

3. ควรมีการศึกษาผลของการใชแบคทีเรีย P. pantotrophus ในฤดูกาลอื่น<br />

ๆ และในบอ<br />

เลี้ยงกุงขาวแวนนาไมที่เลี้ยงในอัตราความหนาแนนที่สูงกวานี้<br />

4. ควรมีการทดลองใชแบคทีเรีย P. pantotrophus ในการเลี้ยงกุงขาวแวนนาไมและ<br />

กุงกุลาดําที่มีความหนาแนนระดับตาง<br />

ๆ เพื่อหาระดับที่เหมาะสมและใหผลตอบแทนสูงสุด<br />

77


เอกสารและสิ่งอางอิง<br />

จักรกฤษ พรหมชนะ. 2547. การวิเคราะหตนทุนและผลตอบแทนทางการเงินของการเลี้ยงกุงขาว<br />

ในจังหวัดฉะเชิงเทรา. วิทยานิพนธปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.<br />

จารุมาศ เมฆสัมพันธ. 2548. ดินตะกอน. ภาควิชาชีววิทยาประมง, คณะประมง<br />

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ. 146 น.<br />

จารุวัฒน นภีตะภัฏ และ สมนึก กบิลรัตน. 2530. การบริโภคออกซิเจนเปรียบเทียบของกุงกุลาดํา.<br />

กรมประมง. กรุงเทพฯ : (สถานีประมงน้ํากรอย<br />

จังหวัดระยอง) เอกสารวิชาการฉบับที่<br />

13.<br />

กองประมงน้ํากรอย<br />

กรมประมง. 43 น.<br />

จูอะดี พงศมณีรัตน, สิริ ทุกขวินาศ และ สถาพร ดิเรกบุษราคม. 2528. ความชุกชุมของแพลงก<br />

ตอนพืชและความสัมพันธกับคุณสมบัติบางประการของน้ําทางเคมี-ฟสิกสและผลผลิตในนา<br />

กุง<br />

จังหวัดนครศรีธรรมราช. เอกสารวิชาการฉบับที่<br />

28 สถาบันเพาะเลี้ยงสัตวน้ําชายฝง<br />

จังหวัดสงขลา. กรมประมง, กรุงเทพฯ.<br />

ชลอ ลิ้มสุวรรณ.<br />

2534. คัมภีรการเลี้ยงกุงกุลาดํา.<br />

สํานักพิมพฐานเศรษฐกิจ, กรุงเทพฯ. 202 น.<br />

. 2543. กุงไทย<br />

2000 สูความยั่งยืน<br />

และเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม.<br />

เจริญการพิมพ,<br />

กรุงเทพฯ. 260 น.<br />

และ พรเลิศ จันทรรัชชกูล. 2547. อุตสาหกรรมการเพาะเลี้ยงกุงในประเทศไทย.<br />

บริษัท เมจิค พับบลิเคชั่น<br />

จํากัด, กรุงเทพฯ. 206 น.<br />

, นิติ ชูเชิด, ทิมโมที วิลเลียม เฟลเกล, ภิญโญ เกียรติภิญโญ และบริษัท ซาย<br />

อาคควาสยาม จํากัด. 2548. รายงานการวิจัยการศึกษาการขยายพันธุพอแมพันธุกุงขาว<br />

แวนนาไมปลอดเชื้อ.<br />

สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ. 34 น.<br />

78


ดวงพร คันธโชติ. 2545. นิเวศวิทยาของจุลินทรีย. สํานักพิมพ โอเดียนสโตร, กรุงเทพฯ. 206 น.<br />

ดํารง โลหะลักษณาเดช. 2540. การศึกษาเปรียบเทียบการใชระบบการใหอากาศตาง ๆ กันเพื่อ<br />

จัดการคุณภาพน้ําและดินพื้นบอในการเลี้ยงกุงกุลาดําในระบบปด.<br />

วิทยานิพนธปริญญาโท,<br />

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.<br />

ทัศนีย อัตตะนันทน. 2534. ดินที่ใชปลูกขาว.<br />

ภาควิชาปฐพีวิทยา, คณะเกษตร,<br />

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ. 420 น.<br />

นิศากร ลุลิตานนท และ ชลัญญา ธารบุปผา. 2526. พิษเฉียบพลันของไฮโดรเจนซัลไฟดตอกุง<br />

แชบวยขาว. รายงานวิชาการ. กองประมงทะเล, กรมประมง. 7 น.<br />

ประวิทย โตวัฒนะ และ พิภพ ปราบณรงค. 2539. การสะสมตัวและการเคลื่อนที่ของไอออน<br />

จากน้ําทะเลที่ใชเลี้ยงกุงในหนาดินตัดที่มีผลกระทบตอสภาพแวดลอมและทรัพยากรดิน<br />

ในอําเภอระโนด จังหวัดสงขลา. วารสารสงขลานครินทร. 18(1): 113-127.<br />

เปยมศักดิ์<br />

เมนะเศวต. 2525. แหลงน้ํากับปญหามลภาวะ.<br />

สํานักพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย,<br />

กรุงเทพฯ. 307 น.<br />

พุทธ สองแสงจินดา และ วลีรัตน มูสิกะสังข. 2547. คุณภาพน้ําและการเปลี่ยนแปลงปริมาณ<br />

แบคทีเรียในระบบการจัดการเลี้ยงกุงกุลาดําวิธีการตางๆ<br />

กัน. เอกสารวิชาการฉบับที่<br />

72/2547. สถาบันวิจัยการเพาะเลี้ยงสัตวน้ําชายฝง<br />

กรมประมง. 16 น.<br />

เพิ่มพูน<br />

กีรติกสิกร. 2528. เคมีของดิน. ภาควิชาปฐพีศาสตร คณะเกษตรศาสตร<br />

มหาวิทยาลัยขอนแกน, ขอนแกน. 249 น.<br />

ไมตรี ดวงสวัสดิ์<br />

และ จารุวรรณ สมศิริ. 2528. คุณสมบัติของน้ําและวิธีการวิเคราะหสําหรับวิจัย<br />

ทางการประมง. สถาบันประมงน้ําจืดแหงชาติ,<br />

กรมประมง, กรุงเทพฯ. 115 น.<br />

79


ยนต มุสิก. 2530. กําลังผลิตทางชีวภาพในบอเลี้ยงปลา<br />

II. เอกสารประกอบการสอนวิชา<br />

เพาะเลี้ยงสัตวน้ํา<br />

551. คณะประมง, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ. 87 น.<br />

และ พรพันธ ยุทธรักษานุกูล. 2534. อัตราการตกตะกอน คุณสมบัติของดินตะกอน<br />

และดินพื้นบอในบอพักน้ําและบอเลี้ยงปลาในระบบการเลี้ยงกุงแบบหนาแนนบริเวณกน<br />

อาวไทย. วารสารวิทยาศาสตรการประมง 1(1): 47-55.<br />

วรวิทย ชีวาพร. 2531. คุณภาพน้ํา-ดินในการเลี้ยงกุงกุลาดํา,<br />

น. 171-182. ใน การเพาะเลี้ยงกุง<br />

กุลาดํา. คณะวิทยาศาสตร, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, ชลบุรี.<br />

