13.07.2015 Views

2 - 國民健康局- 行政院衛生署

2 - 國民健康局- 行政院衛生署

2 - 國民健康局- 行政院衛生署

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

ด้วยความปราถนาดีถึงคุณพ่อและคุณแม่เพื่อต้อนรับการลืมตาดูโลกของลูกน้อยเราขอมอบคู่มือเล่มนี้ให้คุณเพื่อบันทึกประวัติสุขภาพของลูกน้อยตั้งแต่แรกเกิดจนถึงวัย7ขวบ และข้อมูลรักษาสุขภาพของทารกกรุณาเก็บรักษาคู่มือเล่มนี้ให้ดีหากทำหายก็สามารถขอเล่มใหม่ได้ที่สถานีอนามัยหรือสถานที่ที่คุณได้รับคู่มือเล่มนี้กรมสุขภาพให้บริการตรวจรักษาสุขแก่ทารกจำนวน9 ครั้ง ก่อนวัย 7 ขวบโดยจ่ายเงินอุดหนุนการตรวจสุขภาพสำหรับทารกวัยก่อน น1 ขวบ จำนวน 4 ครั้ง วัย 1-1.5 ขวบ 1 ครั้ง 1.5-2 ขวบ1 ครั้ง 2-3 ขวบ 1 ครั้ง 3-4 ขวบ 1 ครั้ง และ 4-7 ขวบ1 ครั้ง


การบริการเพื่อสุขภาพทารกประกอบไปด้วย การประเมินพัฒนาการการตรวจร่างกาย การฉีดวัคซีน ให้คำปรึกษาด้านอนามัยและให้ความรู้เกี่ยวกับสุขภาพ ก่อนไปรับการตรวจสุขภาพทุกครั้งกรุณากรอกรายละเอียดในแบบฟอร์ม “บันทึกคุณพ่อคุณแม่”และต้องนำคู่มือไปด้วยทุกครั้งเพื่อให้แพทย์และพยาบาลจดบันทึกและใช้เป็นข้อมูลประกอบการตราวจสุขภาพของลูกน้อย คุณหมอลงชื่อกำกับทุกครั้งที่ตรวจบันทึกการฉีดวัคซีนทุกอย่างต้องเก็บรักษาให้ดีเพื่อเป็นข้อมูลเมื่อเข้าเรียนชั้นประถม ศึกษาต่อต่างประเทศและบันทึกการตรวจสุขภาพอื่น ๆ ข้อมูลอื่น ๆที่เกี่ยวข้องติดต่อสอบถามได้ที่กองอนามัยท้องถิ่นต่าง ๆหรือกรมป้องกันโรค กระทรวงสาธารณสุขไต้หวัน (ดูหน้า 93)หลังคลอด 48 ชั ่วโมง ต้องตรวจความบกพร่องของระบบเมตาโบลีซึมแต่กำเนิดหลังคลอด 1 เดือน ตองสงเกตสอุจจาระ ต้องสังเกตสีอุจจาระ และเปรยบ และเปรียบเทียบกับการ์ดสีอุจจาระ(ดูหน้า 5)ศูนย์รับปรึกษาปัญหาการกลืนกินสารพิษ โทรศัพท์02-2871-7121


Apgar 1


บันทึกทารกแรกเกิดวันเวลาเกิด : วันที่ เดือน ปี เวลา น.ตั้งครรภ์จำนวนสัปดาห์ : สัปดาห์กำหนดคลอด : วันที่ เดือน ปีวิธีคลอด : คลอดธรรมชาติ คลอดโดยการดูดสูญญากาศ ใช้คีมคีบเด็กออกมา ผ่าตัดคลอดจำนวนApgar: 1นาที 5นาที น้ำหนัก กรัม สูง ช.ม.รอบศีรษะ ซ.ม. รอบอก ซ.ม.รูปถ่ายตอนคลอดรอยประทับเท้าตอนคลอดโรงพยาบาลที่คลอด : บันทึกนี้บันทึกโดยโรงพยาบาลที่รับคลอด รบคลอดบันทึกทารกแรกเกิด2


D 3


บันทึกการเติบโตของทารกD วัน เดือน ปครบขวบ (เดือน) รายการรอบศีรษะซ.ม.สูงซ.ม.น้ำหนักกิโลกรัมวันที่ เดือน ปี เดือน วันวันที่ เดือน ปี เดือน วันวันที่ เดือน ปี เดือน วันวันที่ เดือน ปี เดือน วันวันที่ เดือน ปี เดือน วันวันที่ เดือน ปี เดือน วันวันที่ เดือน ปี อายุ (ปี) เดือนวันที่ เดือน ปี อายุ (ปี) เดือนวันที่ เดือน ปี อายุ (ปี) เดือนวันที่ เดือน ปี อายุ (ปี) เดือนวันที่ เดือน ปี อายุ (ปี) เดือนวันที่ เดือน ปี อายุ (ปี) เดือนวันที่ เดือน ปี อายุ (ปี) เดือนวันที่ เดือน ปี อายุ (ปี) เดือนวันที่ เดือน ปี อายุ (ปี) เดือนวันที่ เดือน ปี อายุ (ปี) เดือนวันที่ เดือน ปี อายุ (ปี) เดือนวันที่ เดือน ปี อายุ (ปี) เดือนทารกที่คลอดก่อนกำหนด ควรคำนวนจากวันกำหนดคลอด(ปรับอายุ)จนอายุครบ 2 ขวบบันทึกการเติบโตของลูกน้อย น้อย4


กราฟแสดงการเติบโตของเด็กผู้ชาย 886 แหล่งข้อมูล : กระทรวงสาธารณสุขไต้หวัน เดือนมิถุนายน 19997


กราฟแสดงการเติบโตของทารกเพศชายิ 8


กราฟแสดงการเติบโตของเด็กผู้หญิง 886 ที่มา : กระทรวงสาธารณสุขไต้หวัน มิถุนายน 19999


กราฟแสดงการเติบโตของทารกเพศหญิงิ ญิงิ ิ 10


ัึตารางแสดงการตรวจสุขภาพและระยะเวลาการให้เงินอุดหนุนเพื่อสุขภาพเด็กช่วงเวลาการให้เงินอุดหนุน ช่วงอายุที่เหมาะสมในการยื่นข การให้บริการ0-2เดือน2-4เดือน4-8เดือน8เดือนถึง1 ปี1 -2 ปีครั้งที่1 1 เดือนครั้งที่2 2-3 เดือนครั้งที่3 6-7 เดือนครั้งที่4 9-10 เดือนครั้งท5 1-1ขวบครึ่งครั้งที่61ขวบครึ่ง ถึง2 ขวบครั้งที่ 7 2-3 ปีครั้งที่ 8 3-4 ปีครั้งที่ 9 ก่อน 4-7 ปีตรวจสุขภาพ: ส่วนสูง น้ำหนัก รอบศีรษะ สภาพโภชนาการ ตรวจทั่วไป รูม่านตาปฏิกิริยาต่อเสียง อาการปากแหว่ง เสียงเต้นของหัวใจ ไส้เลื่อนลูกอัณฑะหลบใน อวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก การเคลื่อนไหวของข้อการวินิจฉัย: วิธีการให้อาหารการพัฒนาการ:การแสดงอาการตกใจ การจ้องมองวัตถุตรวจสุขภาพ: ส่วนสูง น้ำหนัก รอบศีรษะ สภาพโภชนาการ ตรวจทั่วไป ดวงตารูม่านตาและการจ้องมองวัตถุ เสียงเต้นของหัวใจ ตับและม้ามการเคลื่อนไหวของข้อการวินิจฉัย: วิธีการให้อาหารการพัฒนาการ:ยกศีรษะ แบฝ่ามือ ยิ้มตรวจสุขภาพ: ความสูง น้ำหนัก รอบศีรษะ สภาพโภชนาการ ตรวจทั่วไป ตำแหน่งลูกตารูม่านตาและการจ้องมองวัตถุ ปฏิกิริยาต่อเสียง เสียงเต้นของหัวใจตรวจช่องปากการวินิจฉัย:การให้อาหาร การให้อาหารเสริมการพัฒนาการ:พลิกตัว ยื่นมือหยิบของ มีความไวต่อเสียง ทดสอบโดยใช้ผ้าปิดหน้าตรวจสุขภาพ: ส่วนสูง น้ำหนัก รอบศีรษะ สภาพโภชนาการ ตรวจทั่วไปตำแหน่งของดวงตา ม่านตา ไส้เลื่อน ลูกอัณฑะหลบในอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก ตรวจช่องปากการวินิจฉัย:การให้อาหาร การให้อาหารเสริมการพัฒนาการ:คลาน พยุงให้ยืนได้ โบกมือ“บ๊าย ” ออกเสียง “ปา ” หรือ “มา” ไดตรวจสุขภาพ: ส่วนสูง น้ำหนัก รอบศีรษะ สภาพโภชนาการ การตรวจทั่วไปตำแหน่งของดวงตา รูม่านตา ปฏิกิริยาต่อเสียง เสียงเต้นของหัวใจตรวจช่องปากการวินิจฉัย:การทานอาหารที่เป็นของแข็งการพัฒนาการ:ยืนได้ดี จับมือให้เดิน ใช้นิ้วจับของได้ ฟังทั้งประโยคได้รู้เรื่องตรวจสุขภาพ: ส่วนสูง น้ำหนัก รอบศีรษะ สภาพโภชนาการ ตรวจทั่วไปตำแหน่งดวงตา กระจกตา รูม่านตา ปฏิกิริยาต่อเสียง ตรวจช่องปากการวินิจฉัย:ให้อาหารแบบแข็งการพัฒนาการ:เดินได้ เดินถือถ้วยได้ ทำท่าเลียนแบบได้ พูดเป็นคำได้ตรวจสุขภาพ: ส่วนสูง น้ำหนัก รอบศีรษะ สภาพโภชนาการ การตรวจทั่วไปการตรวจตา เสียงหัวใจการพัฒนาการ:วิ่งได้ รองเท้าแตะ จับปากกาขีด ๆ เขียน เรียกส่วนต่าง ๆ ในร่างกายตรวจสุขภาพ: ส่วนสูง น้ำหนัก สภาพโภชนาการ การตรวจทั่วไป การตรวจตา(ภาพเดี่ยวแบบจุดมั่ว SIRDS)ตรวจเสียงหัวใจ อวัยวะสืบพันธ์ภายนอกตรวจช่องปากการพัฒนาการ:กระโดดยอง ๆ วาดรูปกลม พลิกหนังสือ เรียกชื่อตัวเองตรวจสุขภาพ: ส่วนสูง น้ำหนัก สภาพโภชนาการ ตรวจทั่วไปตรวจสายตาและตรวจตา ตรวจเสียงหัวใจการพัฒนาการ: กระโดดขาเดียว เดินบนเส้นตรง วาดรูปร่างกายคน แยกแยะสีต่าง ๆความเข้าใจทิศทางบน ล่าง หน้า หลัง ซ้าย ขวา ในและนอก พูดได้ชัดเจนการฉีดยาป้องกันโรคต่าง ๆ ครบถ้วนหรือไม่ ต้องควบคุมการออกกำลังกายที่ต้องออกแรงมากหรือไม เช่นเป็นโรคหัวใจ หอบ หืดื่ หรือต้องให้ความช่วยเหลืออื่นๆ หรือไม่ เช่นผู้ทุพพลภาพทางร่างกายหรือจิตใจเพื่อเป็นข้อมูลประกอบเมื่อเด็กเข้าเรียนในโรงเรียนบันทึกการตรวจสุขภาพของทารการก12


บันทึกการตรวจสุขภาพเด็กช่วงเวลาการให้เงินอุดหนุนระยะเวลาที ่เหมาะสม วันเดือนปีที่ตรวจ สถานที่ตรวจ แพทย์ผู้ตรวจลงนาม0-2 เดือน ครั้งที่ 1 1 เดือน2-4 เดือน ครั้งที่ 2 2-3 เดือน4-8 เดือน ครั้งที่ 3 6-7 เดือน8-12 เดือน ครั้งที่ 4 9-10 เดือน1-2 ขวบครั้งที่ 5 1-1ขวบครึ่งครั้งที่ 61ขวบครึ่ง ถึง2 ขวบ2-3 ขวบ ครั้งที่ 7 2-3 ขวบ3-4 ขวบ ครั้งที่ 8 3-4 ขวบ4-7 ขวบ ครั้งที่ 94ขวบ ถึง ก่อน7 ขวบกรุณาเก็บรักษาบันทึกนี้ไว้ให้ดีเพื่อประโยชน์ในการตรวจสุขภาพเด็กก่อนเข้าเรียน นบันทึกการตรวจสุขภาพของทารการก14


1 2 3 4 C.C.5 114 6 (1)(2)(3)(4) 7 15


บันทึกของผู้ปกครองและบันทึกการตรวจสุขภาพบันทึกของผู้ปกครอง เมื่อเด็กครบ 1 เดือน กรุณากรอกแบบฟอร์มนี้ให้สมบูรณ์ก่อนนำเด็กไปตรวจสุขภาพบันทึกเมื่อวันที่ เดือน ปี (อายุ เดือน วัน)1 ทารกกลับบ้านเมื่อคลอดได้ วัน2 ตรวจระบบเมตาโบลิซึมของทารกหรือไม่ ตรวจ ไม่ได้ตรวจ3 หลังคลอดเคยป่วยหรือเคยเข้าโรงพยาบาลหรือไม่ กรุณาบันทึกข้อความไว้ข้างล่างนี้:4 การให้อาหาร : นมแม่ ให้วันละ ครั้ง ให้นมผง ประมาณทุก ช.ม. วันละ ครั้ง ครั้งละ ซีซี.นมผง ช้อน ยี่ห้อ มีปัญหาในการให้อาหารทารกหรือไม่ 5 การอุจจาระ : วันละ ครั้ง หรื อทุก วัน อุจจาระ 1ครั้งสีปกติ ไม่ปกติ(กรุณาดูคำอธิบายเกี่ยวกับอุจจาระเด็กหน้า 4)ลักษณะ ข้น ๆ เป็นน้ำใส ๆ เป็นเส้น อื่น ๆ 6 พัฒนาการ :(1) เวลานอนคว่ำ ยกศีรษะขึ้นจากเตียงได้เล็กน้อยได้หรือไม่้(2) เมื่อมีเสียงดังจะมีอาการตกใจจนอ้าแขนอ้าขา หรือร้องไห้หรือไม่ ได้ ไม่ ไม่ได้ ใช่(3) ใช้ไฟฉาย ส่องที่ตาของทารก กระพริบตาหรือไม่ กระพริบ ไม่กระพริบ(4) ใช้กระดิ่งหรือวัตถุที่มีเสียงสั่นข้างหู จะมีปฏิกิริยาหรือไม่ (กระพริบตา ตกใจ เงียบทันทีหันหน้าเล็กน้อย)ไม่มีปฏิกิริยาใดๆ มีปฏิกิริยา7 กรุณาบันทึกสิ่งที่คุณต้องการสอบถามจากแพทย์และสิ่งที่คุณรู้สึกวิตกกังวลในตัวทารกไว้ในที่ว่างข้างล่างนี้ :บันทึกของคุณพ่อคุณแม่และบันทึกการตรวจสุขภาพพ 16


1 2 3 4 556362765 66- -----17


บันทึกการตรวจสุขภาพเมื่อทารกอายุครบ 1 เดือนวันเดือนปีที่ตรวจ :อายุ : เดือน วันวันที่ เดือน พ.ศ.ส่วนสูง :เซนติเมตร น้ำหนัก :กิโลกรัม(จัดอยู่ในอัตราส่วนที่ ของทารกวัยเดียวกัน) (จัดอยู่ในอัตราส่วนที่ี่ ของทารกวัยเดียวกัน)รอบศีรษะ :เซนติเมตร(จัดอยู่ในอัตราส่วนที่ ของทารกวัยเดียวกัน)ประเมินการเจริญเติบโต : ปกติ ต้องติดตาม ต้องส่งต่อไปยังโรงพยาบาลอื่น ตรวจสุขภาพ : ไม่พบสิ่งผิดปกติ ต้องติดตามหรือมีสิ่งผิดปกติ1 ต้องติดตาม ต้องส่งต่อไปยังสถานพยาบาลอื่น 2 ต้องติดตาม ต้องส่งต่อไปยังสถานพยาบาลอื่น 3 ต้องติดตาม ต้องส่งต่อไปยังสถานพยาบาลอื่น 4 ต้องติดตาม ต้องส่งต่อไปยังสถานพยาบาลอื่น ประเมินพัฒนาการ : ผ่าน ต้องติดตาม ต้องส่งต่อไปยังสถานพยาบาลอื่น อนามัยศึกษาและสิ่งที่ควรรู้ : การตรวจระบบเมตาโบลิซึมแต่กำเนิด (ดูหน้า 55) ตรวจประสาทหู (ดูหน้า 63) ข้อแนะนำเกี่ยวกับท่านอนและที่นอน (ดูหน้า 62) หลีกเลี่ยงการสูดดมควันบุหรี่มือสอง (ดุหน้า 76) การสังเกตสีอุจจาระ (ดูหน้า 5) การวัดอุณหภูมิร่างกาย การป้องกันอุบัติเหตุ (ดูหน้า 66)--- ที่นั่งในรถสำหรับเด็ก (ทารกให้ใช้ที่นั่งเอนราบได้)--- อย่าอุ้มเด็กแกว่งไปแกว่งมาแพทย์ลงนาม :ทารกที่คลอดก่อนกำหนด ให้ปรับตามอายุที่ถูกต้องควรมาตรวจสุขภาพครั้งต่อไป ควรมาตรวจสขภาพครั้งต่อไป เมื่อเด็กอายได้ประมาณ เมื่อเด็กอายุได้ประมาณ __________ เดือนบันทึกของคุณพ่อคุณแม่และบันทึกการตรวจสุขภาพพ 18


1 2 C.C.3 114 4 5 (1)45 (2) (3) (4) 6 19


1 2 3 4 393851442------21


บันทึกการตรวจสุขภาพเมื่อทารกอายุครบ 2-3 เดือนวันเดือนปีที่ตรวจ :วันที่ เดือน พ.ศ.ส่วนสูง :เซนติเมตร(จัดอยู่ในอัตราส่วนที่ ของทารกวัยเดียวกัน)ทารกที่คลอดก่อนกำหนด ให้ปรับตามอายุที่ถูกต้องอายุ : เดือน วันน้ำหนัก :กิโลกรัม(จัดอยู่ในอัตราส่วนที่ ของทารกวัยเดียวกัน)รอบศีรษะ :เซนติเมตร(จัดอยู่ในอัตราส่วนที่ี่ ของทารกวัยเดียวกัน)ประเมินการเจริญเติบโต : ปกติ ต้องติดตาม ต้องส่งต่อไปยังโรงพยาบาลอื่น ตรวจสุขภาพ : ไม่พบสิ่งผิดปกติ ต้องติดตามหรือมีสิ่งผิดปกติ1 ต้องติดตาม ต้องส่งต่อไปยังสถานพยาบาลอื่น 2 ต้องติดตาม ต้องส่งต่อไปยังสถานพยาบาลอื่น 3 ต้องติดตาม ต้องส่งต่อไปยังสถานพยาบาลอื่น 4 ต้องติดตาม ต้องส่งต่อไปยังสถานพยาบาลอื่น ประเมินพัฒนาการ : ผ่าน ต้องติดตาม ต้องส่งต่อไปยังสถานพยาบาลอื่น สิ่งที่ต้องระวัง : การเคลื่อนไหว ภาษา การรับรู้ อารมณ์ อื่น ๆ อนามัยศึกษาและสิ่งที่ควรรู : ตรวจประสาทหู (ดูหน้า 39) ข้อแนะนำเกี่ยวกับท่านอนและที่นอน (ดูหน้า 38) หลีกเลี่ยงการสูดดมควันบุหรี่มือสอง (ดุหน้า 51) การสังเกตสีอุจจาระ (ดูหน้า 4) การวัดอุณหภูมิร่างกาย การป้องกันอุบัติเหตุ (ดูหน้า 42)--- ที่นั่งในรถสำหรับเด็ก (ทารกให้ใช้ที่นั่งเอนราบได้)--- อย่าอุ้มเด็กแกว่งไป-มาแพทย์ลงนาม :ควรมาตรวจสุขภาพครั้งต่อไป เมื่อเด็กอายุได้ประมาณ __________ เดือนบันทึกของคุณพ่อคุณแม่และบันทึกการตรวจสุขภาพพ 22


