Vipassana Thai-Eng
You also want an ePaper? Increase the reach of your titles
YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.
วิปัสสนากรรมฐาน<br />
โดย พระพรหมบัณฑิต (ประยูร ธมฺมจิตฺโต)
ธรรมบรรยายเรื่องวิปัสสนากรรมฐาน<br />
โดย พระพรหมบัณฑิต (ประยูร ธมฺมจิตฺโต)<br />
อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย<br />
ณ งานสัมมนาวิปัสสนากรรมฐานนานาชาติ<br />
วัดไทยกรุงวอชิงตัน ดี.ซี. สหรัฐอเมริกา<br />
วันเสาร์ที่ ๘ มิถุนายน ๒๕๕๖<br />
บันทึกโดย สก็อต และ อนงค์ โรเบอร์สัน<br />
เรียบเรียงโดย ดู เวย์น อิงเกิลฮาร์ท<br />
แปลโดย คุณณฐิณี เจนสวัสดิชัย<br />
คุณสุวิมล รามโกมุท<br />
จัดพิมพ์เป็นธรรมบรรณาการ<br />
ในงานครบรอบ ๔๐ ปี วัดไทยกรุงวอชิงตัน, ดี.ซี.<br />
๙๐ ปี พระราชมงคลรังษี (หลวงตาชี)<br />
๘ มิถุนายน ๒๕๕๘
ธรรมบรรยายเรื่องวิปัสสนากรรมฐาน<br />
โดยพระพรหมบัณฑิต (ประยูร ธมฺมจิตฺโต)<br />
อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย<br />
พิมพ์ครั้งแรก : มีนาคม ๒๕๕๘<br />
จำานวน ๑,๕๐๐ เล่ม<br />
คุณสุวิมล รามโกมุท จัดพิมพ์เป็นธรรมบรรณาการ<br />
ในงานครบรอบ ๔๐ ปี วัดไทยกรุงวอชิงตัน, ดี.ซี.<br />
๙๐ ปี พระราชมงคลรังษี (หลวงตาชี)<br />
๘ มิถุนายน ๒๕๕๘<br />
พิมพ์ที่ : นิติธรรมการพิมพ์<br />
๗๖/๒๕๑-๓ หมู่ที่ ๑๕ ต.บางม่วง อ.บางใหญ่ จ.นนทบุรี ๑๑๑๔๐<br />
โทร. ๐-๒๔๐๓-๔๕๖๗-๘, ๐-๒๔๔๙-๒๕๒๕, ๐๘๑-๓๐๙-๕๒๑๕<br />
e-mail : niti2512@hotmail.com, niti2512@yahoo.co.th
คำานำา<br />
สพฺพทานํ ธมฺมทานํ ชินาติ การให้ธรรมเป็นทาน<br />
ชนะการให้ทั้งปวง<br />
เมื ่อได้ฟังปาฐกถาภาคภาษาอังกฤษของท่านพระ<br />
เดชพระคุณพระพรหมบัณฑิต (ประยูร ธมฺมจิตฺโต)<br />
อธิการบดี มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย<br />
เจ้าอาวาสวัดประยุรวงศาวาส ในการประชุมวิปัสสนา<br />
นานาชาติ วันที่ ๘ มิถุนายน ๒๕๕๖ งานธรรม<br />
สมโภชอายุวัฒนมงคล ๘๘ ปีของพระราชมงคลรังษี<br />
(สุรศักดิ์ ชีวานนฺโท) หรือหลวงตาชี เจ้าอาวาสวัดไทย<br />
กรุงวอชิงตัน, ดี.ซี. มีความซาบซึ้งใจ ปรารถนาให้ผู้<br />
ปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานมีความรู้ที่ถูกต้อง<br />
ดังนั้น ดิฉันจึงได้ตั้งเจตจำานงขอเป็นเจ้าภาพ<br />
พิมพ์หนังสือแจกเป็นธรรมทาน โดยได้รับความเมตตา<br />
นุเคราะห์ จากท่านพระครูสิริอรรถวิเทศ เลขาธิการ
4 7 วิปัสสนากรรมฐาน<br />
สมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา ประธานอำานวยการ<br />
วัดไทยกรุงวอชิงตัน, ดี.ซี. รับภาระในการจัดหาผู้ถอด<br />
เทป และแปลจากภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทย ดังที่<br />
ท่านผู้อ่านได้ประจักษ์ชัดด้วยสายตา<br />
หวังว่าหนังสือเล่มนี้จะเป็นประโยชน์ต่อพระ<br />
ธรรมทูตผู้เผยแผ่พระพุทธศาสนาในภาควิปัสสนา<br />
กรรมฐาน ตลอดถึงผู้อ่านทั้งชาวไทยและชาวต่าง<br />
ประเทศทุกท่าน ที่สนใจในการศึกษา ปฏิบัติ จักได้<br />
เป็นคู่มือในการเดินทางสู่อริยมรรค อริยผล และ<br />
สั่งสมเป็นปัจจัยไปสู่พระนิพพาน<br />
ขอน้อมถวายเป็นพุทธบูชา สืบสานรักษา<br />
พระพุทธศาสนาให้ยั่งยืนสถาพรต่อไปนานแสนนานฯ<br />
สุวิมล รามโกมุท
คำาปรารภ<br />
เนื่องในโอกาสมงคลสมัยที่วัดไทยกรุงวอชิงตัน,<br />
ดี.ซี. ได้ก่อตั้งมาตั้งแต่ปีพุทธศักราช ๒๕๑๗ โดยความ<br />
ร่วมแรงร่วมใจและพลังศรัทธาของพุทธศาสนิกชน<br />
ชาวไทยและชาวต่างชาติ ได้เจริญก้าวหน้าและพัฒนา<br />
มาโดยลำาดับ พร้อมทั้งดำาเนินกิจกรรมการเผยแผ่<br />
พระพุทธศาสนาครบ ๔๐ ปี ดังนั้น คณะกรรมการ<br />
คณะศิษยานุศิษย์ ทั้งฝ่ายบรรพชิตและคฤหัสถ์ ได้มี<br />
มติเป็นเอกฉันท์ พิจารณาเห็นสมควรให้มีการจัดงาน<br />
ทำาบุญธรรมสมโภช เพื่อเป็นการเฉลิมฉลองในโอกาส<br />
อันเป็นมหามงคลครั้งนี้ รวมเป็น ๓ งานด้วยกัน คือ<br />
๑. สมโภชวัดไทยกรุงวอชิงตัน, ดี.ซี. ครบ ๔๐ ปี<br />
๒. ฉลองสัญญาบัตรพัดยศ พระวิเทศธรรมรังษี<br />
(สุรศักดิ์ ชีวานนฺโท ป.ธ.๔, พธ.ด.) ประธานสงฆ์
6 7 วิปัสสนากรรมฐาน<br />
วัดไทยกรุงวอชิงตัน,ดี.ซี. เนื่องในวโรกาสวันเฉลิม<br />
พระชนมพรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๕๗ ได้รับพระราชทาน<br />
เลื่อนสมณศักดิ์ เป็นพระราชาคณะชั้นราช ใน<br />
ราชทินนามที่ “พระราชมงคลรังษี”<br />
๓. ทำาบุญธรรมสมโภชอายุวัฒนมงคลครบ ๙๐<br />
ปี พระราชมงคลรังษี<br />
พระเดชพระคุณหลวงพ่อ พระราชมงคลรังษี<br />
(สุรศักดิ์ ชีวานนฺโท) หรือหลวงตาชี เป็นพระธรรม<br />
ทูตไทย ผู้อยู่ปฏิบัติหน้าที่ในประเทศสหรัฐอเมริกา<br />
นานถึง ๔๐ ปีแล้ว ได้ยึดหลักธรรมคำาสอนขององค์<br />
สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเป็นหลักปฏิบัติในชีวิต<br />
ของท่านอย่างหนักแน่นมั่นคง จนเป็นพระเถระรูปหนึ่ง<br />
ที่เป็นหลักให้แก่คณะสงฆ์ และพระธรรมทูตที่ปฏิบัติ<br />
หน้าที่ในต่างประเทศ และพุทธศาสนชิกชนได้อย่าง<br />
น่าเคารพศรัทธามิเสื่อมคลาย
พระพรหมบัณฑิต 7 7<br />
ชีวิตของพระเดชพระคุณหลวงตาชีนั้น ได้ใช้ชีวิต<br />
ด้วยการเป็นผู้ศึกษา ปฏิบัติ และเผยแผ่ธรรมะอย่าง<br />
ต่อเนื่องเป็นชีวิตที่มีคุณค่าน่าศึกษา เอาเป็นแบบอย่าง<br />
เนื่องในโอกาสที่พระเดชพระคุณหลวงพ่อ พระ<br />
ราชมงคลรังษี หรือ หลวงตาชี เจริญอายุวัฒนมงคล<br />
ครบ ๙๐ ปี คณะศิษยานุศิษย์ คณะสงฆ์อุบาสก<br />
อุบาสิกาวัดไทยกรุงวอชิงตัน, ดี.ซี. ได้กำาหนดจัด<br />
งานธรรมสมโภชขึ้นระหว่างวันที่ ๓-๗ มิถุนายน<br />
พ.ศ. ๒๕๕๘ มีการจัดงานทำาบุญ จัดปฏิบัติธรรม<br />
จัดกิจกรรมต่างๆ ดังกล่าวแล้ว และเพื่อเป็น<br />
อนุสรณ์ในการจัดงานครั้งนี้ คณะกรรมการจัดงาน<br />
ได้จัดพิมพ์หนังสืออนุสรณ์หลายเล่ม หนึ่งในจำานวน<br />
นั้น คุณสุวิมล รามโกมุท ได้แจ้งความจำานงค์ที่จะ<br />
เป็นเจ้าภาพจัดพิมพ์หนังสือ “ธรรมบรรยายเรื่อง<br />
วิปัสสนากรรมฐาน” บรรยายโดย พระพรหมบัณฑิต
8 7 วิปัสสนากรรมฐาน<br />
อธิการบดี มหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย<br />
ซึ่งได้ถอดความแปลจากต้นฉบับภาษาอังกฤษ เป็น<br />
ภาษาไทย โดยคุณณฐิณี เจนสวัสดิชัย และสามี<br />
จึงขออนุโมทนาขอบคุณ เจ้าภาพผู้มีศรัทธาจัด<br />
พิมพ์ถวายเป็นมุทิตาสักการะ และอนุโมทนา ท่านที่<br />
ได้แปลออกสู่ภาษาไทย ณ โอกาสนี้ด้วย<br />
งานนี้จะสำาเร็จได้ด้วยความเสียสละของท่านผู้มี<br />
ศรัทธา คณะศิษยานุศิษย์หลวงตาชี ได้ร่วมจิตร่วมใจ<br />
ร่วมบริจาคทุนทรัพย์ เพื่อเป็นการแสดงออกซึ่งมุทิตา<br />
สักการะ กตัญญูกตเวที ด้วยการได้มีส่วนร่วมในการ<br />
แสดงผลงานด้านธรรมะของพระเดชพระคุณหลวงตา<br />
ให้ปรากฎในบรรณพิภพ หากว่ามีข้อมูลส่วนใด ขาด<br />
ตกบกพร่องไม่สมบูรณ์ คณะผู้จัดพิมพ์ขออภัยมา ณ<br />
โอกาสนี้ และขอคำาชี้แนะจะได้พัฒนาปรับปรุงใน<br />
โอกาสต่อไป แต่หากว่าเกิดกุศลผลความดีจากการ
พระพรหมบัณฑิต 7 9<br />
พิมพ์หนังสือนี้ ขอน้อมถวายเป็นมุทิตาสักการะแด่<br />
พระเดชพระคุณหลวงพ่อพระราชมงคลรังษี ขอได้<br />
เจริญรุ่งเรืองงอกงามไพบูลย์ในร่มพระธรรม อยู่เป็น<br />
ร่มโพธิ์ทองในพระพุทธศาสนาตลอดกาลนานเทอญ<br />
พระครูสิริอรรถวิเทศ<br />
ประธานอำานวยการวัดไทยกรุงวอชิงตัน, ดี.ซี.<br />
บรรณาธิการ
ธรรมบรรยายเรื่องวิปัสสนากรรมฐาน<br />
โดย พระพรหมบัณฑิต (ประยูร ธมฺมจิตฺโต)<br />
อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย<br />
ณ งานสัมมนาวิปัสสนากรรมฐานนานาชาติ<br />
วัดไทยกรุงวอชิงตัน, ดี.ซี. สหรัฐอเมริกา<br />
วันเสาร์ที่ ๘ มิถุนายน ๒๕๕๖<br />
บันทึกโดย สก็อต และ อนงค์ โรเบอร์สัน<br />
เรียบเรียงโดย ดู เวย์น อิงเกิลฮาร์ท<br />
แปลโดย คุณณฐิณี เจนสวัสดิชัย
ท่านพระเดชพระคุณพระวิเทศธรรมรังษี และท่านคณะ<br />
กรรมการสมัชชาสงฆ์ และมิตรสหายทั้งหลาย อาตมา<br />
ขอเรียนเป็นภาษาอังกฤษอีกครั้งว่าอาตมาไม่สมควร<br />
จะกล่าวสุนทรพจน์นี้ นี่ไม่ใช่หน้าที่ของอาตมา เป็น<br />
หน้าที่ของท่านปสัณโณ อาตมาจะรอฟังสุนทรพจน์<br />
ของท่านบ่ายนี้<br />
เมื่อตอนเช้าท่านเลขาธิการสมัชชาสงฆ์ไทยมา<br />
ขอร้องให้อาตมากล่าวเปิดงาน การกล่าวเปิดงานนั้น<br />
ก็ควรจะสั้นๆ แต่นี่ให้เวลาอาตมามาหนึ่งชั่วโมง ก็<br />
เลยไม่ทราบว่านี่จะเป็นการกล่าวอะไรกันแน่
12 7 วิปัสสนากรรมฐาน<br />
อย่างไรก็ดี การประชุมหรือสัมมนาเรื่องวิปัสสนา<br />
กรรมฐานของเราเพื่อพัฒนาเทคนิคและวิธีการ<br />
สอนวิปัสสนาแก่ชาวตะวันตกนั้น สถานการณ์<br />
เปลี่ยนแปลงเร็วมาก ผลสำาเร็จที่เคยได้รับก็เปลี่ยนไป<br />
แต่เราก็สามารถเรียนรู้จากความผิดพลาดได้เหมือน<br />
กัน คนฉลาดเรียนรู้จากความผิดของตน แต่คนที่<br />
ฉลาดกว่าเรียนรู้ที่จะพัฒนาตนจากความผิดพลาด<br />
ของผู ้อื่น นั่นคือประเด็น ขอให้ท่านทั้งหลายจงซื่อสัตย์<br />
และไม่ต้องปิดบังความล้มเหลวหรืออุปสรรคในการ<br />
สอนวิปัสสนาแก่ชาวอเมริกันหรือชาวตะวันตก ท่าน<br />
ประสบอุปสรรคอะไรบ้าง ท่านสามารถแก้ไขได้หรือ<br />
ไม่ เราเรียนรู้จากกันและกันได้จากประสบการณ์ของ<br />
ผู้อื่นที่เจออุปสรรคปัญหาที่คล้ายกับเรา<br />
แต่อาตมาก็คิดว่าหน้าที่ของอาตมาคือการ<br />
บรรยายเรื่องวิปัสสนากรรมฐาน ดังนั้นจะขอตั้ง<br />
คำาถามไว้ให้ท่านทั้งหลายได้คิดกัน เพราะอาตมา
พระพรหมบัณฑิต 7 13<br />
ทราบว่าหลายท่านในที่นี้มารวมตัวกันเพื่อเรียนรู ้จาก<br />
กันและกัน ดังนั้นคำาถามแรกก็คือ วิปัสสนากรรมฐาน<br />
คืออะไร<br />
บางทีเราไม่ได้พูดถึงแต่วิปัสสนากรรมฐานแต่ยัง<br />
พูดถึงการทำาสมาธิแบบพุทธด้วย การทำาสมาธิแบบ<br />
พุทธคืออะไร แตกต่างจากการทำาสมาธิแบบฮินดู หรือ<br />
สมาธิในระดับที่เป็นที่แพร่หลายกัน เช่นสมาธิแบบ<br />
สงบหรือแบบอื่นๆ อย่างไร อะไรทำาให้การทำาสมาธิ<br />
ของเราเป็นแบบพุทธ นี่เป็นคำาถามที่น่าคิดหาคำาตอบ<br />
ก่อนที่เราจะแนะนำาหลักการหรือวิธีการฝึกสมาธิของ<br />
เราแก่ชาวตะวันตก เราต้องไม่สับสนระหว่างสมาธิ<br />
แบบของเรากับแบบอื่นๆ<br />
การทำาสมาธิแบบพุทธคืออะไร ตามการศึกษา<br />
พระไตรปิฎก คำาที่มีความหมายใกล้เคียงที่สุดกับคำา<br />
ว่าสมาธิในภาษาบาลีก็คือคำาว่าภาวนา ความหมาย<br />
ของคำาว่าภาวนาหมายถึง ปลูกฝัง พัฒนา ดังนั้นจึง
14 7 วิปัสสนากรรมฐาน<br />
มีการภาวนาสองแบบ คือสมถภาวนา และวิปัสสนา<br />
ภาวนา เราจึงแปลสมถภาวนาว่า “สมาธิแบบสงบ”<br />
และวิปัสสนาภาวนาว่า “สมาธิแบบรู้แจ้ง” เราแปล<br />