วิทยา มะเสนา. 2526. จุลวิทยาทางดิน. ภาควิชาปฐพีศาสตร คณะเกษตรศาสตร<br />

มหาวิทยาลัยขอนแกน, ขอนแกน. 228 น.<br />

ศศิวิมล ไชยพรวัฒนา. 2544. การวิเคราะหตนทุนและผลตอบแทนทางการเงินในการผลิต<br />

กุงกามกรามในจังหวัดสุพรรณบุรีป<br />

2543. วิทยานิพนธปริญญาโท,<br />

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.<br />

ศิริเพ็ญ ตรัยไชยาพร. 2543. การวิเคราะหคุณภาพน้ํา.<br />

ภาควิชาจุลชีววิทยา, คณะวิทยาศาสตร,<br />

มหาวิทยาลัยเชียงใหม, 125 น.<br />

สมพร ธนวิริยะกุล. 2535. การคัดเลือกแบคทีเรียเฮตเทอโรโทรปจากธรรมชาติและความสามารถ<br />

ในการยอยสลายอินทรียในบอเลี้ยงกุง.<br />

วิทยานิพนธปริญญาโท, มหาวิทยาลัย<br />

เกษตรศาสตร.<br />

สมสุข มัจฉาชีพ. 2528. นิเวศวิทยา. เจริญการพิมพ, บางปะกอก. กรุงเทพฯ. 292 น.<br />

สมศักดิ์<br />

ปณีตัธยาศัย. 2550. สถานการณผลผลิตกุงไทย.<br />

แหลงที่มา<br />

http://www.newswit.com, 16<br />

กุมภาพันธ 2550.<br />

80


สมเจตน จันทวัฒน, ศุภมาศ พนิชศักดิ์พัฒนา,<br />

จงรัก จันทรเจริญสุข, วิโรจน อิ่มพิทักษ<br />

และ อัญชลี สุทธิปราการ. 2529. ปฐพีวิทยาเบื้องตน.<br />

คณะเกษตร,<br />

มหาวิทยาลัยกษตรศาสตร. 117 น.<br />

สุธี เกื้อเกตุ.<br />

2543. การสะสมและการกระจายของไอออนจากน้ําทะเลในแหลงเลี้ยงกุงกุลาดํา<br />

เขตน้ําจืด:<br />

กรณีศึกษาที่อําเภอบานสราง<br />

จังหวัดปราจีนบุรี. วิทยานิพนธปริญญาโท,<br />

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.<br />

สุรศักดิ์<br />

ดิลกเกียรติ. 2546. กุงไทย<br />

กาวใหม. กรุงเทพฯ. 394 หนา.<br />

สุวนิช ชัยนาค. 2540. การเปลี่ยนแปลงสมบัติของดินพื้นบอเลี้ยงกุงกุลาดําบริเวณอาวไทยตอนใน.<br />

วิทยานิพนธปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.<br />

อําพิน กันธิยะ, 2540. การควบคุมการผลิตไฮโดรเจนซัลไฟดโดยวิธีจุลชีววิทยา.<br />

วิทยานิพนธปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.<br />

Adelman, I. R. and L. L. Smith. 1972. Toxicity of hydrogen sulfide to goldfish (Carassius<br />

auratus) as influenced by temperature, oxygen and bioassay techniques. J. Fish. Res.<br />

Board Can. 29: 1309-1377.<br />

Alexander, M. 1961. Introduction to Soil Microbiology. John Wiley & Sons Inc., New<br />

York. 472 p.<br />

APHA, AWWA. and WEF. 1989. Standard Method for the Examination of Water and<br />

Wastewater. 17 th ed. American Public Health Association, Washington, D. C.<br />

1,134 p.<br />

. 1995. Standard Method for the Examination of Water and Wastewater. 20 th ed.<br />

United Book Press, Maryland. 1,220 p.<br />

81


Arrignon, J. V. C., J. V. Huner, P. J. Laurent, J. M. Griessinger, D. Lacroix, P. Gonduin and M.<br />

Autrand. 1994. Warm-Water Crustaceans. The Macmillan Press Ltd. London and<br />

Basingstoke. 114 p.<br />

Barnes, R. S. K. and R. N. Hughes. 1982. An Introduction to Marine Ecology. Blackwell<br />

Scientific Publ., Oxford, London. 339 p.<br />

Bonn, E. W. and B. J. Follis. 1967. Effects of hydrogen sulfide on channel catfish (Ictalurus<br />

punctatus). Trans Am. Fish. Soc. 96: 31-36.<br />

Boyd, C. E. 1982. Water Quality in Management for Fish Pond Culture. Elsevier Scientific<br />

Publishing Co., Amsterdam, Netherlands. 318 p.<br />

Boyd, C. E. 1987. Evaluation of Water Quality and Water Quality Management Techniques<br />

for Brackishwater Aquaculture in Ponds in Thailand. Report for the Asian<br />

Development Bank, Manila, Phillippines. 29 p.<br />

. 1989. Water Quality Management and Aeration in Shrimp Farming. Fisheries<br />

and Allied Aquaculture Departmental Series No. 2. Alabama Agricultural Experiment<br />

Station, Auburn University, Alabama. 83 p.<br />

. 1990. Water Quality in Pond for Aquaculture. Alabama Agricultural Experiment<br />

Station, Auburn University. 482 p.<br />

. 1992. Shrimp pond bottom soil and sediment management, pp. 16-181. In<br />

Proceeding of the Special Session on Shrimp Farming. World Aquaculture Society<br />

Baton Rouge Louisiana, USA.<br />

. 1995. Bottom Soils, Sediment and Pond Aquaculture. Alabama Agricultural<br />

Experiment Station, Auburn University, Alabama, USA. 347 p.<br />

82


Boyd, C. E. 2002. Dissolved salt in water for inland low-salinity shrimp culture. Glob. Aquac.<br />