1 2 C.C. 3 11 4 (1)(2)90 (3)(4)(5)(6) 5 23


บันทึกของผู้ปกครองเมื่อทารกอายุได้ 4-5 เดือนกรุณากรอกแบบฟอร์มนี้ให้สมบูรณ์ก่อนนำเด็กไปตรวจสุขภาพกรุณากรอกแบบฟอรมนใหสมบูรณกอนนำเดกไปตรวจสุขภาพบันทึกเมื่อวันที่ เดือน ปี (อายุ เดือน วัน)1 หลังจากตรวจสุขภาพครั้งล่าสุดแล้ว ทารกเคยป่วยหรือต้องพักรักษาตัวในโรงพยาบาลหรือไม่กรุณาบันทึกรายละเอียดไว้ข้างท้ายนี้ :2 การให้อาหาร : ให้นมแม่ วันละ ครั้ง ให้นมผง ประมาณทุก ช.ม. วันละ ครั้ง ครั้งละ ซีซี.นมผง ช้อน ยี่ห้อ มีปัญหาในการให้อาหารเด็กหรือไม่ 3 การอุจจาระ : วันละ ครั้ง หรื อทุก วัน อุจจาระ 1ครั้งลักษณะ ข้น ๆ เป็นน้ำใส ๆ เป็นเส้น อื่น ๆ 4 พัฒนาการของทารก :(1) เวลาอุ้มตัวตรง ต้นคอตั้งตรงและหันศีรษะซ้าย-ขวาได้หรือไม่(2) เวลานอนคว่ำ มือทั้งสองข้างมีแรงยันให้คอตั้งตรง 90 องศา ได้หรือไม่(3) ยื่นมือออกไปจับของเล่นข้างกายได้หรือไม่(4) ส่งเสียงหัวเราะ “เอิก เอิก” ได้หรือไม่(5) เวลาโมโหหรือเครียดจะร้องเสียงดังหรือไม่(6) ตาจะมองตามวัตถุที่เคลื่อนที่หรือไม่5 กรุณาบันทึกสิ่งที่คุณต้องการสอบถามจากแพทย์และสิ่งที่คุณรู้สึกวิตกกังวลในตัวทารกไว้ในที่ว่างข้างล่างนี้ : ได้ ไม่ได้ ไม่ได้ ได้ ร้อง ใช่ ไม่ได้ ได้ ได้ ไม่ได้ ไม่ร้อง ไม่ใช่บันทึกของคุณพ่อคุณแม่และบันทึกการตรวจสุขภาพพ 24


1 2 3 4 64757666---------25


บันทึกการตรวจสุขภาพเมื่อทารกอายุครบ 4-5 เดือนวันเดือนปีที่ตรวจ :วันที่ เดือน พ.ศ.ส่วนสูง :เซนติเมตร(จัดอยู่ในอัตราส่วนที่ ของทารกวัยเดียวกัน)ทารกที่คลอดก่อนกำหนด ให้ปรับตามอายุที่ถูกต้องอายุ : เดือน วันน้ำหนัก :กิโลกรัม(จัดอยู่ในอัตราส่วนที่ ของทารกวัยเดียวกัน)รอบศีรษะ :เซนติเมตร(จัดอยู่ในอัตราส่วนที่ ของทารกวัยเดียวกัน)ประเมินการเจริญเติบโต : ปกติ ต้องติดตาม ต้องส่งต่อไปยังโรงพยาบาลอื่น ตรวจสุขภาพ : ไม่พบสิ่งผิดปกติ ต้องติดตามหรือมีสิ่งผิดปกติ1 ต้องติดตาม ต้องส่งต่อไปยังสถานพยาบาลอื่น 2 ต้องติดตาม ต้องส่งต่อไปยังสถานพยาบาลอื่น 3 ต้องติดตาม ต้องส่งต่อไปยังสถานพยาบาลอื่น 4 ต้องติดตาม ต้องส่งต่อไปยังสถานพยาบาลอื่น ประเมินพัฒนาการ : ผ่าน ต้องติดตาม ต้องส่งต่อไปยังสถานพยาบาลอื่น สิ่งที่ต้องระวัง : การเคลื่อนไหว ภาษา การรับรู้ อารมณ์ อื่น ๆ อนามัยศึกษาและสิ่งที่ควรรูู้ : อาหารเสริม (ดูหน้า 64) การฝึกการนอนที่ถูกสุขลักษณะสำหรับทารก (ดูหน้า 75) หลีกเลี่ยงการสูดดมควันบุหรี่มือสอง (ดุหน้า 76) การป้องกันอุบัติเหต (ดูหน้า 66)--- ที่นั่งในรถสำหรับเด็ก (ทารกให้ใช้ที่นั่งเอนราบได้)--- ระมัดระวังการหกล้ม--- รถฝึกเดินแพทย์ลงนาม :ควรมาตรวจสุขภาพครั้งต่อไป เมื่อเด็กอายุได้ประมาณ __________ เดือนบันทึกของคุณพ่อคุณแม่และบันทึกการตรวจสุขภาพพ 26


1 2 C.C. 3 11 4 5 (1) (2)(3)(4)(5)(6)6 27


บันทึกของผู้ปกครองเมื่อทารกอายุได้ 6-7 เดือนกรุณากรอกแบบฟอร์มนี้ให้สมบูรณ์ก่อนนำเด็กไปตรวจสุขภาพกรุณากรอกแบบฟอรมนใหสมบูรณกอนนำเดกไปตรวจสุขภาพบันทึกเมื่อวันที่ เดือน ปี (อายุ เดือน วัน)1 หลังจากตรวจสุขภาพครั้งล่าสุดแล้ว ทารกเคยป่วยหรือต้องพักรักษาตัวในโรงพยาบาลหรือไม่กรุณาบันทึกรายละเอียดไว้ข้างท้ายนี้ :2 การให้อาหาร : ให้นมแม่ วันละ ครั้ง ให้นมผง ประมาณวันละ ครั้ง ครั้งละ ซีซี.นมผง ช้อน ยี่ห้อ มีการให้นมตอนดึกหรือไม่ ให้ ไม่ให้ อาหารเสริม วันละ ครั้ง ประเภทอาหาร มีปัญหาในการให้อาหารหรือไม่ 3 การอุจจาระ : วันละ ครั้ง หรือทุก วัน อุจจาระ 1 ครั้งลักษณะ ข้น ๆ เป็นเม็ด เป็นเส้น อื่น 4 มีปัญหาเรื่องการนอนของทารกหรือไม่ 5 พัฒนาการ:(1) ใช้มือพยุงที่รักแร้เด็ก ยืนตัวตรงได้หรือไม่(2) พลิกตัวได้หรือไม่(3) ใช้ผ้าเช็ดหน้าปิดบนใบหน้าเด็ก เด็กหยิบออกเองได้หรือไม่(4) หยิบของเล่นจากมือหนึ่งไปอีกมือหนึ่งได้หรือไม่(5) เวลาเรียกชื่อเด็ก เด็กจะหันหน้าตามเสียงหรือไม่(6) ส่งเสียง “มา” “ปา” “ลา” ได้หรือไม่6 กรุณาบันทึกสิ่งที่คุณต้องการสอบถามจากแพทย์และสิ่งที่คุณรู้สึกวิตกกังวลในตัวทารกไว้ในที่ว่างข้างล่างนี้ี้ : ไม่ได้ ได้ ไม่ได้ ไม่ได้ ได้ ได้ ได้ ไม่ได้ ได้ ได้ ไม่ได้ ไม่ได้บันทึกของคุณพ่อคุณแม่และบันทึกการตรวจสุขภาพพ 28


1 2 3 4 647566---------29


บันทึกการตรวจสุขภาพเมื่อทารกอายุครบ 6-7 เดือนวันเดือนปีที่ตรวจ :วันที่ เดือน พ.ศ.ส่วนสูง :เซนติเมตร(จัดอยู่ในอัตราส่วนที่ ของทารกวัยเดียวกัน)ทารกที่คลอดก่อนกำหนด ให้ปรับตามอายุที่ถูกต้องอายุ : เดือน วันน้ำหนัก :กิโลกรัม(จัดอยู่ในอัตราส่วนที่ ของทารกวัยเดียวกัน)รอบศีรษะ :เซนติเมตร(จัดอยู่ในอัตราส่วนที่ ของทารกวัยเดียวกัน)ประเมินการเจริญเติบโต : ปกติ ต้องติดตาม ต้องส่งต่อไปยังโรงพยาบาลอื่น ตรวจสุขภาพ : ไม่พบสิ่งผิดปกติ สิ่งที่ต้องติดตามหรือมีสิ่งผิดปกติ1 ต้องติดตาม ต้องส่งต่อไปยังสถานพยาบาลอื่น 2 ต้องติดตาม ต้องส่งต่อไปยังสถานพยาบาลอื่น 3 ต้องติดตาม ต้องส่งต่อไปยังสถานพยาบาลอื่น 4 ต้องติดตาม ต้องส่งต่อไปยังสถานพยาบาลอื่น ประเมินพัฒนาการร : ผ่าน ต้องติดตาม ต้องส่งต่อไปยังสถานพยาบาลอื่น ๆสิ่งที่ต้องระวัง : การเคลื่อนไหว ภาษา การรับรู้ อารมณ์ อื่น ๆ อนามัยศึกษาและสิ่งที่ควรรูู้ : อาหารเสริม (ดูหน้า 64) การฝึกการนอนที่ถูกสุขลักษณะสำหรับเด็ก (ดูหน้า 75) การป้องกันอุบัติเหต ุ (ดูหน้า 66)--- ที่นั่งในรถสำหรับเด็ก (ทารกให้ใช้ที่นั่งเอนราบได้)--- ระมัดระวังการหกล้ม--- รถฝึกเดินแพทย์ลงนาม :ควรมาตรวจสุขครั้งต่อไป เมื่อเด็กอายุได้ประมาณ__________เดือนบันทึกของคุณพ่อคุณแม่และบันทึกการตรวจสุขภาพพ 30


1 2 C.C. 3 11 4 5 (1) (2) (3) (4) (5) (6) 6 31


บันทึกของผู้ปกครองเมื่อทารกอายุได้ 9-10 เดือนกรุณากรอกแบบฟอร์มนี้ให้สมบูรณ์ก่อนนำเด็กไปตรวจสุขภาพกรุณากรอกแบบฟอรมนใหสมบูรณกอนนำเดกไปตรวจสุขภาพบันทึกเมื่อวันที่ี่ เดือน ปี (อายุ เดือน วัน)1 หลังจากตรวจสุขภาพครั้งล่าสุดแล้ว ทารกเคยป่วยหรือต้องพักรักษาตัวในโรงพยาบาลหรือไม่กรุณาบันทึกรายละเอียดไว้ข้างท้ายนี้ :2 การให้อาหาร : ให้นมแม่ วันละ ครั้ง ให้นมผง วันละ ครั้ง ครั้งละ ซีซี.นมผง ช้อน ยี่ห้อ ยังมีการให้นมตอนดึกหรือไม่ ให้ ไม่ให้ ให้อาหารเสริมวันละ ครั้ง ประเภทอาหาร มีปัญหาในการให้อาหารทารกหรือไม่ 3 การอุจจาระ: วันละ ครั้ง หรื อทุก วัน อุจจาระ 1 ครั้งลักษณะ ข้น ๆ เป็นเส้น เป็นเม็ด อื่น ๆ 4 มีปัญหารเกี่ยวกับการนอนหรือไม่ 5 พัฒนาการ:(1) คลานโดยใช้สองมือและหัวเข่าได้หรือไม่ ไม่ได้(2) ยืนโดยใช้มือพยุงตัวได้หรือไม่ ไม่ได้(3) ใช้มือจับของเล่นเคาะไปมาได้หรือไม่ ได้(4) เด็กโยนของเล่นไว้บนพื้น แล้วให้คุณช่วยเก็บหรือไม่ ได้(5) เด็กจะทำท่าทางตามคำสั่งของผู้ใหญ่หรือไม่ เช่น “บาย บาย” หรือ “ตบมือ”ทำ(6) ส่งเสียง “มา มา มา” หรือ “ลา ลา ลา” ติดต่อกันได้หรือไม่ไม่ได้6 กรุณาบันทึกสิ่งที่คุณต้องการสอบถามจากแพทย์และสิ่งที่คุณรู้สึกวิตกกังวลในตัวทารกไว้ในที่ว่างข้างล่างนี้ี้ : ได้ ได้ ไม่ได้ ไม่ได้ ไม่ทำ ได้บันทึกของคุณพ่อคุณแม่และบันทึกการตรวจสุขภาพพ 32


1 2 3 4 405042------------33


บันทึกการตรวจสุขภาพเมื่อทารกอายุครบ 9-10 เดือนวันเดือนปีที่ตรวจ :วันที่ เดือน พ.ศ.ส่วนสูง :เซนติเมตร(จัดอยู่ในอัตราส่วนที่ ของทารกวัยเดียวกัน)ทารกที่คลอดก่อนกำหนด ให้ปรับตามอายุที่ถูกต้องอายุ : เดือน วันน้ำหนัก :กิโลกรัม(จัดอยู่ในอัตราส่วนที่ ของทารกวัยเดียวกัน)รอบศีรษะ :เซนติเมตร(จัดอยู่ในอัตราส่วนที่ ของทารกวัยเดียวกัน)ประเมินการเจริญเติบโต : ปกติ ต้องติดตาม ต้องส่งต่อไปยังโรงพยาบาลอื่น ตรวจสุขภาพ : ไม่พบสิ่งผิดปกติ ต้องติดตามหรือมีสิ่งผิดปกติ1 ต้องติดตาม ต้องส่งต่อไปยังสถานพยาบาลอื่น 2 ต้องติดตาม ต้องส่งต่อไปยังสถานพยาบาลอื่น 3 ต้องติดตาม ต้องส่งต่อไปยังสถานพยาบาลอื่น 4 ต้องติดตาม ต้องส่งต่อไปยังสถานพยาบาลอื่น ประเมินพัฒนาการ : ผ่าน ต้องติดตาม ต้องส่งต่อไปยังสถานพยาบาลอื่น ๆสิ่งที่ต้องระวัง : การเคลื่อนไหว ภาษา การรับรู้ อารมณ์ อื่น ๆ อนามัยศึกษาและสิ่งที่ควรรููู้้ : อาหารเสริม (ดูหน้า 40) การฝึกการนอนที่ถูกสุขลักษณะสำหรับทารก (ดูหน้า 50) การป้องกันอุบัติเหตุ (ดูหน้า 42)--- ที่นั่งในรถสำหรับเด็ก (ทารกให้ใช้ที่นั่งเอนราบได้)--- ความปลอดภัยในบ้าน--- ระมัดระวังการหกล้ม--- รถฝึกเดินแพทย์ลงนาม :ควรมาตรวจสุขภาพครั้งต่อไป เมื่อเด็กอายุ__________บันทึกของคุณพ่อคุณแม่และบันทึกการตรวจสุขภาพพ 34


1 2 C.C.C.C. 3 ____11_____ 4 5 (1) (2) (3) (4) (5) (6) 6 35


บันทึกของผู้ปกครองเมื่อทารกอายุได้ 1-1 ขวบครึ่งกรุณากรอกแบบฟอร์มนี้ให้สมบูรณ์ก่อนนำเด็กไปตรวจสุขภาพกรุณากรอกแบบฟอรมนใหสมบูรณกอนนำเดกไปตรวจสุขภาพบันทึกเมื่อวันที่ เดือน ปี (อายุ อายุ (ปี) เดือน)1 หลังจากตรวจสุขภาพครั้งล่าสุดแล้ว ทารกเคยป่วยหรือต้องพักรักษาตัวในโรงพยาบาลหรือไม่กรุณาบันทึกรายละเอียดไว้ข้างท้ายนี้ :2 การให้อาหาร : ให้นมแม่ วันละ ครั้ง ให้นมผง วันละ ครั้ง ครั้งละ ซีซี. ให้ดื่มนมชนิดอื่นหรือไม่(นมสด หรือโยเกิร์ต) วันละ ซีซี. มีการให้นมตอนดึกหรือไม่ ให้ ไม่ให้ ให้อาหารแบบเป็นของแข็งวันละ ครั้ง ประเภทอาหาร มีปัญหาในการให้อาหารเด็กหรือไม่ 3 การอุจจาระ: ทุก วัน อุจจาระ 1ครั้ง หรือวันละ ครั้งลักษณะ เป็นเส้น ข้น ๆ เป็นเม็ด อื่น ๆ 4 มีปัญหารเกี่ยวกับการนอนหรือไม่ 5 พัฒนาการของทารก: (การตรวจสุขภาพครั้งนี้ตรวจค่อนข้างละเอียดบางอย่างเด็กอาจจะยังทำไม่ได้ กรุณาตอบตามความเป็นจริง แพทย์จะใช้ประกอบการวินิจฉัย)(1) เดินได้เองโดยไม่ต้องจับ(2) ใช้นิ้วโป้งกับนิ้วชี้หยิบของ ได้ ไม่ได้ ไม่ได้ ได้(3) เข้าใจความหมายของคำบางคำหรือไม่ เช่น ถามว่า “หมาน้อยอยู่ไหน” “พี่อยู่ไหน”หันศีรษะไปหาสิ่งที่ถามหรือไม่ ไม่หัน หัน(4) พูดคำที่มีความหมายง่าย ๆ ได้หรือไม่ เช่น “อุ้ม” “แม่” ได้ ไม่ได้(5) ใช้กริยาท่าทางแสดงความต้องการ เช่น ใช้นิ้วหรือมือดึงเสื้อผ้าของผู้ใหญ่ได้หรือไม่ได้ ไม่ได้(6) เอาของเล่นซ่อนไว้ใต้ผ้าห่มหรือใต้ผ้าเช็ดหน้าต่อหน้าเด็ก เด็กจะพลิกหาของเล่นนั้นได้เองหรือไม้ ได้ ไม่ได้6 กรุณาบันทึกสิ่งที่คุณต้องการสอบถามจากแพทย์และสิ่งที่คุณรู้สึกวิตกกังวลในตัวทารกไว้ในที่ว่างข้างล่างนี้ :บันทึกของคุณพ่อคุณแม่และบันทึกการตรวจสุขภาพบันทึกของคณพ่อคณแม่และบันทึกการตรวจสขภาพพ 36


1 2 3 4 7475 70--- 66---------37


บันทึกการตรวจสุขภาพเมื่อทารกอายุครบ 1-1 ขวบครึ่งทารกที่คลอดก่อนกำหนด ให้ปรับตามอายุที่ถูกต้องวันเดือนปีที่ตรวจ :อายุ : อายุ (ปี) เดือนวันที่ เดือน พ.ศ.ส่วนสูง :เซนติเมตร น้ำหนัก :กิโลกรัม(จัดอยู่ในอัตราส่วนที่ ของทารกวัยเดียวกัน) (จัดอยู่ในอัตราส่วนที่ ของทารกวัยเดียวกัน)รอบศีรษะ :เซนติเมตร(จัดอยู่ในอัตราส่วนที่ ของทารกวัยเดียวกัน)ประเมินการเจริญเติบโต : ปกติ ต้องติดตาม ต้องส่งต่อไปยังโรงพยาบาลอื่น ตรวจสุขภาพ : ไม่พบสิ่งผิดปกติ ต้องติดตามหรือมีสิ่งผิดปกติ1 ต้องติดตาม ต้องส่งต่อไปยังสถานพยาบาลอื่น 2 ต้องติดตาม ต้องส่งต่อไปยังสถานพยาบาลอื่น 3 ต้องติดตาม ต้องส่งต่อไปยังสถานพยาบาลอื่น 4 ต้องติดตาม ต้องส่งต่อไปยังสถานพยาบาลอื่น ประเมินพัฒนาการ: ผ่าน ต้องติดตาม ต้องส่งต่อไปยังสถานพยาบาลอื่น สิ่งที่ต้องระวัง : การเคลื่อนไหว ภาษา การรับรู้ อารมณ์ อื่น ๆ อนามัยศึกษาและสิ่งที่ควรรู้ : ฝึกนิสัยการทานอาหารที่ดี (ดูหน้า 74) การฝึกการนอนที่ถูกสุขลักษณะสำหรับทารก (ดูหน้า 75) อนามัยช่องปาก (ดุหน้า 70)-- แปรงฟันให้เด็ก การป้องกันอุบัติเหตุ (ดูหน้า 66)--- ความปลอดภัยในบ้าน--- ระมัดระวังมิให้สำลักหรืออาหารติดคอ--- ระมัดระวังการหกล้มแพทย์ลงนาม :ควรมาตรวจสุขภาพครั้งต่อไป เมื่อเด็กอายุ__________บันทึกของคุณพ่อคุณแม่และบันทึกการตรวจสุขภาพพ 38


