12.07.2015 Views

4. ความไม่สมบูรณ์ในของแข็ง

4. ความไม่สมบูรณ์ในของแข็ง

4. ความไม่สมบูรณ์ในของแข็ง

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

บทที 4 <strong>ความไม่สมบูรณ์ในของแข็ง</strong> ผศ.ดร.สุภาสินี ลิมปานุภาพ ซีทShear stressb v Burgers vectorSlip planeUnit stepof slip(ก) (ข) (ค)รูปที <strong>4.</strong>5 แสดงดิสโลเคชันแบบขอบทีมีการเคลือนทีในโครงสร้างผลึก (ก) มีระนาบครึงระนาบพิเศษแทรกอยู่ในโครงสร้าง (ข) ระนาบครึงระนาบพิเศษเคลือนทีไปเป็ นระยะเท่ากับขนาดของเวกเตอร์เบอเกอร์ และ(ค) ระนาบครึงระนาบพิเศษหยุดการเคลือนทีเมือเคลือนไปถึงขอบของโครงสร้างผลึก(http://www.ic.arizona.edu/ic/mse257/class_notes/disclocation.html สืบค้นเมือ 25 กันยายน 2552)<strong>4.</strong>3.2 ดิสโลเคชันแบบเกลียว (screw dislocation)ดิสโลเคชันแบบเกลียวมีลักษณะคล้ายบันไดเวียน ทีมีเส้นดิสโลเคชันลงไปตามแกนของบันได ดังแสดงในรูปที <strong>4.</strong>6 ดิสโลเคชันประเภทนี เกิดขึ นเมือระนาบได้รับความเค้นเฉือนพร้อมกันในทิศทางตรงกันข้าม โดยทีเวกเตอร์เบอร์เกอร์สจะมีทิศขนานกับเส้นดิสโลเคชันแบบเกลียววัสดุทีมีรูปผลึกมักมีดิสโลเคชันในโครงสร้างเสมอ ซึงอาจเกิดเนืองจากกระบวนการแข็งตัว(solidification) กระบวนการเปลียนรูปแบบถาวะ หรือผลของ thermal stress เนืองจากการเย็นตัวอย่างรวดเร็ว เป็ นต้น ตัวอย่างของดิสโลเคชันในวัสดุแสดงดังรูปที <strong>4.</strong>7 เส้นสีดําในรูปแสดงดิสโลเคชันของชิ นงานไทเทเนียมอัลลอยชิ นหนึง~ 61 ~

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!