15.03.2022 Views

ASA Journal 05/22

Home Smart Home

Home Smart Home

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

Home Smart Home<br />

20<strong>22</strong>.Jan-Feb<br />

The Architectural <strong>Journal</strong> of the Association of Siamese Architects under Royal Patronage


02<br />

advertorial<br />

SuperDyma®<br />

สำำ หรัับงนออกแบบโครังสำรั้ง<br />

ได้้ทั้ังควมสำวยงม และทั้นทั้น<br />

SuperDyma® SmartFrame


เพราะหนึ่่ งในึ่องค์์ประกอบของการสร้างอาค์ารที่่ มั่่ นึ่ค์ง<br />

แข็งแรงและสวยงามั่ ค์ือการเลือกใช้้ว่สดุุที่่ ตอบโจที่ย์<br />

งานึ่โค์รงสร้างไดุ้ดุ่ มั่่ค์ุณภาพมั่าตรฐานึ่ และการร่บประก่นึ่<br />

ที่่นึ่่าเช้ื อถืือ ผลิตภ่ณฑ์์ SuperDyma® เหล็กเค์ลือบส่งกะส่<br />

ผสมั่อะลูมั่ิเนึ่ียมั่ 11% และแมั่กนึ่ีเซี่ยมั่ 3% จากบลูสโค์ป<br />

ที่่ผลิตดุ้วยเที่ค์โนึ่โลย่ข่ นึ่สูงของประเที่ศญี่่ ปุ นึ่ พร้อมั่ไดุ้<br />

ร่บการการ่นึ่ต่ให้เป็นึ่ผลิตภ่ณฑ์์ต่วแรกในึ่กลุ มั่ที่่ไดุ้ร่บ<br />

มั่อก.2981-2562<br />

BLUESCOPE<br />

03<br />

ดุ้วยค์ุณสมั่บ่ติที่่แข็งแรงที่นึ่ที่านึ่กวาเหล็กชุ้บส่งกะส่<br />

ที่่วไป รวมั่ที่่งที่นึ่ที่านึ่ตอการก่ดุกรอนึ่ในึ่สภาวะที่่เป็นึ่<br />

ดุาง และมั่่ค์วามั่ช้ืนึ่สูงซี่งที่ำาให้พืนึ่ผิวของ SuperDyma®<br />

จะย่งค์งสวยงามั่ แมั่้เวลาจะผานึ่ไป จ่งเหมั่าะใช้้งานึ่ก่บ<br />

โค์รงสร้างสำาค์่ญี่ของอาค์ารและบ้านึ่พ่กอาศ่ย โดุยนึ่ิยมั่<br />

ใช้้ข่ นึ่รูปเป็นึ่แปหล่งค์าเหล็ก โค์รงค์ราวผนึ่่ง แผนึ่เหล็ก<br />

พืนึ่สำาเร็จรูป และที่อแอร์ เพราะสามั่ารถืออกแบบเพื อให้<br />

โช้ว์พืนึ่ผิวของ SuperDyma® ไดุ้เลย<br />

SuperDyma® SmartDuct<br />

SuperDyma® SmartDeck


04<br />

advertorial<br />

ซี่งผลิตภ่ณฑ์์เหล็กเค์ลือบส่งกะส่ในึ่กลุ มั่ SuperDyma®<br />

มั่่ผลิตภ่ณฑ์์กลุ มั่ยอยให้เลือกใช้้ตามั่รูปแบบงานึ่ไดุ้อยาง<br />

ตอบโจที่ย์ ต่ งแต SuperDyma® SmartPurlin สำาหร่บ<br />

งานึ่แปผนึ่่งและหล่งค์า ที่่สามั่ารถืส่งผลิตค์วามั่ยาวไดุ้ตามั่<br />

ต้องการ ไมั่ต้องที่าส่ก่นึ่สนึ่ิมั่เพิ มั่ ช้วยลดุเวลาและค์าใช้้จาย<br />

ไดุ้ดุ่ พร้อมั่ร่บประก่นึ่การผุกรอนึ่สูงสุดุถื่ง 12 ปี*<br />

SuperDyma® SmartFrame อ่กหนึ่่งโค์รงสร้างผนึ่่งและ<br />

หล่งค์า ที่่ ไมั่เพ่ยงแตติดุต่ งไดุ้สะดุวกงายดุาย แตย่งให้<br />

ค์วามั่สวยงามั่กวาเหล็กโค์รงสร้างที่่วไป เพราะมั่่ผิวและส่<br />

ของว่สดุุที่่เร่ยบเนึ่ียนึ่ไดุ้มั่าตรฐานึ่มั่าจากโรงงานึ่พร้อมั่ร่บ<br />

ประก่นึ่สูงสุดุถื่ง 5 ปี<br />

SuperDyma® SmartDeck แผนึ่เหล็กพื นึ่สำาเร็จรูปที่่มั่่ช้่ นึ่<br />

เค์ลือบป้องก่นึ่สนึ่ิมั่ เปร่ยบเสมั่ือนึ่มั่่ฟิล์มั่ที่ำาหนึ่้าที่่ปกป้อง<br />

ผิวเหล็กไมั่ให้ส่มั่ผ่สค์วามั่ช้ื นึ่และอากาศ เหมั่าะสำาหร่บงานึ่<br />

ที่่ต้องการประหย่ดุเวลา และโช้ว์ผิวว่สดุุ<br />

SuperDyma® SmartPurlin<br />

SuperDyma® SmartFrame


BLUESCOPE<br />

<strong>05</strong><br />

SuperDyma® SmartDeck<br />

SuperDyma® SmartDuct ผลิตภ่ณฑ์์สำาหร่บงานึ่ที่อแอร์<br />

และที่อระบบระบายอากาศ ที่่ไดุ้ร่บการผลิตตามั่มั่าตรฐานึ่<br />

JIS G3323 จากประเที่ศญี่่ ปุ นึ่ มั่่ค์วามั่ที่นึ่ที่านึ่สูง ช้วย<br />

ประหย่ดุต้นึ่ทีุ่นึ่การดุูแลร่กษาในึ่ระยะยาว พร้อมั่ร่บประก่นึ่<br />

ไมั่ผุกรอนึ่สูงสุดุ 5 ปี* เหมั่าะสำาหร่บงานึ่ที่่ต้องการโช้ว์<br />

ระบบที่อโดุยไมั่ต้องที่ำาส่เพิ มั่ที่่หนึ่้างานึ่<br />

nsbluescope.com/th<br />

SuperDyma® SmartDuct


08<br />

advertorial<br />

Home Smart Home<br />

แม้้ในปัจจุบัันวิิธีีการการออกแบับับั้านของสถาปนิกจะม้ีการ<br />

ผสม้ผสานสไตล์์การออกแบับั แล์ะการเล์ือกใช้้วิัสดุุที่ีหล์ากหล์าย<br />

เพื่ือสร้างควิาม้น่าสนใจให้กับังานสถาปัตยกรรม้ แต่สำาหรับั<br />

การออกแบับับั้านสไตล์์ที่รอปิคอล์หรือโม้เดุิร์นที่รอปิคอล์ ม้ักม้ี<br />

การเล์ือกใช้้วิัสดุุที่ีค่อนข้างช้ัดุเจน ดุ้วิยผิวิสัม้ผัส แล์ะโที่นสีที่ีให้<br />

ควิาม้เป็นธีรรม้ช้าติ เช้่น การเล์ือกใช้้วิัสดุุ ‘ไม้้’ ในการออกแบับั<br />

แต่ล์ะองค์ประกอบัของอาคาร ซึ่่งรวิม้ไปถ่งองค์ประกอบัในส่วินของ<br />

การมุ้งหล์ังคาที่ีแม้้จะดุูเป็นส่วินที่ี น่ากังวิล์สำาหรับัการเล์ือกใช้้วิัสดุุ<br />

ไม้้จริง เพื่ราะอาจเกิดุการรั วิซึ่่ม้ของนำาฝนจากขนาดุไม้้ที่ีหนาไม้่<br />

เที่่ากัน แล์ะการผุพื่ังไดุ้ง่ายดุ้วิยคุณสม้บััติของวิัสดุุ แต่ก็กล์ับั<br />

เป็นการสร้างกล์ินอายของธีรรม้ช้าติไดุ้อย่างแที่้จริง<br />

In the modern-day, architects have more privilege to design<br />

houses with various approaches and styles while having<br />

a wide range of materials for selection to make the designs<br />

even more interesting than before. For instance, architects<br />

have a relatively clear choice of materials with the texture<br />

and natural color tones, such as selecting materials ‘wood’<br />

in the design of various house elements. This includes<br />

the roofing that, although it may seem, is a concern when<br />

choosing real wood because there could be leakage since<br />

the woods often come in different sizes and thicknesses.<br />

Wood may also quickly decay according to its properties.<br />

But it can create a real sense of nature.


SHERA<br />

09<br />

The SHERA Zedar Shake roof<br />

provides a design solution for<br />

architects and designers to substitute<br />

natural wood for roofing.<br />

The new product by SHERA also<br />

meets the tropical style design<br />

at the same time with a more<br />

convenient and more accessible<br />

installation system<br />

The SHERA Zedar Shake roof provides a design solution<br />

for architects and designers to substitute natural wood for<br />

roofing. The new product by SHERA also meets the tropical<br />

style design at the same time with a more convenient and<br />

more accessible installation system without the need for<br />

Sub-Roof Material as it comes with an Inter-Lock system to<br />

prevent water leakage. In addition, the width of the product<br />

is available in 3 sizes - 4”, 6” and 8” in width, all are 35 cm in<br />

length and 12 mm in thickness, with two installation styles.<br />

These include straight-edged roofing that gives the image<br />

a smooth and neat appearance and overlapping short and<br />

long edges, which offer more design features and more<br />

naturalness to the roof.<br />

หล์ังคา เอร่า ซึ่ีดุาร์ เช้ค จ่งออกแบับัม้า<br />

เพื่ือแก้ปัหาการใช้้ไม้้จริงมุ้งหล์ังคา แล์ะตอบัโจที่ย์การออกแบับั<br />

สไตล์์ที่รอปิคอล์ไดุ้ในเวิล์าเดุียวิกัน ดุ้วิยการพื่ันาระบับัการ<br />

ติดุตังให้สะดุวิกแล์ะง่ายข่นโดุยไม้่จำาเป็นต้องใช้้แผ่นรองใต้หล์ังคา<br />

เพื่ราะม้ีระบับั ช้่วิยปองกันการ<br />

รั วิซึ่่ม้ของนำาที่ีจะผ่านเข้าม้า อีกที่ังหน้ากวิ้างของผล์ิตัณ์ยังม้ีให้<br />

เล์ือกถ่ง ขนาดุ ตั งแต่ หน้า หน้า แล์ะ หน้า ควิาม้ยาวิ<br />

ซึ่ม้ หนา ม้ม้ พื่ร้อม้รูปแบับัการติดุตังที่ีสาม้ารถติดุตั งไดุ้<br />

ถ่ง รูปแบับั ไดุ้แก่ การมุ้งแบับัขอบัตรงให้าพื่ล์ักณ์ดุูเนยนสวิย<br />

เรียบัร้อย แล์ะการมุ้งขอบัสันยาวิสล์ับัเหล์ือม้ เพื่ือเพื่ิ ม้ล์ูกเล์่นแล์ะ<br />

ควิาม้เป็นธีรรม้ช้าติให้กับัหล์ังคา<br />

The SHERA Zedar Shake also has a beautiful color range<br />

and texture of wood grains that look like real natural wood<br />

for the designers to choose from according to the building’s<br />

color scheme. There are up to 4 colors: Zante Yellow, Brown<br />

Chesnas, Black Wenge, and most recently Metro Graywhich<br />

is the latest color inspired by old cedar roofs treated<br />

with stains and uneven color by complementing the tones of<br />

dark gray gradation for the perfect balance between nature<br />

and beauty.<br />

shera.com<br />

รวิม้ถ่งผล์ิตัณ์ เอร่า ซึ่ีดุาร์ เช้ค ยังม้ี<br />

สีสันแล์ะล์ายไม้้ที่ีสวิยงาม้ดุุจไม้้จริงจากธีรรม้ช้าติให้เล์ือกใช้้ตาม้<br />

รูปแบับัของโที่นสีอาคารถ่ง สี ไดุ้แก่ สีเหล์ืองแซึ่นเต้ สีบัราวิน์<br />

เช้สนัส แล์ะสีแบัล์็คเวิงเก้ ส่วินสีเที่า เม้โที่รเกรย์ คือสีใหม้่ล์่าสุดุที่ี<br />

ไดุ้รับัแรงบัันดุาล์ใจจากหล์ังคาไม้้สนซึ่ีดุาร์เก่าที่ี ผ่านการใช้้งานจน<br />

เกิดุคราบัแล์ะสีที่ีไม้่สม้ำาเสม้อ โดุยเสริม้แต่งดุ้วิยโที่นสีเที่าไล์่<br />

เดุเข้ม้อ่อน เพื่ือควิาม้ล์งตัวิระหวิ่างธีรรม้ช้าติแล์ะควิาม้งาม้<br />

ที่ีผสม้ผสานกันไดุ้อย่างสม้ดุุล์


The Architectural <strong>Journal</strong> of the Association of Siamese Architects under Royal Patronage<br />