วิปัสสนาภาวนาว่า “สมาธิแบบรู้แจ้ง” แต่อย่าลืมว่า<br />
ศาสนาพุทธมีการฝึกสมาธิสองแบบ ตามพระไตรปิฎก<br />
นั้น เรามีวิธีฝึกจิตสองวิธี สองวิธีนั้นก็คือสมถะ หรือ<br />
สงบ และอีกวิธีหนึ่งก็คือวิปัสสนา หรือการรู้แจ้งเห็น<br />
ตามความเป็นจริงนั่นเอง<br />
อย่างไรก็ดี สำาหรับสมถภาวนานั้น อาตมาขอแปล<br />
สมถะว่า “ความสงบ” คำาว่าสมณะที่มีรากเดียวกัน<br />
หมายถึง ผู้ปฏิบัติเพื่อให้เกิดความสงบในพฤติกรรม<br />
ของตน สมถะหมายถึงการทำาให้สงบ ทำาให้เกิด<br />
ความสบายและความสงบในจิตใจ วัตถุประสงค์ของ<br />
สมถะก็คือเพื่อข่มความไม่สงบทางใจ อาทิ ความ<br />
โกรธ ความเกลียด ความประสงค์ร้าย และความ<br />
โลภ วัตถุประสงค์คือเพื่อควบคุมอารมณ์เหล่านั้นให้
พระพรหมบัณฑิต 7 15<br />
ถึงระดับที่ตำ่ำที่สุดก่อนที่จะเกิดขึ้น ดังนั้น หากเรา<br />
เติมนำ้ำลงในขวด มันก็ดูใสดี แต่ถ้าเราเก็บไว้สักปีหนึ่ง<br />
ท่านจะเห็นว่าที่ก้นขวดนั้นมีตะกอน หากว่าท่านคนนำ้ำ<br />
ตะกอนก็จะกระจายไปทั่วนำ้ำ เมื่อท่านฝึกสมาธิแบบ<br />
สงบ จิตของท่านก็สะอาดปราศจากความขุ่นมัวทาง<br />
อารมณ์ในชั่วขณะนั้น แต่ต้นตอของความขุ่นมัวทาง<br />
อารมณ์ยังไม่ได้ถูกขจัดไป มันยังอยู่ตรงนั้นแหละ<br />
ดังนั้นความบริสุทธิ์ของจิตอันเป็นผลของการฝึกสมาธิ<br />
แบบสงบ หรือสมถภาวนานั้นเป็นสิ่งชั่วคราว เมื่อท่าน<br />
เดินออกจากห้องกรรมฐานไป ออกไปสู่โลกภายนอก<br />
ไปพบกับความท้าทายและปัญหาอุปสรรคต่างๆ<br />
อารมณ์เหล่านั้นก็ถูกกระตุ้นขึ้นมาอีก อาตมาว่าท่าน<br />
จะพบว่ายิ่งท่านฝึกสมาธิแบบสงบมากเท่าไหร่ เมื่อมี<br />
อะไรมากระทบ ท่านก็ยิ่งถูกกระตุ้นง่ายขึ้นเท่านั้น มี<br />
สำานวนไทยว่า “กรรมฐานขี้โกรธ สันโดษขี้ขอ” ท่าน<br />
ฝึกสมาธิ แต่ท่านกลับโกรธง่ายและถูกกระตุ้นได้
16 7 วิปัสสนากรรมฐาน<br />
ง่ายกว่าคนอื่น ทำาไมถึงมีคำากล่าวเช่นนี้อยู่อาตมาไม่<br />
ทราบ แต่ท่านก็เข้าใจกัน “กรรมฐานขี้โกรธ สันโดษ<br />
ขี้ขอ” ท่านควรอยู่แบบพอเพียง แต่ท่านกลับขอวิธี<br />
การทำาสมาธิแบบอื่นจากคนอื่น ที่มีคำากล่าวเช่นนั้น<br />
ก็เพราะว่าสมถะอย่างเดียวไม่สามารถขจัดอารมณ์<br />
ต่างๆ ได้ อารมณ์ต่างๆ ต้องถูกกำาจัดด้วยวิปัสสนา<br />
ภาวนา หมายความว่าวิปัสสนาภาวนาเป็นสิ่งจำาเป็น<br />
ในการตรัสรู้ เป็นการฝึกสมาธิแบบพุทธ สมถะหรือ<br />
สมาธิแบบสงบนั้นพบว่ามีฝึกกันทั่วไปไม่ใช่เฉพาะแต่<br />
ในพุทธศาสนา<br />
ก่อนที่เจ้าชายสิทธัทถะจะตรัสรู้ท่านได้เรียน<br />
การฝึกสมาธิแบบสมถะหรือสมาธิแบบสงบจากสอง<br />
นักบวชคือ อฬารดาบส และ อุทกดาบส อาตมาขอ<br />
บอกก่อนว่าทั้งสองท่านนี้สอนสมถภาวนา อาตมา<br />
ชอบเรียกว่าสมาธิแบบสงบ สิทธัทถะหลังจากละ<br />
ทางโลกแล้วก็เป็นนักบวช เป็นสมณะ ท่านเรียนสมถ
พระพรหมบัณฑิต 7 17<br />
ภาวนาจากฤาษีทั้งสองนี้จนบรรลุสำาเร็จขั้นสูงสุด<br />
เพราะท่านเรียนเร็วท่านจึงบรรลุฌาณ ซึ่งถือเป็นขั้น<br />
สูงสุดของการฝึกแบบสมถะ อาตมาขอเรียกว่าฌาน<br />
ท่านได้ฌานขั้นสูงสุด<br />
ฌานคืออะไร ฌานในภาษาบาลีกลายมาเป็นคำา<br />
ว่าเซ็นในพุทธแบบญี่ปุ่น เซ็นก็ไม่มีอะไร นอกจาก<br />
ฌาน อาตมาจึงต้องเน้นว่าสมถภาวนา เพื่อให้ท่านได้<br />
รู้ผลของวิธีฝึกแบบพุทธแบบนี้ แบบได้ฌาน แบบเซ็น<br />
ตามแนวญี่ปุ่น คำาว่าฌานกลายมาเป็นคำาว่าเซ็นใน<br />
พุทธศาสนาแนวญี่ปุ ่น ส่วนฌานในภาษาบาลีนั้นไม่มี<br />
อะไร นอกจากเป็นผลของการปฏิบัติสมถกรรมฐาน<br />
แต่ก็น่าสงสัยว่าในศาสนาพุทธนิกายเซ็น ไม่ได้<br />
เน้นแต่เรื่องสมถะ พุทธนิกายเซ็นอ้างว่าเขาก็มีหลัก<br />
ของวิปัสสนา เพราะเขาอยู่กับปัจจุบันเวลาฝึกสติ<br />
สมาธิแบบเซ็นเน้นสติด้วย ฉะนั้น คำาว่าเซ็นในพุทธ<br />
แบบญี่ปุ่นอาจทำาให้เราสับสนกับแบบบาลีและทำาให้
้<br />
18 7 วิปัสสนากรรมฐาน<br />
เราคิดว่าเซ็นก็ไม่มีอะไรนอกจากสมถภาวนา แต่ก็<br />
ไม่จริง จากความเข้าใจของอาตมาพุทธนิกายเซ็นไม่<br />
ได้สอนแค่สมถะหรือสมาธิแบบสงบ แต่ยังมีวิปัสสนา<br />
หรือสมาธิแบบรู ้แจ้งด้วย นี่คือการนำาเทคนิคทางพุทธ<br />
ไปปรับใช้ในชีวิตประจำาวันในญี่ปุ่น แล้วเราจะนำา<br />
วิปัสสนาสมาธิมาใช้ในชีวิตประจำาวันได้อย่างไรให้<br />
ประสบผลสำาเร็จ ชาวพุทธนิกายเซ็นมาอเมริกาเพื่อ<br />
เผยแผ่ศาสนาพุทธแบบของเขา เราจึงจะเรียนรู้จาก<br />
ความสำาเร็จของเขา<br />
ถ้าเช่นนั้นสิทธัทถะได้อะไรหลังจากได้ฌาน ฌาน<br />
คือผลของการปฏิบัติแบบสมถะหรือแบบสงบ ท่านไม่รู<br />
สึกตัว ในสภาวะที่สงบสูงสุดหรือฌานนั้นจะไม่มีการ<br />
แบ่งแยกระหว่างผู้กระทำาและวัตถุที่ถูกกระทำา ไม่มี<br />
การแบ่งแยกระหว่างผู้รู้และผู้ถูกรู้ ตัวอย่างเช่น เมื่อ<br />
ท่านกำาหนดลมหายใจ ท่านรู ้ลมหายใจเข้า ลมหายใจ<br />
ออก ของการหายใจเข้าและหายใจออก ตอนแรกท่าน
พระพรหมบัณฑิต 7 19<br />
รู ้ตัวท่านเองว่าท่านเป็นผู ้สังเกตลมหายใจเข้าออก คือ<br />
มีตัวผู้รู้ และ มีสิ่งที่ถูกรู้คือลมหายใจ พอฝึกจนบรรลุ<br />
ตัวผู ้รู ้คือผู ้ฝึกกับสิ่งที่ถูกรู ้ซึ่งคือลมหายใจจะกลายเป็น<br />
หนึ่งเดียวกัน ท่านและลมหายใจกลายเป็นหนึ่งเดียว<br />
ท่านจึงจะลืมตัวไป จะมีเพียงความรู้ตัว รู้ตัวล้วนๆ<br />
ไม่มีตัวตน ไม่มีอะไรเลย<br />
นี่เป็นประสบการณ์ที่อธิบายได้ลำาบาก ท่านเป็น<br />
หนึ่งเดียวกับจักรวาลที่ใช้ลมหายใจเป็นสัญลักษณ์<br />
เป็นประสบการณ์ที่รู้ได้เฉพาะตัวเพราะท่านอธิบาย<br />
ให้ใครฟังไม่ได้ มันไม่ใช่การรู ้หรือการไม่รู ้ เนวสัญญา<br />
นาสัญญายตนะ สภาวะที่รู ้ก็ไม่ใช่ ไม่รู ้ก็ไม่ใช่ ไม่มีการ<br />
รู้ชัด ไม่มีการแบ่งแยกระหว่างท่าน คือผู้รู้ และวัตถุที่<br />
ถูกรู ้ ท่านกลายเป็นหนึ่งเดียวกับวัตถุ ท่านลืมตัวท่าน<br />
โดยสิ้นเชิง<br />
ศาสนาฮินดูเรียกการเป็นหนึ่งเดียวกับวัตถุว่า<br />
พรหม ท่านเป็นสิ่งที่ท่านรู ้ ท่านเป็นสิ่งที่ถูกรู ้ นั่นหมาย
20 7 วิปัสสนากรรมฐาน<br />
ถึงประสบการณ์ของท่านเป็นหนึ่งเดียวกับจักรวาล<br />
นี่คือศาสนาฮินดู พระพุทธเจ้าเรียนจากสองนักบวช<br />
ที่ไม่ใช่พุทธ ท่านถึงได้เรียนสมถะ หากเราจมอยู่กับ<br />
สมถะ เราก็อาจจะอธิบายประสบการณ์ลึกลับแบบนั้น<br />
ว่าเกี่ยวกับพระเจ้า ในเชิงว่าท่านเป็นหนึ่งเดียวกับสิ่ง<br />
ที่ทำาให้ท่านได้ฌาน<br />
พวกท่านอยู่ที่สหรัฐอเมริกาใช่ไหม ขอให้ท่าน<br />
ลองอ่านหนังสือชื่อ หลากหลายประสบการณ์ทาง<br />
ศาสนา (Varieties of Religious Experience) เขียน<br />
โดย วิลเลียม เจมส์ สิ่งที่อาตมากำาลังกล่าวถึงคือการ<br />
วิเคราะห์ของวิลเลียม เจมส์ นักจิตวิทยาชาวอเมริกัน<br />
ที่เป็นที่รู้จักกันอย่างกว้างขวาง เขาได้วิเคราะห์<br />
ประสบการณ์ทางศาสนาอย่างหนึ่ง แต่เจมส์ไม่เข้าใจ<br />
ลักษณะเฉพาะของการฝึกกรรมฐานแบบพุทธศาสนา<br />
เขาจบลงที่ฌาน และเขาพบว่าทุกศาสนาก็มีฌาน<br />
หลายรูปแบบแตกต่างกันออกไป
พระพรหมบัณฑิต 7 21<br />
หากท่านได้อ่าน เต๋าแบบฟิสิกส์ (The Tao of<br />
Physics) ที่เขียนโดยฟริทจอฟ คาพรา เขาก็ใช้การ<br />
วิเคราะห์อย่างเดียวกันว่าเมื่อท่านฝึก ท่านก็ได้ฌาน<br />
ไม่มีการแบ่งแยกกันระหว่างผู ้กระทำาและผู ้ถูกกระทำา<br />
การไม่แบ่งแยกนี้มิใช่ประสบการณ์ทางศาสนา<br />
โดยตัวมันเองล้วนๆ ถ้าท่านเคยอ่านบทกวี กวีที่เก่งๆ<br />
บางทีก็อธิบายประสบการณ์แบบนี้ได้ แบบที่กลายเป็น<br />
หนึ่งเดียวกับวัตถุ ประสบการณ์ที่ไม่น่าเชื่อของการ<br />
รวมตัวกันระหว่างผู้กระทำาและผู้ถูกกระทำาในบทกวี<br />
นั้นก็ดูเหมือนว่าคือฌานนี่เอง<br />
ครั้งหนึ่งที่อาตมาไปเทือกเขาหิมาลัย ไปตรงเชิง<br />
เขาที่เป็นชายแดนของอินเดีย อาตมาก็นั่งสมาธิตรง<br />
ชายแดนอินเดียต่อกับธิเบต ไม่ได้นั่งบนเขาสูงอะไร<br />
หรอก ก็นั่งอยู่คนเดียวแล้วก็มองไปที่ยอดเขา อาตมา<br />
จินตนาการไปว่าอาตมากำาลังฟังพระเจ้าพูด ความ<br />
ใหญ่โตของเทือกเขาหิมาลัยเป็นสัญลักษณ์ของพระเจ้า
22 7 วิปัสสนากรรมฐาน<br />
พระพรหม พระศิวะ หากท่านเป็นฤาษี แล้วนั่งสมาธิ<br />
ท่านจะจินตนาการเห็นอะไร เมื่อท่านเป็นหนึ่งเดียว<br />
กับธรรมชาติ ใครๆ ก็เป็นพระเจ้าได้ และท่านก็<br />
สามารถรวมตัวเข้ากันได้กับความจริงข้อนั้น<br />
การเดินทางไปเชิงเขาหิมาลัยนั้นลำาบาก รถจะ<br />
ตกเขาเมื่อไหร่ก็ไม่ทราบ ท่านก็กลัวตาย แต่หากท่าน<br />
เป็นหนึ่งเดียวกับพระเจ้า ก็ไม่มีอะไรต้องกลัว ท่านก็<br />
จะอยู ่กับพระเจ้าตรงนั้นตลอดไป ความตายก็ไม่ใช่สิ่ง<br />
น่ากลัว<br />
การนั่งสมาธิจนได้ฌานก็มีข้อได้เปรียบ มี<br />
ประโยชน์ คือท่านได้ความสงบสุข ท่านได้ปิติ สุข จิต<br />
เป็นเอกคัตตา หรือเป็นสมาธิ เป็นประโยชน์สำาหรับ<br />
ท่านที่อยู ่ในโลกของความเครียด ขอให้ไปฝึกเจริญสติ<br />
เพื่อความสงบ เปรียบได้กับอาหารจานด่วน เหมือน<br />
ยาสเตียรอยด์ ยากล่อมประสาท มันช่วยระงับปวด<br />
ระงับปวดได้ทันทีเลย แต่สาเหตุของการปวดยังอยู่
้<br />
พระพรหมบัณฑิต 7 23<br />
การทำาสมาธิแบบรู้แจ้งจะพยายามขจัดต้นตอของ<br />
ความเจ็บปวด แต่สมถภาวนา หรือสมาธิแบบสงบ<br />
เป็นการบรรเทาปวดชั่วคราว พระพุทธเจ้าถึงได้ผละ<br />
จากสองสำานักนั้นไปแสวงหาการตรัสรู ้ ฌานที่เกิดจาก<br />
การทำาสมาธิทำาให้ท่านมีความสุข แต่เมื่อใดที่ท่าน<br />
ออกจากถำ้ำไปสู่สังคมภายนอก ท่านก็ถูกกระตุ้นโดย<br />
โลกภายนอก ท่านก็กลับมาเจ็บปวดอีกเพราะสาเหตุ<br />
ของความเจ็บปวดมันยังอยู ่ตรงนั้น เหตุของความเศร้า<br />
หมองยังอยู่ ท่านต้องกำาจัดต้นตอของความเจ็บปวด<br />
อะไรคือเหตุแห่งทุกข์ ท่านต้องรอฟังท่านปสัณโณ<br />
บ่ายนี้ จะได้เข้าใจ<br />
อาตมาจะขอเล่าถึงเจ้าชายสิทธัทถะต่อ เจ้าชาย<br />
สิทธัทถะละทิ้งปราสาทราชวัง ละทางโลก แล้วหัน<br />
มาห่มผ้าเหลือง กลายเป็นพระโพธิสัตว์ก่อนที่จะตรัสรู<br />
ท่านหาหนทางมากมายทั้งอดอาหาร อดนำ้ำอย่างที่<br />
พวกเราทราบกัน แต่ท่านมาพบทางสายกลางหรือ
24 7 วิปัสสนากรรมฐาน<br />
มัชฌิมาปฏิปทาใต้ต้นโพธิ์ ทางที่พัฒนาทั้งทางกาย<br />
และใจของท่าน ท่านจึงรับประทานอาหารและนั่ง<br />
สมาธิ สมาธิที่นำาท่านไปสู ่การตรัสรู ้คือสมาธิที่ใช้การ<br />
เพ่งหรือรวมความสนใจของท่านไปยังแก่นแท้ของการ<br />
ดำารงอยู ่ ไม่ใช่การละเลยเพิกเฉยต่อแก่นนั้นหรือไปนึก<br />
เอาเองว่าแก่นแท้มีอยู่ตรงนั้น<br />
เมื่อท่านได้ฌาน ท่านมักจะลืมหมดทุกอย่าง หมด<br />
ทั้งจักรวาล ท่านรวมเป็นหนึ่งเดียวกับจักรวาล ท่าน<br />
อยู ่นั่น อาตมาก็อยู ่นั่น เราคือหนึ่งเดียวกับส่วนสำาคัญ<br />
