11.07.2015 Views

รายงานประจำปี 2553 - National Center for Genetic Engineering and ...

รายงานประจำปี 2553 - National Center for Genetic Engineering and ...

รายงานประจำปี 2553 - National Center for Genetic Engineering and ...

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

บทสรุป สำาหรับผู้บริหารเป้าหมายวิจัยและพัฒนาเพื่อสร้างความสามารถด้านเทคโนโลยีชีวภาพของประเทศให้เกิดผลทั้งในเชิงความเป็นเลิศทางวิชาการ (excellence)และเป็นความต้องการของผู้ใช้ประโยชน์จากผลงานวิจัยทั้งในเชิงพาณิชย์ และการพัฒนาสังคมและชุมชน (relevance) เพื่อให้เกิดผลกระทบสูง (impact)บทบาทหลักดำาเนินงานวิจัยด้านเทคโนโลยีชีวภาพและสร้างความเข้มแข็งทางเทคโนโลยี(โปรแกรมเทคโนโลยีฐาน)นำาเทคโนโลยีแก้ไขปัญหาที่สำาคัญของประเทศ(ตอบโจทย์โปรแกรมภายใต้คลัสเตอร์)ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ(ไบโอเทค) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ(สวทช.) มีเป้าหมายในการวิจัยและพัฒนาเพื่อสร้างความสามารถด้านเทคโนโลยีชีวภาพของประเทศให้เกิดผลทั้งในเชิงความเป็นเลิศทางวิชาการ การนำผลงานไปใช้ประโยชน์ทั้งในเชิงพาณิชย์ ชุมชนและสังคม เพื่อสร้างผลกระทบ รวมทั้งให้ความสำคัญกับการทำงานร่วมกับพันธมิตรต่างๆ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ โดยสรุปในปีงบประมาณ <strong>2553</strong> มีผลการดำเนินงาน ดังนี้ด้านการสร้างความสามารถเพื่อความเป็นเลิศทางวิชาการ ไบโอเทคมีบทความตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับนานาชาติจำนวน 216 บทความ โดยมีบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารที่อยู ่ในฐานข้อมูล Science Citation Index Exp<strong>and</strong>ed จำนวน 198บทความ ซึ่งตีพิมพ์ในวารสารที่มีค่า impact factor มากกว่า 4 จำนวน13 บทความ ผลงานวิจัยที่สร้างองค์ความรู้ใหม่และการพัฒนาเทคโนโลยี เช่น ประสบความสำเร็จในการพัฒนายาต้านมาลาเรียประเภทแอนติโฟเลต จนได้สารต้านมาลาเรียชนิดใหม่ที่มีศักยภาพ1 ชนิดที่ถูกคัดเลือกเพื่อศึกษาระดับ pre-clinical ในมนุษย์ มีส่วนร่วมวิเคราะห์ข้อมูลชีวสารสนเทศความหลากหลายทางชาติพันธุ์ของมนุษย์ที่มีความสำคัญต่อการวิจัยด้านมนุษยพันธุศาสตร์พันธุศาสตร์ประชากร ระบาดวิทยาพันธุศาสตร์ พัฒนาเทคโนโลยีไมโครอะเรย์ที่สามารถตรวจเชื้อก่อโรคในอาหารได้หลายๆ ชนิดพร้อมกัน ประหยัดเวลาและต้นทุนต่ำกว่าวิธีอีไลซ่า ประเมินความเสี่ยงของฮีสตามีนที่ก่อให้เกิดอาการแพ้ในน้ำปลา จนได้รับการยอมรับจากคณะกรรมการวิชาการโคเด็กซ์ มีผลต่อการลดการ6 รายงานประจำาปี <strong>2553</strong>

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!