20<strong>22</strong><br />

JAN- FEB<br />

HOME<br />

SMART HOME<br />

The Association<br />

of Siamese Architects<br />

under Royal Patronage<br />

248/1 Soi Soonvijai 4 (Soi 17)<br />

Rama IX Rd., Bangkapi,<br />

Huaykwang, Bangkok 10310<br />

T : +66 2319 6555<br />

F : +66 2319 6419<br />

W : asa.or.th<br />

E : asaisaoffice@gmail.com<br />

Subscribe to <strong>ASA</strong> <strong>Journal</strong><br />

T : +662 319 6555<br />

<strong>ASA</strong> JOURNAL<br />

COMMITTEE<br />

2020-20<strong>22</strong><br />

Advisor<br />

Chana Sumpalung<br />

Chairperson of Committee<br />

Assoc.Prof. M.L. Piyalada<br />

Thaveeprungsriporn, Ph.D.<br />

Committee<br />

Asst. Prof. Saithiwa<br />

Ramasoot, Ph.D.<br />

Vorapoj Tachaumnueysuk<br />

Padirmkiat Sukkan<br />

Prachya Sukkaew<br />

Namtip Yamali, Ph.D.<br />

Kulthida Songkittipakdee<br />

Jenchieh Hung<br />

Secretary<br />

Theerarat Kaeojaikla<br />

บทความหรือภาพที่ลงใน<br />

วารสารอาษาหรือสื่ อออนไลน์<br />

สมาคมฯ ขอสงวนลิขสิทธิ ์ตาม<br />

กฎหมาย การนำาบทความ<br />

หรือภาพจากวารสารอาษา<br />

ไปตีพิมพ์ อ้างอิงหรือประโยชน์<br />

ใดในสิ ่งพิมพ์หรือสื่ อออนไลน์<br />

อื่น ต้องได้รับอนุญาตจาก<br />

สมาคมฯ ผู้เป็ นเจ้าของลิขสิทธิ์<br />

ตามกฎหมายเท่านั้น<br />

Editor-in-Chief<br />

Mongkon Ponganutree<br />

Editor<br />

Supreeya Wungpatcharapon<br />

Managing Editor<br />

Kamolthip Kimaree<br />

Assistant Editor<br />

Pichapohn Singnimittrakul<br />

Contributors<br />

Nathanich Chaidee<br />

Nuttawadee Suttanan<br />

Panthira Julayanont<br />

Patikorn Na Songkhla<br />

Sasikan Srisopon<br />

Warut Duangkaewkart<br />

Xaroj Phrawong<br />

English Translators<br />

Tanakanya Changchaitum<br />

Pawit Wongnimmarn<br />

English Editors<br />

Daniel Cunningham<br />

Sheena Sophasawatsakul<br />

Graphic Design<br />

art4d WORKS<br />

Wasawat Dechapirom<br />

Pitipat Tubtim<br />

Jitsomanus Kongsang<br />

Photographer<br />

Ketsiree Wongwan<br />

Production Manager<br />

Areewan Suwanmanee<br />

Account Director<br />

Rungladda Chakputra<br />

Advertising Executives<br />

Napharat Petchnoi<br />

Chatchakwan Fagon<br />

Thanapong Lertpiyaboon<br />

Special Thanks<br />

AAd (Ayutt and Associates Design)<br />

Anonym Studio<br />

Chaiyoot Chinmahavong<br />

Chalermwat Wongchompoo<br />

(Sofography)<br />

Chutayaves Sinthuphan<br />

Hiroyuki Oki<br />

Ketsiree Wongwan<br />

P.O.AR (Patchara + Ornnicha<br />

Architecture Co., Ltd.)<br />

Rattapong Angkasith<br />

SkyGround architectural film<br />

& photography<br />

Soopakorn Srisakul<br />

Studio Tofu<br />

Sute Architect<br />

Vo Trong Nghia Architects<br />

YLP Co., Ltd.<br />

Print<br />

SUPERPIXEL<br />

Publisher<br />

The Association of<br />

Siamese Architects<br />

Under Royal Patronage<br />

Copyright 2021<br />

No responsibility can be<br />

accepted for unsolicited<br />

manuscripts or photographs.<br />

ISSN 0857-3<strong>05</strong>0<br />

Contact<br />

asajournal@asa.or.th<br />

20<strong>22</strong>.Jan-Feb<br />

Home Smart Home<br />

Photo: Ketsiree Wongwan


์<br />

12<br />

message from the president<br />

รายนามคณะกรรมการ<br />

บริหาร สมาคมสถาปนิกสยาม<br />

ในพระบรมราชูปถัมภ์<br />

ประจาปี 2563-2565<br />

นายกสมาคม<br />

ชนะ สั มพลั ง<br />

อุปนายก<br />

นิ เวศน์วะสีนนท์<br />

ศ.ดร.ต้นข้ว ปณิ นท์<br />

จู น เซคิ โน<br />

ชุตยเวศ สินธุพันธุ์<br />

ผศ.ดร.รัฐพงษ์ อังกสิทธิ<br />

รุ่งโรจน์ อ่วมแก้ว<br />

เลขาธิการ<br />

พิพัฒน์รุจิรโสภณ<br />

นายทะเบียน<br />

คมสัน สกุลอำนวยพงศ<br />

เหรัญญิก<br />

ไมเคิลปริพล ตั้งตรงจิตร<br />

ปฏิคม<br />

เฉลิมพล สมบัติยนุ ชิต<br />

สารจากนายกสมาคม<br />

สำหรับวรสรอษฉบับ <strong>05</strong> ประจำเดือนมกรคม-กุมภพันธ์ ฉบับแรกของ<br />

ปี 2565 นี้ ต่อเนื่องด้วยธีม Home Smart Home ซึ ่งเป็ นฉบับที่มีเนื้อหทั้งเชิง<br />

วิ ชกรและโครงกรออกแบบสถปั ตยกรรมจก แวดวงกรวิชชีพที่น่สนใจ<br />

ว่ด้วยเรื่องกรนำเทคโนโลยี Home Automation หรือนวัตกรรมใหม่ๆ สำหรับ<br />

ที่อยู่อศัยเข้มใช้ร่วมกับกระบวนกรออกแบบ เพื่อให้เกิดกรใช้งนที่ตอบ<br />

โจทย์ตมยุคสมัย และกิจวัตรประจำวัน คดว่เนื้อหจกวรสรฉบับนี้จะเป็ น<br />

ประโยชน์และแนวทงให้ทุกท่นได้นำกลับไปคิด ต่อยอดกรทำงนได้ต่อไปครับ<br />

ในฐนะของนยกสมคมฯ ผมขอขอบคุณสมชิกทุกท่นอีกครั้งที่ติดตม<br />

วรสรอษมอย่งต่อเนื่อง และให้ควมไว้วงใจในกรเลือกผมมทำงน<br />

ให้กับสมคมฯ อีกวระหนึ ่ง รวมถึงให้ควมร่วมมือกับกิจกรรมต่งๆ ที่ทงสม<br />

คมฯ ได้จัดขึ ้นเป็ นอย่งดี<br />

ประชาสัมพันธ์<br />

รศ.ดร.ม.ล.ปิ ยลด ทวีปรังษีพร<br />

กรรมการกลาง<br />

ดร.วสุ โปษยะนันทน์<br />

เฉลิมพงษ์ เนตรพฤษรัตน์<br />

อดุลย์ แก้วดี<br />

ผศ.ณธทัย จันเสน<br />

กศินธ์ ศรศรี<br />

ณั ฎฐวุ ฒิ พิริยประกอบ<br />

ประธานกรรมาธิการ<br />

สถปนิกล้นน<br />

ปรกร ชุณหพงษ์<br />

ประธานกรรมาธิการ<br />

สถปนิกอีสน<br />

วีรพล จงเจริญใจ<br />

ประธานกรรมาธิการ<br />

สถปนิกทักษิณ<br />

นิพนธ์ หัสดีวิจิ ตร<br />

สำหรับกิจกรรมที่น่สนใจในปี 2565 นี้ คือ ISA Dinner Talk Series 20<strong>22</strong><br />

ภยในงนได้มีกรจัดกิจกรรมในรูปแบบกรเสวนสบยๆ โดยมีวัตถุประสงค์<br />

เพื่อพบปะแลกเปลี่ยนประสบกรณ์ระหว่งกลุ่มสถปนิก รวมถึงข้อมูลข่วสร<br />

ใหม่ๆ จกผู้ประกอบกรวัสดุ อีกทั้งกรเสวนครั้งนี้เรได้วงแผนกลับมเริ ่ม<br />

จัดกิจกรรมในสถนที่จริงกันแล้ว เพื่อให้งนเสวนกลับมคึกคักอีกครั้ง ภย<br />

ใต้มตรกรควบคุมโรคโควิด-19 โดยมีกรตรวจ ATK และวัดอุณหภูมิก่อนเข้<br />

งนด้วยครับ ซึ ่งกรเสวนครั้งที่ 1 เพิ่งถูกจัดขึ<br />

้นเมื่อวันที่ 26 มกรคม 2565 ที่<br />

ผ่นม ส่วนครั้งต่อไปจะจัดขึ ้นในวันที่ 23 กุมภพันธ์ และ วันที่ 16 มีนคม ตม<br />

ลำดับ ผมขอฝกสมชิกทุกท่นติดตมและเข้ไปลงทะเบียนเข้ร่วมกิจกรรมกัน<br />

เยอะๆ นะครับ ขอบคุณครับ


DESIGN THINKING<br />

PROCESS FOR CREATIVE<br />

PROBLEM SOLVING<br />

กระบวนการคิดเชิงออกแบบสําหรับ<br />

การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์<br />

ผศ.ดร. กัลยา ตันติยาสวัสดิกุล<br />

Pre-order<br />

NOW!<br />

วันนี้ -15 มีนาคม<br />

ในปจจุบันนักออกแบบไมไดทําหนาที่แคเพียง<br />

ออกแบบแตตองมีบทบาทในการรวมกําหนด<br />

โจทยและแนวทางการแกไขปญหาที่ทาทายไป<br />

พรอมๆ กับสังคม ความทาทายใหมๆ ในโลก<br />

ของการออกแบบ ทําใหเกิดเครื่องมือใหมๆ<br />

ที่นาสนใจในการแกปญหา การคิดเชิงออกแบบ<br />

(Design Thinking) ถูกนํามาพูดถึงอีกครั้งใน<br />

มิติใหม ในฐานะเครื่องมือที่สามารถแกปญหาได<br />

อยางสรางสรรคและสามารถสรางนวัตกรรมการ<br />

แกปญหาได การคิดเชิงออกแบบจึงถูกนําไปใช<br />

อยางแพรหลาย ในบริบทตางๆ นอกเหนือ<br />

วิชาชีพดานการออกแบบ ไมวาจะเปนใน<br />

ดานธุรกิจและการจัดการ ดานสาธารณสุข<br />

ดานการศึกษา และดานนวัตกรรมทางสังคม<br />

หนังสือเลมนี้ชวยใหนักออกแบบและบุคคลทั่วไป<br />

ผูมีความสนใจในการนําการคิดเชิงออกแบบไป<br />

ประยุกตใชมีความเขาใจในหลักการคิดเชิง<br />

ออกแบบ รู จักเครื่องมือ และสามารถนําเครื่องมือ<br />

มาใชในการฝกปฏิบัติเพื่อแกปญหาตามเปาหมาย<br />

ได เหมาะสําหรับนักออกแบบและผูที่สนใจนํา<br />

การคิดเชิงออกแบบไปใชแกปญหาอยาง<br />

สรางสรรค ซึ่งไมจําเปนตองเปนโจทยทาง<br />

ดานการออกแบบเทานั้น แตสามารถนําไป<br />

ประยุกตใชในการแกปญหาในมิติอื่นๆ<br />

ไดอยางรอบดาน<br />

DESIGN THINKING PROCESS FOR<br />

CREATIVE PROBLEM SOLVING<br />

กระบวนการคิดเชิงออกแบบสําหรับ<br />

การแกปญหาอยางสรางสรรค<br />

โดย ผศ.ดร.กัลยา ตันติยาสวัสดิกุล<br />

คณะสถาปตยกรรมศาสตรและการผังเมือง<br />

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร<br />

ออกแบบโดย art4d WORKS<br />

จัดพิมพโดย Corporation 4d<br />

16.5 x 24 cm หนา 240 หนา พิมพสี่สีทั้งเลม<br />

ISBN 978-616-488-298-0<br />

FB: Dr Kallaya Design Thinking<br />

Info & Order: Inbox หรือ 081-626-6746, 02-260-2606-8


14<br />

message from the president<br />

For <strong>ASA</strong> <strong>05</strong> or the January-February 20<strong>22</strong> issue of <strong>ASA</strong> <strong>Journal</strong>, the<br />