1 2 C.C. C.C. 3 11 4 5 (1) (2) (3) (4) (5) (6) 6 39


บันทึกของผู้ปกครองเมื่อทารกอายุได้ 1 ขวบครึ่ง– 2ขวบกรุณากรอกแบบฟอร์มนี้ให้สมบูรณ์ก่อนนำเด็กไปตรวจสุขภาพกรุณากรอกแบบฟอรมนใหสมบูรณกอนนำเดกไปตรวจสุขภาพบันทึกเมื่อวันที่ เดือน ปี (อายุ อายุ (ปี) เดือน)1 หลังจากตรวจสุขภาพครั้งล่าสุดแล้ว ทารกเคยป่วยหรือต้องพักรักษาตัวในโรงพยาบาลหรือไม่กรุณาบันทึกรายละเอียดไว้ข้างท้ายนี้ :2 การให้อาหาร : ให้นมแม่ วันละ ครั้ง ให้นมผง ประมาณวันละ ครั้ง ครั้งละ ซีซี. นมประเภทอื่น ๆ(นมผงหรือโยเกิร์ต) วันละประมาณ ซีซี.ยังมีการให้นมตอนดึกหรือไม่ ได ไม่ให้ ให้อาหารปกติวันละ ครั้ง ประเภทอาหาร มีปัญหาในการให้อาหารเด็กหรือไม่ 3 การอุจจาระ : ทุก วัน อุจจาระ 1 ครั้ง หรือ วันละ ครั้งลักษณะ เป็นเส้น ข้น ๆ เป็นเม็ด อื่น 4 มีปัญหาเกี่ยวกับการนอนหรือไม่ 5 พัฒนาการ: (การตรวจสุขภาพครั้งนี้ค่อนข้างละเอียด บางอย่างเด็กอาจจะยังทำไม่ได้กรุณาตอบคำถามตามความเป็นจริง แพทย์จะใช้ประกอบการวินิจฉัย)(1) ผู้ใหญ่จูงมือเดียวเดิน หรือจับราวเดินได้หรือไม่ ได้ ไม่ได้(2) ปีนขึ้นไปนั่งบนเก้าอี้ผู้ใหญ่ได้หรือไม่ ไม่ได้ ได้(3) พูดคำศัพท์ที่มีความหมายได้ 5 คำขึ้นไปหรือไม ไม่ได้ ได้(4) ชี้ไปที่อวัยวะบนร่างกายได้ถูกต้องอย่างน้อย 3 ส่วนเช่น ตา ปาก และมือจมูก หู ผม เท้า ฟัน .... เป็นต้นได้ ไม่ได้(5) ฟังคำสั่งง่าย ๆ ได้หรือไม่ เช่น “เอาของไปให้พี่” “ไปหยิบรองเท้า” ได้ ไม่ได้(6) เลียนแบบผู ้ใหญ่ใช้อุปกรณ์ในบ้านทำงานบ้าน เช่น โทรศัพท์ ใช้หวีหวีผมหรือใช้ผ้าขี ้ริ ้วเช็ดโต๊ะ......เป็นต้น6 กรุณาบันทึกสิ่งที่คุณต้องการสอบถามจากแพทย์และสิ่งที่คุณรู้สึกวิตกกังวลในตัวทารกไว้ในที่ว่างข้างล่างนี้ : ได้ ไม่ได้บันทึกของคุณพ่อคุณแม่และบันทึกการตรวจสุขภาพั ึ ่ ่ ั ึพ40


1 2 3 4 747570 ---776641


บันทึกการตรวจสุขภาพเมื ่อทารกอายุครบ 1 ขวบครึ ่ง– 2 ขวบวันเดือนปีที่ตรวจ :วันที่ เดือน พ.ศ.ส่วนสูง :เซนติเมตร(จัดอยู่ในอัตราส่วนที่ ของทารกวัยเดียวกัน)อายุ : อายุ (ปี) เดือนน้ำหนัก :กิโลกรัม(จัดอยู่ในอัตราส่วนที่ ของทารกวัยเดียวกัน)รอบศีรษะ :เซนติเมตร(จัดอยู่ในอัตราส่วนที่ ของทารกวัยเดียวกัน)ประเมินการเจริญเติบโต : ปกติ ต้องติดตาม ต้องส่งต่อไปยังโรงพยาบาลอื่น ตรวจสุขภาพ : ไม่พบสิ่งผิดปกติ ต้องติดตามหรือมีสิ่งผิดปกติ1 ต้องติดตาม ต้องส่งต่อไปยังสถานพยาบาลอื่น 2 ต้องติดตาม ต้องส่งต่อไปยังสถานพยาบาลอื่น 3 ต้องติดตาม ต้องส่งต่อไปยังสถานพยาบาลอื่น 4 ต้องติดตาม ต้องส่งต่อไปยังสถานพยาบาลอื่น ประเมินพัฒนาการ : ผ่าน ต้องติดตาม ต้องส่งต่อไปยังสถานพยาบาลอื่น สิ่งที่ต้องระวัง : การเคลื่อนไหว ภาษา การรับรู้ อารมณ์ อื่น ๆ อนามัยศึกษาและสิ่งที่ควรรูู้้ : ฝึกนิสัยการทานอาหารที่ดี (ดูหน้า 74) การฝึกการนอนที่ถูกสุขลักษณะสำหรับเด็ก (ดูหน้า 75) ดูแลอนามัยช่องปาก (ดูหน้า 70)--- เมื่ออายุครบขวบครึ่ง ควรพาไปตรวจสุขภาพฟันและขูดหินปูนเคลือบฟลูออไรด์ฝึกการเข้าห้องน้ำ (ดูหน้า 77)ป้องกันการเกิดอุบัติเหตุ (ดูหน้า 66)แพทย์ลงนาม :ควรมาตรวจสุขภาพครั้งต่อไป เมื่อเด็กอายุ__________บันทึกของคุณพ่อคุณแม่และบันทึกการตรวจสุขภาพพ 42


1 2 C.C. 3 11 4 5 (1) (2) (3) (4) (5) (6) 6 43


บันทึกของผู้ปกครองเมื่อทารกอายุได้ 2-3 ขวบกรุณากรอกแบบฟอร์มนี้ให้สมบูรณ์ก่อนนำเด็กไปตรวจสุขภาพกรุณากรอกแบบฟอรมนใหสมบูรณกอนนำเดกไปตรวจสุขภาพบันทึกเมื่อวันที่ เดือน ปี (อายุ อายุ (ปี) เดือน)1 หลังจากตรวจสุขภาพครั้งล่าสุดแล้ว ทารกเคยป่วยหรือต้องพักรักษาตัวในโรงพยาบาลหรือไม่กรุณาบันทึกรายละเอียดไว้ข้างท้ายนี้ :2 การให้อาหาร : ให้อาหารประเภทนม (เช่น นมผงทารก นมผงเด็ก นมสด นมแพะ โยเกิร์ต เป็นต้น)วันละประมาณ ซีซี. ให้นมโดยวิธีใด ขวดนม ถ้วย ให้อาหารปกติวันละ ครั้ง ๆ ละ ประมาณ ชาม ทานเอง ต้องป้อนมีปัญหาในการให้อาหารเด็กหรือไม่ 3 การอุจจาระ: ทุก วัน อุจจาระ 1 ครั้ง หรือ วันละ ครั้งลักษณะ เป็นเส้น ข้น ๆ เป็นเม็ด อื่น ๆ 4 มีปัญหาเกี่ยวกับการนอนหรือไม่ 5 พัฒนาการของเด็ก: (การตรวจสุขภาพครั้งนี้ค่อนข้างละเอียด บางอย่างเด็กอาจจะยังทำไม่ได้กรุณาตอบคำถามตามความเป็นจริง แพทย์จะใช้ประกอบการวินิจฉัย)(1) ผู้ใหญ่จูงมือเดียวหรือจับราวลงบันไดได้หรือไม่ ได้ ไม่ได้(2) กระโดสองขาได้หรือไม่ ไม่ได้ ได้(3) หยิบตัวต่อหรือของเล่นวางซ้อนกันให้สูงขึ้นได้หรือไม่ ได้ ไม่ได้(4) ใช้คำศัพท์ประกอบขึ้นเป็นประโยคได้หรือไม่ เข่น “แม่อุ้” “ดูหมา” ไม่ได้ ได้(5) ชี้รูปภาพต่าง ๆ ในภาพได้ถูกต้องหรือไม่ เช่น ลูกบอล สุนัข ไม่ได้ ได้(6) ถอดรองเท้าหรือถุงเท้าเองได้ไหม6 กรุณาบันทึกสิ่งที่คุณต้องการสอบถามจากแพทย์และสิ่งที่คุณรู้สึกวิตกกังวลในตัวทารกไว้ในที่ว่างข้างล่างนี้ : ได้ ไม่ได้บันทึกของคุณพ่อคุณแม่และบันทึกการตรวจสุขภาพพ 44


1 2 3 4 747570---73776645


บันทึกการตรวจสุขภาพเมื่อทารกอายุครบ 2-3 ขวบวันเดือนปีที่ตรวจ :อายุ : อายุ (ปี) เดือนวันที่ เดือน พ.ศ.ส่วนสูง :เซนติเมตร น้ำหนัก :กิโลกรัม(จัดอยู่ในอัตราส่วนที่ ของทารกวัยเดียวกัน) (จัดอยู่ในอัตราส่วนที่ ของทารกวัยเดียวกัน)ประเมินการเจริญเติบโต : ปกติ ต้องติดตาม ต้องส่งต่อไปยังโรงพยาบาลอื่น ตรวจสุขภาพ : ไม่พบสิ่งผิดปกติ ต้องติดตามหรือมีสิ่งผิดปกติ1 ต้องติดตาม ต้องส่งต่อไปยังสถานพยาบาลอื่น 2 ต้องติดตาม ต้องส่งต่อไปยังสถานพยาบาลอื่น 3 ต้องติดตาม ต้องส่งต่อไปยังสถานพยาบาลอื่น 4 ต้องติดตาม ต้องส่งต่อไปยังสถานพยาบาลอื่น ประเมินพัฒนาการ : ผ่าน ต้องติดตาม ต้องส่งต่อไปยังสถานพยาบาลอื่น สิ่งที่ต้องระวัง : การเคลื่อนไหว ภาษา การรับรู้ อารมณ์ อื่น ๆ อนามัยศึกษาและสิ่งที่ควรรู้ : ฝึกนิสัยการทานอาหารที่ดี (ดูหน้า 74) การฝึกการนอนที่ถูกสุขลักษณะสำหรับเด็ก (ดูหน้า 75) ดูแลอนามัยช่องปาก (ดูหน้า 70)--- ตรวจสุขภาพฟันและเคลือบฟลูออไรด์ฟรีทุกครึ่งปี ตรวจสายตา (ดูหน้า 73) ฝึกการเข้าห้องน้ำ (ดูหน้า 77)ป้องกันการเกิดอุบัติเหตุ (ดูหน้า 66)แพทย์ลงนาม :ควรมาตรวจสุขครั้งต่อไป เมื่อเด็กอายุ__________บันทึกของคุณพ่อคุณแม่และบันทึกการตรวจสุขภาพพ 46


1 2 C.C. () 3 4 5 (1) (2) (3) (4) (5) (6) (7) 6 7 47


บันทึกของผู้ปกครองเมื่อทารกอายุได้ 3-4 ขวบกรุณากรอกแบบฟอร์มนี้ให้สมบูรณ์ก่อนนำเด็กไปตรวจสุขภาพกรุณากรอกแบบฟอรมนใหสมบูรณกอนนำเดกไปตรวจสุขภาพบันทึกเมื่อวันที่ เดือน ปี (อายุ อายุ (ปี) เดือน)1 หลังจากตรวจสุขภาพครั้งล่าสุดแล้ว ทารกเคยป่วยหรือต้องพักรักษาตัวในโรงพยาบาลหรือไม่กรุณาบันทึกรายละเอียดไว้ข้างท้ายนี้ :2 การให้อาหาร : ให้อาหารประเภทนม(เช่น นมผงทารก นมผงเด็ก นมสด นมแพะ โยเกิร์ต เป็นต้น)วันละประมาณ ซีซี. ให้นมโดยวิธีใด ขวดนม ถ้วย ให้อาหารปกติ(ข้าวหรือหมี่)วันละ ครั้ง ๆ ละ ประมาณ ชามทานเอง ต้องป้อนมีปัญหาในการให้อาหารเด็กหรือไม่ 3 การอุจจาระ : ปกติ แข็งเกินไป ทุก ____วัน อุจจาระ 1 ครั้ง อื่น ๆ 4 มีปัญหาเกี่ยวกับการนอนหรือไม่ 5 พัฒนาการ: (การตรวจสุขภาพครั้งนี้ค่อนข้างละเอียด บางอย่างเด็กอาจจะยังทำไม่ได้กรุณาตอบคำถามตามความเป็นจริง แพทย์จะใช้ประกอบการวินิจฉัย)(1) กระโดดลงจากบันไดขั้นสุดท้ายได้หรือไม่ ได้ ไม่ได้(2) ยืนขาเดียวได้นาน 1-2 วินาที ได้ ไม่ได้(3) วาดรูปกลมได้หรือไม่ ไม่ได้ ได้(4) อ่านหรือร้องเพลงเด็กได้จนจบเพลงหรือไม่ ไม่ได้ ได้(5) เวลาพูด สามารถใช้คำสรรพนามเช่น “คุณ” “ผม” “เขา” ได้อย่างถูกต้อง้ ได้ ไม่ได้(6) ไปปัสสาวะที่ห้องน้ำเองได้หรือไม่ ได้ ไม่ได้(7) ปลดกระดุม ถอดเสื้อเองได้หรือไม่ ได้ ไม่ได้6 เข้าโรงเรียนอนุบาลหรือยัง เข้าแล้ว ยังไม่ได้เข้า ยงไมไดเขา7 กรุณาบันทึกสิ่งที่คุณต้องการสอบถามจากแพทย์และสิ่งที่คุณรู้สึกวิตกกังวลในตัวทารกไว้ในที่ว่างข้างล่างนี้ :บันทึกของคุณพ่อคุณแม่และบันทึกการตรวจสุขภาพั ึ ่ ่ ั ึพ48


1 2 3 4 74757073---6649


บันทึกการตรวจสุขภาพเมื่อทารกอายุครบ 3-4 ขวบวันเดือนปีที่ตรวจ :อายุ : อายุ (ปี) เดือนวันที่ เดือน พ.ศ.ส่วนสูง :เซนติเมตร น้ำหนัก :กิโลกรัม(จัดอยู่ในอัตราส่วนที่ ของทารกวัยเดียวกัน) (จัดอยู่ในอัตราส่วนที่ ของทารกวัยเดียวกัน)ประเมินการเจริญเติบโต : ปกติ ต้องติดตาม ต้องส่งต่อไปยังโรงพยาบาลอื่น ตรวจสุขภาพ : ไม่พบสิ่งผิดปกติ ต้องติดตามหรือมีสิ่งผิดปกติ1 ต้องติดตาม ต้องส่งต่อไปยังสถานพยาบาลอื่น 2 ต้องติดตาม ต้องส่งต่อไปยังสถานพยาบาลอื่น 3 ต้องติดตาม ต้องส่งต่อไปยังสถานพยาบาลอื่น 4 ต้องติดตาม ต้องส่งต่อไปยังสถานพยาบาลอื่น ประเมินพัฒนาการ : ผ่าน ต้องติดตาม ต้องส่งต่อไปยังสถานพยาบาลอื่น สิ่งที่ต้องระวัง : การเคลื่อนไหว ภาษา การรับรู้ อารมณ์ อื่น ๆ อนามัยศึกษาและสิ่งที่ควรรู้ : ฝึกนิสัยการทานอาหารที่ดี (ดูหน้า 74) การฝึกการนอนที่ถูกสุขลักษณะสำหรับเด็ก (ดูหน้า 75) ดูแลอนามัยช่องปาก (ดูหน้า 70) ตรวจสายตา (ดูหน้า 73)--- เมื่อเด็กอายุได้ 3 ขวบครึ่ง – 4 ขวบ ควรพาไปพบจักษุแพทย์ ป้องกันการเกิดอุบัติเหตุ (ดูหน้า 66)แพทย์ลงนาม :ควรมาตรวจสุขครั้งต่อไป เมื่อเด็กอายุ__________บันทึกของคุณพ่อคุณแม่และบันทึกการตรวจสุขภาพพ 50


1 2 C.C. 3 4 5 (1) (2) (3) (4) (5) (6) (7) 6 7 51


บันทึกของผู้ปกครองเมื่อทารกอายุได้ 4-ก่อน 7 ขวบกรุณากรอกแบบฟอร์มนี้ให้สมบูรณ์ก่อนนำเด็กไปตรวจสุขภาพกรุณากรอกแบบฟอรมนใหสมบูรณกอนนำเดกไปตรวจสุขภาพบันทึกเมื่อวันที่ เดือน ปี (อายุ อายุ (ปี) เดือน)1 หลังจากตรวจสุขภาพครั้งล่าสุดแล้ว ทารกเคยป่วยหรือต้องพักรักษาตัวในโรงพยาบาลหรือไม่กรุณาบันทึกรายละเอียดไว้ข้างท้ายนี้ :2 การให้อาหาร : ให้อาหารประเภทนม(เช่น นมผงเด็ก นมสด นมแพะ โยเกิร์ต เป็นต้น)วันละประมาณ ซีซี. ให้นมโดยวิธีใด ขวดนม ถ้วย ให้อาหารปกติ(ข้าวหรือหมี่)วันละ ครั้ง ๆ ละ ประมาณ ชาม ทานเอง ต้องป้อนมีปัญหาในการให้อาหารเด็กหรือไม่ 3 การอุจจาร : ปกติ แข็งเกินไป ทุก ____วัน อุจจาระ 1 ครั้ง อื่น ๆ 4 มีปัญหาเกี่ยวกับการนอนหรือไม่ 5 พัฒนาการ : (การตรวจสุขภาพครั้งนี้ค่อนข้างละเอียด บางอย่างเด็กอาจจะยังทำไม่ได้กรุณาตอบคำถามตามความเป็นจริง แพทยจะใช้ประกอบการวินิจฉัย)(1) กระโดดขาเดียวได้หรือไม่ ไม่ได้(2) ก้าวขึ้น-ลงบันไดแบบ 1ขา 1 ขั้นได้หรือไม่ ไม่ได้(3) ใช้กรรไกรตัดกระดาษได้หรือไม่ ได้(4) วาดรูป 4 เหลี่ยมได้หรือไม่ ได้(5) แยกแยะสีต่าง ๆ ได้หรือไม่ ได้(6) เล่นขายของโดยสมมุติเหตุการณ์เองได้หรือไม่ ไม่ได้(7) ใส่เสื้อและติดกระดุมเองได้หรือไม่ ได้6 เข้าโรงเรียนอนุบาลหรือยัง มีปัญหาในการเรียนหรือคบเพื่อนหรือไม่ เช่น เรียนไม่ทันนั่งเรียนอย่างตั้งใจไม่ได้ หรือไม่รู้จักการคบเพื่อน ได้7 กรุณาบันทึกสิ่งที่คุณต้องการสอบถามจากแพทย์และสิ่งที่คุณรู้สึกวิตกกังวลในตัวทารกไว้ในที่ว่างข้างล่างนี้ : ได้ ได้ ไม่ได้ ไม่ได้ ไม่ได้ ได้ ไม่ได้ ไม่ได้ ไมไดบันทึกของคุณพ่อคุณแม่และบันทึกการตรวจสุขภาพบันทึกของคณพ่อคณแม่และบันทึกการตรวจสขภาพ พ52


1 2 3 4 747073 ---668253


บันทึกการตรวจสุขภาพเมื่อทารกอายุครบ 4-ก่อน 7 ขวบวันเดือนปีที่ตรวจ :อายุ : อายุ (ปี) เดือนวันที่ เดือน พ.ศ.ส่วนสูง :เซนติเมตร น้ำหนัก :กิโลกรัม(จัดอยู่ในอัตราส่วนที่ ของทารกวัยเดียวกัน) (จัดอยู่ในอัตราส่วนที่ ของทารกวัยเดียวกัน)ประเมินการเจริญเติบโต : ปกติ ต้องติดตาม ต้องส่งต่อไปยังโรงพยาบาลอื่น ตรวจสุขภาพ : ไม่พบสิ่งผิดปกติ ต้องติดตามหรือมีสิ่งผิดปกติ1 ต้องติดตาม ต้องส่งต่อไปยังสถานพยาบาลอื่น 2 ต้องติดตาม ต้องส่งต่อไปยังสถานพยาบาลอื่น 3 ต้องติดตาม ต้องส่งต่อไปยังสถานพยาบาลอื่น 4 ต้องติดตาม ต้องส่งต่อไปยังสถานพยาบาลอื่น ประเมินพัฒนาการ : ผ่าน ต้องติดตาม ต้องส่งต่อไปยังสถานพยาบาลอื่น สิ่งที่ควรระวัง : การเคลื่อนไหว ภาษา การรับรู้ อารมณ์ อื่น ๆ อนามัยศึกษาและสิ่งที่ควรรู้ : ฝึกนิสัยการทานอาหารที่ดี (ดูหน้า 74) ดูแลอนามัยช่องปาก (ดูหน้า 70) ตรวจสายตา (ดูหน้า 73)--- เด็กที่ยังไม่เคยตรวจสายตา ต้องรีบพาไปตรวจ ป้องกันการเกิดอุบัติเหตุ (ดูหน้า 66) กิจกรรมที่ไม่ควรทำเมื่อเข้าเรียนแล้ว การปรับตัวและข้อแนะนำช่วยเหลือด้านการเรียน (ดูหน้า 82)แพทย์ลงนาม :บันทึกของคุณพ่อคุณแม่และบันทึกการตรวจสุขภาพพ 54