Advocate. 5: 40-50.<br />

and A. W. Fast. 1992. Pond monitoring and management, pp. 497-513. In A. W. Fast<br />

and L. J. Lester, eds. Marine Shrimp Culture: Principles and Practices. Elsevier<br />

Science B. V., Amsterdam.<br />

and C. S. Tucker. 1992. Water Quality and Pond Soil Analyses for<br />

Aquaculture. Alabama Agricultural Experiment Station, Auburn University, Alabama,<br />

USA. 183 p.<br />

and . 1998. Pond Aquaculture Water Quality Management.<br />

Kluwer Academic Publishers, Boston. 700 p.<br />

Boon, A. G. 1995. Septicity in sewers: causes, consequences and containment. Wat. Sci. Tech.<br />

31 (7): 237-253.<br />

Brawn, T. E., A. W. Morley., N. T. Sanderson and R. D. Tait. 1983. Report of a large fish kill<br />

resulting from natural acid water condition in Austrawa. J. Fish. Biol. 22 (1): 43-47.<br />

Brock, J. A. and K. Main. 1994. A Guide to the Common Problems and Diseases of<br />

Cultured Penaeus vannamei. Publ. by the Oceanic Institute, Makapu Point, Honolulu,<br />

HI, USA. 241 p.<br />

Brown, A. C. and A. McLachlan. 1990. Ecology of Sandy Shores. Elsevier Sciences<br />

Publishers B. V., Amsterdam. 328 p.<br />

Buchanan, R. E. and N. E. Gibbons. 1994. Bergey’s Manual of Determinative Bacteriology.<br />

8 th ed., The Williams and Wilkins Co., Baltimore. 1,268 p.<br />

83


Buisman, C. J. N., B. G. Geraats, P. Ijspeert and G. Lettinga. 1990a. Optimozation of sulfur<br />

Production in a biotechnological sulfide-removing reactor. Biotech. Bioeng. 35: 50-56.<br />

, B. Wit and G. Lettinga. 1990b. Biotechnological sulfide removal in three polyurethane<br />

carrier reactors: stirred reactor, biorotor and upflow reactor. Wat. Res. 24 (2): 245-251.<br />

, and G. Lettinga. 1990c. Sulfide-removal from anaerobic waste water treatment effluent<br />

of a papermill. Wat. Res. 24 (3) : 313-319.<br />

, P. Ijspeert, A. Janssen and G. Lettinga. 1990d. Kinetics of chemical and biochemical<br />

sulphide oxidation in aqueous solution. Wat. Res. 24 (5): 667-671.<br />

, , A. Hof, A. J. H. Janssen, R. ten Hagen and G. Lettinga. 1991. Kinetic<br />

parameters of a mixed culture oxidizing sulfide and sulfur with oxygen. Biotech. Bioeng.<br />

38: 813-820.<br />

Chen, H. C. 1985. Water quality criteria for farming the grass shrimp Penaeus monodon, pp. 165.<br />

In Proceeding of the First International Conference on the Culture of Penaeid<br />

Prawn/Shrimps. 4-7 December 1981, SEAFDEC, Iloilo, Philippines.<br />

Cheremisinoff, P. N. 1995. Handbook of Water and Wastewater Treatment Technology.<br />

Marcel Dekker, Inc., New Jersy, USA. 833 p.<br />

Cho, K. S., L. Zhang, M. Hirai and M. Shoda. 1991a. Removal characteristics of hydrogen<br />

sulfide and methanethiol by Thiobacillus sp. isolated from peat in biological<br />

deodorizarion. J. Ferment. Bioeng. 71 (1): 44-49.<br />

, M. Hirai and M. Shoda. 1991b. Removal of dimethyl disulfide by the peat biofilter<br />

seeded with night soil sludge. J. Ferment. Bioeng. 71 (4): 289-291.<br />

84


Cho, K. S., M. Hirai and M. Shoda. 1991c. Degradation characteristics of hydrogen sulfide,<br />

methanethiol, dimethyl sulfide and dimethyl disulfide by Thiobacillus thioparus DW 44<br />

isolated from peat biofilter. J. Ferment. Bioeng. 71 (6): 384-389.<br />

. 1992. Degradation of hydrogen sulfide by Xanthomonas sp. strain DY 44 isolated from<br />

peat. Appl. Environ. Microbiol. 58 (4): 1183-1189.<br />

Cork, D. J., R. Garunas and A. Sajjad. 1983. Chlorobium limicola forma thiosulfatophilum:<br />

biocatalyst in the production of sulfur and organic carbon from a gas stream containing<br />

H 2S and CO 2. Appl. Environ. Microbiol. 45 (3): 913-918.<br />

Dague, R. R. 1972. Fundamental of odor control. J. Wat. Control Fed. 44 (4): 583-589.<br />

Dunnettle, D. A., D. P. Chynoweth and K. H. Mascy. 1985. The source of hydrogen sulfide in<br />

aerobic sediment. Wat. Res. 19: 875-884.<br />

Eliassen, R., A. N. Heller and G. Kishch. 1949. The effect of chlorinated hydrocarbon and<br />

hydrogen sulfide production. Sewage Works 21 (3): 457-470.<br />

Friedrich, C. G., D. Rother, F. Bardischewsky, A. Quentmeier and J. Fisher. 2001. Oxidation of<br />

reduced inorganic sulfur compounds by bacteria: emergence of a common mechanism.<br />

Appl. Environ. Microbiol. 67: 2873-2882.<br />

Gallert, C. and J. Winter. 2005. Bacterial Metabolism in Wastewater Treatment Systems.<br />

in Environmental Biotechnology. Wiley-VCH Weinheim. 40 p.<br />

Gregg, D. C. 1966. College Chemistry. Allon and Bacon Inc., Boston, America. 606 p.<br />

Guy, D. 1992. The Ecology of the Fish Pond System. Institute of Animal Ecology, University<br />

of Ghent, Belgium. 230 p.<br />

85


Hajek, B. B. and C. E. Boyd. 1994. Rating soil and water information for aquaculture. Aquac.<br />

Eng. 13: 115-128.<br />

Hargreaves, J. A., 1998. Nitrogen biogeochemistry of aquaculture ponds. Aquaculture<br />

166: 181-212.<br />

Hartman, W. J. and D. A. Long. 1976. Municipal wastewater “odor still a problem” part 2.<br />