ของจักรวาล และกลายเป็นหนึ่งเดียวกับสิ่งที่ยิ่งใหญ่<br />
คือพรหม ท่านคือพรหม ท่านคือพระเจ้า พระเจ้าคือ<br />
ท่าน อยู่ในตัวท่าน นี่หมายถึงแก่นของการดำารงอยู่มี<br />
อยู่ในการฝึกแบบสมถะ แต่จุดสำาคัญไม่ได้อยู่ตรงนั้น<br />
พระพุทธเจ้ากลับกำาหนดความสนใจของท่านไปที่<br />
การดำารงอยู่ของตัวท่านเอง พิจารณากายของท่าน<br />
(กายานุปัสสนา) พิจารณาอารมณ์ (เวทนานุปัสสนา)
พระพรหมบัณฑิต 7 25<br />
พิจารณาจิต (จิตตานุปัสสนา) และพิจารณาธรรม<br />
(ธรรมานุปัสสนา) ท่านไม่พบอะไรในตัวเองเลย มี<br />
แต่ความว่างเปล่า ไม่มีประสบการณ์ที่เป็นแก่นแท้<br />
ไม่มีตัวตน ตัวตนนั้นไม่มี เป็นเพียงจิตที่ปรุงแต่งไป<br />
พระพุทธเจ้าท่านเข้าถึงความว่างเปล่า คือสุญญตา<br />
หรืออนัตตา ความไม่มี ท่านปลดเปลื้องตัวเองจาก<br />
อารมณ์ที่ขุ่นมัว เพราะอารมณ์อันขุ่นมัวต้องการ<br />
ภาชนะบรรจุ ตัวท่านคือภาชนะ คือพื้นฐานของ<br />
อารมณ์อันขุ่นมัวทั้งปวง เช่น ความโกรธ ความโลภ<br />
ความเกลียดชัง ความไม่ใยดี เมื่อท่านกำาจัดความ<br />
เชื่อเรื่องตัวตนไปได้ ก็ไม่มีสิ่งใดมาบรรจุอารมณ์เหล่า<br />
นั้น ไม่มีอะไรจะมาเป็นพื้นฐานของอารมณ์ อารมณ์<br />
ดังกล่าวจึงถูกขจัดให้มลายหายไปสิ้น<br />
ในคืนวันพระจันทร์เต็มดวงในวันวิสาขบูชาที่<br />
ท่านตรัสรู้ พระพุทธเจ้าได้รู้ถึงปัญญาสามประการ<br />
ประการแรกคือบุพเพนิวาสานุสติญาณ ประการที่สอง
26 7 วิปัสสนากรรมฐาน<br />
คือจุตูปปาตญาณ ประการที่สามคืออาสวักขยญาณ<br />
เมื่อท่านได้รู้ถึงปัญญาทั้งสามแล้ว ท่านก็ตรัสรู้เป็น<br />
พระพุทธเจ้า<br />
ปัญญาเหล่านี้คืออะไร บุพเพนิวาสานุสติญาณ<br />
คือการระลึกชาติของพระพุทธเจ้าดังที่เขียนไว้ในพระ<br />
ชาฎก พระชาฎกคือผลของบุพเพนิวาสานุสติญาณ<br />
จุตูปปาตญาณคือการเห็นชาติที่ผ่านมาของผู้อื่นหรือ<br />
สัตว์อื่น ปัญญาสองประเภทนี้เกิดจากการฝึกสมถะ<br />
แบบสุดขั้ว ท่านจึงเห็นด้วยตาทิพย์ เมื่อท่านมีตาทิพย์<br />
ที่บริสุทธิ์ ท่านจะเห็นชะตาชีวิตของผู้อื่น<br />
ดังนั้นการตรัสรู้จึงเป็นผลของทั้งสมถะและ<br />
วิปัสสนา ปัญญาสองประเภทแรกนี้เกิดจากการฝึก<br />
สมถะแบบสุดขั้ว หากไม่มีตาทิพย์ท่านจะไม่สามารถ<br />
เห็นการเกิดใหม่ของสัตว์โลกในอนาคตกาล แต่<br />
ปัญญาทั้งสองประเภทนี้ไม่ได้ช่วยให้พระพุทธเจ้า<br />
ตรัสรู ้และขจัดอารมณ์ขุ ่นมัวทั้งหลาย ปัญญาประเภท
พระพรหมบัณฑิต 7 27<br />
ที่สามคืออาสวักขยญาณ เป็นปัญญาที่ทำาให้จิต<br />
บริสุทธิ์จากอารมณ์ทั้งหลายนั้นมาจากการทำาสมาธิ<br />
แบบรู ้แจ้ง พระพุทธเจ้าใช้การฝึกสองแบบมาประกอบ<br />
กันทั้งสมถะและวิปัสสนา เนื่องจากท่านเรียนสมถะ<br />
มาก่อนจนได้ฌาน จากนั้นจึงพุ่งความสนใจไปที่การ<br />
ดำารงอยู่ของตัวท่าน และได้พบว่าไม่มีอะไรเป็นแก่น<br />
แท้นอกจากความว่างเปล่า หรืออนัตตา หากไม่มีตัว<br />
ตนแล้ว การขจัดอารมณ์ทั้งปวงก็เป็นไปได้<br />
อาตมาจึงขอกล่าวว่าการฝึกสมาธิในช่วงชีวิตของ<br />
พระพุทธเจ้ามีสองแบบ เราต้องยอมรับ สมถภาวนา<br />
หรือการเจริญความสงบนั้นเป็นขั้นแรกของการเจริญ<br />
สมาธิแบบรู้แจ้ง<br />
การฝึกสมาธิแบบรู้แจ้งมีสมถะหรือความสงบ<br />
เป็นเบื้องแรก อย่างน้อยที่สุดมี ขณิกสมาธิ สมาธิชั่ว<br />
ขณะ ความสงบในชั่วขณะ นี่เป็นสิ่งจำาเป็น หากไม่มี<br />
การกำาหนดแบบนี้เป็นลำาดับแรก ท่านจะไม่สามารถ
28 7 วิปัสสนากรรมฐาน<br />
เคลื่อนความสนใจของท่านไปที่กาย ความรู้สึก สติ<br />
และสภาวธรรม ท่านจะถูกรบกวนได้ง่าย<br />
อาตมาจึงไม่ชอบแนวคิดที่กำาลังแพร่หลายอยู่<br />
ในบรรดาผู้ฝึกในประเทศไทยที่รับเอาวิธีฝึกมาจาก<br />
มหาสีซายาดอ ในพม่า วิธีนี้ไม่ต้องฝึกสมถะเลย ใช้<br />
แต่สมาธิแบบวิปัสสนาอย่างเดียว อาตมาว่านี่เป็นการ<br />
เข้าใจผิด ตอนที่อาตมาได้อ่านบทสนทนาธรรมของ<br />
มหาสีสะยาดอ ที่แปลเป็นภาษาอังกฤษนั้นก็พบว่า<br />
ท่านได้กล่าวถึงการที่ท่านต้องดูการยุบและพองของ<br />
ท้อง หรือการสังเกต หรือรู้ตัวว่ากำาลังทำาอะไร ต้อง<br />
ไม่ลืม ต้องดูต่อเนื่อง เมื่อท่านเดินจงกรม ท่านยกเท้า<br />
ขึ้นไปข้างหน้าและแตะพื้นลงทางซ้าย และเมื่อท่านหัน<br />
ไปทางขวา ความสนใจของท่านต้องตามไปทุกการ<br />
เคลื่อนไหว แม้แต่การกลับจากซ้ายไปขวา หากท่าน<br />
อยากกลับ ท่านต้องกำาหนดความสนใจไปที่ความ<br />
อยากนั้น หากว่าท่านคัน ท่านต้องบอกว่าคัน มหาสี
พระพรหมบัณฑิต 7 29<br />
สะยาดอเน้นว่าการเดินจงกรมนั้นความรู้ตัว และ<br />
ความสนใจควรจะเป็นกระบวนการต่อเนื่อง ไม่เช่น<br />
นั้นก็จะไม่ถือว่าเป็นการฝึกจิตที่เป็นสมาธิ<br />
สมาธินั้นก็คือความสนใจที่เกิดขึ้นต่อเนื่องกัน<br />
ทั้งทางภายใน (ทางใจ) หรือภายนอก (ทางกาย)<br />
ความสนใจที่เกิดต่อเนื่องโดยตลอดจะกลายเป็นสมาธิ<br />
ที่มีกำาลัง สมาธิคือผลของสมถภาวนา สมถภาวนา<br />
เป็นสิ่งจำาเป็นในการฝึกวิปัสสนาภาวนา<br />
ทำาไมอาตมาถึงกล่าวเช่นนี้ กล่าวอย่างนี้เข้ากับ<br />
ลักษณะไทยๆ ท่านลองดูประวัติการฝึกสมาธิของ<br />
ประเทศไทยตั้งแต่สมัยสุโขทัย ปัจจุบันเราดูบันทึก<br />
ประวัติศาสตร์เรื่องสมาธิได้ เช่นมีการจดบันทึก<br />
โดยสมเด็จพระสังฆราชองค์ก่อนในสมัยตั้งกรุง<br />
รัตนโกสินทร์ใหม่ๆ ท่านกล่าวชัดเจนเรื่องประเพณี<br />
การฝึกสมถะ รวมทั้งการพิจารณาหลักสติปฐาน ๔<br />
ในการวิปัสสนา
30 7 วิปัสสนากรรมฐาน<br />
อาจารย์มั่น หรือหลวงพ่อมั่น เป็นอาจารย์ของ<br />
หลวงพ่อชา หลวงพ่อชาเป็นอาจารย์ของท่านอาจารย์<br />
ปสัณโณ หลวงพ่อชาเรียนฝึกสมาธิกับหลวงพ่อมั่น<br />
หลวงพ่อมั่นเน้นการฝึกสมาธิแบบใด ตอนบ่ายนี้<br />
รอฟังคำาตอบจากท่านอาจารย์ปสัณโณ<br />
ตามประเพณีทางภาคอีสาน โดยเฉพาะด้าน<br />
ธรรมยุติกนิกาย จะเน้นไปที่สมถะ ที่อเมริกานิยม<br />
การฝึกแบบนี้ โดยเฉาะอย่างยิ่งในคานาดา อาจารย์<br />
สอนสมาธิชื่อดัง หลวงพ่อวิริยังสอนสมถะ หรือสมาธิ<br />
แบบสงบ แต่ที่เมืองไทยอาตมาว่าเป็นการผสมผสาน<br />
ระหว่างสมถะ และวิปัสสนา<br />
การพัฒนาของการสอนสมาธิแบบหลวงพ่อชาใน<br />
ประเทศตะวันตกนั้นอาตมาอ่านจากเว็บไซต์ของท่าน<br />
ปสัณโณ แม้อาตมาจะได้พบท่านที่วัดหนองป่าพงเมื่อ<br />
หลายปีก่อนแต่อาตมาก็ติดตามผลงานของท่าน มีการ<br />
กล่าวไว้ว่าการฝึกสมาธิของหลวงพ่อชานั้นเป็นการ
พระพรหมบัณฑิต 7 31<br />
ผสมกันระหว่างสมถะ สมาธิแบบสงบและวิปัสสนา<br />
สมาธิแบบรู้แจ้ง<br />
การผสมผสานกันนั้นเป็นสิ่งจำาเป็น เพราะหาก<br />
ท่านจมอยู่ในสมถะอย่างเดียว จะไม่ใช่การฝึกสมาธิ<br />
แบบพุทธ เมื่อท่านมาประเทศตะวันตก ท่านต้องสอน<br />
สมาธิแบบรู ้แจ้ง ซึ่งเป็นลักษณะเฉพาะของสมาธิแบบ<br />
พุทธ เป็นลักษณะของพระพุทธศาสนา<br />
ศาสนาพุทธนิกายเถรวาทแบบไทยหรือศรีลังกา<br />
หรือแบบบาลีใดๆ นั้นมีสองลักษณะ หนึ่งคือสมาธิแบบ<br />
รู้แจ้ง และสองคือพระอภิธรรม ท่านทิ้งพระอภิธรรม<br />
ไม่ได้ หากท่านต้องการศึกษาพระพุทธศาสนาแบบ<br />
เถรวาทหรือแบบไทย พระอภิธรรมคือแผนที่นำาทาง<br />
ในการฝึกสมาธิไปสู่การตรัสรู้ พูดตรงๆ คือท่าน<br />
ต้องฝึกตามแนวทางด้วยการฝึกสมาธิแบบรู ้แจ้ง พระ<br />
อภิธรรมจึงเป็นแนวทางในการฝึกวิปัสสนากรรมฐาน<br />
โดยย่อแล้วพระอภิธรรมคือการศึกษาเรื่องจิต เจตสิก
32 7 วิปัสสนากรรมฐาน<br />
รูป และนิพพาน จิตหมายถึงสติ จิตใจของท่าน เจตสิก<br />
หมายถึงการกระทำาของจิต หรือองค์ประกอบของจิต<br />
ไม่ว่าจะเป็นวิธีการหรือกิจกรรมทางจิตใดๆ รูปหมาย<br />
ถึงร่างกาย นิพพานหมายถึงผลของการตรัสรู้ ดังนั้น<br />
พระอภิธรรมก็คือแผนที่นำาทางไปสู ่การตรัสรู ้ เป็นการ<br />
สอนแนวทางในการวิปัสสนา พระอภิธรรมเป็นแนว<br />
ทฤษฎีการฝึกวิปัสสนากรรมฐาน การสอนพระพุทธ<br />
ศาสนาความจริงแล้วก็คือวิปัสสนา<br />
ตอนนี้เปลี่ยนมาพูดเรื่องการสอนฝึกสมาธิใน<br />
ประเทศตะวันตกกันบ้าง มีเรื่องที่อยากเล่าหลายเรื่อง<br />
และอาตมาจะพยายามบอกความคิดของอาตมา<br />
ด้วย เรื่องรายละเอียดของการฝึกสมาธิแบบรู้แจ้ง<br />
นั้นขึ้นอยู่กับตัวท่านเอง แล้วแต่ว่าสมาชิกแต่ละท่าน<br />
จะพิจารณา ดังนั้นเมื่อเราพูดถึงการสอนฝึกสมาธิ<br />
ในประเทศตะวันตก อาตมาขอเตือนว่าอย่าลืมวิธีฝึก<br />
สมาธิแบบรวบรวมจิตแบบไทย วิธีการฝึกสมาธิแบบ
พระพรหมบัณฑิต 7 33<br />
รู ้แจ้งมีทั้งหมด ๔๐ วิธี แล้วสมาธิแบบรวบรวมจิตเล่า<br />
มีบทบาทอย่างไร<br />
เรามีสมาธิให้กับผู้ที่มาวัดแล้วต้องการอาหาร<br />
จานด่วน จานเร็ว และวิธีการก็ง่ายๆ เช่นหากว่า<br />
คนที่เขามาวัดเป็นชาวพุทธ ก็ให้เชิญเขามาสวดมนต์<br />
สวดมนต์เป็นภาษาบาลี ในญี่ปุ่นการสวดมนต์<br />
เป็นการฝึกสมาธิเบื้องต้นที่มีพลังมาก ตอนนี้วัดที่<br />
เมืองไทยทุกวัดก็แนะนำาการสวดมนต์ให้ฆราวาส เมื่อ<br />
คืนวันส่งท้ายปีเก่าปีที่แล้ว ที่สนามหลวงมีคนไทยไป<br />
ร่วมฉลอง ๒๐๐,๐๐๐ คน ตอนเที่ยงคืน อาตมาได้รับ<br />
เชิญให้นำาสวดมนต์ มีการแจกหนังสือสวดมนต์ภาษา<br />
บาลีแล้วทุกคนก็สวดไปพร้อมกับพระ หากเราเชิญ<br />
เขามานั่งสมาธิ คงไม่มีใครมา แต่การมาสวดมนต์<br />
ให้พระเจ้าอยู่หัว เพื่อต้อนรับปีใหม่ เพื่อความมั่งคั่ง<br />
ความมีโชคดี เขาจะมากัน ครึ่งหนึ่งของสนามหลวง<br />
เต็มไปด้วยคนเหล่านี้ มีคนหนุ ่มสาวด้วย เวลาสวดนั้น
34 7 วิปัสสนากรรมฐาน<br />
ใจจะรวมอยู่ที่สิ่งๆ เดียว นี่คือสมถะ<br />
อาตมาอยากให้คนไทยรุ่นใหม่ที่อเมริกามา<br />
วัดไทยไม่ใช่แค่โรงเรียนวัดวันอาทิตย์เฉพาะเด็กๆ<br />
โรงเรียนวัดวันอาทิตย์ก็ดี แล้วต่อจากนั้นเล่าเราจะ<br />
ทำาอะไรกัน บางทีก็มีอุปสรรคเรื่องภาษา แต่การสวด<br />
มนต์ภาษาบาลีก็ไม่ได้ยากเกินไป วิธีการที่ชาวญี่ปุ่น<br />
นำามาใช้นี้มีพลังและประสบความสำาเร็จมาก จน<br />
กระทั่งเดี๋ยวนี้คนไทยที่เมืองไทยก็ทำาตามกัน แม้แต่<br />
สำานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติยังอยากจะใช้วิธี<br />
นี้ ทำาไมเราไม่ทำาแบบนี้ที่อเมริกาบ้างให้เป็นส่วนหนึ่ง<br />
ของการฝึกแบบสมถะ อย่าไปคิดว่านี่ไม่ใช่วิธีการทาง<br />
พุทธศาสนา นี่แหละพุทธล่ะ<br />
ส่วนเรื่องของการฝึกสมาธิแบบฮินดูนั้น ครูสอน<br />
สมาธิที่มีชื่อคนหนึ่งของอินเดียได้ย้ายไปอยู ่ที่รัฐโอเรกอน<br />
อาตมาหมายถึงพระภัควัน ราชนีช ท่านดังมากที่<br />
อินเดีย ดังมากจนอยู ่อินเดียไม่ได้เพราะท่านมีอิทธิพล
พระพรหมบัณฑิต 7 35<br />
กับพวกคนหัวเก่ามาก ราชนีชย้ายไปอยู่รัฐโอเรกอน<br />
ตอนท่านอยู่อินเดียอาตมาไปสังเกตดูว่าท่านสอน<br />