อนามัยศึกษาการตรวจสอบความผิดปกติของระบบเมตาบอลิซึ ่มโดยกำเนิดของทารกแรกเกิด(ตรวจวิเคราะห์สุขภาพของทารกแรกเกิด)(Congenital Metabolic Disorders)หากสามารถตรวจพบความผิดปกติแต่กำเนิดของทารกในระยะเริ่มแรกได้ ก็จะทำให้สามารถให้การรักษาได้ทันที และลดความเสียหายที่จะมีต่อการเจริญเติบโต ของร่างกายและสติปัญญาของทารกได้สวัสดีคุณพ่อคุณแม่ทุกท่านลูกหลานมีสุขภาพดี คือ ความสุขของครอบครัว หากในช่วงการเจริญเติบโต ลูกหลานของคุณเกิดป่วยไข้ ก็จะส่งผลกระทบต่อครอบครัวและสังคม ไม่มากก็น้อย ดังนั้นเราขอให้คุณให้ความสำคัญแก่การตรวจสุขภาพของ ลูกน้อยตั้งแต่เนิ่นๆเพราะจะสามารถตรวจหาความผิดปกติในระบบเมตาบอลิซึ่ม ซึ่งอาจไม่ชัดเจนในระยะแรกได้ทำให้สามารถให้การรักษาที่เหมาะสมและลดความเสียหายที่จะส่งผลกระทบต่อการเจริญเติบโตของร่างกายและสติ ปัญญาได้การตรวจว่าลูกน้อยมีอาการผิดปกติในระบบเมตาบอลิซึ่มหรือไม่แพทย์จะเจาะเลือดที่ส้นเท้าของทารกซึ่งคลอดออกมาแล้ว 48 ชั่วโมงเพื่อนำเลือดปริมาณเล็กน้อยนี้ไปตรวจสอบที่ศูนย์ทดสอบของกรมสุขภาพกระทรวงสาธารณสุขไต้หวัน ปัจจุบันรัฐบาลไต้หวันได้อนุมัติงบเงินทุนเพื่อให้การสนับสนุนการตรวจโรคของทารกแรกเกิด ดังต่อไปนี้ :1 โรคพร่องไธรอยด์ฮอร์โมนแต่กำเนิด หรือ โรคเอ๋อ(Congenital hypothyroidism)ในจำนวนเด็กทารกทุกๆ 3,000 คน จะพบว่ามีทารก 1 คน มีโอกาสเป็นโรคพร่องไธรอยด์ฮอร์โมนแต่กำเนิด หรือโรคเอ๋อ ทารกเมื่อคลอดใหม่จะไม่มีอาการผิดปกติใดๆส่วนใหญ่อาการป่วยของโรคจะค่อยๆ ปรากฏเมื่อทารกอายุ 2-3 เดือนไปแล้ว สาเหตุ คือร่างกายขาดไธรอยด์ฮอร์โมน ซึ่งมีผลกระทบต่อระบบสมองและ การเติบโตของร่างกายหากปล่อยให้ทารกมีอาการผิดปกตินานเกินกว่า 6 เดือน โดยไม่ได้รับการรักษาจะทำให้สมองไม่พัฒนา ร่างกายเจริญเติบโตช้า มีรูปร่างเล็ก แคระ แต่หากสามารถตรวจพบอาการและให้การรักษาที่เหมาะสมได้ในช่วงทารกอายุ 1-2 เดือน ก็จะช่วยให้ทารกสามารถมีสติปัญญาและการเจริญเติบโตของร่างกายที่ปกติได้2 โรคขาดเอ็นไซม์ย่อยสลายกรดอะมิโน Phenylalanine(Phenylalanine หรือ PKU)55


ในจำนวนเด็กทารกทุกๆ 35,000 คน จะพบว่ามีทารก 1 คนที่ป่วยเป็นโรคนี้ส่วนใหญ่อาการป่วยจะเริ่มปรากฏให้เห็นเมื่อทารกมีอายุ 3-4 เดือนแล้ว อาการที่ปรากฏคือ ร่างกายเจริญเติบโตช้า ปัสสาวะและตามร่างกายมีกลิ่นเหม็นเชื้อรา ต่อมาจะมีอาการปัญญาอ่อน สาเหตุหลัก คือ ร่างกายไม่สามารถย่อยสลายกรดอะมิโนโปรตีนPhenylalanine ได้ หากสามารถตรวจพบอาการป่วยได้ภายใน 3 เดือนภายหลังคลอดและให้ทารกทานอาหารควบคุมเฉพาะ ประกอบกับให้การรักษาอย่างต่อเนื่อง ก็จะสามารถช่วยให้ทารกมีการพัฒนาสติปัญญาได้เป็นปกติ3 โรคขาดเอ็นไซม์ย่อยสลายกรดอะมิโน Homocystinuria(Homocystinuria หรือ HCU)ในจำนวนเด็กทารกทุกๆ 100,000-200,000 คน จะพบว่ามีทารก 1 คนที่ป่วยเป็นโรคนี้ สาเหตุหลัก คือ ภาวะการย่อยสลายกรดอะมิโนโปรตีน Homocystinuriaในร่างกายบกพร่อง หากทารกไม่ได้รับการรักษา จะทำให้กระดูกพัฒนาผิดปกติสมองเสื่อม หลอดเลือดอุดตัน หากสามารถตรวจสอบอาการได้ตั้งแต่เนิ่นๆ และให้ทารกทานอาหารควบคุมเฉพาะและเสริมวิตามิน ก็จะสามารถป้องกันอาการสมองเสื่อมของทารกได้4 โรคกาแล็กโตซีเมียในจำนวนเด็กทารกทุกๆ 1,000,000 คน จะพบว่ามีทารก 1 คนที่ป่วยเป็นโรคนี้สาเหตุหลัก คือ ภาวะการเผาผลาญน้ำตาลนมภายในร่างกายเด็กผิดปกติ โดยมากจะอาเจียนหลังการป้อนนม, มีการง่วงนอน, ระบบตา ตับ และสมองเสื่อม หากตรวจพบตั้งเเต่เนิ่นๆ ให้ใช้ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ประกอบด้วยน้ำตาลนมมาทดเเทนนมเเม่ หรือนมผงสําหรับเด็ก ก็สามารถป้องกันภาวะอันตรายได้ สำหรับคุณแม่ที่ในช่วงตั้งครรภ์เคยมีเด็กทารกที่เป็นโรคนี้ เพื่อเป็นการป้องกันอันตรายมาสู่เด็ก คุณเเม่ต้องหยุดการบริโภคอาหารหรือผลิตภัณฑ์ที่ประกอบด้วยน้ำตาลนมต่างๆ เช่น นมวัว, ผลิตภัณฑ์นํ้าตาลนม หรือเครื่องในสัตว์ เพื่อป้องกันอันตรายต่อเด็กทารกที่อาจเป็นโรคนี้5 โรคขาดเอ็นไซม์ G-6-PD (พร่อง G-6-PD หรือ โรคถั่วปากอ้า )ในจำนวนเด็กทารกทุกๆ 100 คน จะพบว่ามีทารก 3 คนที่ป่วยเป็นโรคนี้ ในไต้หวันมักพบว่าเป็นโรคทางพันธุกรรม สาเหตุหลัก คือ การเผาผลาญกลูโคลในเซลล์เม็ดเลือดแดงในร่างกายเด็กผิดปกติ เด็กที่เป็นโรคนี้เมื่อสัมผัสกับยาต่างๆ เช่น กินถั่วปากอ้า,สัมผัสกับลูกแนฟธาลีน (ลูกเหม็น) , ทาน้ำยา, สัมผัสยา, กินยาแก้ปวดต่างๆ ง่ายที่จะเป็นโรคโลหิตจางฉับพลัน หากไม่สามารถระงับอาการดังกล่าวได้ จะทำให้เกิดโรคดีซ่าน,สมองเสื่อม และอาจมีอันตรายต่อชีวิต หากตรวจพบอาการของเด็กทารกตั้งเเต่เนิ่นๆ เนนๆและหลีกเลี่ยงสาเหตุอันตรายดังกล่าว ก็จะสามารถป้องกันโรคนี้ได้อนามัยศึกษา56


ปัจจุบันสถาบันการเเพทย์ต่างๆ ได้นําเเนวคิดเทคนิคใหม่ Tandem Massมาใช้ในการตรวจเด็กทารกเกิดใหม่ สามารถตรวจสอบภาวะการเผาผลาญที่ผิดปกติแต่กำเนิดของเด็กทารกได้หลายประเภท เพื่อเป็นการบริการที่ครบวงจร นอกจากโรคผิดปกติ 5 ประเภทข้างต้นแล้ว ตั้งเเต่ กรกฏาคม 2549 รัฐบาลไต้หวันได้เพิ่มบริการตรวจสอบความผิดปกติเด็กทารกเกิดใหม่ อีก 6 ประเภท ดังนี้6 โรคต่อมหมวกไตโตเกินแต่กำเนิดในจำนวนเด็กทารกทุกๆ 15,000 คน จะพบว่ามีทารก 1 คนที่ป่วยเป็นโรคนี้ สาเหตุคือ ต่อมหมวกไตขาดธาตุไฮโดร 21-hydroxylase การเเพทย์กําหนดประเภทของโรคตามสภาพและปริมาณการขาด21-hydroxylase ดังนี้(1) ประเภทขาดสารโซเดียม แสดงลักษณะเสียเกลือเฉียบพลัน ระยะเเรกเกิดโดยทั่วไปหากขาดปริมาณเเร่ธาตุจํานวนมาก และวิเคราะห์โรคผิดพลาด เด็กทารกจะมีอันตรายถึงชีวิต(2) ประเภทพื้นฐาน ในเด็กหญิงการเติบโตผิดปกติ เมื่อเติบโตจะไม่มีประจําเดือนมีสภาพเป็นผู้ชาย เด็กชายก็จะมีการเติบโตผิดปกติเช่นกัน ถ้าไม่ได้ตรวจสอบแต่แรกจะเป็นปัญหาที่ยุ่งยากทั้งทางกายและจิตใจต่อเด็ก และจะรักษาลำบาก(3) ประเภทกําเริบระยะหลัง จะพบในเด็กหลังคลอด หากได้รับการตรวจพบตั้งเเต่เนิ่นๆ ก็จะสามารถรักษาสภาพการเติบโตที่เป็นปกติและหายขาดได้ โดยการให้ยาที่เหมาะสม7 โรคพันธุกรรมเมตาบอลิกอัตราการเกิดโรคนี้ในประเทศไต้หวันยังอยู่ในขั้นตอนประเมินการ ในยุโรปพบว่าจำนวนเด็กทารกทุกๆ 120,000 คน จะมีทารก 1 คนที่ป่วยเป็นโรคนี้ ในอเมริกาพบว่าจำนวนเด็กทารกทุกๆ 250,000 คน จะมีทารก 1 คนที่ป่วยเป็นโรคนี้ เนื่องจาก “นํ้า”ที่ขับออกจากร่างกาย หรือปัสสวะของเด็กที่เป็นโรคดังกล่าว จะมีกลิ่นหวาน เราจึงเรียกโรคนี้ว่าเมตาบอลิก อาการของโรค คือ หลังเริ่มป้อนอาหารระยะหนึ่ง เด็กจะอาเจียนชอบนอน ไม่มีความอยากอาหาร หายใจเร็ว ตัวเหลือง และหมดความรู้สึก ในรายที่มีอาการหนัก อาจสลบ ไม่มีสติจนกระทั่งไม่ฟื้น สาเหตุมาจากการคั่งของกรดยูริค ทำให้วงจรยูเรียผิดปกติ และสารอาหารโปรตีนผิดปกติ หากตรวจพบอาการตั้งเเต่เนิ่นๆ ก็จะสามารถรักษาให้หายได้8 โรคขาดเอ็นไซม์ dehydrogenase ของกรดไขมันโซ่กลางอัตราการเกิดโรคนี้ในประเทศไต้หวันยังอยู่ในขั้นตอนประเมินการ ในยุโรปพบว่าจำนวนเด็กทารกทุกๆ 15,000 คน จะมีทารก 1 คนที่ป่วยเป็นโรคนี้ โรคนี้เป็นโรคที่ร่างกายไม่สามารถสลายกรดไขมันได้ตามปกติ เป็นโรคที่พบบ่อยอีกชนิดหนึ่ง โดยมากจะพบอาการในช่วงอายุสองปีเเรกคลอด เนื่องจากทารกขาดกรดไขมันไปละลายไขมัน57


ทําให้การเปลี่ยนถ่ายและเผาผลาญไขมันผิดปกติ ทำให้เกิดอันตรายต่อระบบประสาทและสมอง มีอาการอาเจียน ตับพองโต นํ้าตาลในเลือดตํ่า ความรู้สึกเลอะเลือน สลบไสลเป็นตะคริว อย่างไรก็ตาม บางอาการอาจไม่ปรากฎ มีตัวอย่าง 25% ของคนไข้เสียชีวิตเมื่อมีอาการครั้งแรก แพทย์ต้องวินิจฉัยแยกโรค และการรักษาจะได้ผลดีจะต้องใช้เวลาโดยปลูกถ่ายไขกระดูกในขณะที่เริ่มมีอาการผิดปกติ และหลีกเลี่ยงการขาดสารอาหารเป็นระยะเวลานาน เพื่อป้องกันอาการเเทรกซ้อน9 โรคทางพันธุกรรม glutaric aciduria แบบที่ 1อัตราการเกิดโรคนี้ในประเทศไต้หวันยังอยู่ในขั้นตอนประเมินการ ในอเมริกาพบว่า จำนวนเด็กทารกทุกๆ 20,000 คน จะมีทารก 1 คนที่ป่วยเป็นโรคนี้ โรคนี้เกิดจากการเปลี่ยนถ่ายกรดอะมิโนในร่างกายบกพร่อง เป็นโรคที่พบไม่บ่อยนัก สาเหตุ คือเด็กขาดกรดเพนตาเนเดียน A ไม่สามารถละลายกรดอะมิโน ทำให้เกิดสารพิษในร่างกาย เช่น กรดซีโคเพตาเดียน สะสมภายในเลือดปริมาณมากเกินไป ทําให้ระบบประสาทเสื่อม และการเปลี่ยนถ่ายบกพร่องอย่างกะทันหัน ในขณะที่ทารกเพิ่งคลอดในระยะเเรก อาจจะไม่พบความผิดปกติหรือเกิดภาวะดังกล่าว แต่จะค่อยๆ ปรากฎจากการเคลื่อนไหวที่ลําบากของทารก ที่ขึ้นเรื่อยๆ จนเข้าสู่ภาวะโรคโคเรีย (อาการเหน็บชาการเคลื่อนไหวที่ไม่ปกติ ควบคุม ไม่ได้เหมือนกําลังเต้นรําอยู่) ร่างกายโ่ก่งโค้ง เป็นโรคโอพิสโตโพโนส มือเท้าบิด เปลี่ยนรูป และมีอาการอื่นๆ ตลอดจนอาจเกิดลมบ้าหมู หรือสลบไสลอย่างกะทันหัน หากตรวจพบตั้งเเต่เนิ่นๆ ก็จะสามารถรักษาสภาวะดังกล่าวให้เป็นปกติได้10 โรคทางพันธุกรรม กรดเพตาโดลเพตาเดียนบกพร่อง Isovaleic acidemiaอัตราการเกิดโรคนี้ในประเทศไต้หวันยังอยู่ในขั้นตอนประเมินการ ในต่างประเทศจำนวนเด็กทารกทุกๆ 50,000 คน จะพบว่ามีทารก 1 คนที่ป่วยเป็นโรคนี้ โรคนี้เกิดจากการเปลี่ยนถ่ายบกพร่องของกรดอินทรีย์ เป็นโรคที่พบไม่บ่อยนัก สาเหตุเกิดจากความผิดปกติของกรดอินทรีย์ และมีความบกพร่องในการละลายกรดลิวซีน ทำให้เกิดการสะสมสารพิษทําลายระบบประสาทเเละเลือด ลักษณะความรุนเเรงของโรค และระยะเวลาการเกิดของโรค เเบ่งเป็น(1) เเบบปกติ และ(2) เเบบผิดปกติ เด็กทารกที่เป็น โรคเเบบปกติจะปกติเหมือนเด็กทั่วไป แต่จะค่อยๆมีอาการอาเจียน อ่อนเพลีย ง่วงนอน ไม่อยากอาหาร และตะคริว กรณีรุนเเรงจะพบว่าร่างกายอ่อนเเอ เเละปัสสวะมีกลิ่นเหม็น รุนเเรง หากไม่ได้รับการรักษาจะสลบจนไม่มีสติส่วนเด็กทารกที่เป็นโรคเเบบผิดปกติ จะปรากฎอาการของโรคค่อนข้างช้าและไม่ชัดเจนโดยมากหลังเด็กคลอดได้หนี่งปี จึงจะสามารถตรวจพบทําให้บางทีการวินิจฉัยโรคอาจคลาดเคลื่อน แต่หากได้รับการ รักษาที่ถูกต้องและรับการตรวจรักษาเป็นระยะ ควบคุมอาหารที่เหมาะสม ก็จะสามารถปลอดภัยจากโรคนี้ได้อนามัยศึกษา58


11 โรคทางพันธุกรรม Methylmalonic acidemia, MMAอัตราการเกิดโรคนี้ในประเทศไต้หวันยังอยู่ในขั้นตอนประเมินการ โรคนี้เป็นโรค ที่พบไม่บ่อยนักสาเหตุเกิดจากการเปลี่ยนถ่ายบกพร่องของกรดอินทรีย์ ความผิดปกติ MMAหรือการเปลี่ยนถ่ายบกพร่อง ทําให้เกิดกรดคาร์โบซีลิดเอซิคสะสมในร่างกายทําลายระบบประสาท ในกรณีรุนเเรงจะเกิดสารพิษ นํ้าตาลในเลือดตํ่าผิดปกติวงจรยูเรียและคีโตแอซิสบกพร่อง อัตราการเสียชีวิตของทารกเกิดใหม่ที่เป็นโรคนี้สูงหากได้รับการตรวจป้องกันตั้งเเต่เนิ่นๆ โดยให้การรักษาที่เหมาะสม หลีกเลี่ยงสภาวะการสะสมสารพิษในร่างกาย ในรายที่มีผลต่อการเปลี่ยนถ่ายวิตามิน B12 จะต้องให้วิตามิน B12ในรายที่ไม่มีผลต่อการเปลี่ยนถ่ายวิตามิน B12 ต้องให้ส่วนผสมพิเศษของนมผงและอาหารที่มีแคลอรี่สูง จะสามารถรักษาสภาวะสมดุลย์ของของเหลวและกรดภายใน ร่างกายได้ กรณียังไม่ได้รับผลการตรวจโรค จะต้องไม่ไห้เด็กสัมผัสลูกเหม็น และยารักษาใดๆหากมีข้อสงสัยให้ปรึกษาเเพทย์กุมารเวชศาสตร์ในกรณีที่ผลการตรวจพบว่ามี “เลือดบวก” ไม่ได้หมายความว่าทารกจะต้องเป็นโรคนั้นๆ แผนกโลหิตจะต้องใช้เวลาอีกระยะหนึ่งในการตรวจสอบอีกครั้งหลังการให้เลือดสามารถรับผลการตรวจซํ้าได้ภายในสองอาทิตย์กรุณาติดต่อแผนกโลหิต หรือเว็บไซท์□ มหาวิทยาลัยไต้หว้น nbs.mc.ntu.edu.tw□ หน่วยงานกองสวัสดิการสุขภาพ www.cfoh.org.tw□ หน่หรือเว็บไซท์หน่วยงานบริหาร www.tipn.org.twหรือปรึกษาปัญหาเกี่ยวกับโรคที่เกี่ยวข้องได้ที่ เบอร์□ มหาวิทยาลัยไต้หว้น โทรศัพท์ (02) 2312-3456 ต่อ 6716□ หน่วยงานกองสวัสดิการสุขภาพ โทรศัพท์ (02) 8768-1020 ต่อ 1□ หน่หรือเว็บไซท์หน่วยงานบริหาร โทรศัพท์ (02) 8596-2065กรมสุขภาพกระทรวงสาธารณสุข ห่วงใยคุณ59


noteอนามัยศึกษา60


้การเลี้ยงทารกด้วยนมแม่ ผลดีในการเลี้ยงทารกด้วยนมแม่่การเลี้ยงทารกด้วยนมแม่ เป็นวิธีการให้อาหารลูกที่ปลอดภัยที่สุดในช่วงทารกแรกเกิดจนถึงอายุ 6เดือนและให้นมได้ต่อเนื่องอีกนาน นมแม่อุดมไปด้วยสารแอนตี้บอดี้ ช่วยเสริมภูมิคุ้มกันในตัวทารกและไม่ทำให้ทารกอ้วนง่าย รวมทั้งมีโอกาสน้อยมากที่จะมีอาการแพ้ ทำให้สมองดีส่วนการให้ทารกดื่มนมผงอาจทำให้ทารกมีอาการท้องร่วงปอดอักเสบหรือเป็นโรคที่มีอาการติดเชื้อได้ง่าย องค์การอนามัยโลกแนะนำให้ใช้นมแม่ ไปพร้อมๆกับอาหารเสริม จนกว่าทารกจะมีอายุ 2 ขวบหรือ 2 ขวบขึ้นไป วิธีการให้นมลูกหากเป็นไปได้ ก็ควรให้นมลูกตั้งแต่แรกเกิด ตลอดเวลาที่ทารกหิวคุณแม่ส่วนใหญ่จะมีน้ำนมเพียงพอสำหรับลูก เมื่อทารกมีอาการหันหัวไปมา อ้าปากแลบลิ้นไปใกล้ด้านล่างของเต้านมแม่ หรือดูดมือตัวเอง ก็หมายความว่าถึงเวลาให้นมลูกแล้วเวลาให้นมลูก แม่ต้องอยู่ในท่าที่สบาย ให้หน้าอกและหน้าท้องของลูกแนบกับลำตัวของแม่ คางของลูกแนบกับเต้านมแม่ต้องอ้าปากกว้าง ๆ จึงจะสามารถอมได้ทั้งหัวนม ดูดนมได้อย่างสะดวกตอนแรก ๆ ทารกอาจดูดนมอย่างรวดเร็ว (2-3 ครั้ง/วินาที)แต่เมื่อน้ำนมเริ่มไหลออกมา และทารกดูดได้น้ำนมแล้ว จังหวะการดูดก็จะค่อยๆ ช้าลง (1 ครั้ง/วินาที)เมื่อทารกอิ่มแล้วก็จะเริ่มพลิกตัวและปล่อยหัวนมออกโดยอัตโนมัติ อาการที่พบเห็นบ่อยของทารกที่ดื่มนมแม่ทารกที่ดื่มนมแม่ อาการตัวเหลืองจะต่อเนื่องประมาณ 2-3 เดือนแล้วจึงจางหายหากมีข้อสงสัยอาจปรึกษาคุณหมอกุมารเวชได้ และก็ยังสามารถให้นมลูกต่อไปได้หากต้องหยุดให้นมแม่ชั่วคราวด้วยเหตุผลใด ๆ ก็ตามควรจะรีดน้ำนมออกตามเวลาที่เคยให้ทารกดื่มนม เพื่อให้มีการคัดหลั่งนมตามปกติทารกที่ดื่มนมแม่ จะมีอาการอุจจาระเป็นน้ำใส ๆ เป็นเม็ด ๆ หรือมีกลิ่นเปรี้ยว ๆ ในระยะแรก ๆอยู่ไม่กี่เดือน แต่ทารกบางคน ในช่วง เดือนสองเดือนแรก จะมีอาการ 3-4 วันถ่าย 1 ครั้งกระทั่ง1-2 สัปดาห์ต่อครั้ง ซึ่งเป็นอาการที่ปกติ มิใช่อาการท้องผูกแต่อย่างใดหากต้องการข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการเลี้ยงทารกด้วยนมแม่อาจปรึกษากุมารแพทย์หรือที่เวปไซต์ http://www.bhp.doh.gov.tw/breastfeeding/61