Water & Sewage Works 123 (1): 38-41.<br />

Heukelekian, H. 1948. Some bacteriological aspects of hydrogen sulfide production from<br />

sewage. Sew. Works. J. 20 (3): 490-498.<br />

Janssen, A. J. H., R. Sleyster, C. van der Kaa, A. Jochemsen. J. Bontsema and G. Lettinga. 1995.<br />

Biological sulfide oxidation in a fed-batch reactor. Biotech. Bioeng. 47 (3): 327-333.<br />

Jenneman, G. E., M. J. McInerney and R. M. Knapp. 1986. Effects of nitrate on biogenic sulfide<br />

production. Appl. Environ. Microbiol. 51 (6): 1205-1211.<br />

Jayamanne, S. C. 1986. A Preliminary Study of H 2S Toxicity on Juveniles of<br />

Macrobrachium rosenbergii. NACA/WP/86/42, Bangkok. 19 p.<br />

Jobbagy, A., I. Szanto, G. I. Varga and J. Simon. 1994. Sewer system odour control in the Lake<br />

Balaton area. Wat. Sci. Tech. 30 (1): 195-204.<br />

Jørgensen, B. B. 1977. The sulfur cycle of a coastal marine sediment (Limfjorden, Denmark).<br />

Limnol. Oceanogr. 22: 814-832.<br />

Lester, L. J. and J. R. Pante. 1991. Penaeid temperature and salinity response, pp. 515-534. In<br />

A. W. Fast and L. J. Lester, eds. Marine Shrimp Culture Principle and Practices.<br />

Elsevier Amsterdam.<br />

86


Madenjian, C. P. 1990. Patterm of oxygen production and consumption in intensively managed<br />

shrimp ponds. Aquac. Eng. 21: 407-417.<br />

Mairs, D. F. 1966. A total alkalinity atlas for marine lake water. Limnol. Oceanogr. 11: 68-72.<br />

Mancinelli, R. L. and C. P. McKay. 1983. Effects of nitric oxide and nitrogen dioxide on<br />

bacterial growth. Appl. Environ. Microbiol. 46 (1): 198-202.<br />

Masuda, K. and C. E. Boyd. 1994a. Phosphorus fraction in soil and water of aquaculture ponds<br />

built on Clayey, Ultisols at Auburn, Alabama. J. World Aquac. Soc. 25: 379-395.<br />

Matida, Y. 1966. The role of soil in fish pond productivity in Asia and the Far East, pp. 1-10. In<br />

Proceedings of the World Symposium on Warm Water Pond Fish Culture. FAO,<br />

United Nation Fish, Rep., Rome.<br />

Moyle, J. B. 1945. Some chemical factors. Influencing the distribution of aquatic plants in<br />

minnesota. Am. Midl. Natur. 34: 402-420.<br />

Munsiri, P., C. E. Boyd, and B. J. Hajek, 1955. Physical and chemical characteristics of bottom<br />

soil profiles in ponds at Auburn, Alabama, USA, and a proposed method for describing<br />

pond soil horizons. J. World Aquac. Soc. 26: 346-377.<br />

Novazhilova, M. I. and E. S. Berezina. 1966. Character of the distribution of sulfate reducing<br />

and sulfur bacteria in the sediments of lake Balkhash. Microbiol. 34 : 436-440.<br />

Noyes, R. 1969. Vitamin B 12 Manufacture. Noyes Development Corp., New jersey. 412 p.<br />

Nurnerg, G. 1984. Iron and hydrogen sulfide interferrance in the analysis of soluble reaction<br />

phosphorus in anoxic water. Water Res. 18: 367-377.<br />

87


Oseid, D. M. and L. L. Smith. 1972. Swimming endurance and resistance to copper and<br />

malathion of bluegill treated by long-term exposure to sublethal levels of hydrogen<br />

sulfide. Trans. Am. Fish. Soc. 4: 620-625.<br />

Patrick, R. 1977. Ecology of freshwater diatoms-diatom communities, pp. 284-332. In<br />

D. Werener, eds. The Biology of Diatoms. University of California Press, Berkeley.<br />

Peturiyawate, O. 1982. Effect of Hydrogen Sulfide on Catfish (Clarias batrachus Linn.) and<br />

Its Antagonistic Action with Some Inorganic Compound. MS. Thesis, Mahiodol<br />

University, Bangkok. 65 p.<br />

Pomeroy, R. and F. D. Bowlus. 1946. Progress report on sulfide control research. Cited by R. R.<br />

Dague. 1972. Fundamental of odor control. J. Wat. Control Fed. 44 (4): 583-589.<br />

Ponce-Palafox, J., C. A. Martinez-Palacios and L. G. Ross. 1997. The effects of salinity and<br />

temperature or the growth and survival rates of juvenile white shrimp, Penaeus vannamei,<br />

Boone, 1931. Aquaculture 157:107-115.<br />

Post, N. 1956. Counteraction of sewage odors. Sew & Ind. Wastes 28 (2): 221-225.<br />

Ralney, F. A., D. P. Kelly, E. Stackebrandt, J. Burghardt, A. Hiraishi, Y. Katayama and A. P.<br />

Wood. 1999. A re-evaluation of the taxonomy of Paracoccus denitrificans and a<br />

proposal for the combination Paracoccus pantotrophus comb. nov. Int. J. Syst.<br />

Bacteriol. 49: 645-651.<br />

Ray, W. M. and Y. H. Chien. 1992. Effect of stocking density and aged sediment on tiger prawn,<br />

Penaeus monodon, nursery system. Aquaculture 104: 231-248.<br />

Reid, G. H. 1961. Ecology of Inland Water and Estuarine. Reingold Pulb. CO.,<br />

New York. 375 p.<br />

88


Rother, D., H. J. Henrich, A. Quentmeier, F. Bardischewsky and C. G. Friedrich. 2001. Novel<br />

genes of the sox gene cluster, mutagenesis of the flavoprotein SoxF, and evidence for a<br />

general sulfur-oxidizing system in Paracoccus pantotrophus GB17. J. Bacteriol. 183:<br />

4499-4508.<br />

Salminen, S. and A. V. Wright (eds.). 1993. Lactic Acid Bacteria. Marcel Dekker, Inc., New<br />

York. 441 p.<br />

Santry, I. W. 1966. Hydrogen sulfide odor control measures. Wat. Pollut. Cotrol Fed. 38(3):<br />

459-463.<br />

Santschi, P., P. Hohener, G. Benoit and M. B. Brink. 1990. Chemical processes at the<br />

sediment-water interface. Mar. Chem. 30: 269-315.<br />

Sawyer, N. G. and P. L. McCarty. 1967. Chemistry or Sanitary Engineers. McGraw-Hill<br />