สมาธิแบบไหนให้กับประชาชน ท่านใช้ดนตรี ท่านให้<br />
คนฝึกนั่งขัดสมาธิแล้วก็เปิดเพลง หากเปรียบกับคน<br />
ไทยก็คล้ายเพลงค้างคาวกินกล้วย ท่านรู้แล้ว ท่าน<br />
ทำาใจจดจ่ออยู ่กับเพลงพื้นเมืองอินเดีย ดนตรีของไทย<br />
ใช้เครื่องดนตรีแค่ชิ้นเดียว และท่านก็ตามทำานองและ<br />
เสียงเพลงไป อันนี้ดีมาก ท่านมุ ่งความสนใจไปที่เพลง<br />
และฟังซำ้ำไปซำ้ำมาจนกระทั่งใจท่านสงบ พอเพลงจบ<br />
ราชนีชก็สอนเป็นภาษาอังกฤษ ใช้สมถะเป็นพื้น และ<br />
เมื่อผู้ฝึกเกิดสมาธิแล้ว ท่านก็ชี้นำาให้เขาเข้าสู่สมาธิ<br />
แบบรู้แจ้งได้<br />
ตอนที่อาตมาไปไต้หวัน อาตมาเห็นไต้หวันนี่<br />
เอาการสวดมนต์ไปพ่วงกับวงดนตรี พระที่เป็นหัวหน้า<br />
แต่งเพลงเกี่ยวกับศาสนาพุทธเป็นภาษาจีน แล้วให้<br />
นักเรียนหรือเด็กร้อง พระเป็นวาทยากร วิธีนี้เป็นที่
36 7 วิปัสสนากรรมฐาน<br />
นิยมกันมาก<br />
อาตมาว่าแบบนี้อเมริการับได้ เป็นแค่การสวด<br />
มนต์ร่วมกับเครื่องดนตรี ซีดีการสวดมนต์แบบธิเบต<br />
ก็มีเผยแพร่ในไทย ดังนั้นการสวดมนต์เพลงชินบัญชร<br />
จึงได้เกิดขึ้น อาตมาอยากให้ดินแดนนี้เปิดใจเรื่องการ<br />
สวดมนต์ อาตมาเรียกว่าการสวดมนต์ เป็นการสวด<br />
คำาสอนของพระพุทธเจ้าในภาษาบาลีผสมผสานกับ<br />
เสียงเพลงเพราะๆ สำาหรับเด็กรุ่นใหม่ อาตมาว่าดี<br />
นะหากท่านจะเพิ่มการสอนร้องเพลงทางพุทธศาสนา<br />
กับดนตรีไทยเข้าไปในการเรียนการสอนของโรงเรียน<br />
พุทธศาสนาวันอาทิตย์<br />
สมาคมชาวจีนที่นับถือศาสนาพุทธนำาการแสดง<br />
ออร์เคสตร้าแบบพุทธที่มีนักแสดง ๑๘๐ คนมาแสดง<br />
ดนตรีทางพุทธศาสนาบนเวที วงดนตรีทางพุทธวง<br />
แรกได้รับการสนับสนุนทางการเงินจากรัฐบาลจีน<br />
เพื่อที่จะให้ได้ชื่อว่าทำาก่อนไต้หวัน การแสดงระดับ
พระพรหมบัณฑิต 7 37<br />
มืออาชีพมาก แค่เนื้อเพลงเท่านั้นที่แตกต่างไป เมื่อ<br />
เขาแสดงดนตรี เขาใส่คำาอธิบายบนจอ บนจอมีเนื้อ<br />
ร้องภาษาจีนและคำาแปลภาษาอังกฤษ เพลงเพราะๆ<br />
เหล่านี้พูดถึงเรื่องสุญญตาและพระโพธิสัตว์กวนอิม<br />
ให้ประสบการณ์เต็มอิ่มและให้เรานึกฝันอยากจะมี<br />
การแสดงอย่างนี้ในแบบไทยๆ บ้าง ไม่ใช่จากอเมริกา<br />
จากภาพยนตร์ แต่จากคนธรรมดานี่แหละ แต่ก็มีค่า<br />
ใช้จ่ายสูงเอาการอยู่<br />
ในอเมริกานี้อาตมาว่าเราก็มีวงดนตรีทางพุทธ<br />
วงแรกได้จากการสนับสนุนของสมัชชาสงฆ์ไทยใน<br />
อเมริกาและความกรุณาจากหลวงตาชี คิดดูว่าสมถะ<br />
เป็นพื้นของวิปัสสนา เราสู้กับการร้องเพลงในโบสถ์<br />
ที่ไหนๆ ได้สบายๆ อาตมาหมายถึงคนรุ่นใหม่กับ<br />
วัฒนธรรมไทย สำาหรับชาวตะวันตก อาตมาขอให้<br />
ท่านอาจารย์ปสันโนศึกษารายละเอียดต่อไป อาตมา<br />
ขอเสนอไว้แบบกว้างๆ อาตมาขอให้แนวทางเดินเพื่อ
38 7 วิปัสสนากรรมฐาน<br />
ให้ท่านคิดวิธีการดำาเนินงานของท่านเอง<br />
พระพุทธเจ้าตอนแรกเลยจึงฝึกสมถะและ<br />
วิปัสสนา ท่านได้ฌาน ท่านเป็นเด็กผู้ชายนั่งสมาธิใต้<br />
ต้นไม้ และท่านกล่าวไว้ว่าวิธีฝึกสมาธิตอนท่านอายุ<br />
๗-๘ ขวบก็คือการกำาหนดรู้ลมหายใจ พระพุทธเจ้า<br />
ตรัสรู ้ได้ด้วยอาณาปาณสติจากการฝึกสมถะ จากการ<br />
กำาหนดรู้ลมหายใจท่านก็พัฒนามาเป็นการฝึกแบบ<br />
รู้แจ้งท่านพุทธทาสภิกขุถึงได้เขียนหนังสือเกี่ยวกับ<br />
อานาปานสติ ๑๖ ขั้นตอนเอาไว้<br />
อานาปานสติแบบของไทยพัฒนามาจากการฝึก<br />
สมาธิแบบสงบมาเป็นการฝึกแบบรู้แจ้ง แต่ของพม่า<br />
นั้นท่านไปตรงเลย ไม่ต้องห่วงเรื่องลมหายใจ แต่ไป<br />
ดูที่การพองยุบของท้อง อย่างไรก็ดีการพองยุบของ<br />
ท้องก็เกี่ยวข้องกับลมหายใจ มหาสี สะยาดอกล่าว<br />
ว่าเป็นการผสมกันระหว่างอานาปานสติกับกายานุ-<br />
ปัสสนา (การดูรูปกาย) คือไม่หยุดอยู่แค่ระดับการ
พระพรหมบัณฑิต 7 39<br />
หายใจแต่ให้พิจารณากายด้วย นี่คือทางลัดที่มหาสี<br />
สะยาดอกล่าว<br />
แต่ในแนวปฏิบัติแบบไทยนั้น เราให้ความสำาคัญ<br />
กับลมหายใจเหมือนที่พระพุทธเจ้าฝึกก่อนตรัสรู้<br />
หลังจากตรัสรู้พระพุทธเจ้าฝึกสมาธิไม่ได้เพื่อตรัสรู้<br />
เพราะท่านตรัสรู้แล้ว แต่เพื่อให้มีความสุขในชีวิต<br />
ประจำาวัน การที่จะมีความสุขได้ท่านต้องมีสมาธิ มี<br />
ฌาน พระพุทธเจ้าฝึกเมื่อมีเวลาว่างหรือยามพักผ่อน<br />
เมื่อท่านทั้งหลายมีความเครียด ก็ขอให้ฝึกสมาธิแบบ<br />
สงบเพื่อให้ใจสงบลง<br />
หากท่านต้องการจะตรัสรู้ ท่านก็ฝึกดูกายต่อไป<br />
ในการฝึกแบบรู้แจ้งท่านจะเห็นธาตุแท้ของตัวท่าน<br />
เอง มันไม่มีอะไรนอกเสียจากความว่างเปล่า มีเพียง<br />
ความไม่เที่ยง (อนิจจัง) ความทุกข์ (ทุกขัง) และความ<br />
ไม่มีตัวตน (อนัตตา) ท่านตระหนักว่าไม่มีอะไรในตัว<br />
ท่าน มีเพียงความว่างเปล่า (สุญญตา) นิกายเซ็นนี่
40 7 วิปัสสนากรรมฐาน<br />
ไม่ได้มีเพียงฌาน ไม่ได้มีแค่สมถะเพราะเป็นการฝึก<br />
สติให้ท่านได้เห็นเข้าไปในตัวตนจนพบความว่างเปล่า<br />
หรือสุญญตา ถึงได้มีการฝึกอบรมเรื่องการเข้าสู ่สมาธิ<br />
แบบรู้แจ้ง<br />
ประโยชน์ของการฝึกสมาธิแบบรู้แจ้ง หรือ<br />
วิปัสสนา จะเกิดขึ้นเมื่อท่านเดินออกจากห้องปฏิบัติ<br />
ธรรมที่วัด เมื่อท่านอยู่ในโลก ท่านต้องไปอยู่ในโลก<br />
นี้ เช่นต้องไปทำางานที่ที่ทำางาน สติซึ่งเกิดจากจาก<br />
การฝึกสมาธิแบบรู้แจ้งจะช่วยให้ท่านตระหนักถึง<br />
โลกภายนอกโดยไม่ต้องนำาตัวตนเข้าไปเกี่ยวข้องด้วย<br />
ด้วยจิตที่ว่างเปล่าท่านจะกลายเป็นหนึ่งเดียวกับสิ่ง<br />
รอบๆ ตัว ไม่มีการแบ่งแยก แต่ตอนนี้ความเป็นหนึ่ง<br />
เดียวเกิดจากปัญญา ไม่ใช่ความสงบ แต่เกิดจาก<br />
ความเข้าใจถึงการรวมกันเป็นหนึ่งของตัวท่านกับสิ่ง<br />
รอบตัว เนื่องจากไม่มีการแบ่งแยกระหว่างตัวท่าน<br />
กับโลก ความกรุณาและความเมตตาก็แผ่กระจาย
้<br />
พระพรหมบัณฑิต 7 41<br />
ออกจากตัวท่าน ท่านก็อยู่ในสังคมอย่างมีความสุข<br />
ดังนั้นสมาธิแบบรู ้แจ้งจึงไม่เพียงนำาความสุขมาสู ่ชีวิต<br />
ของท่าน แต่ยังทำาให้คนรอบข้างท่านมีความสุขไปด้วย<br />
ทำาให้โลกเกิดสันติภาพ ไม่ใช่แค่เกิดประโยชน์ต่อตนผู<br />
เดียวเหมือนสมถะ สมาธิแบบรู้แจ้งจะทำาให้ท่านลืม<br />
และปล่อยวางความเชื่อเรื่องตัวตน ท่านคิดถึงเพื่อน<br />
ร่วมโลกด้วยความกรุณา ท่านพร้อมจะช่วยเหลือโดย<br />
ไม่ต้องผูกพันกับสภาวะความเครียดในชีวิต จิตของ<br />
ท่านเป็นอิสระและมีพลัง ความเมตตามีอยู่ในความ<br />
กรุณา ท่านพร้อมที่จะช่วยเหลือผู้อื่น ช่วยคนในสังคม<br />
ด้วยความตั้งใจและความปีติ เพราะท่านไม่ต้องการ<br />
อะไร มีแต่จะให้ เมื่อทุกคนพร้อมจะให้ ทุกคนก็จะได้<br />
จะมีเพียงสันติภาพและความสุขเท่านั้น<br />
ขออำานวยพร<br />
/ / / / /
Vipassānā Meditation<br />
by Phra Brahmapundit
A Talk on Vipassānā Meditation<br />
by Phra Brahmapundit<br />
Rector of Mahachulalongkornrajavidyalaya University<br />
Bangkok, <strong>Thai</strong>land<br />
Delivered at the Seminar<br />
on Vipassāna Meditation<br />
Wat <strong>Thai</strong> Washington, D.C.<br />
Saturday, June 8, 2013<br />
Transcribed by Scott and Anong Roberson<br />
Edited by Du Wayne <strong>Eng</strong>elhart<br />
sponsored by<br />
Suvimol Ramkomut<br />
On the 40 th Anniversary Celebration of<br />
Wat <strong>Thai</strong> Washington, D.C. and<br />
Phra Rajamongkolrangsi’s 90 th Birthday<br />
Anniversary Celebration
Preface<br />
Wat <strong>Thai</strong> Washington, D.C. was established in 1974<br />
with strong faith and collaboration of <strong>Thai</strong>s and foreigners.<br />
The temple has been growing continuously and has become<br />
the center of Buddhism propagation. To celebrate the truly<br />
auspicious occasion of the 40th anniversary of Wat <strong>Thai</strong> Washington,<br />
D.C., the Temple Committee and followers who are<br />
both Sangha and laypeople agreed to organize the following<br />
three activities.<br />
1. The 40th Anniversary Celebration of Wat <strong>Thai</strong><br />
Washington, D.C.<br />
2. The celebration of the new rank for Phra Vidhesdhammarangsi<br />
(Surasak Jivanando) received on the King’s<br />
Birthday Celebration on December 5, 2014. The new ecclesiastical<br />
title bestowed is Phra Rajamongkolrangsi.<br />
3. The 90th Birthday Anniversary Celebration of<br />
Phra Rajamongkolrangsi.<br />
The Venerable Luang Por Phra Rajamongkolrangsi<br />
(Surasak Jivanando) or Luang Ta Chi is a <strong>Thai</strong> missionary<br />
monk who has been religiously performing his duties for 40
Phra Brahmapundit 7 3<br />
years. He holds to his heart the Buddha’s teachings and is a<br />
highly respected missionary monk for all the Sangha, other<br />
missionary monks abroad as well as laypeople.<br />
His life is an exemplary model of those who study,<br />
practice and propagate Dhamma continuously.<br />
When the Venerable Luang Por Phra Rajamongkolrangsi<br />
or Luang Ta Chi turns 90 years old, his followers at<br />
Wat <strong>Thai</strong> Washington, D.C. organize a special Dhamma celebration<br />
during June 3-7, 2015. Merit-making activities and<br />
meditation practice courses are held to celebrate this special<br />
occasion. In addition, there are several publications distributed<br />
specifically for this event. Among them is “<strong>Vipassana</strong> Meditation”,<br />
a publication of the special talk delivered by the Most<br />
Venerable Professor Doctor Phra Brahmapundit, Rector of<br />
Mahachulalongkornrajavidyalaya University. Khun Suvimol<br />
Ramkomut kindly sponsored the publication of this book,<br />
which is transiated from <strong>Eng</strong>lish to <strong>Thai</strong> by Khun Natinee<br />
Chensavasdijai and her husband.<br />
I would like to thank the sponsor and translators who<br />
made the <strong>Thai</strong> version of this talk possible.<br />
The book is completed by Luang Ta Chi’s followers
4 7 Vipassānā Meditation<br />