ข้อแนะนำเกี่ยวกับท่านอนและสภาพแวดล้อมในการนอนของทารก่ ท่านอนที่ดีที่สุดของทารกคือ ท่านอนหงาย ไม่ควรนอนคว่ำและนอนตะแคง ที่นอนของทารกควรเรียบ อ่อนนุ่มพอเหมาะ ยกเว้นผ้าปูที่นอนแล้วด้านล่างของตัวทารกไม่ควรมีสิ่งอื่นใดหรือของเล่นผ้าห่มที่ใช้ห่มให้ทารกต้องอ่อนนุ่มพอดี และทางที่ดีที่สุดควรให้ขาทารกชิดกับขอบเตียงผ้าห่มห่มถึงบริเวณหน้าอก และเอาปลายผ้าห้มสองข้างสอดไว้ใต้ที่นอนเพื่อป้องกันมิให้ผ้าห่มปิดทับหน้าทารกจนเป็นอันตรายได้อุณหภูมิในห้องนอนไม่ควรร้อนเกินไป และไม่ควรสวมเสื้อผ้ามากเกินไปหรือสวมหมวกหากทารกนอนกับผู้ใหญ่ นอกจากจะต้องใช้ที่นอนและผ้าห่มให้เหมาะสมแล้วยังต้องระมัดระวังสิ่งต่อไปนี้1 ไม่ควรให้ทารกนอนกับผู้ที่ติดเหล้า สูบบุหรี่ หรือใช้ยาที่ทำให้มีอการสลึมสลือ2 ต้องหาวิธีป้องกันมิให้ทารกตกเตียง หรือตกลงในช่องว่างของที่นอนหรือกำแพง3 หากทารกนอนกับทารกที่โตกว่า ผู้ใหญ่ควรนอนตรงกลาง4 เพื่อป้องกันมิให้ทารกนอนจนหัวแบน การนอนตะแคงไม่ควรตะแคงข้างใดข้างหนึ่งเท่านั้นเนื่องจากทารกส่วนใหญ่ชอบมองออกไปนอกประตู อาจเปลี่ยนทิศของหัวเตียงสัปดาห์ละครั้งเมื่อทารกตื่นนอน ควรพยายามให้ทารกนอนคว่ำเล่นสักพักเพื่อไม่ให้กระโหลกท้ายทอยถูกกดทับนานเกินไปและเป็นฝึกต้นคอและกล้ามเนื้อหัวไหล่ของทารกด้วยอนามัยศึกษา62


่ืตรวจประสาทหูของทารกแต่เนิ่น ๆเราจะรู้ว่าประสาทหูของทารกไม่ปกติ แต่เนิ่น ๆได้อย่างไรกลุ่มทารกเสี่ยงของอาการประสาทหูผิดปกติมีดังนี้1 เป็นทารกทารกที่เกิดในครอบครัวที่เป็นโรคดังกล่าวว2 ทารกที่มีน้ำหนักตัวตอนคลอดเพียง 1,500 กรัม3 ทารกที่มีอาการตัวเหลืองอย่างรุนแรง จนต้องมีการถ่ายเลือด4 ทารกที่มีการขาดอ๊อกซิเจน ตอนคลอด5 ทารกที่มีอาการหายใจไม่สะดวก (เช่นสูบเอาของเสียในครรภ์เข้าไป)6 ทารกที่มีอาการเยื่อหุ้มสมองอักเสบ7 ทารกที่หูหรือใบหน้า (craniofacial) มีอาการผิดปกติโดยกำเนิด(เช่น รผดปกตโดยกำเนด(เชน ใบหูเล็ก หรือปากแหว่ง)8 ทารกที่ใช้เครื่องช่วยหายใจเกินกว่า 10 วันปัจจุบัน ทารกที่มีอาการดังกล่าวข้างต้น โรงพยาบาลหรือแผนกกุมารเวช จะตรวจความบกพร่องของประสาทหูของเด็กก่อนออกจากโรงพยาบาล หากลูกของคุณอยู่ในกลุ่มเสี่ยงสูงและไม่เคยรับการประสาทหู ก็ควรรีบนำไปตรวจที่โรงพยาบาลการตรวจดังกล่าว ต้องเสียค่าใช้จ่ายเองตกประมาณไม่กี่ร้อยเหรียญ และใช้เวลาน้อยมากง่ายมาก ไม่ต้องใช้เครื่องมือเข้าไปในร่างกาย หวังว่าคุณพ่อ-คุณแม่จะพาลูก ๆไปตรวจความบกพร่องของประสาทหูประการสุดท้าย เราขอเตือนผู้ปกครองทุกท่านว่า แม้ว่าทารกแรกเกิดจะมีการตรวจความบกพร่องของประสาทหูแล้วเป็นปกติก็ตาม แต่ก็มิได้หมายความว่า ประสาทหูของทารกจะไม่มีปัญหาตลอดไป บางทีปัจจัยจากโลกภายนอกอาจทำให้เด็กมีอาการประสาทหูบกพร่องได้ เช่น หูอักเสบเยื่อหุ้มสมองอักเสบ ศีรษะได้รับบาดเจ็บ เป็นต้น ดังนั้น จึงควรให้ความสนใจว่า เด็กมีพัฒนาการด้านภาษาเชื่องช้ากว่าปกติ พูดไม่ชัด มีปฏิกิริยาต่อเสียงช้า หรือพูดเสียงดังหรือไม่“เวปไซต์ประสาทหูเด็กทารกไต้หวัน”http://www.bhp.doh.gov.twมีข้อมูลเกี่ยวกับโสตแพยทย์เด็กทารกและข้อมูลต่างๆที่เกี่ยวข้องมากมาย63


่้อาหารเสริมสำหรับเด็กทารกอาหารเสริมเป็นอาหารเพื่อเสริมคุณค่าทางโภชนาการให้แก่ทารกส่วนหลักการในการให้อาหารเสริมแก่เด็กทารกมีดังนี้ เริ่มให้อาหารเสริม เมื่อเด็กมีอายุได้ ่ ้ 6 เดือนขึ้นไป ้ การให้อาหารเสริมควรเริ่มต้นจากอาหารที่มีโอกาสเกิดอาการแพ้ได้น้อยก่อนเช่น เส้นหมี่ ผลไม้ ผัก ไข่แดง และเนื้อ เป็นต้น เส้นหมี่ ควรเลือกชนิดที่ใช้สำหรับเด็กทารกโดยเฉพาะใช้น้ำหรือนมผสมให้เหลว แล้วใช้ช้อนป้อนไม่ควรใส่ไว้ในขวดนมแล้วให้เด็กดูดดื่มเองการให้อาหารเสริมควรให้ครั้งละ 1 ชนิด และเริ่มต้นจากปริมาณน้อย ๆค่อย ๆ เพิ่มมากขึ้นเป็นลำดับ และสังเกตตัวเด็กทารกว่ามีอาการเป็นผื่น ท้องเสีย หรืออาเจียนหรือไม่ หากพบว่า ในอุจจาระเด็กมีเศษถั่ว หรือเศษผัก ที่ยังย่อยไม่หมด ถือเป็นเรื่องปกติไม่ต้องหยุดการให้อาหาร เมื่อเด็กอายุได้ 1 ขวบส่วนใหญ่จะสามารถร่วมนั่งรับประทานอาหารบนโต๊ะกับผู้ใหญ่ได้แล้ว ญ่ได้แล้ว การให้อาหารเสริมเฉพาะโจ๊กน้ำซุปกระดูกหมูเด็กจะได้สารอาหารไม่เพียงพอ ควรเติมผัก ไข่ และเนื้อ ด้วย การทำอาหารเสริม ไม่ควรใส่เครื่องปรุงใดๆ ใดๆและต้องรักษาอนามัยด้วยอนามัยศึกษา64


่ อาหารเสริมบรรจุขวดที่จำหน่ายตามท้องตลาด เมื่อเปิดฝาแล้วควรรับประทานให้หมดภายใน 3 วัน การป้อนอาหารเสริม มักจะป้อนได้ง่ายในช่วงที่เด็กกำลังหิว ป้อนประเภทนมก่อนปแล้วจึงป้อนอาหารเสริมด้วยปริมาณพอเหมาะ เวลาป้อนควรให้เด็กนอนเอียงตัวเล็กน้อยและหันหน้าเข้าหากันเมื่อเด็กนั่งได้แล้ว ให้ใช้เข็มขัดนิรภัยรัดตัวเด็กก่อน แล้วจึงป้อน หากเด็กไม่ยอมเปิดปาก หันหน้าหนีหรือร้องไห้ ก็ให้หยุดการให้อาหารเสริมสัก 1-2สัปดาห์ หากเด็กแสดงหน้าบูดเบี้ยวขณะป้อนอาหารเสริม อาจจะยังไม่เคยชิน ต้องให้เด็กทดลองบ่อย ๆอย่ายอมแพ้ง่าย ๆ เวลาป้อนควรอยู่ในภาวะจิตใจที่เบิกบาน หยุดเมื่อกินอิ่มแล้ว อย่าบังคับให้เด็กต้องทานให้หมด เมื่อเด็กอายุ 6 เดือนขึ้นไป อาจเริ่มฝึกให้ใช้ถ้วย เพื่อเป็นการเตรียมตัวให้เด็กหย่าขวดนม เมื่อเด็กอายุได้ 6–8 เดือน ื อาจฝึกให้เด็กหยิบคุกกี้หรือขนมปังปิ้งทานเอง้ ็ ิ านเอง เมื่อเด็กอายุได้ 9–10 เดือน อาจปั้นอาหารขนาดคำเดียว ให้เด็กทดลองใช้มือจับทานเอง เช่นเนื้อไก่สุก กล้วยหอมหั่นเป็นชิ้น แครรอทต้มสุก โดยทั่วไป เด็กอายุ 6 หรือ 7 เดือน จะรับประทานอาหารเสริมวันละประมาณ 1 มื้อ นม 4-5 มื้อเมื่ออายุ 8–10 เดือน ให้เพิ่มอาหารเสริมเป็นวันละ 2 มื้อ นมลดลงเหลือ 3-4 มื้อ เมื่ออายุครบ 1ขวบแล้ว อาหารเสริมจะกลายเป็นส่วนหนึ่งของอาหารหลัก นมก็จะเหลือวันละ 3 มื้อ65


การป้องกันอุบัติเหตุ1 การป้องกันน้ำร้อน-ไฟลวก อย่าใช้มือหนึ่งอุ้มเด็ก อีกมือหนึ่งถือของร้อน อย่าวางถ้วยน้ำร้อน กาแฟ หรือซุป ไว้ริมโต๊ะ อย่าให้เด็กเล่นใกล้เตาไฟ และควรวางด้ามกระทะไว้ด้านใน จนเป็นความเคยชิน พยายามวางเตาอบ หม้อไฟฟ้า กระติกน้ำร้อน ไว้ในที่ ๆ เด็กหยิบไม่ถึง ไม่ควรใช้ผ้าปูโต๊ะ เวลายกน้ำซุปหรืออาหารไว้บนโต๊ะ ต้องระวังว่ามีเด็กอยู่บริเวณนั้นหรือไม่ อย่าให้เด็กเข้าใกล้เตารีด และระวังหลอดไฟด้วยเพราะความร้อนของหลอดไฟอาจทำให้เด็กได้รับอันตรายได้้ ขณะเตรียมน้ำร้อนสำหรับอาบน้ำ ต้องใส่น้ำเย็นก่อน แล้วจึงเพิ่มน้ำร้อนลงไปและจะต้องทดสอบอุณหภูมของน้ำก่อนอาบน้ำให้เด็ก เมื่อใช้ไมโครเวฟหุงหรืออุ่นอาหารจะต้องทดสอบอุณหภูมิของอาหารก่อนป้อนเด็ก ฐานเสียบปลั๊กไฟ จะต้องใช้ฝาปิด เมื่อไม่ใช้งานทุกครั้งเพื่อป้องกันมิให้เด็กเอานิ้วหรือของเล่นเสียบเข้าไปในรูเสียบปลั๊กไฟ2 การป้องกันการหกล้มหรือตกจากที่สูง อย่าให้เด็กอยู่ในที่สูงโดยลำพัง เช่น โซฟา เตียง เก้าอี้หรือบนแท่นเปลี่ยนผ้าอ้อม รถเด็กฝึกเดิน จะหกขะเมนเสียหลักง่าย ทำให้บาดเจ็บได้ต้องระมัดระวังความปลอดภัยของเด็กเป็นพิเศษ เมื่อเด็กเริ่มฝึกคลาน ควรล็อกประตูให้ดี และทำที่ปิดบริเวณทางขึ้น-ลงบันได ผู้ที่อยู่ชั้น เพื่อป้องกันมิให้เด็กหกล้ม 2 ขึ้นไป จะต้องระมัดระวังหน้าต่างเป็นพิเศษควรให้เด็กใส่ถุงเท้ากันลื่น พรมและที่เช็ดเท้าควรกันลื่นด้วย วรกนลนดวย ในห้องน้ำและในอ่างอาบน้ำ ควรติดอุปกรณ์กันลื่นอนามัยศึกษา66


หากเฟอร์นิเจอร์มีมุมแหลมคม ควรติดอุปกรณ์ป้องกันการชนหรือย้ายเฟอร์นิเจอร์นั้นออกชั่วคราว ขณะที่เด็กกำลังเล่นอยู่ในสนามเด็กเล่น จะต้องมีผู้ใหญ่คอยดูแลความปลอดภัยตลอดเวลา หากเด็กเกิดพลัดตกจากที่สูง ต้องรีบนำส่งโรงพยาบาลทันที3 การป้องกันหายใจไม่ออกสำลัก ติดคอ หรือถูกพิษ เครื่องใช้ไฟฟ้า เช่น ตู้เย็น เครื่องอบผ้าหรือเครื่องซักผ้า ควรติดตั้งที่ล็อก มิให้เด็กเปิดเข้าไปได้ ซึ่งจะทำให้เด็กหายใจไม่ออก เหรียญ กระดุม ลูกแก้ว หรือของชิ้นเล็ก ๆ ควรวางไว้ในที่เด็กหยิบไม่ได้เวลาซื้อของเล่นก็ควรตรวจดูว่าชิ้นส่วนหลุดง่ายหรือไม่ (เช่น ลูกตาของตุ๊กตาหมี)เพื่อมิให้เกิดอันตรายต่อเด็ก อย่าให้เด็กทานท็อฟฟี่แบบแข็ง หรือผลไม้แบบแข็ง และบัวลอยเพื่อป้องกันมิให้สำลักหรือติดคอ เมื่อเด็กร้องงอแง ไม่ควรป้อนอาหาร และต้องระมัดระวังว่ามีอาหารอยู่ในปากเด็กหรือไม่ ควรวางวัตถุที่เป็นสารเคมีเช่น ยาฆ่าแมลง น้ำยาทำความสะอาด และยาเป็นต้น ไว้ในที่ ๆ เด็กหยิบไม่ถึง ห้ามนำภาชนะบรรจุอาหารไปใส่วัตถุที่มีพิษ เพื่อป้องกันมิให้เด็กนำไปทาน อย่าให้เด็กกัด เคี้ยวของเล่นหรือเฟอร์นิเจอร์ที่มีสีทุกชนิด ระมัดระวังวัตถุที่อาจมีพิษต่อเด็กในถังขยะ เช่น ถ่านไฟฉาย มีดโกน และเศษอาหารเป็นต้น หากเด็กกลืนสิ่งที่ไม่ควรทานลงไป ผู้ดูแลควรเก็บภาชนะบรรจุสิ่งของนั้นไว้แล้วโทรศัพท์แจ้ง “ศูนย์ปรึกษาอาหารเป็นพิษ” โทร 02-8717121เพื่อสอบถามวิธีปฐมพยาบาลฉุกเฉิน เครื่องทำน้ำร้อนที่ใช้พลังงานแก๊ส ควรติดตั้งภายนอกอาคารและควรให้มีอากาศถ่ายเทตลอดเวลา เพื่อลดโอกาสที่จะถูกพิษจากก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์67


4 การป้องกันอุบัติเหตุรถยนต์ ก่อนขับเคลื่อนรถยนต์ ต้องนำเด็กนั่งบนที่นั่งสำหรับเด็กและรัดเข็มขัดนิรภัยให้เรียบร้อยห้ามให้เด็กนั่งในที่อันตรายเป็นอันขาด ก่อนขับรถ ต้องนำเด็กนั่งบนที่นั่งสำหรับเด็กและต้องรัดเข็มขัดนิรภัยให้เรียบร้อยขณะขับขี่และจอดรถให้สนิทเสียก่อนจึงให้เด็กลงจากรถ อย่าทิ้งเด็กไว้บนรถตามลำพัง เพราะอุณหภูมิในรถอาจสูงถึง 54-60 องศาแม้จะทิ้งไว้เพียงชั่วครู่ แต่อาจทำให้เกิดอันตรายแก่เด็กได้ อย่าให้เด็กวิ่งเล่นริมฟุตบาท ต้องระวังเรื่องประตู อย่าให้เด็กเข้า-ออกโดยลำพัง เวลาถอยรถ ต้องระมัดระวังว่า เด็กอยู่ด้านหลังรถหรือไม่5 การป้องกันการจมน้ำ แม้จะเป็นช่วงเวลาสั้น ๆ ไม่กี่วินาที ก็ห้ามทิ้งเด็กไว้ในอ่างอาบน้ำเพียงลำพัง ภาชนะบรรจุน้ำทุกชนิดในบ้าน เมื่อใช้เสร็จแล้ว จะต้องเททิ้งให้หมดเพื่อป้องกันเด็กตกลงไป จมน้ำ ต้องกำชับสมาชิกในครอบครัว ให้ระมัดระวังปิดประตูห้องน้ำให้สนิทเพื่อป้องกันมิให้เด็กไปเล่นน้ำในโถส้วม บ่อน้ำหรือบ่อเลี้ยงปลา ต้องทำรั้วกั้น เพื่อป้องกันเด็กพลัดตกลงไปอนามัยศึกษา68