Book Company, New York. 518 p.<br />

Serokin, Y. I. 1968. Processes of chemical and biological oxidation of hydrogen sulfide in the<br />

water column of meromictic lakes. Microbiol. 34: 428-435.<br />

Steel, R. G. D. and J. H. Torrie. 1980. Principles and Procedures of Statistics: A Biometerial<br />

Approach. 2 nd ed. McGraw-Hill Publishing Co., New York, U.S.A.<br />

Sublette, K. L. 1987. Aerobic oxidation of hydrogen sulfide by Thiobacillus denitrificans.<br />

Biotech. Bioeng. 29: 690-695.<br />

and M. E. Woolsey. 1989. Sulfide and glutaraldehyde resistant strains of Thiobacillus<br />

denitrificans. Biotech. Bioeng. 34: 595-569.<br />

89


Sublette, K. L. and N. D. Sylvester. 1987a. Oxidation of hydrogen sulfide by Thiobacillus<br />

denitrificans: desulfurization of natural gas. Biotech. Bioeng. 29: 249-257.<br />

. 1987b. Oxidation of hydrogen sulfide by continuous culture of Thiobacillus<br />

denitrificans. Biotech. Bioeng. 29: 753-758.<br />

. 1987c. Oxidation of hydrogen sulfide by mixed cultures of Thiobacillus denitrificans<br />

and heterotrophs. Biotech. Bioeng. 29: 759-761.<br />

Suplee, M. W. and J. B. Cotner. 1996. Temporal changes in oxygen demand and bacterial<br />

sulfate reduction in inland shrimp ponds. Aquaculture 145: 141-158.<br />

Tanji, Y., T. Kanagawa and E. Mikami. 1989. Removal of dimethyl sulfide, methyl mercaptan,<br />

and hydrogen sulfide by immobilized Thiobacillus thioparus TK- m. J. Ferment.<br />

Bioeng. 67 (4): 280-285.<br />

Thom, S. R. and R. E. Marquis. 1984. Microbial growth modification by compressed gases and<br />

hydrostatic pressure. Appl. Environ. Microbiol. 47 (4): 780-787.<br />

Todd, D. K. 1959. Ground Water Hydrology. John Wiley & Sons. Inc., New York. 336 p.<br />

Tucker, C. S. and C. E. Boyd. 1985. Water quality, pp. 135-227. In C. S. Tucker, ed.<br />

Channel Catfish Culture. Elsevier Scientific Publishing Co., Amsterdam, Netherlands.<br />

Vainshtein, M. B., G. I. Gogotova and N. J. Heinritz. 1994. Removal of H 2S by the purple sulfur<br />

bacterium Ectothiorhodospira shaposhnikovii. World. J. Microbiol. Biotech. 10: 110-<br />

111.<br />

Watanabe, K., 2001. Microorganism relevant to bioremediation. Curr. Opin. Biotechnol. 12:<br />

237-241.<br />

90


Wickins, J. F. and D. O’C. Lee. 2002. Crustacean Farming Ranching and Culture.<br />

Blackwell Science Ltd, UK. 446 p.<br />

Windholz, M. 1976. An Encyclopedia of Chemical and Drugs. Merck & Go. Inc., Rahway,<br />

New York. 1,313 p.<br />

91


ภาคผนวก<br />

92


ตารางผนวกที่<br />

1 ผลการวิเคราะหทางสถิติของผลผลิตในบอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

Paracoccus pantotrophus และบอควบคุม<br />

คาเฉลี่ย<br />

บอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus บอควบคุม t df P<br />

ผลผลิตเฉลี่ย<br />

(กิโลกรัมตอไร) 840.0±40.00 633.3±41.63 -6.200 4


ตารางผนวกที่<br />

2 ผลการวิเคราะหทางสถิติของคุณสมบัติของน้ําในบอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

Paracoccus pantotrophus และบอควบคุม<br />

คาเฉลี่ย<br />

บอทดลอง บอควบคุม t df P<br />

ความโปรงแสง (เซนติเมตร) 16.8±8.00 18.1±8.57 0.750 88 >0.05<br />

อุณหภูมิน้ํา<br />

(องศาเซลเซียส) - เชา 29.5±0.28 29.6±0.23 0.962 88 >0.05<br />

94<br />

- บาย 32.0±0.69 32.0± 0.73 -0.359 88 >0.05<br />

พีเอช - เชา 7.8±0.07 7.7±0.06 -1.239 88 >0.05<br />

- บาย 8.4±0.05 8.4±0.06 0.165 88 >0.05<br />

ออกซิเจนที่ละลายในน้ํา<br />

(มิลลิกรัมตอลิตร) - เชา 5.1±0.18 5.0±0.14 -1.285 88 >0.05<br />

- บาย 8.6±0.62 8.2±0.74 -2.708 88 0.05<br />

การนําไฟฟา (มิลลิซิเมนสตอเซนติเมตร) 8.3±2.17 7.7±1.58 -1.537 88 >0.05<br />

ความเปนดางรวม (มิลลิกรัมตอลิตร) 194±51.00 182 ±38.00 -1.302 88 >0.05<br />

ความกระดาง (มิลลิกรัมตอลิตร) 1260±329.00 1142±220.00 -1.994 88 >0.05<br />

แอมโมเนียรวม (มิลลิกรัมตอลิตร) 0.3±0.18 0.3±0.21 -0.628 88 >0.05<br />

ไนไตรท (มิลลิกรัมตอลิตร) 0.04±0.02 0.04±0.02 0.314 88 >0.05<br />

ไนเตรท (มิลลิกรัมตอลิตร) 9.1±1.93 8.9±2.10 -0.522 88 >0.05<br />

ไฮโดรเจนซัลไฟด (มิลลิกรัมตอลิตร) 0.0±0.00 0.7±0.67 -7.349 88


ตารางผนวกที่<br />

3 คุณสมบัติของน้ําตลอดการเลี้ยง<br />

เวลาเลี้ยง<br />

บอ Trans. Temp. (°C) pH D.O. (mg/l) Salinity EC. Tot. Alk Hardness TAN Nitrite Nitrate H2S (สัปดาห)<br />

(cm.) เชา บาย เชา บาย เชา บาย (ppt) (mS/cm) (mg/l) (mg/l) (mg/l) (mg/l) (mg/l) (mg/l)<br />