first issue of the year (of the tiger), we continue to explore the ‘Home<br />

Smart Home’ theme with some very interesting academic contents<br />

including think pieces on the selected architectural projects by<br />

experienced profession practitioners about the integration of home<br />

automation technologies and new living innovations to the process<br />

of architectural design.<br />

The amalgamation enables new functionalities that better correspond<br />

with and cater to people’s contemporary everyday lifestyles<br />

and demands. We think the contents featured in this issue will be<br />

beneficialand provide some great insights as a guideline for everyone<br />

regarding their work and practice in the future.<br />

As the president of the association, I would like to say thank you<br />

to all the members who have been following <strong>ASA</strong> <strong>Journal</strong> through<br />

the years and entrusted me with this responsibility once again.<br />

The gratitude extends to your incredible support and participation<br />

in the activities we have put together.<br />

An interesting activity we have been preparing for this year is the<br />

ISA Dinner Talk Series 20<strong>22</strong>. The casual talk aims to encourage our<br />

fellow architects to exchange and share their thoughts and experiences,<br />

including updates on new materials from manufacturers<br />

and suppliers. We have been planning for the event to take place<br />

in an actual physical space to lift everyone’s spirit up with the<br />

energy of being able to see each other again. The event will follow<br />

the COVID-19 preventive measures where an ATK test will be<br />

required from every participant, and everyone will be asked to<br />

check their body temperature before entering the venue. The first<br />

talk was already held on January 26th, 20<strong>22</strong> with the next one is<br />

set to happen on February 23rd and March 16th, 20<strong>22</strong>. Don’t forget<br />

to follow up on new updates and register to join us in many great<br />

activities. Thank you.<br />

<strong>ASA</strong> COMMITTEE<br />

2020-20<strong>22</strong><br />

President<br />

Chana Sumpalung<br />

Vice President<br />

Nives Vaseenon<br />

Prof. Tonkao Panin, Ph.D.<br />

Jun Sekino<br />

Chutayaves Sinthuphan<br />

Asst. Prof. Rattapong Angkasith, Arch.D.<br />

Rungroth Aumkaew<br />

Secretary General<br />

Pipat Rujirasopon<br />

Honorary Registrar<br />

Khomsan Sakulamnuaypongsa<br />

Honorary Treasurer<br />

Michael Paripol Tangtrongchit<br />

Social Event Director<br />

Chalermpon Sombutyanuchit<br />

Public Relations Director<br />

Assoc. Prof. M.L. Piyalada<br />

Thaveeprungsriporn, Ph.D.<br />

Executive Committee<br />

Vasu Poshyanandana, Ph.D.<br />

Chalermphong Netplusarat<br />

Adul Kaewdee<br />

Asst. Prof. Nathatai Chansen<br />

Kasin Sornsri<br />

Nutthawut Piriyaprakob<br />

Chairman of<br />

Northern Region (Lanna)<br />

Prakan Chunhapong<br />

Chairman of<br />

Northeastern Region (Esan)<br />

Werapol Chongjaroenjai<br />

Chairman of<br />

Southern Region (Taksin)<br />

Nipon Hatsadeevijit


16<br />

foreword<br />

Photo courtesy of IWAN BAAN<br />

ระบบอัจฉริยะต่างๆ เริ่มเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของวิถีชีวิตในยุคนี้และ<br />

แน่นอนว่าจะเพิ่มมากขึ้นในอนาคต รวมถึงการออกแบบสถาปัตยกรรม<br />

และเมือง ไม่ว่าจะเป็นแนวคิด Smart City หรือ Smart Home ที่มักจะ<br />

เน้นความสำาคัญของการผสานนวัตกรรมและเทคโนโลยีเข้ามาเป็นส่วน<br />

หนึ่งของการใช้ชีวิตที่สะดวกสบายขึ้น แต่ไม่ว่าจะอย่างไรก็ตาม ก็ยังคง<br />

มีความจำาเป็นที่จะต้องพี่งพาการออกแบบ วางแผน บริหารจัดการ และ<br />

การดูแลรักษา สำาหรับการเพิ่มประสิทธิภาพของทรัพยากร ทุ่นแรง ลด<br />

การเผาผลาญพลังงานและเวลา<br />

วารสารอาษา <strong>05</strong> ฉบับแรกของปี 2565 กับ Home Smart Home นำาเสนอ<br />

สถาปัตยกรรมประเภทที่อยู่อาศัย 5 โครงการ ที่มีความแตกต่างกันของ<br />

บริบทที่ตั้ง รูปแบบ ขนาดโครงการ และวัสดุ สะท้อนความแยบยลใน<br />

การออกแบบของทีมสถาปนิกที่สามารถนำาเสนอมิติทางกายภาพใหม่ให้<br />

สอดคล้องกับโจทย์การออกแบบที่เฉพาะได้อย่างมีสุนทรียะ และออกแบบ<br />

การอยู่อาศัยในแต่ละโครงการไว้อย่างน่าสนใจ โดยไม่จำาเป็นต้องพึ่งพา<br />

เพียงเทคโนโลยีเท่านั้น ในเล่มนี้ เรายังมีโอกาสได้ถ่ายทอดประสบการณ์<br />

ทำางานและบริหารองค์กรของ Studio Tofu บริษัทออกแบบสถาปัตยกรรม<br />

ที่ผันบทบาทส่วนหนึ่งไปในด้านการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ มาร่วมแลก<br />

เปลี่ยนความคิดและประสบการณ์ใน <strong>ASA</strong> Professional อีกด้วย<br />

ไม่ว่าบ้านและเมือง จะครบครันด้วยเทคโนโลยีหรือปัญญาประดิษฐ์ที่<br />

ชาญฉลาดอย่างไร แนวคิดในการพัฒนาบ้านและเมืองด้วยการแก้ปัญหา<br />

อย่างลึกซึ้ง รวมทั้งการนำาเสนอหนทางใหม่ๆ เพื่อการอยู่อาศัยและสร้าง<br />

สุนทรียภาพ ก็ยังคงต้องอาศัยปัญญาสร้างสรรค์จากมนุษย์ด้วยเสมอ<br />

ตั้งแต่ระดับผู้นำา ผู้ปฏิบัติการ เจ้าของธุรกิจ ผู้อยู่อาศัย และไม่เว้นแม้แต่<br />

วิชาชีพสถาปนิกที่คงต้องการทักษะ ไม่ใช่เพียงแค่การแก้ปัญหาอย่าง<br />

สร้างสรรค์ แต่ต้องสามารถคาดการณ์อนาคตและเท่าทันความเปลี่ยนแปลง<br />

โดยยังคงประมวลผล วางแผน และถ่ายทอดจินตภาพใหม่ๆ ผ่านงาน<br />

ออกแบบสถาปัตยกรรมที่เข้าใจความเป็นมนุษย์ได้อย่างลึกซึ้งด้วย<br />

Smart systems have become a part of the modern-day lifestyle<br />

with a very likely probability for their roles to increase in the<br />

future. The notion of smart can be found in architectural and<br />

urban design as well whether it be the concept of a smart city<br />

or smart home, which highlights the integration of innovations<br />

and technologies to help create a more comfortable way of<br />

life. Nevertheless, there is still the need for design, planning,<br />

management and maintenance to maximize the efficiency of<br />

resources, reduce human labor, and lessen energy and time<br />

consumption.<br />

The <strong>05</strong> issue of <strong>ASA</strong> <strong>Journal</strong>, the first in the year of the tiger<br />

(January-February 20<strong>22</strong>), is back with ‘Home Smart Home.’<br />

Under this theme, we feature five different residential projects,<br />

each with its own location, context, typology, size and<br />

interesting use of materials. Each work reflects its architecture<br />

team’s creative thought process and masterful execution,<br />

delivering a new physical dimension that goes hand in hand<br />

with the design’s aesthetic merits through the architect’s<br />

interpretation of residential architecture and spaces that do<br />

not heavily or solely rely on technology. In this issue’s <strong>ASA</strong><br />

Professional, we have the opportunity to recount the story<br />

behind the work experiences and organizational management<br />

of Studio Tofu, an architecture firm that has been expanding<br />

their realm of design to real estate development.<br />

But no matter how developed or equipped with technologies<br />

or super smart artificial intelligence a city is, any approach to<br />

residential and urban development that genuinely hopes to dive<br />

deep into the problems and intends to propose new possible<br />

solutions to improve people’s quality of life and aesthetic<br />

values of urban spaces, still very much requires human<br />

intelligence, whether it be from the people in leading positions<br />

or at the operational level, to business owners, and inhabitants.<br />

Even in professions such as architects, skills, intelligence and<br />

experiences are still needed, not only to develop and deliver<br />

creative solutions, but also to speculate the future, catch<br />

up with changes and all the while processing, planning and<br />

conveying new visions through works of architecture that can<br />

comprehend and relate to humans at a deep, profound level.


20<strong>22</strong><br />

JAN- FEB<br />

HOME<br />

SMART HOME<br />

Photo Courtesy of Ayutt and Associates design and<br />

Chalermwat Wongchompoo (Sofography) except as noted<br />

theme / review<br />

Tick All the<br />

Boxes<br />

Ayutt and Associates Design<br />

has designed a house that<br />

resolves all the limitations<br />

and can comply with owners’<br />

requirements regarding the<br />

dwelling and value-adding to<br />

the house design.<br />

52<br />

theme / review<br />

At Home With<br />

the Trees<br />

n the Bat Trang Village<br />

near Hanoi, Vo Trong Nghia<br />

Architects has designed a new<br />

house that demonstrated an<br />

intelligent way for a home<br />

to coexist with the city and<br />

nature.<br />

80<br />

Photo Courtesy of Vo Trong Nghia Architects<br />

and Horiyu Oki except as noted<br />

around<br />

Student<br />

Architectural<br />

Competition for<br />

a Conceptual<br />

Design of the<br />

Ramathibodi<br />

Sri Ayudhya<br />

Medical Cente<br />

<strong>22</strong><br />

World Expo<br />

2020 Dubai 30<br />

theme<br />

Home<br />

Smart Home<br />

In general, smart homes<br />

are often those homes with<br />

automatically operated<br />

lighting systems; the type<br />

of house that can be air<br />

conditioned in advance so<br />

the owner arrives back to a<br />

perfectly cool home; that can<br />

help one efficiently manage<br />

energy consumption and can<br />

be self-maintained with the<br />

systematically installed and<br />

functioning digital apparatus.<br />

36<br />

Photo Courtesy of Kohei Take<br />

theme / review<br />

Warm Sun,<br />

Cool Breeze<br />

Anonym Studio has brought<br />

out and harnessed the<br />

potentials of wind and sunlight<br />

to craft the happiest and most<br />

livable living space of this<br />

multi-family house.<br />

66<br />

Photo Courtesy of Anonym Studio, Soopakorn<br />

Srisakul and Ketsiree Wongwan except as noted


theme / review<br />

Living in the<br />

Present<br />

Designed by P.O.AR, Na Tanao<br />

is a super tiny building in the<br />

old city area nested between<br />

built structures on a small<br />

piece of land only 3.50 meters<br />

wide.<br />

94<br />

Photo Courtesy of P.O.AR<br />

(Patchara + Ornnicha ARchitecture Co., Ltd.)<br />

theme / review<br />

Up Where the<br />

Cold Wind Blows<br />

“The best house is one that<br />

can ventilate efficiently and<br />

thoroughly” explained Kevin<br />

Mark Low about what makes<br />

a home a smart home in<br />

the design for this 28-storey<br />

luxurious condominium on<br />

Naradhiwas Road.<br />

108<br />

material<br />

What Does<br />

Today’s Smart<br />

Home Look Like?<br />

A quick glance<br />

at the new<br />

smart home<br />

devices and how<br />

they work.<br />

When we talk about Smart,<br />

we always mean wonderful,<br />

amazing, knowledgeable<br />

beyond the average level.<br />

For Smart Home, which was<br />

termed and used for quite a<br />

while now, can it convey its<br />

meaning? - amazing magical<br />

house or a house with abilities<br />

beyond the level.<br />

124<br />

Moen<br />

Smart Water<br />

Network 138<br />

Masonite<br />

Smart Door 139<br />

TESLA<br />

PowerWall<br />

Home Battery<br />

141<br />

professional<br />

The Detail of<br />

Simplicity<br />

<strong>ASA</strong> Professional talks with<br />

Weerapat Chokedeetaweeanan,<br />

Managing Directory of Studio<br />

Tofu Company Limited, a<br />

relatively small practice with<br />

a substantially growing<br />

portfolio, whose inspiring<br />

mission to develop usersoriented<br />

residential projects<br />

comes from the belief that a<br />

good home is the foundation<br />

of a good life.<br />

144<br />

professional<br />

Sute Architect<br />

156<br />

chat<br />

Asst.Prof.<br />

Rattapong<br />

Angkasith and<br />

Chutayaves<br />

Sinthuphan<br />

<strong>ASA</strong> talked with Asst.Prof.<br />

Rattapong Angkasith and<br />

Chutayaves Sinthuphan,<br />

the Vice Presidents of the<br />

Association of Siamese<br />

Architects under Royal<br />

Patronage, on the on<br />

international projects and<br />

collaborations<br />

160<br />

Photo Courtesy of Studio Tofu<br />

Photo Courtesy of YLP Co., Ltd. and SkyGround<br />

architectural film & photography except as noted<br />

the last page<br />

166


<strong>22</strong><br />

around<br />

Student<br />

Architectural<br />

Competition for<br />

a Conceptual<br />

Design of the<br />

Ramathibodi<br />

Sri Ayudhya<br />

Medical Center<br />

Photo courtesy of The Association of Siamese<br />

Architects Under Royal Patronage.<br />

สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ร่วมกับคณะ<br />

แพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล<br />

จัดกิจกรรมประกวดแนวคิดการออกแบบ “ศูนย์การแพทย์<br />

รามาธิบดีศรีอยุธยา” รอบนิสิตนักศึกษา นอกเหนือจาก<br />

รอบบุคคลทั่วไป เพื่อเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้ใช้ความคิด<br />