who have faith and devotion in him. The donation and support<br />
in publishing the book represent the gratitude they have for<br />
Luang Ta Chi, whose work is widely recognized. The publisher<br />
apologizes for any errors or omissions, and welcomes suggestions<br />
and comments for future reprints or editions of this<br />
book. If the book has benefits in any way, the publisher will<br />
offer the merits and good deeds to Phra Rajamongkolrangsi.<br />
May he flourish in Dhamma and eternally be a strong pillar<br />
of Buddhism.<br />
Phra Kru Siri Atthavides<br />
Board of Directors, Wat <strong>Thai</strong> Washington, D.C.<br />
Editor
Venerable Phra Vidhesdhammarangsi and respected<br />
members of the Sangha and friends, once again I would<br />
like to tell you in <strong>Eng</strong>lish that I am not supposed to<br />
deliver the keynote speech. That is not my job. It belongs to<br />
Venerable Pasanno. I look forward to listening to his<br />
keynote speech in the afternoon.<br />
In the morning I was requested by the Secretary General<br />
of The Council of <strong>Thai</strong> Bhikkhus in the U.S.A. to give the<br />
opening remarks. They are supposed to be short, but he gives<br />
me one hour. I do not know what kind of remarks these are<br />
supposed to be.<br />
Anyway, regarding our conference or seminar on<br />
vipassāna to develop the techniques and methods of preaching<br />
or giving the instruction of vipassāna or insight meditation to
6 7 Vipassānā Meditation<br />
Westerners, the situation is changing very fast. Our experiences<br />
of success are changing. But we can learn from our<br />
failures also. The wise person learns to develop himself from<br />
his own failure, but the wiser one learns to improve himself<br />
from the failure of others. That is the point. Please be frank<br />
and do not not hold back telling your shortcomings and difficulties<br />
in teaching meditation to Americans and Westerners.<br />
What difficulties you are facing? Are you able to overcome<br />
them or not? We can learn from each other, from the experience<br />
of others to meet the same kinds of challenges.<br />
But I think that my job is to make some remarks about<br />
vipassāna meditation. So I would raise a question for you to<br />
ponder because I am aware of many practitioners gathered<br />
here who want to learn from each other. So the first question<br />
is what is this vipassāna meditation?<br />
Sometimes we are talking about not vipassāna meditation<br />
but Buddhist meditation. What is this Buddhist meditation?<br />
How is it different from Hindu meditation or other well-known<br />
levels of meditation like transcendental meditation and other<br />
forms? What makes our meditation a Buddhist one? This
Phra Brahmapundit 7 7<br />
is worth pondering and answering before we introduce our<br />
methodology or method of meditation practice to the West. We<br />
must not confuse our meditation with other kinds of meditation.<br />
What is this Buddhist meditation? From textual studies<br />
of the Tipitaka, it is evident the word close to “meditation”<br />
in Pāli is the word bhāvāna. The literal meaning of bhāvāna<br />
is “cultivation,” “development.” So there are two kinds of<br />
bhāvāna, and we translate the word bhāvāna into <strong>Eng</strong>lish as<br />
“meditation.” There are two kinds of bhāvāna: samathabhāvāna<br />
and vipassāna-bhāvāna. So we translate samathabhāvāna<br />
as “tranquility meditation” and vipassāna-bhāvāna as<br />
“insight meditation.” Today we focus on the second bhāvāna:<br />
vipassāna-bhāvāna. We translate the term vipassāna-bhāvāna<br />
as “insight meditation,” but do not forget that there are two<br />
kinds of meditation in Buddhism. In the Tipitaka, we have the<br />
resources for developing the mind in two ways. The two ways<br />
involve samatha (tranquility), on the one hand, and vipassāna<br />
(insight), on the other hand.<br />
However, in samatha-bhāvāna, I would translate samatha
8 7 Vipassānā Meditation<br />
as “calmness.” Samana, the same root, means the one who<br />
practices to calm down his behavior. Samatha means to calm<br />
down, to cultivate serenity or tranquility in your mind. So the<br />
purpose of samatha is just to oppress all kinds of defilements<br />
in your mental activity: anger, hatred, ill will, and greed. The<br />
purpose is to control the defilements to the extent that they<br />
are suppressed to a germinal state. So if we put water in a<br />
bottle, for example, it is clear water at the moment. But if<br />
you keep it for maybe a year, you can see at the bottom of the<br />
bottle, there will be a kind of sediment. If you stir the water,<br />
maybe this sediment will spread up through the water. When<br />
you practice calmness meditation, your mind is purified of<br />
mental defilements for the time being, but somehow the root<br />
of the defilements is not eradicated. It is still there. So the<br />
purity of mind which is the result of calmness meditation or<br />
samatha-bhāvāna is for the short term. When you go out of<br />
the mediation room and live in the outside world, meeting<br />
with the challenges and other difficulties there, these become<br />
stimuli to stir up the defilements. You can find that the more<br />
you concentrate and practice concentration or tranquility medi-
Phra Brahmapundit 7 9<br />
tation, or calmness meditation, the more you are in a position<br />
in which, once you are stimulated, the defilements become,<br />
I think, easily agitated. So in the <strong>Thai</strong> tradition, there is the<br />
saying, “กรรมฐานขี้โกรธ สันโดษขี้ขอ” [“You practice meditation but are<br />
still angry. You live simply but always ask for something”].<br />
You practice meditation, but you are prone to anger and<br />
maybe are easily agitated. Why there is this saying in <strong>Thai</strong> I<br />
am not quite sure, but you understand. “กรรมฐานขี้โกรธ สันโดษขี้ขอ.”<br />
You are supposed to be living in contentment, but you end<br />
up asking for another meditation method from other people.<br />
There is such a saying because samatha alone cannot get rid<br />
of the defilements. The defilements have to be eradicated by<br />
means of insight meditation, vipassāna. That means vipassāna<br />
meditation is necessary to attain Enlightenment. That is why<br />
it is regarded as a Buddhist meditation. Samatha or calmness<br />
meditation is available in other traditions besides the Buddhist.<br />
Prince Siddhattha before his Enlightenment learned how<br />
to practice samatha-bhāvāna or calmness meditation from two<br />
ascetics, Ālāra and Upaka. So I would like to remind you<br />
that both ascetics taught samatha-bhāvāna. I prefer to call it
10 7 Vipassānā Meditation<br />
tranquility meditation or calmness meditation. Siddhattha,<br />
after he renounced the world, became an ascetic, became a<br />
samana. He learned how to practice samatha-bhāvāna, calmness<br />
meditation, from these two ascetics, and he achieved the<br />
outcome of the practice. I mean, because Siddhattha learned<br />
very fast, he attained the highest state of the samatha practice,<br />
that is, he attained the jhāna state, absorption or the trance. I<br />
like to say trance. He attained or realized the highest state of<br />
the trance.<br />
What does this state of trance, jhāna, mean? I would like<br />
to tell you that the term jhāna in Pāli becomes the word zen in<br />
Japanese Buddhism. Zen is nothing but jhāna. That is why I<br />
have to mention samatha-bhāvāna, so that you can understand<br />
the outcome of this tradition of the Buddhist meditation practice:<br />
the jhāna state, which in the Japanese tradition is Zen.<br />
The word jhāna becomes zen in Japanese Buddhism. Jhāna<br />
in the Pāli tradition is nothing but the outcome, the result, of<br />
samatha meditation.<br />
But it is curious that in Zen Buddhism the concern is not<br />
just samatha. Zen Buddhists claim that they have the essence
Phra Brahmapundit 7 11<br />
of vipassāna because they want us to dwell in the here and<br />
now to practice mindfulness. They emphasize mindfulness in<br />
Zen meditation. So in Zen Buddhism the word zen (jhāna)<br />
might confuse us in our Pāli tradition and make us think that<br />
Zen is nothing but samatha-bhāvāna, but this is not true. From<br />
my understanding, Zen Buddhism is introducing not only samatha,<br />
or calmness, meditation but also vipassāna, or insight,<br />
meditation. This is the way to apply the Buddhist technique to<br />
daily life in Japan. How do we to apply vipassāna meditation<br />
successfully to daily life? Zen Buddhists came to America to<br />