6 อื่น ๆ ห้ามอุ้มเด็กแกว่งไป แกว่งมา เพื่อป้องกันมิให้สมองได้รับบาดเจ็บ เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ไม่ใช้ ต้องดึงปลั๊กทิ้ง เพื่อป้องกันมิให้เด็กไปเล่นสายไฟก็ควรเก็บให้เป็นที่เป็นทางเพื่อป้องกันมิให้เด็กไปดึงทำให้เครื่องใช้ไฟฟ้าหล่นลงมา ทับตัวเด็กได้ เชือกหรือสายม่านหน้าต่างต้องเก็บให้สั้นอย่าให้เด็กใช้มือจับถึง อย่าเอาจุกนม สายสร้อย ร้อยคอเด็ก เพื่อป้องกันมิให้สายรัดคอเด็กจนหายใจไม่ออก อย่าให้เด็กเล่นถุงพลาสติก และลูกโป่ง การสัมผัสกับสัตว์เลี้ยง ควรมีผู้ใหญ่คอยดูแล ของมีคมในครัวเช่น มีด ส้อม และกรรไกร ควรวางไว้ในลิ้นชักหรือตู้ที่มีกลอนล็อก ประตูม้วนไฟฟ้าควรติดตั้งระบบหยุดอัตโนมัติเมื่อกระทบกับวัตถุหรือติดตั้งสวิทช์ไว้ในที่เด็กจับไม่ถึง จะต้องคิดคำนึงเรื่องเส้นทางหนีไฟเป็นประจำและต้องมีอุปกรณ์ดับเพลิงตลอดจนเครื่องตรวจจับควันไฟสัญญานเตือนอัคคีภัยไว้ในบ้าน69


ต้องให้ความสำคัญกับพัฒนาการของเด็กในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ไต้หวันได้พยายามเผยแพร่แนวความคิดดูแลพัฒนาการของเด็กตั้งแต่วัยแรกเกิดซึ่งทำให้ตรวจพบเด็กที่มีอาการพัฒนาการช้าในระดับอายุเฉลี่ยตั้งแต่ 3 ขวบเท่านั้นแต่ว่าโอกาสทองในการรักษาเด็กที่มีอาการพัฒนาการเชื่องช้าจะอยู่ในช่วงก่อน 3 ขวบ คุณพ่อ-คุณแม่เพียงแต่กรอกรายละเอียดของสภาพการพัฒนาของเด็กลงไปในคู่มือเด็กเท่านั้นคุณหมอก็จะสามารถวินิจฉัยได้ว่า เด็กคนนั้นมีอาการพัฒนาการเชื่องช้าหรือไม่และก็จะแนะแนะวิธีการรักษาที่ถูกต้องให้หากคุณพ่อ-คุณแม่มีปัญหาต้องการปรึกษาเกี่ยวกับเรื่องพัฒนาการของเด็ก ก็สามารถสอบถามคุณหมอแผนกกุมารเวช หรือคุณหมอแผนกโรคทั่วไป ได้ หรือโทรศัพท์สอบถามฝ่ายปรึกษาพัฒนาการเด็กของเทศบาลทุกท้องที่ได้(หมายเลขโทรศัพท์ที่เกี่ยวข้อง กรุณาดูหน้า 91) หรือไปพบแพทย์แผนกกุมารเวชนสาขาศัลยกรรมประสาทหรือแผนกกุมารเวชที่เกี่ยวกับระบบประสาท โทรศัพท์สอบถามที่ฮอทไลน์ปรึกษาเด็กพัฒนาการเชื่องช้า 02-27682953เวลาทำการ : วันจันทร์-วันศุกร์ เวลา 10.00-12.00 น.อนามัยช่องปาก1 ฝึกนิสัยการกินและอนามัยช่องปาก อย่าให้เด็กดูดนม น้ำผลไม้ หรือเครื่องดื่มอื่น ๆที่มีส่วนผสมของน้ำตาล ขณะนอนหลับควรงดใช้ขวดตอนดึกเมื่ออายุได้ประมาณ 1 ขวบเมื่อครบ 1 ขวบแล้วให้เปลี่ยนจากขวดนมเป็นใช้แก้วแทน อาหารที่คุณพ่อ-คุณแม่เคี้ยวแล้ว ไม่ควรป้อนใส่ปากเด็กและห้ามจูบที่ริมฝีปากเด็ก หลีกเลี่ยงมิให้ฟันสัมผัสกับของหวานเป็นเวลานานเช่นอมลูกกวาด หรือทานของหวานที่ติดฟันง่าย เช่นท้อฟฟี่แบบนิ่ม ลูกเกด เป็นต้น ไม่ควรใช้เวลานานในการทานอาหารฝึกให้เด็กตั้งใจทานอาหาร ทานอิ่มแล้วจึงค่อยไปเล่น ควรลดจำนวนครั้งในการทานของว่างหรือขนมขบเคี้ยวทางที่ดีที่สุดควรทานหลังอาหาร และแปรงฟันทุกครั้งหลังทานอิ่มแล้วอนามัยศึกษา70


เมื่อฟันน้ำนมซี่แรกงอกออกมาแล้ว เมื่อป้อนอาหารเสร็จทุกครั้งจะต้องใช้ผ้าเปียกทำความสะอาดฟันให้เด็ก เมื่ออายุครบ 1 ขวบต้องเริ่มใช้แปรงสีฟันขนนิ่มแปรงฟันให้เด็ก จะต้องพยายามแปรงฟันทุกครั้งหลังอาหาร และการแปรงฟันก่อนนอนจะเป็นครั้งที่สำคัญที่สุดโดยเฉพาะอย่างยิ่ง ฟันกรามจะเป็นฟันที่ผุง่าย จึงควรแปรงให้สะอาด เมื่อฟันน้ำนมทั้งหมดงอกออกมาแล้ว เมื่อเด็กสามารถบ้วนปากได้แล้ว คุณพ่อ-คุณแม่ ก็ควรเริ่มใช้ด้ายฟัน ทำความสะอาดให้คุณลูกแลว ก็ให้เริ่มใช้ยาสีฟันที่มีส่วนผสมของฟลูออไรด์กใหเรมใชยาสฟนทมสวนผสมของฟลูออไรด2 ตรวจสุขภาพช่องปากเป็นประจำเมื่ออายุได้ขวบครึ่ง ให้พาเด็กไปตรวจสุขภาพช่องปากนอกจากจะสามารถตรวจพบอาการโรคในช่องปากได้แต่เนิ่น ๆ แล้วยังสามารถให้ทันตแพทย์เคลือบฟลูออไรด์ให้เด็กและรับคำแนะนำอนามัยช่องปากด้วยการประกันสุขภาพในปัจจุบัน จะให้บริการแก่เด็กอายุต่ำกว่า 5 ขวบ เคลือบฟลูออไรด์ได้ปีละ2 ครั้ง ซึ่งไม่เพียงแต่สามารถเสริมความแข็งแรงของผิวฟันเท่านั้นหากยังสามารถระงับการเติบโตของเชื้อโรคในช่องปากได้อีกด้วย3 อื่น ๆ เมื่อพบช่องปากของเด็กมีอาการผิดปกติ ดปกติ จะต้องรีบพาไปพบแพทย์ไม่ควรมีความคิดว่า “ฟันน้ำนมผุก็ไม่เป็นไร” ต้องช่วยให้เด็กเลิกนิสัยดูดนิ้ว จุกนม และกัดเล็บเพื่อป้องกันฟันขบไม่สนิท71


4 การดูแลช่องปากของเด็กที่พัฒนาการเชื่องช้า ควรดูแลการทำความสะอาดช่องปากของเด็กที่พัฒนาการเชื่องช้า อย่างใกล้ชิด การแปรงฟัน เป็นการทำแบบซ้ำแล้วซ้ำเล่า แปรงฟันวันละ 3 ครั้งซึ่งเท่ากับว่าเป็นการฝึกให้เด็กมีโอกาสทำกายภาพบำบัดวันละ 3 ครั้ง คุณพ่อ-คุณแม่ อาจยืนดูอยู่ด้านหลังของเด็ก ให้คำแนะนำวิธีแปรงฟันที่ถูกต้องโดยหันหน้าเข้าหากระจกทั้งสองคน ใช้แปรงสีฟันทำมุม 45 องศากับฟันเริ่มจากการแปรงฟันบนก่อน แล้วค่อยแปรงฟันล่าง ขวาก่อน และด้านซ้าย แปรงฟันก่อนนอน ควรให้คุณพ่อ-คุณแม่ ช่วยแปรงให้อย่างละเอียด ป้องกันฟันผุ คุณพ่อ-คุณแม่ ควรฝึกให้เด็กที่มีพัฒนาการเชื่องช้า ค่อย ๆ ขบเคี้ยวอาหารซึ่งจะเป็นการช่วยให้เด็กพัฒนาการเชื่องช้ามีความสามารถในการเรียนรู้ได้ดีขึ้นด้วยอนามัยศึกษา72


ุอนามัยจักษุ ตรวจพบปัญหาสายตาแต่เนิ่น ๆช่วงโอกาสทองในการรักษาอาการตาเข หรือสายตาขี้เกียจจะเป็นช่วงก่อน 6 ขวบ หากผ่านพ้นช่วงนี้ไปแล้วผลการรักษาจะไม่สู้ดีนัก และเมื่อครบ 10 ขวบแล้ว สายตาจะพัฒนาเต็มที่แล้วจะไม่สามารถแก้ปัญหาสายตาได้ และรักษาไม่ทันกาล1 ยามปกติ ต้องสังเกตว่า บุตรหลานต้องยกหนังสือดูใกล้ ๆ หรือไม่2 เวลาดูทีวี เด็กต้องเพ่งดูหรือเอียงคอดูหรือไม่3 ลักษณะภายนอกของดวงตาของเด็กผิดปกติ (เช่นตาเข หรือหนังตาหย่อน) หรือไม่ตาดำมีอาการสะท้อนแสงอย่างผิดปกติหรือไม่หากมีอาการดังกล่าวข้างต้น ควรรีบไปพบจักษุแพทย์โดยเร็วช่วงอายุ 3 ขวบครึ่งถึง 4 ขวบ จะเป็นช่วงตรวจสายตาที่ดีที่สุดคุณพ่อ-คุณแม่ควรสอนเด็กให้รู้จักแยกแยะสัญญลักษณ์ที่ใช้สำหรับวัดสายตาตั้งแต่อยู่ที่บ้าน เมื่อสอนเป็นแล้วให้พาไปตรวจสายตาที่แผนกจักษุแพทย์ การป้องกันสายตาสั้นโดยปกติแล้ว อาการสายตาสั้นของเด็กจะเกิดจากการใช้สายตาในระยะใกล้มากเกินไปหากมีอาการสายตาสั้น ตั้งแต่เด็ก เมื่อโตขึ้นก็จะสั้นมากขึ้นตามอายุ ขึ้นตามอายุเราจะดูแลสุขภาพอนามัยของสายตาของเราอย่างไรข้อแนะนำดังต่อไปนี้อาจเป็นประโยชน์สำหรับคุณพ่อ-คุณแม่ แม่1 เด็กควรมีเวลานอนอย่างเพียงพอและได้รับสิ่งบำรุงเลี้ยงอย่างสมดุล2 ควรพาเด็ก ๆ ไปออกกำลังกลางแจ้งเป็นประจำมองไปยังที่สีเขียวไกล ๆ คลายความเครียดให้แก่กล้ามเนื้อตา ล้ามเนื้อตา3 พยายามหลีกเลี่ยงกิจกรรมที่ต้องใช้สายตา เช่น การเขียนหนังสือการอ่านหนังสือที่มีตัวอักษรขนาดเล็กเกินไป เล่นคอมพิวเตอร์ ดูทีวีเป็นต้น เมื่อใช้สายตานาน 30 นาที ควรพักสายตา 10 นาที4 เมื่อเด็กมีอาการตามัว มองไม่ชัด จะต้องพาไปปรึกษาจักษุแพทย์ก่อนจึงจะให้ใส่แว่นตามคำแนะนำของคุณหมอได้73


สร้างนิสัยการทานอาหารที่ดีอุปนิสัยการทานอาหารที่ดีของเด็ก มีความสำคัญมาก คุณพ่อ-คุณแม่อาจลองพิจารณาใช้วิธีการดังต่อไปนี้ เวลาทานอาหารต้องให้ทานให้เป็นที่ การป้อนอาหารเสริมต้องให้เด็กนั่งอยู่บนเก้าอี้สูงไม่ควรวิ่งไล่ตามป้อนอาหาร เมื่ออายุได้ 1 ขวบควรวางเก้าอี้ทานอาหารสำหรับเด็กวางไว้ข้างโต๊ะอาหารร่วมรับประทานอาหารกับสมาชิกในครอบครัว การป้อนอาหารต้องคำนึงถึงความอยากอาหารของเด็ก อย่าบังคับเพอปองกนมใหเดกมอาการเกลยดอาหารเพื่อป้องกันมิให้เด็กมีอาการเกลียดอาหาร ช่วงอายุ ่ 1 ขวบถึง 1 ขวบครึ่ง ่ จะเป็นช่วงที่ดีที่สุดในการฝึกนิสัยการทานอาหารของเด็ก่ ่ ่ฝึกให้เด็กใช้ช้อนทานข้าวเองหลีกเลี่ยงมิให้การป้อนอาหารกลายเป็นการสร้างความไม่สบายใจให้แก่เด็กและผู้ใหญ่ เมื่อเด็กทานอาหารเองได้แล้ว ควรให้ทานในปริมาณน้อยในแต่ละมื้อ เมื่ออยากทานจึงให้ทานเพื่อหลีกเลี่ยงมิให้เด็กมีอาการหวาดกลัวเมื่อถึงเวลาทานอาหาร สร้างบรรยากาศที่ดีขณะทานอาหาร ให้เด็กมีส่วนร่วมวงสนทนาบนโต๊ะอาหารอย่าด่าว่าเด็กขณะทานอาหาร เมื่อเด็กอายุได้ 3 ขวบ ก็อาจเริ่มวางระเบียบบนโต๊ะอาหารให้เด็กเมื่อเด็กปฏิบัติตามก็ควรให้คำชมเชย กำหนดเวลาที่เหมาะสมในการทานอาหาร อย่าปล่อยให้เด็กยื้อเวลาทานอาหารไม่ควรใช้เรื่องอาหารพยายามหลีกเลี่ยงการให้ขนมขบเคี้ยวแก่เด็กในช่วงระหว่างมื้ออาหารกับมื้ออาหารเป็นรางวัลการทำดีของเด็ก องเดก เวลาเล่น หรือดูทีวี หรือฟังนิทานไม่ควรให้เด็กทานอาหารไปด้วยเพื่อป้องกันมิให้เมื่อถึงเวลาทานอาหารแล้ว วควรเลือกอาหารว่างที่มีประโยชน์ต่อร่างกายเด็กจะไม่อยากทานอาหารยและจำกัดจำนวนครั้งต่อวันป้องกันมิให้เด็กไม่อยากทานอาหารเมื่อถึงเวลาเวลาอนามัยศึกษา74


ฝึกนิสัยการนอนที่ดีการนอนหลับอย่างเพียงพอ จะทำให้เด็กมีกำลังวังชาและเรียนหนังสือได้อย่างเต็มที่แต่จะฝึกนิสัยการนอนที่ดีได้อย่างไร ยกเว้นในกรณีที่เด็กงอแง คุณพ่อ-คุณแม่ ควรหลีกเลียงวิธีการกล่อมที่ไม่จำเป็นบางอย่าง เช่นการให้นม หรือการตบหลัง ฝึกให้เด็กรู้จักเข้านอนเอง คุณพ่อ-คุณแม่ ที่นอนหลับไม่ค่อยสนิท ควรแยกนอน เพื่อหลีกเลี่ยงการรบกวนซึ่งกันและกัน เมื่อเด็กอายุได้ 2-3 เดือนแล้ว ควรลดการเปลี่ยนผ้าอ้อมยามดึกเวลาให้นมก็ไม่ควรเปิดไฟสว่างเกินไป อย่าพูดคุยกับเด็กให้เด็กรู้จักความแตกต่างระหว่างกลางวันกับกลางคืน และค่อย ๆ เลิกการให้นมตอนกลางคืนให้นอนจนสว่าง เมื่อเด็กอายุได้ 6 เดือน ต้องพยายามให้เด็กนอนหลับเอง ไม่ควรตบหลัง อุ้มหรือโยกไปมาหรือใช้นมกล่อมให้หลับ เพื่อสุขภาพของเด็ก คุณพ่อ-คุณแม่ ควรกำหนดเวลาเข้านอนของตัวเองและเด็กและปฏิบัติตามอย่างเข้มงวด การจัดระเบียบวิธีการเข้านอนให้แก่เด็ก จะช่วยให้เด็กเข้านอนได้ง่าย เช่นฉี่ อาบน้ำ เปลี่ยนชุดนอน แปรงฟันดื่มน้ำ ขึ้นเตียง เล่านิทานเซย์กู้ดไนท์ ปิดไฟ75


หลีกเลี่ยงการสูดดมควันบุหรี่ (บุหรี่มือสอง)การสูดดมควันบุหรี่มือสองจะไม่เป็นผลดีต่อสุขภาพเป็นอย่างยิ่งโดยเฉพาะอย่างยิ่งจะเป็นอันตรายอย่างที่สุดต่อเด็กที่กำลังอยู่ในวัยเจริญเติบโตเพื่อหลีกเลี่ยงการสูดดมควันบุหรี่มือสอง คุณพ่อ-คุณแม่ อาจยึดหลักการดังต่อไปนี้ เลิกสูบบุหรี่เพื่อสุขภาพของตนเองและครอบครัว ทางที่ดีที่สุดควรเลิกบุหรี่คุณแม่ที่สูบบุหรี่จะส่งผลต่อสุขภาพของเด็กมากกว่าคุณพ่อเนื่องจากโดยปกติคุณแม่จะมีเวลาอยู่กับลูก ๆ มากกว่าคุณพ่อ ไม่สูบบุหรี่ในบ้านโดยเด็ดขาดหากไม่สามารถเลิกบุหรี่ได้ อย่างน้อยที่สุดก็ควรที่จะเปลี่ยนความเคยชินในการสูบบุหรี่พยายามสูบบุหรี่ที่ระเบียงหรือนอกตัวอาคาร เนื่องจากเสื้อผ้าจะดูดซับกลิ่นบุหรี่ ดังนั้นเมื่อสูบบุหรี่แล้วจึงควรใส่เสื้อทับอีกหนึ่งชั้น เมื่อสูบบุหรี่แล้วให้ถอดออก ก่อนที่จะสัมผัสกับเด็ก หากทำไม่ได้ อย่างน้อยที่สุดเวลาอยู่กับเด็ก ห้ามสูบบุหรี่เด็ดขาด เวลาหาโรงเรียนอนุบาลหรือพี่เลี้ยงให้เด็กควรเป็นสถานที่หรือคนที่ไม่สูบบุหรี่ซึ่งสำคัญมากสำหรับเด็กที่มีอาการหืดหอบอนามัยศึกษา76


การฝึกการเข้าห้องน้ำให้เด็กคุณพ่อ-คุณแม่ ควรเริ่มฝึกการเข้าห้องน้ำให้แก่เด็กเมื่ออายุได้ 2 ขวบฝึกไปสักระยะหนึ่ง เมื่อเด็กมีอาการอยากเข้าห้องน้ำ ก็จะไปที่ห้องน้ำเองโดยไม่ต้องเตือน คุณพ่อ-คุณแม่อาจยึดหลักการดังต่อไปนี้ณพอ-คคุณแมอาจยดหลกการดงตอไปนการดดงตอ เริ่มฝึกเมื่อใดในช่วงเด็กอายุ 18 – 24 เดือน แต่เด็กผ้ชายอาจช้ากว่าเด็กผ้หญิงเล็กน้อย แตเด็กผชายอาจชากวาเด็กผหญิงเล็กนอย แต่เด็กผู้ชายอาจช้ากว่าเด็กผู้หญิงเล็กน้อย การแสดงออกดังนี้แสดงว่า เด็กมีความพร้อมแล้วที่จะฝึกการเข้าห้องน้ำ1 มีความรู้สึกอยากปัสสาวะและอุจจาระ (เช่นมีอาการเงียบเสียงลงอย่างกะทันหันสีหน้าเปลี่ยนไป กระโดดโลดเต้น นั่งยอง ๆ ดึงกางเกงไปมาหรือบอกโดยการพูดหรือภาษามือ)2 เมื่อปัสสาวะหรืออุจจาระแล้ว ก็จะมีอาการแสดงออกให้ผู้ใหญ่รู้3 ชอบเปลี่ยนผ้าอ้อมที่สะอาด4 เข้าใจความหมายของคำว่า “ฉี่” “อึ” “เหม็นๆ” “ส้วม” “แห้ง” “สะอาด” “เปียกแฉะ”และ “สกปรก”5 เคยเห็นเด็กหรือผู้ใหญ่เพศเดียวกันใช้ส้วมและรู้วิธีใช้ส้วม6 ดึงกางเกงของตัวเองได้เอง จะฝึกอย่างไร1 เมื่อซื้อกระโถนเล็กแล้ว ให้วางไว้ในบริเวณที่เด็กชอบเล่นฝึกให้เด็กนั่งบนกระโถนบ่อย ๆ ไม่ต้องนั่งนานมากเพื่อให้เด็กคุ้นเคย และเป็นเสมือนเป็นเจ้าของ2 ให้สังเกตว่า เด็กมีอาการอยากปัสสาวะหรืออุจจาระหรือไม่หรืออาจจะใช้อาศัยช่วงที่เด็กเพิ่งตื่นถอดผ้าอ้อมออกแล้วพาไปปัสสาวะ/อุจจาระในห้องน้ำ3 เมื่อเด็กทำตามที่สอน ก็ควรชมเชย หากถ่ายออกมาได้ก็ควรชื่นชมทันที หรือกอด หรืออาจให้ขนมเป็นรางวัลก็ได้77