สร้างสรรค์ในการออกแบบศูนย์การแพทย์ที่ดี โดยการประกวด<br />

แนวคิดการออกแบบครั้งนี้มีผลงานส่งเข้ารวมทั้งสิ้น 94 ทีม<br />

และมีการตัดสินไปเมื่อเร็วๆ นี้<br />

The Association of Siamese Architects under Royal<br />

Patronage, in collaboration with the Faculty of<br />

Medicine Ramathibodi Hospital, Mahidol University,<br />

had organized a student architectural competition<br />

for a conceptual design of the Ramathibodi<br />

Sri Ayudhya Medical Center - in addition to the<br />

previous one that was limited to professional<br />

architects. The aim is to allow students to present<br />

their creativity in design for an ideal medical<br />

center. A total of 94 teams were submitted. The<br />

results have been announced recently.<br />

01<br />

ผลงานออกแบบรางวัล<br />

ชนะเลิศอันดับที่หนึ่ง


Student Architectural Competition for a Conceptual Design<br />

of the Ramathibodi Sri Ayudhya Medical Center<br />

23<br />

1


24<br />

around<br />

2<br />

02-03<br />

ผลงานออกแบบรางวัล<br />

ชนะเลิศอันดับที่หนึ่ง<br />

3


Student Architectural Competition for a Conceptual Design<br />

of the Ramathibodi Sri Ayudhya Medical Center<br />

25<br />

04<br />

ผลงานออกแบบรางวัล<br />

ชนะเลิศอันดับที่หนึ่ง<br />

4<br />

โดยผลการตัดสินและพิจารณารางวัลจาก 94 ทีมที่ส่งประกวด<br />

นั้น รางวัลชนะเลิศอันดับหนึ่ง ได้แก่ ทีม AP9999 นางสาว-<br />

ชนม์พืช ศรีพงษ์ธนากุล นางสาวณัฐณิชา แพรสุวัฒน์ศิลป์<br />

และนายศุภวิชญ์ ศรีพงษ์พันธุ์กุล ด้วยแนวความคิดในการ<br />

ออกแบบที่เน้นการเพิ่มพื้นที่สาธารณะสีเขียวของกรุงเทพ-<br />

มหานคร และแนวคิด micro-climate เพื่อเพิ่มพื้นที่สีเขียว<br />

ในอาคารบริเวณต่างๆ เช่น โถงทางเข้า สวนหลังคา และ<br />

courtyard เกิดการสร้างบรรยากาศที่ดีสําหรับผู้ป่วย และ<br />

บุคลากรทางการแพทย์ที่ใช้ชีวิตส่วนมากอยู่ภายในอาคาร<br />

ให้พักผ่อนได้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น อาคารยังมีการ<br />

คํานึงถึง Sustainable Design ในการใช้ passive design<br />

และ ในส่วนพื้นที่ปรับอากาศมีการใช้ระบบ Bi-Ionization<br />

Air Purifier ที่มีประสิทธิภาพในการฆ่าเชื้อไวรัสและแบคทีเรีย<br />

ในอากาศสอดคล้องกับการเป็นพื้นที่โรงพยาบาล มีการใช้<br />

Transparent solar panel ที่สามารถเก็บพลังงานไฟฟ้ามา<br />

ใช้และสามารถกรองแสง UV ที่ช่วยลดการใช้แสงประดิษฐ์<br />

โดยนําแสงธรรมชาติเข้าสู่อาคารอีกด้วย<br />

The first prize goes to Team AP9999 with a<br />

design concept that focuses on increasing green<br />

public spaces for the city of Bangkok and the<br />

idea of micro-climate to add green areas in the<br />

buildings in various areas such as entrance halls,<br />

roof gardens, and courtyards. The idea is to<br />

provide a positive environment and atmosphere<br />

for the patient and medical personnel who usually<br />

spend most of their lives inside the building. The<br />

design takes into account sustainable design by<br />

the use of passive design. In the air-conditioned<br />

areas, the design introduces the Bi-Ionization Air<br />

Purifier, effective in killing viruses and bacteria in<br />

the air, creating a comfort zone for the hospital.<br />

Transparent solar panels are employed to store<br />

electrical energy and filter UV light, reducing the<br />

use of artificial light by bringing natural light into<br />

the building.


26<br />

around<br />

รางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 1 ได้แก่ ทีม AR2004 นายวิริยะ-<br />

ดำารงค์กุล นางสาวสิรภัทร พั่วโพธิ์ นายพุฒิพงษ์ นนทะบุตร<br />

ด้วยแนวคิดในการออกแบบศูนย์การแพทย์ที่ให้ได้มากกว่า<br />

การรักษาเยียวยาโดยทั่วไป โดยสามารถ “ให้” ประโยชน์<br />

แก่สาธารณะได้ในเวลาเดียวกัน ด้วยแนวคิด “ปัน space”<br />

การสร้างพื้นที่แห่งการแบ่งปันที่ก่อให้เกิดปฏิสัมพันธ์<br />

ระหว่างคนกับสถาปัตยกรรม ด้วยการทำาทางเชื่อมต่อกับ<br />

ARL ทำาให้ผู้ใช้จากฝั่งรถไฟฟ้าเข้าสู่ที่ตั้งโครงการได้สะดวก<br />

การคืนพื้นที่สีเขียวแก่เมืองที่ไม่เพียงทำาให้ทัศนียภาพดีขึ้น<br />

แต่ยังช่วยสร้างบรรยากาศผ่อนคลายภายในโครงการ การใช้<br />

งานร่วมกันของ function ให้เกิดประโยชน์ในหลากหลาย<br />

กรณี รวมทั้งประหยัดพื้นที่ใช้สอย หรือหลักการ Passive<br />

Design ด้วย Solar cell เพื่อการประหยัดพลังงานและการ<br />

ใช้น้ำาอย่างมีประสิทธิภาพ และแนวคิดในการออกแบบสวน<br />

Healing Friendship ให้มีความเป็นมิตร เปิดกว้างให้กับผู้ใช้<br />

งานอาคารทุกคน เสริมด้วยสวนสมุนไพร ที่คณะวิทยาศาสตร์<br />

มหาวิทยาลัยมหิดล ร่วมกับมหาวิทยาลัยชิบะ เปิดศูนย์ความ<br />

ร่วมมือทางการวิจัยและฝึกอบรมด้านการปลูกพืชในอาคาร<br />

The first runner-up is AR2004 Team. The team<br />

proposed ideas for an ideal medical center that<br />

provides concerns for patients and the public,<br />

under the theme “Shared Space”. The aim is to<br />

create a sharing space that fosters interaction<br />

between people and architecture by making a<br />

route connected to ARL to provide convenient<br />

access to the project for those arriving via public<br />

transport. The design proposes green space for<br />

the city and creates a relaxing atmosphere for<br />

the project. Shared Space also means sharing<br />

various functions that would help save space in<br />

many ways. The passive design principles are<br />

applied creatively such as the solar cell systems.<br />

Lastly, the team proposes an idea of the Healing<br />

Friendship Garden - a research and training center<br />

on indoor plant cultivation at the Faculty of<br />

Science Mahidol University supported by Chiba<br />

University.<br />

<strong>05</strong><br />

ผลงานออกแบบรางวัล<br />

รองชนะเลิศอันดับที่ 1<br />

5


Student Architectural Competition for a Conceptual Design<br />

of the Ramathibodi Sri Ayudhya Medical Center<br />

27<br />

7<br />

6<br />

06-07<br />

ผลงานออกแบบรางวัล<br />

รองชนะเลิศอันดับที่ 1


28<br />

“เพราะการให้ ไร้ ขอบ เขต”<br />

โดยจากแนวความคิดการออกแบบที่ไร้ขอบเขต คณะผู้ออกแบบได้เล็ง<br />

เห็นถึง 3 ประเด็นหลักด้วยกัน การรักษาซึ่งเป็นศักยภาพที่ทางศูนย์การ<br />

จากเวลานานนับหลายปีที่ศูนย์การแพทย์รามาธิบดีศรีอยุธยานั ้นได้ทำ แพทย์มีอยู่แล้วอย่างมากล้น การออกแบบที่ไร้ขอบเขตจากสภาพ<br />

หน้าที่ให้ชีวิตใหม่แก่ผู้คนมากมาย โดยหัวใจหลักของศูนย์การแพทย์ แวดล้อมที่ตั้งของโครงการ โดยมีการออกแบบพื้นที่ให้เชื่อมต่อกัน<br />

รามาธิบดีศรีอยุธยา ซึ่งก็คือการฟื้นฟูรักษาทั้งทางร่างกาย และจิตใจ ระหว่างถนนสองฝั่งของโครงการ เชื่อมถนนสู่ถนน ที่สู่ที่ และคนสู่คน<br />

ถือเป็นการให้ที่ไม่มีที่สิ้นสุด ทางคณะผู้ออกแบบจึงได้เล็งเห็นถึง เพื่อการสร้างพื้นที่ที่ไร้ขอบเขตระหว่างกันในเมือง และขอบเขตระหว่าง<br />

ศักยภาพและจุดเด่นหลักของศูนย์การแพทย์นี้ จึงได้นำแนวคิด around<br />

"การ พื้นที่ภายนอก ภายใน การสอดแทรกพื้นที่สีเขียวไปในเนื้ออาคารเพื่อ<br />

ให้การรักษา ผ่านสถาปัตยกรรมที่ไร้ขอบเขต" มาเป็นแนวความคิด เชื่อมต่อพื้นที่สาธารณะของโครงการ รวมไปถึงรูปด้านรวมของอาคาร<br />

หลักในการออกแบบครั้งนี้<br />

ภายนอกและ เปลือกของอาคารที่ไร้ขอบเขต จากความรักสู่การให้ จาก<br />

ผืนดินสู่แผ่นฟ้า จากชีวิตสู่ชีวิต<br />

แบบจำลองเเสดงแนวความคิด<br />

วางพื้นที่อาคาร ความสูง<br />

ตามกฎหมาย เเละโปรแกรม พื้นที่ใน สร้างพื้นที่ไร้ขอบเขตด้วย เชื่อมต่อคนเเละเมือง ด้วย<br />

- ระหว่าง ทางเดินผ่านประสบการณ์<br />

ผังพื้นอาคาร<br />

เพิ่มพื้นที่สีเขียวของเมืองทั้ง<br />

ทางตั้ง เเละทางนอน<br />

ให้เปลืองอาคารลดการใช้<br />

พลังงาน เเละสร้างเอกลักษณ์<br />

Patient Care Areas and<br />

Special Clinic<br />

Clinical Support<br />

ฟ้าเข้ม ไปเขียว<br />

ความสามารถใน<br />

เเละถ่ายทอด<br />

ของอาคารผ่านสี<br />

uise)<br />

Rehabilitation Center<br />

Wellness Center<br />

Lobby, Triage and<br />

Consultation Areas<br />

8


Student Architectural Competition for a Conceptual Design<br />

of the Ramathibodi Sri Ayudhya Medical Center<br />

29<br />

9<br />

08-09<br />

ผลงานออกแบบรางวัล<br />

รองชนะเลิศอันดับที่ 2<br />

ส่วนรางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 2 ได้แก่ ทีม FL9833<br />

นางสาวเจียระไน เจียมศิวานนท์ นายณัทน์ธัญ อธิศธันยวัศ<br />

และนายวิภพ มโนปัญจสิริ ด้วยแนวคิด “เพราะการให้<br />

ไร้ขอบเขต“ ทั้งการรักษาซึ่งเป็นศักยภาพที่ทางศูนย์-<br />

การแพทย์มีอยู่ และการออกแบบที่ไร้ขอบเขตจากสภาพ<br />

แวดล้อมที่ตั้งของโครงการ จึงออกแบบพื้นที่ให้เชื่อมต่อ<br />

กันระหว่างถนนสองฝั่งของโครงการ เชื่อมถนนสู่ถนน<br />

ที่สู่ที่ และคนสู่คน เพื่อการสร้างพื้นที่ที่ไร้ขอบเขตระหว่าง<br />

กันในเมือง และขอบเขตระหว่างพื้นที่ภายนอก-ภายใน<br />

การสอดแทรกพื้นที่สีเขียวไปในเนื้ออาคารเพื่อเชื่อมต่อ<br />

พื้นที่สาธารณะของโครงการ รวมไปถึงรูปด้านรวมของ<br />

อาคารภายนอกและเปลือกของอาคารที่ไร้ขอบเขต จาก<br />

ความรักสู่การให้ จากผืนดินสู่แผ่นฟ้า จากชีวิตสู่ชีวิต<br />

นอกเหนือจากนี้ยังมีรางวัลชมเชยอีก 5 รางวัล ผู้ชนะเลิศ<br />

จะได้รับรางวัลพระราชทานจากสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า-<br />

กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี<br />

และเงินรางวัลมูลค่ารวมทั้งหมดกว่า 200,000 บาท<br />

The second runner-up award is Team FL9833<br />

with the concept of “Giving are Boundless” - a<br />

proposal which addresses ideas to explore the<br />

potential and nature of the medical center and<br />

to expand the boundary of the design. Connections<br />

are the key – place to place, road to road,<br />

area to area, and people to people, to blur the<br />

boundaries in the city and boundaries between<br />

inside and outside. Green areas are added to<br />

the building to connect various public spaces<br />

of the project. The exterior wall and the skin of<br />

the building are seamless, signifying Giving and<br />

Sharing from love to give, from the earth to the<br />

sky, and from life to life.<br />

In addition, there are five other honorable prizes.<br />

the winner will receive a royal award from Her<br />

Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn,<br />

the total prize money of more than 700,000<br />

baht<br />

asa.or.th


30<br />

around<br />

World Expo<br />

2020 Dubai<br />

Photo Courtesy of Expo 2020 Dubai<br />

Expo sustainability pavilion energy trees<br />

01<br />

โครงสร้างต้นไม้พลังงาน<br />

ที่หมุนได้<br />

งาน World Expo 2020 Dubai ณ กรุงดูไบ สหรัฐอาหรับ<br />

เอมิเรตส์ มีขึ้นระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2021 ถึงวันที่ 31<br />