1 1 35 29.7 32.9 7.64 8.37 5.26 9.68 3.80 5.65 190.67 758.00 0.02 0.00 5.00 0.00<br />

2 40 29.8 32.7 7.69 8.34 4.96 8.72 5.80 10.34 202.67 1438.00 0.02 0.00 10.00 0.00<br />

3 30 29.9 33.1 7.68 8.34 5.27 9.16 6.50 11.51 196.67 1652.00 0.03 0.01 10.00 0.00<br />

4 33 29.8 32.5 7.72 8.36 4.81 9.75 3.00 5.45 166.00 772.00 0.02 0.01 10.00 0.00<br />

5 35 29.7 33.2 7.73 8.33 4.95 9.00 4.80 9.17 168.67 1264.00 0.01 0.02 5.00 0.00<br />

6 30 29.4 32.9 7.80 8.32 5.21 7.92 5.40 9.65 196.00 1356.00 0.02 0.01 10.00 0.00<br />

2 1 30 29.6 32.1 7.81 8.30 4.82 7.70 3.30 5.99 213.33 836.00 0.02 0.02 10.00 0.00<br />

2 35 29.8 32.9 7.81 8.43 4.86 7.89 5.90 10.51 170.67 1338.00 0.03 0.03 10.00 0.00<br />

3 25 30.1 33.5 7.80 8.41 5.35 9.26 6.80 11.85 200.00 1338.00 0.05 0.02 10.00 0.00<br />

4 30 29.6 32.1 7.76 8.34 4.98 8.67 3.30 6.11 140.00 808.00 0.02 0.03 10.00 0.00<br />

5 33 29.7 32.1 7.76 8.38 5.16 7.70 5.40 9.70 152.00 1278.00 0.01 0.03 10.00 0.00<br />

6 28 29.1 32.7 7.74 8.36 5.16 7.44 5.50 9.80 166.67 1326.00 0.02 0.01 10.00 0.00<br />

95


ตารางผนวกที่<br />

3 (ตอ)<br />

เวลาเลี้ยง<br />

บอ Trans. Temp. (°C) pH D.O. (mg/l) Salinity EC. Tot. Alk Hardness TAN Nitrite Nitrate H2S (สัปดาห)<br />

(cm.) เชา บาย เชา บาย เชา บาย (ppt) (mS/cm) (mg/l) (mg/l) (mg/l) (mg/l) (mg/l) (mg/l)<br />

3 1 25 29.5 32.9 7.79 8.41 4.96 9.01 3.2 6.02 204.67 844.00 0.15 0.06 10.00 0.00<br />

2 25 29.9 32.9 7.72 8.39 5.17 8.27 6.0 10.60 172.67 1544.00 0.13 0.04 5.00 0.00<br />

3 20 29.9 33.2 7.66 8.35 4.97 8.88 6.8 11.87 173.33 1826.00 0.17 0.03 10.00 0.00<br />

4 30 29.8 33.5 7.79 8.49 5.13 9.96 3.3 6.11 182.00 1464.00 0.08 0.02 10.00 0.00<br />

5 30 29.8 32.9 7.80 8.33 5.29 9.96 5.4 9.63 147.33 1364.00 0.10 0.02 10.00 0.00<br />

6 28 29.8 32.9 7.74 8.39 4.93 8.28 5.5 9.86 153.33 1480.00 0.13 0.02 10.00 0.00<br />

4 1 22 29.7 32.8 7.77 8.41 4.85 8.79 3.5 5.90 229.33 970.00 0.21 0.05 10.00 0.00<br />

2 22 29.7 31.8 7.66 8.42 4.97 7.13 6.4 10.40 181.33 1446.00 0.22 0.01 5.00 0.00<br />

3 23 29.2 31.7 7.78 8.44 5.17 8.14 5.5 10.40 194.68 1762.00 0.25 0.05 10.00 0.00<br />

4 25 29.7 32.7 7.73 8.41 5.08 7.05 3.6 5.10 208.00 910.00 0.17 0.02 10.00 0.00<br />

5 30 29.6 32.7 7.84 8.35 5.11 8.89 5.3 9.20 140.00 1218.00 0.14 0.02 10.00 0.00<br />

6 25 29.9 31.6 7.71 8.34 4.83 8.15 5.1 9.70 180.67 1430.00 0.16 0.04 5.00 0.00<br />

96


ตารางผนวกที่<br />

3 (ตอ)<br />

เวลาเลี้ยง<br />

บอ Trans. Temp. (°C) pH D.O. (mg/l) Salinity EC. Tot. Alk Hardness TAN Nitrite Nitrate H2S (สัปดาห)<br />

(cm.) เชา บาย เชา บาย เชา บาย (ppt) (mS/cm) (mg/l) (mg/l) (mg/l) (mg/l) (mg/l) (mg/l)<br />

5 1 20 29.5 32.1 7.74 8.45 5.12 8.61 3.0 5.51 230.67 768.00 0.12 0.02 10.00 0.00<br />

2 12 29.8 32.7 7.62 8.31 5.22 8.56 5.5 9.84 127.33 1418.00 0.08 0.02 10.00 0.00<br />

3 21 30.0 32.5 7.68 8.33 5.11 8.41 6.1 10.69 182.00 1562.00 0.16 0.02 5.00 0.00<br />

4 22 29.8 32.0 7.70 8.50 5.20 9.08 3.0 5.60 200.67 808.00 0.28 0.06 10.00 0.00<br />

5 29 29.8 32.1 7.72 8.36 5.05 7.06 4.7 8.40 113.33 1192.00 0.23 0.01 5.00 0.27<br />

6 20 29.8 32.7 7.72 8.39 4.94 8.33 5.1 9.19 154.00 1280.00 0.26 0.01 10.00 0.00<br />

6 1 18 29.2 31.7 7.68 8.42 4.98 8.29 2.9 5.46 97.00 790.67 0.19 0.01 10.00 0.00<br />

2 15 29.3 31.9 7.78 8.41 5.27 9.01 5.3 9.39 94.00 1416.00 0.15 0.06 10.00 0.00<br />

3 18 29.3 31.1 7.81 8.45 5.31 9.45 5.8 9.85 113.00 1596.00 0.20 0.01 10.00 0.00<br />

4 15 29.7 31.4 7.61 8.45 4.82 7.28 3.0 5.58 95.00 804.00 0.11 0.04 5.00 0.27<br />

5 25 29.7 32.5 7.75 8.31 4.96 7.04 4.6 8.30 98.00 1308.00 0.24 0.04 10.00 0.53<br />