4 เมื่อเด็กทำไม่สำเร็จก็ไม่ควรด่าว่า เพื่อป้องกันมิให้เด็กอายุ 2 ขวบขึ้นไป มีอาการต่อต้านและไม่ทำตามที่สอน5 เมื่อเด็กทำสำเร็จเพียงครึ่งเดียว ก็ควรเริ่มให้เด็กหย่าผ้าอ้อม เปลี่ยนเป็นใส่กางเกงหลวมๆ ฝึกให้ถอดกางเกงเอง ใส่ผ้าอ้อมตอนนอนกลางวันและกลางคืนเท่านั้น6 อ่านนิทานเกี่ยวกับการฝึกเข้าห้องน้ำให้เด็กฟังสักเล่มสองเล่มและให้เด็กเล่นกับเพื่อนที่ฝึกสำเร็จแล้ว และสังเกตการใช้ห้องน้ำของเด็ก7 ไม่ควรที่ฝึกในช่วงเวลาที่เด็กมีอารมณ์ต่อต้านหรือเจ็บป่วย8 ไม่ควรบ่นพร่ำเพรื่อ เพียงแต่เมื่อมีอาการอยากเข้าห้องน้ำก็ให้พาไปที่กระโถน เมื่อเด็กทำพลาด ให้บอกกับเด็กด้วยน้ำเสียงผิดหวังเล็กน้อย ว่าคราวหน้าต้องบอกผู้ใหญ่ให้เร็วกว่านี้และบอกให้เด็กเอาผ้าอ้อมไปทิ้งในถังขยะ การใช้อารมณ์รุนแรงของผู้ใหญ่มักจะเป็นสาเหตุทำให้เด็กฝึกไม่สำเร็จแม้จะฝึกได้สำเร็จแล้วก็ตาม เด็กก็ยังมักจะมี “อุบัติเหตุ” เกิดขึ้นเป็นครั้งคราวซึ่งเป็นเรื่องปกติมากไม่ควรด่าว่าเด็ก ควรใจเย็น ๆ ค่อย ๆ แก้ปัญหาไปการเลิกใช้ผ้าอ้อมของเด็กเป็นเรื่องที่ต้องเกิดขึ้นแน่ แต่จะช้าหรือเร็วเท่านั้นพ่อแม่ไม่ควรเร่งร้อนเกินไปหากเกิดอุปสรรคขึ้น ไม่ควรฝืนบังคับเด็กให้ใช้ผ้าอ้อมไปเช่นเดิม รออีกประมาณ 1-2สัปดาห์แล้วค่อยทดลองใหม่ ต้องฝึกได้สำเร็จแน่ ๆอนามัยศึกษา78


ข้อควรระวังเมื่อเด็กมีอาการป่วยนอกจากจะต้องรักษาพยาบาลให้ถูกวิธีแล้ว คุณพ่อ-คุณแม่ ก็ควรที่จะสังเกตอาการของเด็กว่าจำเป็นต้องพาไปพบแพทย์ทันทีหรือไม่ ดังนี้ หายใจรัว :ไม่มีไข้แต่หายใจรัว แสดงว่า ปอดอาจทำงานไม่ปกติ ซึมเซา :ไม่มีไข้ แต่ดูซึมเซา เหงาหงอย เป็นหนึ่งในอาการป่วยหนัก นอนหลับไม่ยอมตื่น :ความรู้สึกไม่ปกติ เป็นหนึ่งในอาการป่วยหนักอย่างหนึ่ง อาเจียนต่อเนื่อง :อาจเป็นโรคสมองอักเสบ โรคหัวใจล้มเหลวหรือกระเพาะลำไส้อุดตัน ปัสสาวะหรืออุจจาระมีเลือดออก มีน้ำตาและปัสสาวะลดลง :เป็นอาการที่พบบ่อยของภาวะขาดน้ำในร่างกาย อาการอื่น ๆ ที่อาจเป็นอาการของโรคทั่วไปที่ไม่รุนแรง เช่น ชักความรู้สึกช้า หน้าซีด ริมฝีปากดำ มีจุดเลือดออกบนผิวหนังทั่วร่างกายหากมีอาการหนัก ควรรีบพาไปพบแพทย์กุมารเวชทันที79


ความสับสนเกี่ยวกับอาการเป็นไข้ที่ผ่านมา คนทั่วไปมักจะเข้าใจว่าการเป็นไข้เป็นเรื่องร้ายแรง เมื่อมีอาการเป็นไข้โดยไม่ลดบางคนจะพาเด็กไปหาหมอหลายที่ ทำให้สิ้นเปลืองแต่ความจริงแล้ว การเป็นไข้ เป็นปฏิกิริยาอย่างหนึ่งในร่างกายของคนเรา หากเรารักษาผิดวิธีจะทำให้เกิดอันตรายขึ้นได้ ความสับสนประการแรก :การเป็นไข้เป็นสิ่งไม่ดี เป็นไข้นานมากอาจทำลายเซลสมองคำเตือนจากเรา :ผลวิจัยหลายประการระบุชัดว่าการมีไข้อย่างเหมาะสมจะเป็นการสร้างภูมิคุ้มกันในร่างกาย คำเล่าลือที่ว่าอาการไข้จะทำลายเซลสมองของเด็ก ซึ่งล้วนมาจากเหตุที่เด็กป่วยเป็นโรคสมองอักเสบและเยื่อหุ้มสมองอักเสบ อาการเป็นไข้เป็นเพียงส่วนหนึ่งของอาการของโรคเหล่านี้เท่านั้นแต่ที่ส่งผลกระทบต่อสมองจริง ๆ ก็คือเชื้อโรคที่ติดเข้าสู่สมองไม่ใช่อาการเป็นไข้ ความสับสนประการที่ 2 :เมื่อมีอาการเป็นไข้ ให้นอนหนุนด้วยหมอนน้ำแข็งจะสามารถลดอาการไข้ได้คำเตือนจากเรา :การนอนหนุนหมอนน้ำแข็งก็เหมือนกับเราเอากระติกน้ำร้อนอุณหภูมิ100 องศาตั้งไว้บนน้ำแข็งแล้วเสียบปลั๊กเพิ่มอุณหภูมิไปด้วยผู้ป่วยจะหนาวและสูญเสียพลังงานไปโดยใช่เหตุอนามัยศึกษา80


ความสับสนประการที่ 3 :เมื่อมีอาการไข้สูง ต้องหยอดน้ำเกลือ ไข้จึงจะลดคำเตือนจากเรา :การเป็นไข้ขึ้น ๆ ลง ๆ จะทำให้ผู้ป่วยต้องใช้เหงื่อเพื่อระบายความร้อนในร่างกาย ดังนั้นร่างกายจึงมักจะขาดน้ำได้ง่าย การหยอดน้ำเกลือเพียงแต่ช่วยเพิ่มน้ำในร่างกายเท่านั้นในกรณีอาการเป็นไข้เกิดจากการอักเสบ การหยอดน้ำเกลือจะไม่ได้ผล ความสับสนประการที่ 4 :เมื่อทานยาลดไข้แล้ว แต่ยังมีอาการไข้อีก แสดงว่ายาที่หมอให้มาไม่ได้ผลคำเตือนจากเรา :ความจริงยาลดไข้ทุกชนิดจะมีผลในการลดไข้ได้ในเวลาไม่กี่ชั่วโมง เมื่อไข้ลดแล้วแต่กลับมีไข้อีก เป็นเรื่องปกติธรรมดาจำเป็นต้องปรึกษาแพทย์เพื่อหาสาเหตุที่แท้จริงของโรคไม่ควรไปโทษว่ายาลดไข้ไม่ได้ผล หรือเปลี่ยนหมอเปลี่ยนโรงพยาบาล81


การเตรียมตัวและการตรวจสุขภาพก่อนเข้าเรียนชั ้นประถมหากผู้ปกครองสามารถฝึกเด็กให้มีความสามารถดังต่อไป ก่อนเข้าเรียนชั้นประถมได้ก็จะทำให้เด็กสามารถปรับตัวได้ดีมาก ความสามารถในการดูแลตนเอง1 ใช้อุปกรณ์ทานอาหารได้อย่างคล่องแคล่ว2 รู้จักเก็บถ้วยชามหลังอาหาร3 รู้จักมารยาทในการรับประทานอาหาร เช่นไม่พูดไปทานไป หรือทิ้งเศษอาหาร4 รู้จักแต่งตัวให้เรียบร้อยและเช็ดปากบ้วนปาก ล้างมือหลังอาหาร5 ใส่เสื้อ สวมถุงเท้า รองเท้าได้เองและรู้จักจัดเสื้อผ้า เช่น วาง พับ วางซ้อนและแขวนได้6 ใช้ส้วมแบบนั่งยอง ๆ และนั่งโถชักโครกได้7 มีความเคยชินที่ดีในการใช้ห้องน้ำและอนามัยส่วนตัวเช่น การเคาะประตู การเช็ด การชะล้างและการล้างมือ สามารถแสดงความรู้สึกของตนเองได้1 ใช้ศัพท์และสำเนียงที่ชัดเจนแสดงถึงความต้องการของตนเองได้2 รู้จักใช้ท่าทาง มือหรือส่วนอื่น ๆ ของร่างกายเสริมความรู้สึกของตนเองอนามัยศึกษา82


ฮอทไลน์ 113 ช่วยคุณได้หากคุณเกรงว่า คุณอาจจะไม่สามารถควบคุมอารมณ์ได้ จนทำร้ายลูกของคุณรีบขอความช่วยเหลือทันที ... เมื่อคุณมีอารมณ์โมโหอย่างรุนแรง ควรรีบเดินหนี อย่าเข้าใกล้ลูก โทรศัพท์บอกเพื่อนหรือญาติว่า คุณกำลังโมโหมาก โทรฮอทไลน์ 113 ศูนย์คุ้มครองสตรีและเด็กหรือศูนย์ให้การศึกษาครอบครัว ขอคำแนะนำที่ถูกต้องในการดูแลเด็กหากคุณพบเด็กข้างบ้านถูกด่าหรือทุบตี หรือถูกปล่อยทิ้งไว้โดยลำพังในบ้านกรุณาโทรศัพท์แจ้งขอความช่วยเหลือได้ที่ฮอทไลน์ 113 หรือแจ้งเหตุด่วน 110บางทีการยื่นมือให้ความช่วยเหลือของคุณเล็ก ๆ น้อย ๆเช่นนี้อาจจะสามารถป้องกันมิให้เกิดโศกนาฎกรรมขึ้นนอกจากนี้ ในช่วงที่ผ่านมา มีเด็ก ๆ ประสบอุบัติเหตุถึงแก่ชีวิตบ่อยครั้ง สาเหตุมาจาก ตกตึกถูกทิ้งไว้ในรถจนเสียชีวิต ไฟไหม้ และอุบัติภัย กฎหมายว่าด้วยสวัสดิการเด็กและเยาวชนระบุอย่างชัดเจนว่า ห้ามทิ้งเด็กไว้ในรถ ในบ้านโดยลำพังหรือห้ามมิให้ผู้มีอาการไม่เหมาะสมช่วยดูแลเด็ก(เช่นเด็กเหมือนกัน ผู้ป่วยด้านประสาท ขี้เมา หรือผู้ติดยาเสพติด .... เป็นต้น)ความปลอดภัยของเด็กเป็นหน้าที่ของคุณพ่อ-คุณแม่ จึงขอให้ร่วมกันปกป้องคุ้มครองเด็ก ๆของเราด้วยอนามัยศึกษา84


อาการที่ห้ามการฉีดวัคซีนเรามักจะพบว่าคุณพ่อ-คุณแม่พาลูก ๆไปรับการฉีดวัคซีนล่าช้ากว่ากำหนดเนื่องจากมีอาการป่วยความจริงแล้ว นอกจากเป็นไข้สูงและโรคติดเชื้อฉับพลันแล้ว และปฏิกิริยาที่อาจเกิดจากวัคซีนที่อาจพิจารณาไม่ฉีดวัคซีนในช่วงนั้นแล้ว หากเป็นอาการระยะฟื้นตัวของอาการหวัดมีน้ำมูกไหลเล็กน้อย ก็สามารถฉีดวัคซีนได้ หากคุณพ่อ-คุณแม่ไม่แน่ใจก็อาจให้คุณหมอวินิจฉัยความเหมาะสม ส่วนเด็กที่มีอาการค่อนข้างรุนแรงเนื่องจากการฉีดวัคซีนครั้งก่อนหรือผู้ป่วยเป็นโรควัณโรคและยังรักษาไม่หายขาด ห้ามฉีดวัคซีนนอกจากนี้ วัคซีนประเภทมีเซลล์(proactive toxin-exterminating vaccines)(ทั้งนี้ รวมถึง วัคซีนป้องกันโปลิโอแบบรับประทาน วัคซีนป้องกันหัด วัคซีนรวมป้องกันหัดคางทูมและหัดเยอรมัน อีสุกอีใส) มีข้อห้ามดังนี้1 ภูมิคุ้มกันไม่สมบูรณ์หรือกำลังรับการรักษา2 ป่วยหนัก หรือเป็นโรคขาดอาหารจนทำให้ภูมิคุ้มกันต่ำ3 สตรีตั้งครรภ์4 ผู้รับการฉีดวัคซีนที่ทำจากเซรุ่มโรคไข้ทรพิษ วัคซีนรวมไข้ทรพิษ ไทรอยด์อักเสบและหัดเยอรมัน วัคซีนอีสุกอีใส ต้องระมัดระวังดังนี้ การฉีดภูมิคุ้มกัน หรือวัคซีนภูมิคุ้มกันโรคตับอักเสบไวรัส B โดยการฉีดเข้ากล้ามเนื้อต้องเว้นระยะห่างอย่างน้อย 3 เดือน เว้นระยะจากการถ่ายโลหิต 6 เดือน การให้เลือดทางเส้นโลหิตดำ หรือภูมิคุ้มกันที่มีปริมาณมาก ควรเว้นระยะ 11 เดือน ตำแหน่งและช่องทางในการฉีดวัคซีนการฉีดวัคซีนในทารกให้หลีกเลี่ยงการฉีดบริเวณกล้ามเนื้อที่มีเส้นประสาทและเส้นเลือดมาก โดยทั่วไปจะฉีดบริเวณต้นขาด้านนอก หรือบริเวณกล้ามเนื้อรูปสามเหลี่ยมต้นแขน ทารกอายุต่ำกว่า 2 ขวบควรที่จะฉีดบริเวณต้นขาด้านนอก ส่วนวัคซีนป้องกันโรคหัด อีสุกอีใส วัคซีนผสมป้องกันโรคสมองอักเสบญี่ปุ่น คางทูม และหัดเยอรมันให้ฉีดใต้ผิวหนัง ส่วนวัคซีนประเภทอื่น ๆ ที่ไม่มีเซล์ลให้ฉีดบริเวณกล้ามเนื้อ อาการหลังการฉีดวัคซีนหลังฉีดวัคซีนอาจมีอาการบวมแดง ปวด บริเวณที่ฉีดประมาณ 2-3 วันอาจใช้ประคบเย็นลดอาการปวด หากมีอาการเป็นไข้ก็อาจใช้ยาลดไข้ที่หมอให้มาแต่หากไข้สูงมากและกินยาแล้วไม่ลดลงหรือมีอาการอื่น ๆ ด้วย ก็อาจจะป่วยเป็นโรคอื่นจึงควรรีบพบแพทย์เพื่อตรวจหาสาเหตุของโรคที่แท้จริงอาการและวิธีปฏิบัติต่ออาการที่เกิดจากการฉีดวัคซีนดังตารางหากมีข้อสงสัยเกี่ยวกับการฉีดวัคซีนสอบถามได้ที่ฝ่ายที่ปรึกษาฉีดวัคซีน กองอนามัยท้องถิ่นต่าง(รายละเอียดปรากฏในหน้า 93)87


ประเภทวัคซีนที่ฉีด อาการและวิธีปฏิบัติวัคซีนป้องกันวัณโรค(B.C.G)เ มื่อฉีดวัคซีนแล้วส่วนใหญ่บริเวณที่ฉีดจะบวมแดงไม่จำเป็นต้องไปทำอะไรมัน หามีอาการบวมอักเสบเป็นหนองหรือเป็นแผล ไม่ต้องบีบหนองหรือทำแผล เพียงแต่รักษาความสะอาดบริเวณแผลเท่านั้น หลังจากนั้น 2-3เดือน แผลนั้นก็จะหายไปเองหากบริเวณที่ฉีดอักเสบและมีหนองไหลออกมาในปริมาณมาก และต่อมน้ำเหลืองใต้รักแร้ข้างเดียวกันมีอาการบวมให้ปรึกษาแพทย์วัคซีนตับอักเสบไวรัส B โดยทั่วไปจะไม่มีอาการอะไรเป็นพิเศษวัคซีนรวมโรคคอตีบบาดทะยักและไอร้อยวัน (DPT)วัคซีนโปลิโอแบบรับประทานมีอาการบวมแดงเฉพาะส่วน ปวด และแข็งเป็นก้อนซึ่งอาจมีอาการเป็นไข้ต่ำ ๆ หรือปานกลางในช่วง 2 วันร้องไห้งอแง แต่โดยทั่วไปจะหายเป็นปกติใน 2-3 วันหากบริเวณฉีดวัคซ๊นมีอาการบวมแดง และแข็งไม่ดีขึ้นเป็นหนองหรือมีอาการเป็นไข้สูงต่อเนื่องก็จำเป็นต้องไปพบแพทย์โดยทั่วไปไม่มีอาการผิดปกติใด ๆก่อนและหลังการรับการฉีดวัคซีนครึ่งชั่วโมงไม่ควรดื่มน้ำหรือรับประทานอาหาร เพื่อป้องกันมิให้น้ำหรืออาหารไปทำลายประสิทธิภาพของฤทธิ์วัคซีนวัคซีนอีสุกอีใสวัคซีนรวมโรคหัดไทรอยด์อักเสบหัดเยอรมัน (MMR)ปวดเฉพาะที่ หลังฉีดวัคซีนแล้วจะมีตุ่มน้ำคล้ายอีสุกอีใสทั้งตัวหรือบางส่วน 5-26 วันหลังฉีดวัคซีน 5-12 วัน อาจมีผื่น ไอ จมูกอักเสบหรือเป็นไข้วัคซีนสมองอักเสบญี่ปุ่น โดยทั่วไปไม่มีอาการใด ๆบันทึกและระยะเวลาในการฉีดวัคซีนน 88


การเว้นระยะห่างของการฉีดวัคซีน วัคซีนประเภทโพรแอคทีพ ท๊อกซิน เอ็กเทอร์มิเนติ้ง สามารถฉีดพร้อมกันได้มิเช่นนั้นต้องเว้นระยะ 1 เดือนขึ้นไป วัคซีนที่ไม่มีชีวิตอาจฉีดพร้อมกันหรือเว้นระยะห่างเท่าใดก็ได้ยกเว้นวัคซีนรวมสมองอักเสบญี่ปุ่นไอร้อยวันและบาดทะยัก ให้ฉีดเว้นระยะ 1 เดือนขึ้นไป วัคซีนประเภทโพรแอคทีพ ท๊อกซิน เอ็กเทอร์มิเนติ้งและนอน-โพรแอคทีพ ท๊อกซินเอ็กเทอร์มิเนติ้ง อาจฉีดพร้อมกันหรือทิ้งระยะห่างพอสมควรยกเว้นการฉีวัคซีนไข้เหลืองกับวัคซีนอหิวาต์ให้ฉีดห่างกันอย่างน้อย 3 สัปดาห์ขึ้นไป มารู้จักการฉีดวัคซีนป้องกันโรค สุขภาพทารกหมดห่วง ---หากลืมหรือฉีดวัคซีนล่าช้า ควรทำอย่างไรกฎเกณฑ์และระยะเวลาในการฉีดวัคซีนแต่ละชนิดโดยทั ่วไปจะผ่านการวิจัยมาแล้วอย่างดีว่าจะมีผลการสร้างภูมิคุ ้มกันที ่ดีที ่สุด หากทารกมิได้มีเหตุสุดวิสัยทีห้ามฉีดวัคซีนหรือเลื ่อนการฉีดวัคซีนออกไปคุณพ่อ-คุณแม่ครที ่จะพาลูกน้อยมารับการฉีดวัคซีนตามกำหนดเวลาหากพลาดการฉีดวัคซีนไปครั ้งใดครั ้งหนึ ่งไม่จำเป็นต้องเริ ่มต้นฉีดใหม่แต่ควรที ่จะรีบพาลูกน้อยไปรับการฉีดวัคซีนเพิ ่มเติมให้ครบ ลูกน้อยต้องเดินทางไปมา จะฉีดวัคซีนอย่างไรในกรณีที่ต้องพาลูกน้อยไปพำนักที่อื่นหรือไปมาระหว่างสองประเทศเป็นประจำต้องฉีดวัคซีนตามประเภทและกำหนดเวลาเมื่อเดินทางกลับไต้หวันและอาจนำเอาบันทึกการฉีดวัคซีนไปยังสถานีอนามัยในเขตต่าง ๆไปรับการฉีดวัคซีนที่ยังไม่ได้ฉีดให้ครบตามกำหนด การเก็บรักษาและการขอบันทึกการฉีดวัคซีนฉบับใหม่การฉีดวัคซีนของลูกน้อยทุกอย่างตั้งแต่เกิดจะต้องมีการจดบันทึกวันเวลาและประเภทวัคซีนที่ฉีดไว้ใน “บันทึกการฉีดวัคซีน” ในคู่มือนี้และเก็บรักษาเอาไว้ตลอดไป เพื่อเป็นข้อมูลแก่แพทย์และพยาบาลในอนาคตหากบันทึกการฉีดวัคซีนสูญหาย ให้ยื่นขอฉบับใหม่จากสถานพยาบาลที่รับการฉีดหากฉีดวัคซีนในสถานพยาบาลคนละแห่ง ให้ยื่นขอกองการอนามัยในแต่ละท้องถิ่น89