มีนาคม 20<strong>22</strong> นับเป็นครั้งแรกของการจัดงานขึ้นในภูมิภาค<br />

ตะวันออกกลาง โดยมหกรรมครั้งนี้ถูกเลื่อนการจัดมาจาก<br />

สถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 แนวคิดของธีม<br />

หลักในปีนี้ คือ ‘Connecting Minds, Creating the Future’<br />

มีเป้าหมายเพื่อสร้างโอกาสสำาหรับการเชื่อมต่อระหว่างกัน<br />

และนวัตกรรม การกระตุ้นการแลกเปลี่ยนมุมมองใหม่ๆ<br />

และสร้างแรงบันดาลใจในการดำาเนินการเพื่อนำาเสนอหนทาง<br />

ออกที่ยั่งยืนสำาหรับการรับมือกับปัญหาระดับโลก โดยมี<br />

ประเด็นธีมย่อยสำาคัญ 3 หัวข้อ ได้แก่ Opportunity (โอกาส)<br />

Mobility (การขับเคลื่อนไปข้างหน้า) และ Sustainability<br />

(ความยั่งยืน)<br />

World Expo 2020 in Dubai, United Arab Emirates -<br />

taking place between October 1, 2021, to March 31,<br />

20<strong>22</strong> - is the first time the event has been held in<br />

the Middle East. The event was initially planned to<br />

be in 2020 but was postponed due to the epidemic<br />

situation of COVID-19. The central theme of the<br />

Dubai World Expo - Connecting Minds, Creating the<br />

Future, aims to create opportunities for connectivity<br />

and innovation. Under the three major sub-themes:<br />

Opportunity, Mobility, and Sustainability, the Expo<br />

encourages the exchange of new perspectives and<br />

inspires action to offer sustainable solutions for<br />

tackling global issues.<br />

1


31<br />

02<br />

อาคารหลักของงาน<br />

ออกแบบโดย Grimshaw<br />

Architects<br />

2


32<br />

around<br />

3<br />

ในส่วนของการออกแบบ งานวางผังบนพื้นที่กว่า 4.38<br />

ตารางกิโลเมตร ถูกแบ่งโซนพื้นที่ออกเป็นสามส่วนตาม<br />

ธีมย่อยของงาน โดยอาคารนิทรรศการหลักๆ ที่น่าสนใจ<br />

ได้แก่ อาคารหลักส่วนทางเข้า Sustainability district<br />

ขนาดกว่าหกพันตารางเมตร ออกแบบโดยสถาปนิกจาก<br />

อังกฤษ Grimshaw Architects ที่วางแผนให้อาคารแปลง<br />

เป็นพิพิธภัณฑ์ถาวรด้านวิทยาศาสตร์และความยั่งยืนใน<br />

อนาคตหลังจบงาน ตัวอาคารสร้างขึ้นจากแรงบันดาลใจ<br />

ของต้น Ghaf ที่ทนต่อสภาพแล้ง หลังคาทรงวงรีกว้างกว่า<br />

135 เมตรนี้สร้างด้วยวัสดุเหล็กรีไซเคิล 97% และติดตั้ง<br />

แผงโซลาเซลล์กว่า 1,<strong>05</strong>5 แผง ซึ่งเป็นกลยุทธ์ของสตูดิโอ<br />

ในการสร้างอาคารที่พึ่งพาตนเองได้ทั้งน้ำาและไฟฟ้า โดย<br />

รวมกับโครงสร้างต้นไม้พลังงานขนาดเล็กที่หมุนได้สิบแปด<br />

ต้นที่ล้อมรอบอาคารหลักนั้น คาดว่าจะสามารถผลิตไฟฟ้า<br />

ได้สี่กิกะวัตต์ชั่วโมงต่อปี ส่วนอาคารหลักในโซน Mobility<br />

On over 4.38 square kilometers, the site is divided<br />

into three sections according to the sub-theme<br />

of the work. Some of the main buildings of this<br />

year’s event include the six thousand square meter<br />

Sustainability District, designed by Grimshaw<br />

Architects. They also planned the building to be<br />

converted into a permanent museum of science<br />

and sustainability after the event. Inspired by<br />

the drought-tolerant Ghaf tree, the building has<br />

a 135-meter-wide oval roof constructed of 97%<br />

recycled steel. It is equipped with 1,<strong>05</strong>5 solar<br />

panels, which is the studio’s strategy of building<br />

a sustainable building with sufficient water and<br />

electricity supply. With the eighteen small rotating<br />

energy trees surrounding the main building, the<br />

building is planned to generate four-gigawatt hours<br />

03<br />

แรงบันดาลใจมาจาก<br />

การออกแบบต้น Ghaf ที่<br />

ทนสภาพแล้งได้ดี นำามา<br />

สู่แนวคิดการออกแบบ<br />

อาคารที่พึ่งพาตนเองได้


World Expo 2020 Dubai<br />

33<br />

04<br />

อาคารจัดแสดงหลักจะ<br />

ปรับเป็นพิพิธภัณฑ์ถาวร<br />

ในอนาคต<br />

ออกแบบโดยบริษัทสถาปนิก Foster + Partners ได้รับการ<br />

ออกแบบมาเพื่อให้รู้สึกถึงการเคลื่อนไหว ตัวอาคารโดดเด่น<br />

ด้วยรูปร่างกลีบดอกไม้ขนาดใหญ่สามกลีบซึ่งค่อยๆ ยื่น<br />

ออกจากฐานของอาคาร พร้อมการติดตั้งบานเกล็ดระบาย<br />

อากาศอลูมิเนียมที่โอบรัดรอบตัวอาคารภายนอกช่วยสะท้อน<br />

บรรยากาศการเคลื่อนที่โดยรอบ<br />

นอกจากอาคารหลักสองอาคารนี้แล้ว ยังมีอาคารนิทรรศการ<br />

จากกว่า 180 ประเทศเข้าร่วม รวมทั้งของประเทศไทย ที่<br />

แม้จะมีการวิพากษ์วิจารณ์ถึงรูปแบบสถาปัตยกรรมที่ไม่<br />

ได้ปรับเปลี่ยนไปจากที่ผ่านมา แต่ยังคงได้รับความนิยม<br />

ในการเข้าชมเป็นจำานวนมาก อย่างไรก็ดี ผลงานออกแบบ<br />

สถาปัตยกรรมในงาน World Expo จากสถาปนิกชั้นนำา<br />

ทั่วโลกต่างก็พยายามนำาเสนอรูปแบบของนวัตกรรมและ<br />

ความเป็นไปได้ใหม่ๆ ที่หลากหลายในอนาคตมาเสมอ<br />

ตั้งแต่การจัดขึ้นครั้งแรกเมื่อ 170 ปีที่แล้ว และครั้งนี้ก็เป็น<br />

อีกครั้งหนึ่งที่ช่วยตอกย้ำ าถึงศักยภาพของพื้นที่ทางกายภาพ<br />

และสถาปัตยกรรม ที่จะมีส่วนร่วมกับนวัตกรรมใหม่ๆ<br />

ในการสร้างหนทางเพื่อความยั่งยืนและคุณภาพชีวิตที่ดี<br />

ในอนาคต<br />

of electricity per year. Another highlight is the main<br />

building in the Mobility Zone, designed by Foster<br />

+ Partners. The building is designed to create a<br />

sense of mobility, with the structure characterized<br />

by three large flower petals, which gradually protrude<br />

from the base of the building, along with the<br />

installation of aluminum louvers that wrap around<br />

the exterior of the building to reflect the atmosphere<br />

of movement around.<br />

There are also exhibition buildings from more than<br />

180 participating countries, including the Thailand<br />

Pavilion. Despite the criticism of its traditional architectural<br />

style, it is still popular with a large number<br />

of visitors. Nevertheless, the architectural designs<br />

at the World Expo from leading architects worldwide<br />

are more or less an effort to present a form<br />

of innovation and new possibilities. It has always<br />

been diverse in the future since the first world expo<br />

170 years ago, and this time around, it once again<br />

underscores the potential of physical space and<br />

architecture - to engage with innovations to create<br />

a path for sustainability and a better quality of life in<br />

the future.<br />

virtualexpodubai.com<br />

4


36<br />

theme<br />

Home<br />

Smart<br />

Home<br />

The initial thoughts that come to mind for most people when a<br />

conversation about ‘Smart Home’ is brought up are images of digital<br />

screens displaying icons such as a light bulb, lock, thermometer and a<br />

bunch of numbers indicating modes and statuses of the equipment<br />

installed to bring home dwellers the best possible convenience and<br />

comfort, not the actual appearance of a house’s architecture. In general,<br />

smart homes are often those homes with automatically operated lighting<br />

systems; the type of house that can be air conditioned in advance so the<br />

owner arrives back to a perfectly cool home; that can help one efficiently<br />

manage energy consumption and can be self-maintained with the<br />

systematically installed and functioning digital apparatus.<br />

Text: Panthira Julayanont


37<br />

Photo courtesy of suep.jp<br />

01<br />

ผนังกระเบื้องที่เป็น double<br />

skin ของ Awajishima<br />

House มีรูปทรงที่ถูกคิด<br />

ค้นมาให้ช่วยลดการใช้<br />

พลังงานในแต่ละฤดู


38<br />

theme<br />

There have always been smart features hidden in the<br />

architectural design of the houses. They are formed,<br />

developed, and refined to change humans’ quality of<br />

life for the better, delivering what society expects at<br />

different periods in history.<br />

เมื่อพูดถึง “Smart Home” ภาพของหน้าจออุปกรณ์ดิจิทัล<br />

ที่โชว์รูปหลอดไฟ หยดน้ำา แม่กุญแจ เทอร์โมมิเตอร์ และ<br />

ค่าตัวเลขต่างๆ ของสิ่งอำานวยความสะดวกคงปรากฏขึ้น<br />

มาก่อนภาพของตัวบ้านที่เป็นสถาปัตยกรรมรูปแบบใด<br />

รูปแบบหนึ่ง โดยทั่วไปแล้ว บ้านที่ชาญฉลาดอาจเป็นบ้านที่<br />

มีระบบการทำางานเปิดปิดไฟอัตโนมัติ เปิดแอร์ไว้ให้ตั้งแต่<br />

เรายังไม่ถึงบ้าน ช่วยเราบริหารจัดการพลังงานในบ้าน<br />

อย่างมีประสิทธิภาพ และดูแลตัวเองได้ด้วยอุปกรณ์ดิจิทัล<br />

ที่ถูกติดตั้งไว้ให้ทำางานร่วมกันอย่างเป็นระบบ แต่หากลอง<br />

ปิดสวิตซ์อุปกรณ์อัตโนมัติเหล่านี้ไป เราจะพบว่าก่อนที่<br />

บ้านจะดำาเนินมาถึงจุดนี้ ยังมีความชาญฉลาดอีกมากมาย<br />

ซ่อนอยู่ในสถาปัตยกรรมที่เรียกว่า “บ้าน” ซึ่งถูกกลั่นเกลา<br />

ขึ้นมาจากความตั้งใจจะให้ชีวิตของผู้คนเปลี่ยนแปลงไป<br />

ในทางที่ดีขึ้น ตอบโจทย์ของสังคมในแต่ละยุคสมัย และใน<br />

หลายครั้งก็สะท้อนเทคโนโลยีของแต่ละช่วงเวลาไว้อย่าง<br />

ชัดเจน<br />

โจทย์ยุคแรกของบ้าน - ฉลาดที่จะโอนอ่อนไปตาม<br />

ธรรมชาติ<br />

หากศึกษาบ้านจากสถาปัตยกรรมพื ้นถิ ่นในแต่ละแห่งทั ่วโลก<br />

จะพบว่าบ้านเหล่านี้คือผลผลิตของการถักทอความรู้ในการ<br />

อยู่ร่วมกับธรรมชาติอย่างชาญฉลาด โดยสร้างขึ้นมาจาก<br />

วัสดุที่หาได้ในพื้นที่ นำามาประกอบขึ้นเป็นโครงสร้างที่<br />

เรียบง่ายแต่ก็ตอบโจทย์สภาพแวดล้อมในแต่ละพื้นที่เป็น<br />

อย่างดี ในหนังสือ “architecture without architects”<br />

ของ Bernard Rudofsky หรือ “Shuraku no Oshie 100”<br />

100, ของ Hiroshi Hara ในปี 1998<br />

ได้เล่าถึงตัวอย่างของบ้านในชุมชนดั้งเดิมจากทั่วโลกที่ไม่-<br />

ได้มีสถาปนิกคนใดคนหนึ่งเป็นผู้ออกแบบ แต่เป็นผู้คนใน<br />

ชุมชนเหล่านั้นเองที่ร่วมกันกลั่นเกลาบ้านที่เหมาะสมที่สุด<br />

ขึ้นมาจากรุ่นสู่รุ่น บ้านเหล่านี้แสดงให้เห็นถึงการปลูกบ้าน<br />

ของผู้คนในแต่ละพื้นที่ที่ยังคงพึ่งพิงธรรมชาติและพยายาม<br />

สร้างสภาวะการอยู่อาศัยให้สบายที่สุดโดยไม่ต้องพึ่งพา<br />

อุปกรณ์ไฟฟ้าใดๆ<br />

But taking away all the automatically operated tools,<br />

one would realize that before human homes reached<br />

this point of technological advancement, there have<br />

always been many smart features hidden in the architecture<br />

we call home. They are formed, developed and<br />

refined with the intention to change humans’ quality<br />

of life for the better, delivering what society expects<br />

at different periods in history. On several occasions,<br />

residential architecture reflects the technologies that<br />

define an era.<br />

A home’s primary tasks- Nature Smart:<br />

Compromise and coexist<br />

The study of ‘houses’ as a part of vernacular architecture<br />

in areas around the world reveals that this kind<br />

of built structure is the product of humans’ evolving<br />

wits and skills as they have learned to live with nature<br />

over time. These houses are constructed from locally<br />

available materials with simple yet effective structures<br />

that correspond with local climatic conditions. In the<br />

books, “architecture without architects” by Bernard<br />

Rudofsky or “Shuraku no Oshie 100” 100,<br />

by Hiroshi Hara in 1998, examples are made of<br />

how houses in early human communities from around<br />

the world weren’t designed by architects but community<br />

members who develop their dwellings through<br />

generations. These houses illustrate how humans,<br />

despite being in different areas of the world, still rely<br />

heavily on nature and create the most comfortable<br />

living condition without having to depend on any electrical<br />

appliances.<br />

A home in the context of urbanism – Diversified<br />

Standards<br />

Industrial revolution and urbanization have changed<br />

a ‘house’ into something that is drastically different<br />

from what it used to be, from concept, functionality,<br />

definition to architectural styles. In the time of the<br />

industrial heyday, a large number of people were<br />

forced to live in cities of high population density,<br />

in homes with little to no exposure to sunlight and


HOME SMART HOME<br />

39<br />

โจทย์บ้านภายใต้ความเป็ นเมือง – มาตรฐานที่ต้อง<br />

หลากหลาย<br />

การปฏิวัติอุตสาหกรรมและการกลายเป็นเมืองเปลี่ยน<br />

“บ้าน” ไปจากยุคก่อนหน้าเป็นอย่างมาก ทั้งในแง่ของ<br />

กระบวนการผลิต ความหมาย การใช้งาน และรูปแบบทาง<br />

สถาปัตยกรรม ในยุคที่อุตสาหกรรมเฟื่องฟู ผู้คนจำานวน<br />

มากต้องอยู่อาศัยอยู่ในเมืองอย่างแออัด ใช้ชีวิตในบ้านที่ไร้<br />

แสงแดดส่องถึง อับชื้น และขาดสุขอนามัย ปัญหาดังกล่าว<br />

นำามาสู่การพัฒนาที่อยู่อาศัยโดยภาครัฐบนฐานคิดของการ<br />

ผลิตครั้งละปริมาณมาก (mass production) ซึ่งโยงอยู่กับ<br />

การผลิตชิ้นส่วนก่อสร้างด้วยระบบอุตสาหกรรม การผลิต<br />

บ้านในลักษณะนี้ค่อยๆ ตีกรอบการออกแบบให้ตั้งอยู่บน<br />

มาตรฐาน (standardization) บางอย่างเพื่อผู้อยู่อาศัยที่<br />

คาดเดาตัวตนได้ไม่ชัดเจนนัก<br />

extremely poor sanitation. Such problems led to the<br />

government’s housing development plans and policies,<br />

most of which are based on mass production, which<br />

is closely intertwined with industrially produced<br />

parts. The construction of this type of house gradually<br />

framed residential design to base itself on a certain<br />

standardization to serve a more generalized group of<br />

users without reflecting that much on the character or<br />

identity of an owner. The demands that ensue the standardization<br />

of residential design is how to make cookie<br />

cutter houses more flexible, and more reflective of<br />

the owners’ varying characters and identities, making<br />

them feel that these similar-looking houses are their<br />

homes. The attempt to demolish the limitations that<br />

come with standardization becomes the genesis of the<br />

smart concept, which is hidden in several residential<br />

projects.<br />

02<br />

Sky House ลอยอยู่บนเสา<br />

แบนสี่ต้นที่ปล่อยใต้ถุนโล่ง<br />

ไว้ในช่วงแรกเพื่อรอการ<br />

เติบโต<br />

Photo courtesy of Kiyonori Kikutake<br />

2


40<br />

theme<br />

3<br />

Photo courtesy of moki and associates<br />

03<br />

Hillside Terrace Complex<br />

I-VI ที่เรียงราย<br />

ต่อกันไปตามถนนสร้าง<br />

ทัศนียภาพที่เป็นภาพจำา<br />

ของย่าน Daikanyama


HOME SMART HOME<br />

41<br />

โจทย์ที่ตามมาจากการสร้างมาตรฐานให้กับบ้านก็คือ จะ<br />

ทำาอย่างไรให้บ้านที่ดูจะหน้าตาเหมือนกันไปหมดเหล่านี้มี<br />

ความยืดหยุ่น เอื้อให้เกิดการสร้างอัตลักษณ์ และทำาให้ผู้-<br />

อยู่อาศัยรู้สึกว่าเป็น “บ้าน” ของตนได้ ความพยายามทลาย<br />

ข้อจำากัดของมาตรฐานนี้ ยังคงเป็นจุดเริ่มต้นของแนวคิด<br />

อันชาญฉลาดที่ซ่อนอยู่ในบ้านหลายโปรเจคมาโดยตลอด<br />

ฉลาดที่จะเติบโต<br />

แนวคิดที่ทำาให้บ้านสามารถปรับขนาดพื้นที่ใช้สอยได้<br />

เป็นการท้าทายความนิ ่งของสถาปัตยกรรมที ่ได้รับการ<br />

ออกแบบมาบนมาตรฐานบางอย่างแต่กลับต้องบรรจุชีวิต<br />

คนเมืองที่มีพลวัตสูงเอาไว้ สถาปนิกในยุคหนึ่งพยายาม<br />

หาทางให้สถาปัตยกรรมสามารถเปลี่ยนตัวเองได้อย่าง<br />

ไม่สิ้นสุด โดยชาว Metabolism ในช่วงปี 1960s เป็น<br />

สถาปนิกกลุ่มหนึ่งที่มองว่าสถาปัตยกรรมต้องมีชีวิต พร้อม<br />

ทิ้งเซลล์เก่าที่ไม่ใช้แล้ว เติมเซลล์ใหม่ที่เหมาะสม และ<br />

เติบโตไปเรื่อยๆ ตามความต้องการของผู ้คนและเมือง Sky<br />

House โดย Kiyonori Kikutake เป็นตัวอย่างของบ้านที่<br />

สะท้อนแนวคิดนี้ออกมาได้อย่างชัดเจน บ้านหลังนี้ลอย<br />

อยู่ด้วยเสาแบนสี่เสา มวลอาคารหลักที่ลอยอยู่ด้วยเสาทั้ง<br />

สี่รวมพื้นที่สำาหรับนั่งเล่น นอน และทานอาหารไว้ด้วยกัน<br />

ในผังรูปสี่เหลี่ยมขนาดใหญ่ซึ่งมีระเบียงทางเดินห่อหุ้มไว้<br />

โดยรอบ และมีห้องครัวและห้องน้ำาเป็นส่วนปะติดที่ย้าย<br />

ตำาแหน่งหรือเพิ่มจำานวนได้ตามความต้องการในอนาคต<br />

โดยหลังจากสร้างเสร็จระยะหนึ่งก็มีการแขวนห้องลูกเพิ่ม<br />

ไปใต้มวลอาคารหลัก<br />

หรือ Quinta Monroy โดย Elemental เป็นบ้านโตได้ที่<br />

พลิกข้อจำากัดด้านงบประมาณให้กลายมาเป็นจุดเด่นของ<br />

โครงการ สถาปนิกออกแบบให้มีการสร้างอาคารไว้เพียง<br />

ครึ่งเดียวและเว้นพื้นที่อีกครึ่งให้ว่างไว้ เพื่อให้ผู้อยู่อาศัย<br />

มาต่อเติมเองได้ในภายหลัง โดยการต่อเติมสามารถฝาก<br />

น้ำาหนักไว้กับโครงสร้างหลักที่ให้ไว้ตั้งแต่ต้นได้ วิธีการนี้<br />

นอกจากจะช่วยลดต้นทุนการก่อสร้างแล้ว ยังเป็นการเปิด<br />

ช่องว่างให้ผู้อยู่อาศัยได้สร้างอัตลักษณ์ขึ้นมาผ่านการ<br />

ออกแบบอีกครึ่งตามความต้องการของตน จนเกิดเป็น<br />

ความหลากหลายที่ไม่อาจสร้างได้ด้วยสถาปนิกเพียง<br />

คนเดียว<br />

และหากมองในสเกลเมือง อีกโปรเจคหนึ่งที่น่าสนใจใน<br />

มุมมองของการเติบโตของสถาปัตยกรรมคือ Hillside<br />

Terrace Complex I-VI โดย Maki and Associates ใน<br />

ย่าน Daikanyama ซึ่งเป็นโครงการที่มีที่อยู่อาศัยปะปน<br />

กับร้านค้า แกลลอรี่ และการใช้งานอื่นที่ส่งเสริมการสร้าง<br />

พื้นที่สาธารณะที่มีคุณภาพให้กับชุมชน การพัฒนาแบ่งเป็น<br />

7 เฟสที่พาดผ่านช่วงเวลาตั้งแต่ปี 1969 จนถึงปี 1992<br />

Smart enough to grow<br />

The idea of designing a house to have spaces with<br />

adjustable sizes and functionalities challenges the<br />

static nature of architecture that has been designed<br />

from a certain standardization, which ironically, serves<br />

to accommodate the highly dynamic lifestyle of urban<br />

habitants. Architects, at one point in time, were finding<br />

ways for architecture to be infinitely adaptable. The<br />

Metabolism Movement from the 1960s were primarily<br />

a group of architects that viewed architecture as a<br />

form of living creature, one that has to be ready to<br />

shred it's old, unused cells, before adding newer and<br />

more suitable cells in order to continue to grow and<br />

cater to the changing demands of people and urban<br />

spaces as well as contexts it’s a part of. Sky House by<br />

Kiyonori Kikutake is an interesting example of a house<br />

that distinctively materializes such a concept. The<br />

house is elevated on four flat columns with the main<br />

architectural mass hosting a lounging, sleeping and<br />

dining area within the large rectangular layout with<br />

all sides surrounded by large balconies. The kitchen<br />

and restrooms are included as an addition, which can<br />

be relocated and expanded to suit future needs. A<br />

while after the construction was completed, a baby<br />

room was added to the program, underneath the main<br />

architectural mass. Quinta Monroy by Elemental or<br />

growable house turned the project’s limited budget<br />

into one of its most distinctive qualities. The architect<br />

intentionally designed only half of a building for each<br />

living unit, leaving the other half unoccupied and<br />

allowing dwellers to make their own extension later.<br />

The existing main structure is designed to bear the<br />

weight of the future extension. While the design effectively<br />

works around the limited budget with reduced<br />

construction cost, it provides dwellers a space, which<br />

allows them to add their own identity and character<br />

through its extension. What the project ends up<br />

creating is the kind of diversity that the architect alone<br />

could not entirely contribute.<br />

Hillside Terrace Complex I-VI by Maki and Associates<br />

in Daikanyama district of Tokyo is another interesting<br />

project, particularly in the aspect of architecture’s<br />

ability to grow on an urban scale. The project houses<br />

residential and commercial spaces, a gallery, as well<br />

as other functionalities that support the existence of<br />

high quality public parks. The development was divided<br />

into seven phases over the course between 1969<br />

and 1992. The design of each phase continued as the<br />

architecture team observed the completed phases<br />

to readjust features of the succeeding buildings to<br />

suit the evolution of the neighborhood over time with<br />

different details added to convey the contemporaneous<br />

context of each time period. This big house grows<br />

alongside its surrounding environment and brings a<br />

sense of place to the neighborhood.