6 15 29.7 31.1 7.77 8.46 5.12 8.59 4.9 8.51 93.00 1320.00 0.15 0.04 10.00 0.27<br />

97


ตารางผนวกที่<br />

3 (ตอ)<br />

เวลาเลี้ยง<br />

บอ Trans. Temp. (°C) pH D.O. (mg/l) Salinity EC. Tot. Alk Hardness TAN Nitrite Nitrate H2S (สัปดาห)<br />

(cm.) เชา บาย เชา บาย เชา บาย (ppt) (mS/cm) (mg/l) (mg/l) (mg/l) (mg/l) (mg/l) (mg/l)<br />

7 1 15 29.4 31.8 7.66 8.38 5.09 9.07 3.0 5.56 238.00 826.67 0.17 0.07 10.00 0.00<br />

2 12 30.0 33.1 7.81 8.48 5.33 9.59 5.1 9.04 162.67 1308.00 0.21 0.05 10.00 0.00<br />

3 12 30.0 33.1 7.75 8.39 5.26 9.12 5.4 9.56 229.33 1546.00 0.14 0.04 10.00 0.00<br />

4 15 29.6 31.8 7.67 8.39 5.10 7.70 3.1 5.71 231.33 841.33 0.15 0.02 10.00 0.27<br />

5 25 29.7 31.7 7.73 8.41 4.85 7.92 4.7 8.45 162.00 1248.00 0.25 0.07 10.00 0.80<br />

6 15 29.7 33.0 7.68 8.39 5.07 8.84 4.5 8.22 162.67 1248.00 0.16 0.03 10.00 0.27<br />

8 1 15 29.2 31.1 7.80 8.36 4.85 8.93 3.0 5.50 266.00 872.00 0.20 0.02 10.00 0.00<br />

2 14 29.1 31.2 7.68 8.32 4.92 8.72 4.9 8.80 148.67 1294.00 0.31 0.06 5.00 0.00<br />

3 15 29.4 31.2 7.80 8.41 4.87 7.75 5.4 9.50 302.67 1572.00 0.24 0.06 10.00 0.00<br />

4 13 29.7 30.4 7.74 8.26 5.30 7.50 3.1 5.70 244.00 937.33 0.12 0.06 10.00 0.53<br />

5 20 29.9 31.6 7.77 8.44 4.95 8.10 4.4 8.50 178.67 1236.00 0.43 0.06 5.00 0.80<br />

6 12 29.6 31.4 7.78 8.38 4.85 7.54 4.6 8.20 182.00 1242.00 0.27 0.02 10.00 0.53<br />

98


ตารางผนวกที่<br />

3 (ตอ)<br />

เวลาเลี้ยง<br />

บอ Trans. Temp. (°C) pH D.O. (mg/l) Salinity EC. Tot. Alk Hardness TAN Nitrite Nitrate H2S (สัปดาห)<br />

(cm.) เชา บาย เชา บาย เชา บาย (ppt) (mS/cm) (mg/l) (mg/l) (mg/l) (mg/l) (mg/l) (mg/l)<br />

9 1 12 29.5 31.3 7.83 8.37 4.81 7.46 2.9 5.31 214.67 772.00 0.34 0.02 10.00 0.00<br />

2 12 29.6 32.3 7.78 8.45 5.30 8.64 4.9 8.73 130.67 1266.00 0.26 0.07 10.00 0.00<br />

3 12 29.3 31.7 7.62 8.39 5.24 9.16 5.2 9.27 211.33 1426.00 0.37 0.03 10.00 0.00<br />

4 10 29.4 31.2 7.60 8.37 4.97 8.04 2.9 5.39 225.33 854.67 0.24 0.04 10.00 0.80<br />

5 15 29.4 31.5 7.60 8.38 5.04 7.75 4.5 8.12 170.67 1184.00 0.28 0.04 10.00 0.80<br />

6 10 29.4 31.5 7.71 8.35 4.82 7.85 4.5 8.05 167.33 1230.00 0.44 0.05 5.00 0.80<br />

10 1 10 29.7 31.5 7.84 8.39 5.16 8.86 3.0 5.50 228.67 828.00 0.30 0.07 10.00 0.00<br />

2 10 29.3 31.9 7.68 8.34 5.11 8.78 5.0 8.90 110.67 1368.00 0.32 0.07 10.00 0.00<br />

3 8 29.2 31.0 7.74 8.36 5.30 9.20 2.7 5.44 233.33 1534.00 0.28 0.07 10.00 0.00<br />

4 10 29.5 30.3 7.73 8.38 5.21 8.97 3.0 5.60 207.33 908.00 0.22 0.04 10.00 1.06<br />

5 13 29.5 31.8 7.64 8.55 4.91 7.58 4.7 8.40 152.67 1256.00 0.33 0.05 10.00 1.33<br />

6 8 29.4 31.0 7.76 8.39 4.97 8.39 4.6 8.30 182.00 942.00 0.54 0.05 10.00 0.80<br />

99


ตารางผนวกที่<br />

3 (ตอ)<br />

เวลาเลี้ยง<br />

บอ Trans. Temp. (°C) pH D.O. (mg/l) Salinity EC. Tot. Alk Hardness TAN Nitrite Nitrate H2S (สัปดาห)<br />

(cm.) เชา บาย เชา บาย เชา บาย (ppt) (mS/cm) (mg/l) (mg/l) (mg/l) (mg/l) (mg/l) (mg/l)<br />

11 1 8 29.5 32.2 7.87 8.33 5.11 8.75 3.2 5.90 234.67 882.67 0.34 0.07 10.00 0.00<br />

2 8 29.1 31.8 7.65 8.29 4.85 7.62 5.0 9.00 127.33 1326.00 0.38 0.06 5.00 0.00<br />

3 7 29.0 31.3 7.77 8.38 5.37 9.22 5.4 9.50 272.67 1482.00 0.33 0.07 10.00 0.00<br />

4 9 29.1 31.3 7.76 8.48 5.16 8.81 3.4 6.20 236.00 1000.00 0.35 0.07 10.00 1.06<br />

5 10 29.6 31.7 7.80 8.39 5.17 7.24 4.7 8.50 218.00 1170.67 0.49 0.07 5.00 1.33<br />

6 8 29.0 31.2 7.74 8.22 4.83 7.90 4.6 8.30 213.33 1232.00 0.78 0.04 10.00 1.06<br />

12 1 7 29.3 31.1 7.75 8.39 5.03 8.97 2.8 5.33 272.67 881.33 0.38 0.08 10.00 0.00<br />