วัคซีนที่ต้องจ่ายเองเนื่องจากมีการผลิตวัคซีนใหม่ ๆ เป็นจำนวนมาก คุณพ่อ- คุณแม่อาจเลือกฉีดวัคซีนให้ลูกน้อยโดยชำระค่าใช้จ่ายเอง โดยขอให้แพทย์และพยาบาลบันทึกรายละเอียดการฉีดวัคซีนทั้งหมดวัคซีนแบบรวม Diphtheria โรคไอร้อยวัน(โดยทั่วไปเรียกว่า วัคซีนทรีอินวัน รุ่นที่ 2 ชนิดใหม่) วัคซีนรวม“ทรีอินวัน”แบบเก่า บางส่วนจะมีส่วนผสมที่ทำให้เป็นไข้ได้ง่าย ส่วนวัคซีน “ทรีอินวัน” รุ่นใหม่ จะสร้างภูมิคุ้มกันได้อย่างเหมาะสมทำให้มีอาการเป็นไข้ไม่มากนักวัคซีนฮีโมไพลัส ชนิด บีเชื้อฮีโมไพลัส ชนิด บี มักเป็นสาเหตุทำให้เด็กอายุต่ำกว่า 5 ปีติดเชื้อได้ง่าย อาจทำให้มีอาการโพรงหูส่วนกลางปอด เยื่อหุ้มสมอง เยื่อหุ้มหัวใจ กระเดือก และข้อเกิดการอักเสบ และโลหิตเป็นพิษ การฉีดวัคซีนนี้จะเว้นระยะเมื่อทารกอายุ 2, 4 และ 6 เดือน และฉีดอีกครั้งเมื่ออายุ 12-15 เดือน ปริมาณใช้ในเด็กแต่ละวัยควรปรึกษาสถานพยาบาลหรือสถานีอนามัยวัคซีนสองชนิดนี้ปกติแพทย์แนะนำให้ใช้ในกลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคปอดหัวใจและโรคขาดภูมิคุ้มกัน วัคซีนไข้หวัดใหญ่ใช้ได้ผลเฉพาะที่เกิดจากเชื้อไวรัสเท่านั้นไม่สามารถป้องกันไข้หวัดได้ทุกชนิด ทารกต่ำกว่า 6 เดือน ยังไม่มีภูมิคุ้มกันไม่เหมาะที่จะฉีดปัจจุบันวัคซีนปอดอักเสบแบบ 23-value ที่จำหน่ายทั่วไป ไม่เหมาะกับทารกต่ำกว่า 2 ปี การฉีดวัคซีนให้ทารกต้องใช้วัคซีนเสตปโตรคัส นิวโมเนีย (เช่นวัคซีนผสม7-value integrated vaccine ) เด็กต่ำกว่า 5 ปีที่รับการฉีดครั้งแรก ควรใช้วัคซีนเสตปโตรคัส นิวโมเนียวัคซีนไวรัสโรตา(Rotavirus)ไวรัสโรตาเป็นสาเหตุสำคัญอย่างหนึ่งที่ทำให้เด็กต่ำกว่า 5 ปี มีอาการกระเพาะลำไส้อักเสบ ทำให้อาเจียนถ่ายเป็นน้ำ เป็นไข้ ปวดท้อง เบื่ออาหาร หรือขาดน้ำ ปัจจุบันวัคซีนนี้มี 2 ชนิด เป็นแบบรับประทานแบ่งเป็น 2และ 3 โดส ช่วงเวลาในการรับวัคซีนต่างกัน ผู้เชี่ยวชาญแนะว่าการรับประทานวัคซีนโรคโปลิโอกับวัคซีนไวรัสโรตา ควรเว้นระยะห่างกันอย่างน้อย 2 สัปดาห์ เพื่อป้องกันวัคซีนรบกวนกันเองวัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่และปอดอักเสบวัคซีนไข้หวัดใหญ่ป้องกันได้เฉพาะไข้หวัดที่เกิดจากไวรัส ไม่สามารถป้องกันไข้หวัดได้ทุกชนิด ไม่มีผลในการสร้างภูมิกันให้แก่เด็กต่ำกว่า 6 เดือน และไม่เหมาะกับเด็กต่ำกว่า 2 ขวบ เด็กเล็กควรใช้วัคซีนป้องกันโรคปอดแบบรวมวัคซีนแบบผสม (วัคซีนแบบรวมมิตร)เนื่องจากวัคซีนมีจำนวนเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ เพื่อลดจำนวนครั้งในการให้วัคซีน มีการนำวัคซีนหลายชนิดรวมกันเป็นวัคซีนเดียว โดยยังคงมีประสิทธิภาพและปลอดภัยสูงสุด ในไต้หวันรัฐบาลอนุญาตให้ใช้วัคซีน 5 รวมเป็น1 ป้องกันโรคไอกรน คางทูมและบาดทะยัก โปลิโอแบบฉีด และ ฮีโมไพลัส บี และเพิ่มโรคตับอักเสบ บีเป็นวัคซีน 6 รวมเป็น 1 โดยต้องจ่ายเอง ในอนาคตอาจจะมีวัคซีนรวมอื่น ๆ ออกสู่ท้องตลาดอีกบันทึกและระยะเวลาในการฉีดวัคซีน น90


รายชื่อศูนย์ประเมินพัฒนาการเด็กศูนย์ประเมิน (ระบุชื่อโรงพยาบาล)โรงพยาบาลหย่าตง89667000#4203โทรศัพท์โรงพยาบาลมูลนิธิฉือจี้ ไทเป6628-9779#3518โรงพยาบาลเทศบาลนครไทเป27680802-25โรงพยาบาลทหารผ่านศึก(หยงจ่ง)28712121-2940โรงพยาบาลฉางเกิง จีหลง02-24313131โรงพยาบาลหลัวเซิ่งตงมู่03-9544106โรงพยาบาลป๋ออ้าย หลัวตง03-9543131โรงพยาบาลฉางเกิง หลินโข่ว03-3281200#8147โรงพยาบาลตงเหยียน03-5527000#1381โรงพยาบาลซินจู๋03-5326151โรงพยาบาลเหวยกงจี้เนี่ยน037-676811โรงพยาบาลเด็ก04-26581919โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยแพทย์จีน04-2205212191


ศูนย์ประเมิน (ระบุชื่อโรงพยาบาล)โรงพยาบาลคริสต์ จางฮั้ว04-7238595โรงพยบาลผูลี่049-912151โรงพยาบาลเซ็นต์โจเซฟ05-6337333โรงพยาบาลฉางเกิง เจียอี้05-3621000โรงพยาบาลคิรสต์เจียอี05-2765041โรงพยาบาลฉีเม่ย06-2521176โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยเฉิงกง2353535#4619โรงพยาบาลฉางเกิง เกาสงองค์กรนิติบุคคล07-7317123โรงพยาบาลอี้ต้า07-6150011โรงพยาบาลสถาบันแพทย์ศาสตร์เกาสง07-3154663โรงพยาบาลอันไท่08-8329966โทรศัพท์โรงพยาบาลฉือจี้03-8561825#2311, 2312โรงพยาบาลแมคเคย์ ไทตง089-351642โรงพยาบาลฮุ่ยหมินแคธอริค06-9272318#320โรงพยาบาลจินเหมิน ทบวงสาธารณสุขไต้หวัน082-332546โรงพยาบาลเหลียนเจียง0836-23991-8รายชื่อศูนย์ประเมินพัฒนาการเด็กก 92


ที ่อยู ่และหมายเลขโทรศัพท์กองอนามัยท้องถิ ่นต่าง ๆกองอนามัยเขตต่าง ๆกองอนามัยนครไทเปกองอนามัยนครเกาสงกองอนามัยเมืองจีหลงกองอนามัยเมืองซินจู๋กองอนามัยเมืองไทจงกองอนามัยเมืองเจียอี้กองอนามัยเมืองไถหนานกองอนามัยจังหวัดไทเปกองอนามัยจังหวัดอี ๋หลานกองอนามัยจังหวัดเถาหยวนกองอนามัยจังหวัดซินจู๋กองอนามัยจังหวัดเหมียวลี ่ที่อยู่และเวปไซต์1101เลขที่ 1 ถ.ซื่อฟู่ เขตซิ่นอี้ นครไทเป 110http://www.health.gov.tw8012614ชั ้น 4 เลขที ่ 261 ถ.จงเจิ ้งซื ่อลู ่ เขตเฉียนจิน นครเกาสง 801http://khd.kcg.gov.tw/c_index.php201266เลขที่ 266 ถ.ซิ่นเอ้อลู่ เมืองจีหลง 201http://www..klchb.gov.tw300128เลขที่ 128 ถ.จงเจิ้ง เมืองซินจู๋ 300http://www.hcchb.gov.tw408811เลขที ่ 811 ถ.เซี ่ยงซินหนานลู ่ เขตหนานถุน เมืองไทจง 408http://www.tcchb.doh.gov.tw6001เลขที่ 1 ถ.เต๋อหมิง เขตตะวันตก เมืองเจียอี้ 600http://www.cichb.gov.tw701418เลขที่ 418 ถ.หลินเซินใต้ ตอนที่ 1 เมืองไทหนาน 701http://www.tnchb.gov.tw220192-1เลขที่ 192-1 ถ.อิงซื่อ เมืองป่านเฉียว จังหวัดไทเป 220http://www.tpshb.tpc.gov.tw260141เลขที่ 141 ถ.เซิ่งโฮ่ว เมืองอี๋หลาน จังหวัดอี๋หลาน 260http://www.ilshb.gov.tw33055เลขที่55 ถ.เซี่ยนฝู่ เมืองเถาหยวน จ.เถาหยวน 330http://www.tychb.gov.tw3021เลขที่ 1 ถ.กวงหมิงชีเจีย เมืองจู๋เป่ย จังหวัดซินจู๋ 302http://www.hcshb.gov.tw/healthweb/3606เลขที่ 6 ถ.กั๋วฝู ต.เซิ่งลี่ เมืองเหมียวลี่ 360http://www.mlshb.gov.tw2-2375-434107-251-3412ฮอทไลน์บริการฉีดวัคซีน02-2427-615403-526-409403-522-6133#210-21804-2380-115105-234-115006-267-9751310406-267-9751311002-2258-692302-2258-892303-935-701103-932-2634#21103-336-327003-336-251603-551-1287037-330-00293


กองอนามัยเขตต่าง ๆกองอนามัยจังหวัดไทจงกองอนามัยจังหวัดจางฮั้วกองอนามัยจังหวัดหนานโถวกองอนามัยจังหวัดหยินหลินกองอนามัยจังหวัดเจียอี้กองอนามัยจังหวัดไทหนานกองอนามัยจังหวัดเกาสงกองอนามัยจังหวัดผิงตงกองอนามัยจังหวัดเผิงหูกองอนามัย จังหวัดฮัวเหลียนกองอนามัยจังหวัดไทตงกองอนามัยจังหวัดจินเหมินกองอนามัยจังหวัดเหลียนเจียงที่อยู่และเวปไซต์420136เลขที่ 136 ถ.จงซิง เมืองฟงเหยียน จังหวัดไทจง 420http://www.hbtc.gov.tw50049162เลขที่ 162 ถ.จงซัน ตอนที่ 2 ต.เฉิงกง เมืองจางฮั้ว 50049http://www.chshb.gov.tw5406เลขที่ 6 ถ.ฟู่ซิง เมืองหนานโถว จังหวัดหนานโถว 540http://www.ntshb.gov.tw64034เลขที่ 34 ถ.ฟู่เหวิน เมืองโต่วลิ่ว จังหวัดหยินหลิน 640http://www.ylshb.gov.tw6123เลขที่ 3 ถ.เสียงเหอเอ้อลู่ ตะวันออก เมืองไท่เป่าจังหวัดเจียอี้ 612http://www.cyshb.gov.tw730163เลขที่ 163 ถ.ตงซิง เมืองซินอิ๋ง จังหวัดไทหนาน 730http://www.tnshb.gov.tw833834-1เลขที่ 834-1 ถ.เฉิงชิง เมืองอูซง จังหวัดเกาสง 833http://www.khshb.gov.tw900272เลขที่ 272 ถ.จื้อโหยว เมืองผิงตง 900http://www.ptshb.gov.tw8801152ชั้น 2 เลขที่ 115 ถ.จงเจิ้ง เมืองหม่ากง จังหวัดเผิงหู 880http://www.phshb.gov.tw970200เลขที่ 200 ถ.ซินซิง เมืองฮัวเหลียน จ.ฮัวเหลียน 970http://www.hlshb.gov.tw950336เลขที่ 336 ถ.ป๋ออ้าย เมืองไถตง จ.ไถตง 950http://www.ttshb.gov.tw8911-12เลขที่ 1-12 ถ.ฟู่ซิง ต.ซินซื่อ อ.จินหู จ.จินเหมิน 891http://www.kmhb.gov.tw209216เลขที่ 216 ม.ฟู่ซิง ต.หนานก่าน จ.เหลียนเจียง 209http://www.matsuhb.gov.twฮอทไลน์บริการฉีดวัคซีน04-2527-078004-2526-5394317004-711-5141#105049-222-0904049-223-060705-534-581105-362-060705-362-0600#20506-633-514006-635-7716#36307-733-486608-738-020808-736-298606-927-050806-927-2162#21103-822-6975089-331-171082-330-8970836-22095221:http://www.cdc.gov.tw/ :02-2395-9825เวปไซต์กรมป้องกันโรค กระทรวงสาธารณสุข http://www.cdc.gov.tw โทรศัพท์02-2395-9825ที ่อยู ่และหมายเลขโทรศัพท์กองอนามัยท้องถิ ่นต่าง ๆๆ 94


Vomit อาเจียน Twitch กระตุก Diarrhea อาการท้องร่วง Pneumonia โรคปอดอักเสบ,โรคปอดบวม Breast cancer มะเร็งเต้านม Jaundice โรคเหลือง (ดีซ่าน) Sudden death ความตายกะทันหัน Posterior cranium กระโหลกศรีษะด้านหลัง Hearing loss การได้ยินเสียไป bacterial meningitis เยื้อหุ้มสมองอักเสบจากเชื้อแบคทีเรีย Craniofacial หัวกระโหลก Microtiaharelip หูเล็ก ปากแหว่ง otitis media หูชั้นกลางอักเสบ Allergy แพ้ Rush ผื่น Scald ลวก Non-slip socks ถุงเท้าสั้นไม่ลื่น Non-slip slippers รองเท้าแตะไม่ลื่น Asphyxia อาการสลบหรือเป็นลม Intoxication ทำให้มึนเมา heart-related illness โรคเกี่ยวกับหัวใจ Smoke detector เครื่องจับควัน Retardation พัฒนาการเชื่องช้า Cognition การรับรู้95


Early healing รักษาหายยุคแรก Nervous system ระบบประสาท Pediatrics วิชากุมารเวช (หมอรักษาเด็ก) Family medicine แพทย์ประจำบ้านEvaluation of childrendevelopment การประเมินผลทางด้านพัฒนาการของเด็กPediatric neurologydepartment แพทย์รักษาประสาทวิทยาเด็กPediatric psychologydepartment แพทย์รักษาจิตวิทยาเด็กPediatric psychologyแผนกจิตวิทยาเด็กdepartmentParent support line forchildren developmentdelayการสนับสนุนของบิดามารดาต่อเด็กที ่มีการพัฒนาช้า Baby tooth ฟันน้ำนม Permanent tooth ฟันแท้ Cavity ฟันผุ Malocclusion ฟันขบกัน Streptococcus mutant เชื้อสเครปโตคลอคัสที่กลายพันธุ์ Baby tooth ฟันน้ำนม Molar tooth ฟันกราม Dental plaque คราบหินปูน Fluoride toothpaste ยาสีฟัน ฟลูออไรด์Fluoride treatment orเคลือบฟันfluoride applicationInstructions fornerves and musclescoordinationการสั่งสอน เส้นประสาท กล้ามเนื้อศัพท์เฉพาะ96


Gums เหงือก Myopia สายตาสั้น Amblyopia โรคตาขี้เกียจ Strabismus ตาเอียง Ametropia สายตาผิดปกติ Hyperopia สายตายาว Astigmatism สายตาเอียงStrabismusamblyopia สายตาขี้เกียจ,สายตาเอียง Visual system ระบอบสายตา Cross-eye ตาเหล่Monocularamblyopia ตาผิดปกติ ข้างเดียวOphthalmologydepartment แผนก จักษุHighlynearsightedness สายตาสั้นมาก Retinal detachment เรตินา หลุดMaculadegeneration การเสื่อมของ Macula Unconsciousness ไม่รู้สึกตัว ความหมดสติ Junk food อาหารขยะ Light sleep หลังตื่น Deep sleep นอนหลับสนิทSecond handsmoke สูบบุหรี่มือ2 Bronchitis โรคหลอดลมอักเสบ97


Middle ear effusion น้ำในหูชั้นกลาง Children with asthma เด็กโรคหืด Cancer โรคมะเร็ง Full bladder กระเพาะปัสสาวะ เต็ม Bowel movement การเคลื่อนที่ของลำไส้ Defecation ถ่าย Running nose น้ำมูกไหล Cough อาการไอ Fever ไข้ (ตัวร้อน) Sepsis โลหิตเป็นพิษ Nasosinusitis ไซนัสอักเสบ Complication โรคแทรกซ้อนCardiopulmonaryfitnessความเข็งแรงของหัวใจและปอด Active feature แสดงอาการ ( อาการหนัก ) Conscious disorder ความรู้สึกตัวผิดปกติ Encephalomeningitis เยื้อหุ้มสมองและสมองอักเสบ Heart failure การทำงานหัวใจล้มเหลวGastrointestinalobstruction ลำไส้อุดตัน Dehydration การเสียน้ำของร่างกาย Unconsciousness จิตไร้สำนึก Blood spot จุดเลือด Immune system ระบบภูมิคุ้มกันโรค Cranial nervous tissue เนื้อเยื้อเส้นประสาทศัพท์เฉพาะ98


Encephalitis เอนเซฟฟะไล'ทิส (สมองอักเสบ) Infectious disease โรคติดเชื้อโรค (โรคติดต่อ)Energyconsumption การใช้กำลังงานMetabolismdisorder ความผิดปกติทางขบวนการเผาผลาญChroniccardiopulmonarydiseaseโรคปอดหัวใจเรื้อรัง Chronic anemia โรคโลหิตจาง เรื้อรังMetabolismcollapse ขบวนการเผาผลาญไม่ทำงานCardiopulmonaryfailure ระบบหัวใจและทางเดินหายใจล้มเหลว Intravenous drip หยดเข้าทางเส้นเลือดดำInflammatorydisease โรคเกี่ยวกับการอักเสบ Antipyretic ยาลดไข้ Respiratory tract ช่องทางเดินหายใจGastrointestinalvirus infection ติดเชื้อทางเดินอาหารจากไวรัส Virus เชื้อไวรัส Heart disease โรคหัวใจ Special education การศึกษาพิเศษ11399 Women andchildren protectionhotline,113Home educationฮ็อตไลน์ สายด่วนปกป้องเพื่อเด็กและสตรีโทร 113center เซนเทอะ การศึกษาที่บ้านChildren and youthwelfare law กฎหมายคุ้มครองเด็กและเยาวชน


ศัพท์เฉพาะ 100


(CIP) 5035http://www.bhp.doh.gov.tw/042255-0177976http://www.bhp.doh.gov.tw/GPNISBNNT$20 400426 042226-03301009701572978-986-01-4740-702-29978616© All rights reserved. Any forms of using or quotation, part or all should be authorized by copyright holder Bureau ofHealth Promotion, Department of Health, R.O.C.. Please contact with Bureau of Health Promotion, Department ofHealth, R.O.C.. (TEL : 886-2-29978616)

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!