42<br />

theme<br />

การออกแบบแต่ละเฟสดำาเนินไปพร้อมกับการสังเกตการณ์<br />

ส่วนที่มีการใช้งานแล้ว อาคารที่สร้างทีหลังจึงถูกปรับไป<br />

ตามความเปลี่ยนแปลงของย่านอย่างค่อยเป็นค่อยไป รวม<br />

ถึงมีการใส่รายละเอียดที่แตกต่างกันเพื่อสื่อสารความเป็น<br />

ไปของช่วงเวลานั้นๆ บ้านหลังใหญ่นี้จึงเป็นบ้านที่เติบโต<br />

ไปพร้อมกับย่านและสร้าง sense of place ให้ย่านไปด้วย<br />

พร้อมกัน<br />

ฉลาดที่จะยืดหยุ่น<br />

นอกเหนือจากวิธีการเผื่อสเปซไว้เพื่อรอการเติมเต็มแล้ว<br />

อีกแนวคิดหนึ่งที่ทำาให้การออกแบบบนมาตรฐานมีความ<br />

ยืดหยุ่นขึ้น คือการออกแบบผังแบบเปิดโล่ง (open floor<br />

plan) ผังลักษณะนี้แพร่หลายขึ้นในแถบตะวันตกหลังจาก<br />

ที่ Frank Lloyd Wright เริ่มใช้แนวคิดนี้ออกแบบที่อยู่อาศัย<br />

โดยจัดวางพื้นที่นั่งเล่น พื้นที่ทานอาหาร และครัวไว้รวมกัน<br />

ในช่วงเวลาใกล้กันนี้ อุปกรณ์ไฟฟ้าหลายอย่างเริ่มเข้ามา<br />

เป็นส่วนหนึ่งในชีวิตประจำาวันของผู้คนมากขึ้นและลดทอน<br />

ความจำาเป็นของสเปซบางส่วนในบ้านไป ซึ่งน่าสนใจว่า<br />

เครื่องดูดควันในครัวก็ถูกพัฒนาขึ้นในช่วงเวลาใกล้เคียง<br />

กับช่วงที่ผังแบบเปิดโล่งเริ่มแพร่หลายด้วยเช่นกัน ผังที่<br />

ลื่นไหลและเปิดโล่ง พร้อมกับอุปกรณ์ไฟฟ้าที่ช่วยลดขนาด<br />

พื้นที่ในบ้านไปเช่นนี้ ดูจะตอบรับกับบ้านในเมืองที่มีเนื้อที่<br />

จำากัดได้เป็นอย่างดี และอาจเป็นเหตุผลหนึ่งที่ทำาให้ผังแบบ<br />

นี้ยังคงเป็นที่นิยมเรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน<br />

Schroder House โดย Gerrit Rietveld เป็นบ้านอีกหลัง<br />

ที่สร้างทางเลือกให้ผังแบบเปิดโล่งสามารถปรับตัวให้เป็น<br />

สัดส่วนยามจำาเป็นได้ โดยผังชั้นสองของบ้านถูกออกแบบ<br />

ให้มีผนังบานเลื่อนที่สามารถเลื่อนเปิดให้พื้นที่ทั้งชั้นเชื่อม-<br />

โยงเป็นหนึ่งเดียวกันหรือเลื่อนปิดเพื่อแบ่งห้องออกเป็น<br />

สัดส่วนได้เมื่อต้องการ หรือ Baitasi House โดย dot<br />

architects เป็นอีกหลังที่ผนวกแนวคิดที่คล้ายคลึงกันเข้า<br />

กับเทคโนโลยีในปัจจุบัน ด้วยการออกแบบให้ผนังปรับ<br />

เลื่อนได้โดยระบบไฟฟ้าที่ควบคุมผ่าน smart TV ซึ่ง<br />

รวบรวมเอาอุปกรณ์ smart home อื่นภายในบ้านไว้บน<br />

หน้าจอเดียวกัน<br />

ฉลาดที่จะหลอมรวม<br />

การหลอมรวมที่อยู่อาศัยเข้ากับองค์ประกอบอื่นของเมือง<br />

ไม่ว่าจะเป็นโครงสร้างพื้นฐาน หรืออาคารที่ไม่ได้สร้างมา<br />

เพื่อการอยู่อาศัยแต่ต้น ก็เป็นอีกแนวคิดที่สร้างอัตลักษณ์ให้<br />

ที่อยู่อาศัยไปพร้อมกับใช้พื้นที่เมืองให้คุ้มค่า Autobahnüberbauung<br />

Schlangenbader Strasse เป็นตัวอย่างหนึ่งที่รวม<br />

To be Smart is to be flexible<br />

Apart from the provision of spare spaces that wait<br />

to be fulfilled, another idea that helps standardization-based<br />

design be more flexible is the open floor<br />

plan. This particular floor plan has become more<br />

widespread in the West after Frank Lloyd Wright<br />

reconciled residential design by combining the living<br />

and dining area and kitchen together. Around this time<br />

period, electrical appliances were becoming a part of<br />

people’s everyday life and lessened the necessity of<br />

certain spaces of a house. It’s interesting how inventions<br />

such as a kitchen hood were being developed<br />

around the same time when open plan layout was becoming<br />

popular. The open plan and free flowing walls<br />

with an electrical appliance that could help reduce<br />

the size of a living space was a perfect solution for an<br />

urban home with limited functional space, which is<br />

one the reasons why such a floor plan is still a favored<br />

preference for today’s dwellers.


HOME SMART HOME<br />

43<br />

4<br />

Photo courtesy of James Morgan Petty<br />

5<br />

04-<strong>05</strong><br />

Autobahnüberbauung<br />

Schlangenbader Strasse<br />

ที่วางคร่อมอยู่บนทางด่วน<br />

ทำาให้เนื้อเมืองทั้งสองฝั่ง<br />

เชื่อมต่อกัน


44<br />

theme<br />

6 Photo courtesy of IWAN BAAN


HOME SMART HOME<br />

45<br />

The structure of the deserted building became the<br />

starting point of a construction project carried out by<br />

the people who moved from their rural hometowns to<br />

the city of Caracas with the intention to turn the rundown<br />

structure into their homes.<br />

06<br />

อิฐดินเผาสีส้มและวัสดุ<br />

ที่หลากหลายเติมเต็ม<br />

โครงสร้างของ Torre de<br />

David จนเป็นที่อยู่อาศัย<br />

ของผู้คนในเมือง Caracas<br />

ที่อยู่อาศัยกับโครงสร้างพื้นฐานเมืองเข้าด้วยกันโดยการ<br />

วางอาคารคร่อมไว้บนทางด่วน ฐานอาคารที่กว้างขึ้นกลาย<br />

เป็นพื้นที่ระเบียงส่วนตัวขนาดใหญ่ของบ้านแต่ละหลังลด-<br />

หลั่นไปเป็นขั้นบันได วิธีการนี้นอกจากจะทำาให้ใช้พื้นที่<br />

เมืองได้คุ้มค่าแล้ว ยังช่วยเชื่อมต่อเนื้อเมืองทั้งสองฝั่งของ<br />

ทางด่วนเข้าด้วยกันอย่างแยบยลอีกด้วย<br />

The Frøsilo โดย MVRDV ที่ปรับไซโลเก่าเป็นที่อยู่อาศัย<br />

โดยปล่อยความกลวงของไซโลไว้เป็นโถงบันไดแล้ววาง<br />

ยูนิตพักอาศัยไว้รอบนอกของโครงสร้างไซโลจนเกิดเป็น<br />

ผังที่เปิดวิวห้องพักสู่เมือง หรือ Jægersborg Water Tower<br />

โดย Dorte Mandrup ที่ปรับหอเก็บน้ำาอันเป็นแลนด์มาร์ค<br />

สำาคัญของชุมชนให้เป็นที่อยู่อาศัยของนักเรียนโดยเติม<br />

ยูนิตเข้าไปด้านบนและใส่พื้นที่พักผ่อนไว้ด้านล่าง ก็เป็น<br />

อีกตัวอย่างที่หลอมรวมบ้านไว้กับความทรงจำาของเมือง<br />

ได้อย่างน่าสนใจ<br />

อีกตัวอย่างหนึ่งคือ Torre de David ซึ่งเป็นบ้านที่ไม่ได้มี<br />

สถาปนิกเป็นผู้ออกแบบ แต่กลับให้คำาใบ้สำาคัญหลายประการ<br />

ต่อการออกแบบบ้านในเมือง อาคารนี้เป็นอาคารสำานักงาน<br />

ที่หยุดก่อสร้างกลางคันและถูกทิ้งให้เป็นตึกร้างกลางเมือง<br />

Caracas โครงสร้างของอาคารร้างที่มีแต่เสา คาน และพื้น<br />

กลายเป็นจุดเริ่มต้นของการสร้างบ้านของผู้คนที่ย้ายจาก<br />

ชนบทเข้ามาแสวงโชคในเมือง ผู้คนขนอิฐเดินขึ้นบันไดกว่า<br />

สิบชั้นเพื่อนำาไปก่อเป็นผนังเติมเข้าไปในโครงสร้างเดิมจน<br />

กลายเป็นพื้นที่อยู่อาศัย ร้านชำา ร้านตัดผม และสถานที่<br />

อำานวยความสะดวกต่างๆ ที่จำาเป็นต่อคนในชุมชน<br />

โจทย์บ้านในฐานะชิ้นส่วนหนึ ่งของโลก – ต้องสื่ อสาร<br />

กับภายนอก<br />

เมื่อเมืองเติบโตมาถึงจุดหนึ่ง ปัญหาทางสังคมและสิ่ง-<br />

แวดล้อมดูจะเป็นโจทย์ข้อต่อไปที่กำาลังได้รับความสนใจ<br />

Schroder House by Gerrit Rietveld is another house<br />

that offers alternatives for an open floor plan to be<br />

readjusted into proper sections when needed. The<br />

second floor of the house is designed to have sliding<br />

walls that enable the entire space of the floor to connect<br />

or closed to divide the space into rooms. Baitasi<br />

House by dot architects is another work that integrates<br />

a similar concept to the current technologies with<br />

electrical powered adjustable walls that can be controlled<br />

via a smart TV, which also includes other smart<br />

home features on the same display screen.<br />

To be smart is to assimilate<br />

The assimilation of residential spaces to other components<br />

of a city, be it the infrastructures or buildings<br />

that were not originally built for human habitation,<br />

is another concept of how an identity and character<br />

of a dwelling is formed along the maximized use of<br />

urban spaces. Autobahnüberbauung Schlangenbader<br />

Strasse is another example that integrates a living<br />

space to the city’s infrastructure. The residential<br />

complex sits above an active freeway with a widened<br />

footing that provides a personal balcony for each of<br />

the living units, which descend in terraced steps. The<br />

design does not only maximize the use of urban space<br />

but also thoughtfully links the urban fabrics on both<br />

sides of the freeway together.<br />

The Frøsilo by MVRDV transforms a couple of old silos<br />

into a residential complex by leaving the voids as the<br />

stairways and placing the living units on the outer periphery<br />

of the silos. Created is a floor plan that opens<br />

all the living units to the view of the city. Jægersborg<br />

Water Tower by Dorte Mandrup, has changed the<br />

water tower that is the community’s landmark into a<br />

student accommodation, adding units on top and the<br />

living area underneath, exemplifying how a residential<br />

structure assimilates itself to the town’s memory.