popularize their Buddhism. So we learn from their success.<br />
Then what did Siddhattha gain after he attained the absorption<br />
that is trance? Trance is the culmination of samatha<br />
or calmness practice. You lose your identity or ego. In the<br />
calmest state or trance, the highest state, there is no separation<br />
between subject and object. There is no separation between<br />
the knower and the known. For example, when you focus<br />
your attention on the breath, you are aware of in-breath and<br />
out-breath, of the breathing in and breathing out. At the<br />
beginning, you are aware of you yourself as a person who is
12 7 Vipassānā Meditation<br />
taking note of breathing in and breathing out. There is an I as<br />
a knower, the subject. There is the object that is your breath.<br />
At the outcome, at the trance, there is a merging of me, the<br />
knower, with the known that is the breath. You and the breath<br />
become one so that is you tend to forget yourself. There is<br />
absolutely nothing, just awareness. Pure awareness. There<br />
is no ego. Nothing.<br />
This is a mystical experience. You become one with<br />
the universe symbolized by your breath. This is a unique<br />
experience that is mystical because you cannot describe<br />
it. It is neither perception nor non-perception: neva-saññānāsaññ’āyatana<br />
[the realm of neither perception nor nonperception].<br />
There is no discrete perception. There is no<br />
separation between you, the perceiver, and the perceived<br />
object. You become one with the object. You totally forget<br />
yourself.<br />
In Hinduism, this unity with the object is called being<br />
one with Brahmā. You are what you know. You are what is<br />
known to you. So this means your experience becomes one<br />
with the whole universe. This is Hinduism. The Buddha
Phra Brahmapundit 7 13<br />
learned from the two ascetics who were not Buddhists. So<br />
that is why he learned samatha. If we dwell in samatha, we<br />
tend to identify the mystical experience with the experience of<br />
god. In the revelation you become one with what is revealed<br />
to you in the trance.<br />
You are in the United States, right? Read the book Varieties<br />
of Religious Experience, written by William James.<br />
What I am talking to you about is the analysis of William<br />
James, the well-known American psychologist. He analyzes<br />
a religious experience. But James fails to understand what<br />
is the uniqueness of Buddhist meditation. He ends there at<br />
just the trance state. And he found variations of this kind of<br />
experience in all religions.<br />
If you read The Tao of Physics, the author, Fritjof Capra,<br />
uses the same analysis, that when you practice, you reach this<br />
state of trance. There is no separation between the subject<br />
and object.<br />
This non-separation is not itself necessarily a purely religious<br />
experience. If you read poetry, a good poet sometimes<br />
describes this kind of experience, that of becoming united with
14 7 Vipassānā Meditation<br />
the object of experience. This incredible kind of experience in<br />
which the subject and object become one sometimes described<br />
in literature seems to be that of a trance.<br />
Once I visited the Himalayas. I went to the foot of the<br />
Himalayas at the border of India. I just sat in meditation not<br />
on a high mountain but at the border of India next to Tibet. I<br />
sat there alone and looked at the top of the mountain. In my<br />
imagination it seemed to me that I was listening to god talking.<br />
The grandness of the Himalaya Mountains symbolized<br />
god, Brahmā, Shiva. If you were an ascetic (ฤาษี in <strong>Thai</strong>) and<br />
meditated, what would come to your imagination? When you<br />
become one with nature, anyone can become god. And you<br />
are merged into that reality.<br />
So before you arrive there at the foot of the Himalayas,<br />
transportation is risky. You can fall into the Ganges anytime.<br />
You are afraid of death. Once you become one with god, there<br />
is nothing to be feared. You will be here permanently with<br />
god so death is not to be feared.<br />
The thing is that in trance meditation there is the advantage,<br />
the benefit, that it gives you calm happiness. It
Phra Brahmapundit 7 15<br />
gives you pitī, rapture; sukha, happiness; and citt’ekaggatā,<br />
one-pointedness of mind [the equivalent of samādi, mental<br />
concentration]. This is, I would say, a benefit if you live<br />
in a world with much stress. Go practice calmness meditation.<br />
It will be like fast food. It will be like a steroid, like a<br />
tranquilizer. It cures your pain, kills your pain immediately.<br />
But the cause of your pain is still there. Insight meditation<br />
tries to kill the cause of your pain. But samatha-bhāvāna,<br />
calmness meditation, tries to just calm down your pain for<br />
the time being. That is why the Buddha left the two ascetics<br />
in search of Enlightenment. In the meditative trance you are<br />
happy, but once you leave the cave and return to society, you<br />
are stimulated by the external world. You are suffering again<br />
because the cause of the pain is still there. The cause of the<br />
grief is still there. You have to get rid of the cause of the pain.<br />
What is the cause of suffering? To understand that, you<br />
have to listen to Venerable Pasanno this afternoon.<br />
At this point I will continue to talk about Prince Siddhattha.<br />
Prince Siddhattha, having left his palace, renounced the<br />
world, and put on the yellow robe, became the Bodhisatta
16 7 Vipassānā Meditation<br />
before attaining Enlightenment. As the Bodhisatta, the wouldbe<br />
Buddha, he was in search of Enlightenment. He practiced<br />
various techniques, including the extreme method of not eating<br />
anything, of not drinking any water, as we know. But under<br />
the Bodhi tree he found the Middle Way, majjhimā-patipadā,<br />
the way to develop not only his mind but also his body. So<br />
he took food and practiced meditation. The kind of meditation<br />
that enabled him to attain Enlightenment was to focus<br />
on or direct his attention to the core of his existence, not just<br />
to ignore this core or to presume that it is there.<br />
When you attain the trance, you tend to forget everything,<br />
the whole universe. You become one with the universe. You<br />
are there. I am there. We are one with the essential part of<br />
the universe and become one with the great essential being,<br />
Brahmā. You are Brahmā. You are god. God is you, inside<br />
you. So this means the core of being is there in the samatha<br />
practice, but the focus is not on it.<br />
But the Buddha directed his attention to his own existence,<br />
to contemplation of his body (kāyānupassanā), to<br />
contemplation of his feelings (vedanānupassanā), to con-
Phra Brahmapundit 7 17<br />
templatation of his consciousness (cittānupassanā), and to<br />
contemplation of his mind objects (dhammānupassanā). So<br />
he found nothing inside himself, just emptiness. There is no<br />
core experience. There is no ego at all. Ego or self is nothing,<br />
a creation of his mind. The Buddha reached the state of<br />
emptiness—suññatā or anattā. Voidness. He liberated himself<br />
from all defilements because defilements are unwholesome<br />
mental content that need a container. Your ego is a container,<br />
is a foundation of all kinds of defilements, for example, anger,<br />
greed, hatred, and ignorance. When you eradicate the belief<br />
in the ego, there is nothing to contain the defilements, nothing<br />
to be a foundation of the defilements. They are destroyed.<br />
On the night of his Enlightenment, on Vesak Day, the full<br />
moon day of Vesak, the would-be Buddha attained three kinds<br />
of paññā (wisdom). The first is pubbe-nivāsānussati paññā,<br />
the second one is cutūpapāta-ñāna paññā, and the third one is<br />
āsavakkhaya paññā. After attaining the three paññā (forms<br />
of wisdom), he became the Buddha.<br />
What are these kinds of wisdom? Pubbe-nivāsānussati<br />
paññā is the recollection of the Buddha’s past lives as in the
18 7 Vipassānā Meditation<br />
Jātaka stories. That is the result of his pubbe-nivāsānussati<br />
paññā. Cutūpapāta-ñāna paññā is to see the past lives of other<br />
people or beings. These two kinds of wisdom are the result of<br />
the extreme practice of samatha. You see these things through<br />
the divine eye, dibba cakkhu. When you have purified the<br />