2 9 29.2 31.8 7.61 8.33 4.81 7.13 5.2 9.32 142.67 1340.00 0.45 0.08 10.00 0.00<br />

3 10 29.4 32.0 7.75 8.35 4.85 7.79 2.6 4.90 228.00 1670.00 0.36 0.05 10.00 0.00<br />

4 8 29.4 31.5 7.63 8.37 5.27 8.91 2.8 5.34 230.00 868.00 0.38 0.07 10.00 1.59<br />

5 9 29.4 31.5 7.78 8.32 5.15 7.88 4.7 8.38 212.67 1156.00 0.48 0.07 10.00 1.59<br />

6 8 29.3 33.1 7.72 8.34 4.96 8.71 2.9 5.41 194.67 1208.00 0.51 0.04 10.00 1.33<br />

100


ตารางผนวกที่<br />

3 (ตอ)<br />

เวลาเลี้ยง<br />

บอ Trans. Temp. (°C) pH D.O. (mg/l) Salinity EC. Tot. Alk Hardness TAN Nitrite Nitrate H2S (สัปดาห)<br />

(cm.) เชา บาย เชา บาย เชา บาย (ppt) (mS/cm) (mg/l) (mg/l) (mg/l) (mg/l) (mg/l) (mg/l)<br />

13 1 11 29.4 31.1 7.81 8.34 4.98 8.29 3.5 6.36 224.67 942.67 0.37 0.04 5.00 0.00<br />

2 12 29.2 31.7 7.81 8.42 4.93 8.76 5.3 9.41 142.67 1374.00 0.52 0.08 10.00 0.00<br />

3 15 29.6 31.7 7.62 8.34 4.87 7.85 5.7 10.17 258.67 1580.00 0.76 0.04 10.00 0.00<br />

4 10 29.5 31.8 7.74 8.40 5.10 8.77 3.7 6.68 214.67 1028.00 0.42 0.08 10.00 1.59<br />

5 12 29.9 32.1 7.78 8.41 5.04 7.68 4.6 8.27 202.67 1062.67 0.54 0.08 10.00 1.59<br />

6 10 29.1 31.6 7.68 8.25 4.89 7.87 5.0 8.86 224.00 1430.00 0.68 0.05 5.00 1.33<br />

14 1 15 29.6 31.8 7.79 8.33 5.17 8.56 3.5 6.45 230.67 770.00 0.43 0.05 10.00 0.00<br />

2 10 29.7 31.5 7.82 8.46 5.29 9.12 5.5 9.77 135.33 1430.00 0.50 0.07 5.00 0.00<br />

3 12 29.5 31.7 7.80 8.41 5.26 9.03 5.9 9.77 227.33 1568.00 0.81 0.04 10.00 0.00<br />

4 12 29.3 31.5 7.65 8.37 5.07 8.62 3.6 5.12 236.00 910.00 0.49 0.06 5.00 1.86<br />

5 15 29.8 31.6 7.81 8.37 5.09 7.71 4.6 8.25 197.33 1057.33 0.61 0.05 10.00 1.86<br />

6 15 29.6 32.4 7.73 8.36 4.84 8.13 5.0 8.98 194.00 1466.00 0.73 0.06 10.00 1.59<br />

101


ตารางผนวกที่<br />

3 (ตอ)<br />

เวลาเลี้ยง<br />

บอ Trans. Temp. (°C) pH D.O. (mg/l) Salinity EC. Tot. Alk Hardness TAN Nitrite Nitrate H2S (สัปดาห)<br />

(cm.) เชา บาย เชา บาย เชา บาย (ppt) (mS/cm) (mg/l) (mg/l) (mg/l) (mg/l) (mg/l) (mg/l)<br />

15 1 20 29.7 31.5 7.74 8.27 4.92 8.45 3.4 6.24 214.67 761.00 0.55 0.04 10.00 0.00<br />

2 15 29.7 32.4 7.92 8.24 5.03 8.21 5.4 8.89 140.00 1218.00 0.41 0.09 10.00 0.00<br />

3 15 29.8 32.3 7.78 8.37 5.12 8.56 5.5 9.64 229.33 1537.00 0.38 0.07 10.00 0.00<br />

4 15 29.7 32.2 7.79 8.41 5.13 8.95 3.5 6.42 231.33 841.33 0.48 0.08 10.00 1.86<br />

5 15 29.9 32.4 7.70 8.36 5.16 7.89 4.6 8.22 187.33 910.67 0.59 0.07 10.00 1.86<br />

6 11 29.8 32.4 7.71 8.35 4.87 7.59 5.2 9.26 162.67 1532.00 0.36 0.08 5.00 1.59<br />

102


ตารางผนวกที่<br />

4 ผลการวิเคราะหทางสถิติของศักยไฟฟารีดอกซพื้นบอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

Paracoccus pantotrophus และบอควบคุม<br />

ศักยไฟฟารีดอกซ (มิลลิโวลต)<br />

บอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus บอควบคุม<br />

พิสัย คาเฉลี่ย<br />

พิสัย คาเฉลี่ย<br />

t df P<br />

บริเวณแนวหวานอาหาร -15 ถึง -67 -53±21.4 -53 ถึง -102 -81±19.2 4.712 46 P


ตารางผนวกที่<br />

5 ศักยไฟฟารีดอกซพี้นบอตลอดการเลี้ยง<br />

เวลาเลี้ยง<br />

บอทดลองที่ใชแบคทีเรีย<br />

P. pantotrophus บอควบคุม<br />

(สัปดาห) แนวหวานอาหาร กลางบอ แนวหวานอาหาร กลางบอ<br />

บอ 1 บอ 2 บอ 3 บอ 1 บอ 2 บอ 3 บอ 4 บอ 5 บอ 6 บอ 4 บอ 5 บอ 6<br />

2 -12 -24 -9 -34 -22 -31 -49 -37 -73 -95 -87 -94<br />

4 -24 -41 -13 -54 -37 -44 -79 -65 -66 -109 -97 -112<br />

6 -48 -35 -43 -48 -75 -69 -105 -88 -80 -121 -108 -94<br />

8 -58 -34 -70 -73 -95 -66 -72 -94 -86 -126 -114 -99<br />

10 -65 -52 -66 -65 -96 -97 -90 -77 -121 -123 -106 -119<br />

12 -51 -40 -65 -94 -81 -104 -94 -81 -71 -131 -116 -125<br />

14 -72 -64 -65 -92 -119 -83 -115 -82 -109 -178 -138 -122<br />

104

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!