divine eye, you will see the faith of other beings.<br />
So Enlightenment is the mixture of samatha and<br />
vipassāna. The first two kinds of wisdom are the outcome<br />
of the extreme practice of samatha. Without the divine eye,<br />
you cannot see the reappearing of other beings in future lives.<br />
But these two wisdoms could not help the Buddha attain Enlightenment<br />
to get rid of the defilements. The third wisdom,<br />
āsavakkhaya paññā, the wisdom that purifies the mind from<br />
all kinds of defilements, comes from insight meditation. Using<br />
two techniques, the Buddha achieved the greatest wisdom<br />
through the combination of both samatha and vipassāna.<br />
And that is because he learned how to practice samatha first<br />
to attain the highest state of trance, and he then diverted his<br />
attention to his own being and realized that there is no core<br />
being, only emptiness, only anattā. If there is no ego, it is
Phra Brahmapundit 7 19<br />
possible to eradicate all kinds of defilements.<br />
So I would say that regarding Buddhist meditation, there are<br />
two kinds of meditation to consider in the Buddha’s life story.<br />
We have to accept that. Samatha-bhāvāna, calmness meditation,<br />
is required as a preliminary stage for insight meditation.<br />
Insight meditation has samatha or calmness as a preliminary<br />
stage. At the least it is a khanika samādhi, momentary<br />
concentration, momentary calmness. This is a necessity.<br />
Without this kind of focus, this preliminary concentration, you<br />
will not be able to divert your attention to the body, feelings,<br />
consciousness, and mind objects. You will be distracted easily.<br />
So I do not like the idea spreading among the practitioners<br />
in <strong>Thai</strong>land who adopt Mahasi Sayadaw’s method from<br />
Burma. It is pure insight meditation with no need to practice<br />
samatha. I think this is a misunderstanding. When I read the<br />
Dhamma talk in <strong>Eng</strong>lish translation given by Mahasi Sayadaw,<br />
I see he does mention that the continuity of your taking note<br />
of the rising and falling of the abdomen, or observing or being<br />
aware of your internal activities, should be unremitting, should<br />
be continuous. When you walk in walking meditation, you
20 7 Vipassānā Meditation<br />
lift your foot forward and touch down on the left-hand side.<br />
And when you turn to the right-hand side, your attention has to<br />
follow all the kinds of movements and even the turning from<br />
the left to the right. And if you want to turn, you have to turn<br />
your attention to wanting. If there is itching, you have to say<br />
that there is itching. In the walking state Mahasi Sayadaw<br />
emphasizes that your awareness, your attention, should be<br />
in continue process. Otherwise there would not be samādi<br />
understood as meditative concentration.<br />
So Samādi is a continuity of your attention to all activities<br />
either internal (mental activity) or external (bodily activity).<br />
Continuity must be there in your attention and become powerful<br />
samādi. Samādi is the outcome of samatha-bhāvāna.<br />
Samatha-bhāvāna is needed wherever vipassāna-bhāvāna is<br />
to be developed.<br />
Why do I mention this? What I say is suitable to the <strong>Thai</strong><br />
temperament. You can look into the history of meditation<br />
practice in <strong>Thai</strong>land since the Sukhothai period. The record<br />
of the history of <strong>Thai</strong> meditation practice is available today,<br />
for example, the record written by Sangharaja, the former
Phra Brahmapundit 7 21<br />
Supreme Patriarch at the beginning of, say, the Bangkok era.<br />
He clearly mentions a tradition of the practice of samatha—as<br />
well as the contemplation of the four foundations of mindfulness<br />
(satipatthāna) in vipassāna.<br />
Ajahn Mun or Luang Phaw Mun, was the master of<br />
Luang Phaw Chah. Luang Phaw Chah was the master of<br />
Ajahn Pasanno. Luang Phaw Chah practiced meditation under<br />
the guidance of Luang Phaw Mun. What kind of meditation<br />
practice did Luang Phaw Mun emphasize? Wait until this<br />
afternoon. Ajahn Pasanno will answer the question.<br />
In the Northeastern tradition, especially in the Dhammayuttika<br />
sect, the emphasis is on samatha. This is the popular<br />
practice in America, especially in Canada. The popular master<br />
in meditation practice, the <strong>Thai</strong> master Luang Phaw Viriyang,<br />
is teaching samatha or calmness meditation. He said he is not<br />
teaching insight meditation. He is teaching samatha or calmness<br />
meditation. I would say, though, there is in <strong>Thai</strong>land a<br />
mixture of samatha and vipassāna.<br />
Regarding the development in the teaching of Luang<br />
Phaw Chah, when it comes to the West, I read from your
22 7 Vipassānā Meditation<br />
website, Ajahn Pasanno, although I met you in person at Wat<br />
Nong Pa Pong many years ago, but I follow your activity. Now<br />
it is mentioned that, in the tradition of Luang Pu Cha, there is<br />
kind of combination between samatha, calmness meditation,<br />
and vipassāna, insight meditation.<br />
The combination is a necessity because if you dwell<br />
only on the level of samatha meditation, this is not a purely<br />
Buddhist meditation. When you come the West, you will<br />
have to teach insight meditation, which is uniquely Buddhist<br />
meditation. It is characteristic of Buddhism.<br />
There are two characteristics of Theravāda Buddhism<br />
from the <strong>Thai</strong> tradition or the Sri Lankan or any kind of<br />
Pāli tradition. One is insight meditation; the other is the<br />
Abhidhamma. You cannot ignore the Abhidhamma if you<br />
want to study the Theravāda tradition or the <strong>Thai</strong> tradition<br />
of Buddhism. The Abhidhamma like a road map to practice<br />
meditation to attain Enlightenment. In practical terms, you<br />
have to follow the path by practicing insight meditation. So<br />
the Abhidhamma is to give you the rational guidelines of<br />
vipassāna meditation. The Abhidhamma, in brief, is a study of
Phra Brahmapundit 7 23<br />
citta, cetasika, rūpa, and nibbāna. Citta means consciousness,<br />
your mind. Cetasika means mental acts or mental contents,<br />
whatever methods of mental activities or mental practices there<br />
are. Rūpa means your body. Nibbāna means the outcome<br />
of the Enlightenment. So the Abhidhamma is a roadmap to<br />
Enlightenment. It gives you rational guidelines for vipassāna.<br />
The Abhidhamma presents the theoretical aspects of insight<br />
meditation. The practical aspect of the Buddhist teaching is<br />
vipassāna.<br />
Now let us turn to the subject of teaching meditation in<br />
the West. There are many things to talk about, and I will try<br />
to give you my idea. I think the details of insight meditation<br />
are up to you. It is up to the various members of the groups to<br />
consider this subject. So when we focus our attention on how<br />
to teach insight meditation in the West, I would suggest that<br />
do not forget the <strong>Thai</strong> tradition of concentration meditation.<br />
There are forty methods of how to practice insight meditation.<br />
What about concentration meditation? What role does it play?<br />
For those who come to the temple just for a quick meal,<br />
for fast food, you have a kind of meditation for them. And
24 7 Vipassānā Meditation<br />
the methodology is quite easy, for example, when someone<br />
comes to the temple, if they are Buddhist why not invite them<br />
to chanting, to Buddhist chanting in Pāli? Chanting is a very<br />
powerful method of meditation in the preliminary stage of<br />
meditation practice in Japan. Now all temples in <strong>Thai</strong>land<br />
are introducing chanting to lay people. On New Year’s Eve<br />
night last year, two hundred thousand <strong>Thai</strong> people assembled<br />
in Sanam Luang at midnight to celebrate the New Year, and I<br />
was invited to guide them in chanting together. Booklets in<br />
Pāli were distributed, and the people chanted along with the<br />
monks. Had we invited them to sit in meditation, I think they<br />
would not have come. But to chant for the King, to welcome<br />
the New Year, for prosperity, for good luck, they will come.<br />
Half of Sanam Luang was full of these people, including the<br />
young. In chanting, their minds were focused on one particular<br />
object. This is samatha.<br />
I would like the young generation of the <strong>Thai</strong>s in the<br />
United States to come to the temple not just for Buddhist<br />
Sunday school when they are children. Sunday school for the<br />
children is fine. What about later on? What should we do?
Phra Brahmapundit 7 25<br />
Sometimes, there is the language difficulty, but chanting in<br />
Pāli, chanting along with the monks, will not be too much for<br />
them. This is a successful and powerful method introduced by<br />
the Japanese, and now it is affecting the traditional <strong>Thai</strong> lay<br />
people in <strong>Thai</strong>land. Even the National Bureau of Buddhism<br />
wants to introduce this method. Why not do this in America,<br />
too, as a part of samatha practice? Do not think it is not a<br />
Buddhist methodology. It is Buddhist.<br />
Regarding the practice of meditation in Hinduism, one of<br />
the most popular teachers in India moved to Oregon. I mean<br />
Phra Bhagwan Rajneesh. He is very popular in India. So<br />
much so that he could not live in India because of the effect<br />
he had on the way of life of conservative people. Rajneesh<br />
himself moved to Oregon. When he was in India, I went to<br />
observe him. What kind of meditation did he teach to the<br />
masses? He used music. He requested practitioners to sit in<br />
the meditation posture and turn on music. In the <strong>Thai</strong> culture<br />
it is very similar to a traditional song like “The bat eats bananas”<br />
(“ค้างคาวกินกล้วย”). Now you know very well. You focus<br />
on an Indian traditional song. In our culture <strong>Thai</strong> music uses
26 7 Vipassānā Meditation<br />
just one instrument, and you follow the tone and the sound<br />
of the music. This is very good. You focus on the song, and<br />
repeat it again and again till you calm down your mind. After<br />
the music, Rajneesh gives a lecture in <strong>Eng</strong>lish. Samatha is a<br />
preliminary; then, when the practitioners have concentration,<br />
you can guide them into insight meditation.<br />
So when I went to Taiwan, I saw that Taiwan develops<br />
chanting into a musical band. The chief monk wrote a Buddhist<br />
song in Chinese, giving it to children or students to sing,<br />
and the monk became the conductor. This is very popular.<br />
I think this is something that can be accepted in America.<br />
This is nothing but chanting mixed with musical instruments.<br />
The Tibetan chanting CD is now available in <strong>Thai</strong>land. So in<br />
<strong>Thai</strong>land the music of Chinabanchon chanting was introduced.<br />
I would like this land to be flexible in preparing chanting, I<br />
call it chanting, about the essential teaching of Buddha in Pāli<br />
mixed with beautiful music for the young generation. I do<br />
not mind if you just add the element of the Buddhist song in<br />
<strong>Thai</strong> traditional music in Buddhist Sunday school.<br />
The Chinese Buddhist Association brought the Buddhist
Phra Brahmapundit 7 27<br />
orchestra of one hundred eighty performers to present the Buddhist<br />
songs on stage. The first Buddhist orchestra is funded by<br />
the Chinese Government, not to be outdone by Taiwan. The<br />
performance is highly professional. Only the contents of the<br />
songs are different. When they perform the music, they put<br />
the explanation of the music on the screen. The lyrics are<br />
shown on the screen in Chinese and in <strong>Eng</strong>lish translation.<br />
These are beautiful songs describing sunyata (emptiness) and<br />
the bodhisattva Guan Yin. They give us all a full experience<br />
and a dream to see such kinds of musical performance in our<br />
tradition, not from the United States, not from movies, but<br />
from lay people. But this is quite expensive.<br />
In the United States, however, I think you can afford to<br />
have the first Buddhist band sponsored by The Council of<br />
<strong>Thai</strong> Bhikkhus in the U.S.A. with the blessing of Luang Ta<br />
Chi. Think about samatha as a preliminary path of insight<br />
meditation. We can compete with the music in church anywhere;<br />
I am talking about the younger generation in our own<br />
<strong>Thai</strong> tradition. For the Westerners, that is left for Venerable<br />
Ajahn Pasanno to deal with in detail. I just propose to you in
28 7 Vipassānā Meditation<br />
general terms. I would like to give you a path for walking,<br />
for you to invent your own methodology.<br />
The Buddha, then, at the beginning practiced samatha<br />
and vipassāna. He attained the jhāna state. As a boy, he sat<br />
under the tree meditating, and he mentioned that the method<br />
of meditation that he used at the age of seven or eight was the<br />
awareness of his breath. The Buddha attained Enlightenment<br />
through ānāpānasati in samatha. From the contemplation<br />
awareness of his breath, he developed insight meditation.<br />
That is why Buddhadāsa Bhikkhu wrote a book on the sixteen<br />
stages of ānāpānasati.<br />
Ānāpānasati in the <strong>Thai</strong> tradition develops from calmness<br />
meditation to insight meditation whereas in the Burmese<br />
tradition you go directly, without this much concern about the<br />
breathing, to the rising and falling of the abdomen. However,<br />
the rising and falling of the abdomen is related to the breath.<br />
So somehow, Mahasi Sayadaw said that there is a mixture of<br />
ānāpānasati and kāyānupassanā (contemplation of the body).<br />
So not to dwell on the level of the breath but to contemplate<br />
the body (kāyānupassanā) is a short cut mentioned by Mahasi
Phra Brahmapundit 7 29<br />
Sayadaw.<br />
But in <strong>Thai</strong> tradition, we give more attention to the breath<br />
the same way the Buddha did before his Enlightenment.<br />
After his Enlightenment, the Buddha practiced meditation<br />
not for the purpose of Enlightenment because he was already<br />
enlightened, but to live happily in daily life. To live happily,<br />
you need concentration, you need the trance. The Buddha<br />
practiced this in his free or rest time. When you are stressed,<br />
practice calmness meditation to calm down your mind.<br />
If you want to attain Enlightenment, continue to the stage<br />
of contemplation of your body. In insight meditation you<br />
come to see the true nature of yourself. It is nothing but emptiness.<br />
There is only impermanence (anicca), the condition<br />
of suffering (dukkha), and selflessness (anattā). You realize<br />
that nothing is inside you; there is only emptiness (sunyata<br />
in Mahayana or Zen, suññatā in Theravāda). Zen tradition<br />
is not just about the trance. It is not just samatha because it<br />
wants to develop mindfulness so that you can penetrate into<br />
your being to see emptiness, or sunyata. That is why there is<br />
training to go to the insight meditation level.
30 7 Vipassānā Meditation<br />
The benefit of insight meditation, vipassāna, comes once<br />
you leave the meditation practice room inside the temple,<br />
when you have to live in the world. You have to go to live<br />
in the world, for example, you have to work in your office.<br />
Mindfulness, which is cultivated in insight meditation, helps<br />
you to be aware of the external world without your ego getting<br />
in the way. With the empty mind, then, you will become<br />
one with your surrounding; there will be no separation. But<br />
now this oneness is developed by wisdom, not just by your<br />
calmness, but by your understanding of the wholeness, of the<br />
unity between you and the surrounding world. Since there<br />
is no separation between you and the world, compassion and<br />
loving-kindness spread out from you. You live happily in society.<br />
So insight meditation not only brings happiness into your<br />
personal life, but it also makes the other people surrounding<br />
you happy. It helps bring peace to the world. It is not just a<br />
personal gain as in the case of samatha. It is through insight<br />
meditation that you will forget and drop your ego belief.<br />
You think of other beings with compassion; you are ready to<br />
help—with no connection to a stressful condition of life. Your
Phra Brahmapundit 7 31<br />
mind is free and becomes powerful; loving-kindness dwells<br />
with compassion. You are ready to help other people, to serve<br />
persons in society with dedication and with joy, because you<br />
have nothing to gain; you want only to give. When everyone<br />
is ready to give, everybody will gain. There will be nothing<br />
but peace and happiness.<br />
May peace be with you all!<br />
/ / / / /