46<br />

07<br />

โต๊ะทานอาหารภายใน<br />

Yoshino Cedar House ที่<br />

เป็นพื้นที่รวมตัวของผู้คน<br />

ในชุมชนพร้อมเปิดเชื่อม<br />

ต่อกับชานด้านนอก


47<br />

7


48<br />

theme<br />

This is a great challenge for architects to continue their<br />

quest for the right answer to the question of how a<br />

smart home in the future should be designed to maintain<br />

a sense of balance with the coexistence of humans<br />

and technology.<br />

การออกแบบบ้านในปัจจุบันเริ่มเปลี่ยนมุมมองจากการหัน<br />

หน้าเข้าบ้านสู่การหันมองออกไปนอกบ้านมากยิ่งขึ้น ผ่าน<br />

การตั้งคำาถามที่ว่า บ้านจะเชื่อมโยงกับสิ่งที่อยู่ภายนอก<br />

อย่างไร จะเป็นจุดเริ่มต้นของการสร้างสังคมรูปแบบใหม่ได้<br />

อย่างไร หรือจะทำาให้โลกของเราดีขึ้นได้อย่างไรบ้าง<br />

ฉลาดที่จะเป็ นผู้สร้างความสัมพันธ์<br />

ในยุคที่เมืองทั่วโลกประสบปัญหาการเข้าถึงที่อยู่อาศัย<br />

ผู้คนเผชิญภาวะโดดเดี่ยวและสังคมเปราะบางมากขึ้น บ้าน<br />

หลายหลังเริ่มปรับบทบาทจากการเป็นเพียงพื้นที่ส่วนตัว<br />

สู่การเป็นพื้นที่ทางสังคมรูปแบบใหม่ซึ่งไม่ได้ผูกโยงกับ<br />

คำาว่า “ครอบครัว” ในความหมายเดิมอีกต่อไป บ้านแบบ<br />

Co-living เป็นคำาตอบหนึ่งที่มาตอบกระแสนี้ โดยการ<br />

ออกแบบบ้านเหล่านี้มีความท้าทายตรงที่การจัดความ<br />

สัมพันธ์ระหว่างฟังก์ชั่นในพื้นที่ส่วนตัวและพื้นที่ส่วนกลาง<br />

อย่างสมดุล เพื่อเชื่อมต่อคนแปลกหน้าที่มาอยู่ร่วมกันใน<br />

ระดับที่พอดีและไม่ทำาให้รู้สึกอึดอัด ในญี่ปุ่นมีบ้านประเภท<br />

นี้ที่น่าสนใจหลายตัวอย่าง เช่น LT Josai Shared House<br />

โดย Naruse Inokuma Architects หรือ Tokyo Gasshuku-jo<br />

โดย TA+A ที่ออกแบบโดยโอบล้อมพื้นที่ส่วนกลางไว้ด้วย<br />

พื้นที่ส่วนตัวและสร้างปฏิสัมพันธ์ระหว่างพื้นที่ทั้งสองใน<br />

ลักษณะสามมิติอย่างน่าสนใจ หรือ Share Yaraicho โดย<br />

Spatial Design Studio - Satoko Shinohara ที่ขยาย<br />

ขอบเขตการเชื่อมต่อไปถึงชุมชนรอบบ้าน ด้วยการออกแบบ<br />

facade ให้ไม่มีประตูที่ชัดเจน รวมถึงใช้วัสดุที่อนุญาตให้<br />

ความเป็นไปภายในบ้านซึมออกสู่ภายนอกได้ลางๆ<br />

Yoshino Cedar House ออกแบบโดย Go Hasegawa ร่วม<br />

กับ Airbnb ได้พลิกนิยามของ Co-living space ไปอีกขั้น<br />

หนึ่ง บ้านหลังนี้เป็นบ้านหลังแรกที่ Airbnb ลงทุนสร้างขึ้น<br />

Torre de David is fascinating for the fact that it isn’t<br />

designed by an architect, yet, sends several interesting<br />

signals to how urban residential design can be<br />

defined. The building was an office building whose incomplete<br />

construction turned it into a deserted structure<br />

in the middle of the city of Caracas. The structure<br />

of the deserted building with only columns, beams and<br />

floors became the starting point of a construction project<br />

carried out by the people who moved from their<br />

rural hometowns to the city. With the intention to turn<br />

the rundown structure into their homes, this group of<br />

people carried bricks, and walked up between the ten<br />

stories of the building, filling up the wall-less structure<br />

and created their own living units with grocery stores,<br />

a barber shop and other establishments and facilities<br />

that are necessary for the community members’<br />

livelihood.<br />

A house as a part of the world—Communicating<br />

with the outside<br />

Once a city has grown to a certain point, social and<br />

environmental problems become a subject of interest.<br />

Residential design in the current time is seeing a shift<br />

in dwellers’ preferences to have the front of the house<br />

face outward rather than the other way around. Questions<br />

have been asked about how a house can connect<br />

to its outside surroundings, and how such an approach<br />

can become a beginning of a new type of society or<br />

even a better world.<br />

A smart relationship facilitator<br />

In the time when cities around the world are facing a<br />

scarcity of homes as people have faced greater difficulty<br />

accessing housing. Humans are going through<br />

a tougher stage of isolation and society is becoming<br />

more fragile. Houses are adjusting their roles as a


HOME SMART HOME<br />

49<br />

มาเองใหม่และมีชุมชนเป็นเจ้าของ ไม่ได้ใช้พื้นที่ในบ้านที่มี<br />

อยู่เดิม เช่นทั่วไป โดยในวันปกติจะทำาหน้าที่เป็นพื้นที่พบปะ<br />

ของผู้คนในชุมชน และกลายเป็นที่พักรับแขกในวันที่มีนัก-<br />

ท่องเที่ยวมาเยือน รายได้จากการเข้าพักของนักท่องเที่ยว<br />

ในบ้านหลังนี้ส่วนหนึ่งจะกลายเป็นเงินกองกลางเพื่องาน<br />

สาธารณะของชุมชน การขยายขอบเขตความเป็นเจ้าของ<br />

บ้านหลังหนึ่งไปสู่ระดับชุมชนเช่นนี้ ทำาให้บ้านกลายเป็น<br />

ทรัพย์สินร่วมที่ถักทอความสัมพันธ์ของผู้คนในชุมชนเอาไว้<br />

ด้วยกัน<br />

ฉลาดที่จะเป็ นอยู่ร่วมกับโลก<br />

สถาปนิกกลุ่มหนึ่งพยายามตอบคำาถามที่ว่า บ้านจะทำาให้<br />

โลกนี้ดีขึ้นได้อย่างไร ด้วยการออกแบบบ้านที่เป็นมิตร<br />

ต่อสิ่งแวดล้อม ถึงแม้โจทย์นี้จะไม่ใช่แนวคิดใหม่ แต่ก็อาจ<br />

ไม่ได้เป็นเป้าหมายแรกที่คนทั่วไปจะคำานึงถึงในปัจจุบัน<br />

มากนัก ภายใต้สถานการณ์เช่นนี้ SEUP. ได้ออกแบบ<br />

Awajishima House เพื่อตอบแนวคิด Zero Energy House<br />

(ZEH) โดยบ้านหลังนี้ตั้งใจลดพลังงานในทุกกระบวนการ<br />

ตั้งแต่การลดพลังงานในการขนส่งวัสดุโดยใช้กระเบื้องที่<br />

ผลิตจากดินในพื้นที่ การจำาลองสถานการณ์ (simulation)<br />

ด้วยคอมพิวเตอร์เพื่อหาฟอร์มกระเบื้องสำาหรับผิวชั้นนอก<br />

ของบ้านให้สามารถกันแดดในฤดูร้อนและปล่อยให้แดด<br />

ส่องเข้าบ้านในฤดูหนาวได้อย่างเต็มที่ การเลือกใช้ผนังดิน<br />

เป็นฉนวนความร้อน ไปจนถึงการวางระบบพลังงานสะอาด<br />

ไว้ในบ้าน เช่น ระบบนำาความร้อนใต้ดินมาเป็นพลังงาน<br />

สำาหรับเครื่องปรับอากาศ<br />

ในมุมของสิ่งแวดล้อม บ้านพิมพ์สามมิติ (3D-printed<br />

house) เป็นอีกนวัตกรรมหนึ่งที่ใช้เทคโนโลยีมาช่วยเพิ่ม<br />

ประสิทธิภาพและลดขยะในการก่อสร้าง ซึ ่งในหลายโปรเจ็คต์<br />

เช่น URBAN Cabin ของ DUS Architects ก็เลือกใช้วัสดุที่<br />

ลดภาระทางสิ่งแวดล้อมอย่างพลาสติกชีวภาพ (bioplastic)<br />

มาเป็นหมึกพิมพ์ ถึงแม้ว่าบ้านพิมพ์สามมิติจะยังอยู่ใน<br />

ช่วงทดลองและยังไม่แพร่หลายนัก แต่ก็น่าจะเข้ามาเปิด<br />

ปรากฏการณ์ใหม่ให้การอยู่อาศัยได้อีกหลากหลายรูปแบบ<br />

หลังจากนี้ เพราะนอกจากจะตอบโจทย์ด้านสิ่งแวดล้อมแล้ว<br />

ยังเพิ่มโอกาสที่จะทำาให้ผู้คนสามารถสั่งตัด (customize)<br />

บ้านให้เป็นไปตามความต้องการได้ง่ายขึ้นอีกด้วย<br />

โจทย์บ้านในอนาคต - ฉลาดร่วมงานกับดิจิทัล<br />

ณ วันนี้ ความฉลาดที่สั่งสมมาในสถาปัตยกรรมที่เรียกว่า<br />

บ้าน กำาลังถูกท้าทายด้วยอุปกรณ์ดิจิทัลที่เข้ามาบดบังความ<br />

สำาคัญของสเปซบ้านที่จับต้องได้ไปแทบมิด จนคนส่วนใหญ่<br />

นึกออกแต่ภาพหลอดไฟหรือแม่กุญแจบนหน้าจอเมื่อถูก<br />

ถามถึง “Smart Home” นี่อาจเป็นโจทย์สำาคัญของสถาปนิก<br />

ในอนาคตที่จะต้องค้นหาคำาตอบต่อไปว่า แล้วบ้านที่ฉลาด<br />

personal space to a full on social space that no longer<br />

associates themselves to ‘family’ in the same sense<br />

they used to be. Co-living houses have become one<br />

of the answers to this trend. Designing a house of<br />

this nature is challenging in the way that it needs to<br />

manage the relationship and balance between private<br />

and common spaces, bringing together the strangers<br />

who share the same living space at the right and comfortable<br />

level. In Japan, there are several interesting<br />

projects that have adopted this particular residential<br />

typology. LT Josai Shared House by Naruse Inokuma<br />

Architects or Tokyo Gasshuku-jo by TA+A surround<br />

the common areas with private spaces, and facilitate<br />

interactions between both types of space into a three<br />

dimensional connection.<br />

Share Yaraicho by Spatial Design Studio - Satoko<br />

Shinohara extends the boundary of connectivity to the<br />

community surrounding the house with the design of<br />

the facade that makes the entrance seem obscured<br />

and the materials that allow activities inside of the<br />

house to be slightly visible from the outside. Yoshiko<br />

Cedar House by Go Hasegawa and Airbnb redefines<br />

co-living space and takes it to the next level. The<br />

house is the first Airbnb-funded accommodation that<br />

is owned by a community, unlike other privately owned<br />

accommodations on Airbnb’s listing. On regular days,<br />

the house functions as a meeting space for community<br />

members and an accommodation on the days when<br />

there are visiting guests. The income generated from<br />

the accommodation fee is added to the fund used for<br />

the community’s public affairs. The expansion of the<br />

ownership of the house to a community level makes<br />

the house a shared asset that intertwines relationships<br />

between people in the community together.<br />

To be smart is to coexist with the world<br />

A group of architects are trying to answer the question<br />

of how a house can help make the world a better place<br />

through environmentally-conscious design. While the<br />

question is nothing new, it may not always be the first<br />

objective people strive for when building their own<br />

homes in this day and age. Under this circumstance,<br />

SEUP designs Awajishima House with the Zero Energy<br />

House (ZEH) concept with the intention to reduce the<br />

use of energy in every possible aspect and process,<br />

from transportation (by using the tiles made of local<br />

earth), the digitally generated simulation to find the<br />

most suitable form for the tiles that would be used as<br />

the house’s exterior cladding material. The tiles can<br />

protect the house from the summer sunlight but allow<br />

natural light to fully make its way into the house’s interior<br />

during winter. Earth walls serve as effective heat<br />

insulation while the house is equipped with a clean<br />

energy system such as the system that uses geothermal<br />

energy to power the air conditioners.


50<br />

8<br />

Photo courtesy of Taro Hirono


HOME SMART HOME<br />

51<br />

08<br />

อิฐดินเผาสีส้มและวัสดุ<br />

ที่หลากหลายเติมเต็ม<br />

โครงสร้างของ Torre de<br />

David จนเป็นที่อยู่อาศัย<br />

ของผู้คนในเมือง Caracas<br />

ในอนาคตควรออกแบบเพื่อให้มนุษย์อยู่ร่วมกับเทคโนโลยี<br />

ดิจิทัลอย่างสมดุลได้อย่างไร บ้านควรพึ่งพาหรือมอบหน้าที่<br />

ให้เทคโนโลยีดูแลคนในบ้านมากน้อยแค่ไหน แล้วสเปซของ<br />

บ้านที่ทำางานร่วมกับเทคโนโลยีได้อย่างดีจะมีหน้าตาเป็น<br />

อย่างไร<br />

สถานการณ์ที่ทำาให้คนต้องใช้ชีวิตในบ้านมากขึ้นในตอนนี้<br />

อาจเข้ามาสะกิดบอกเราว่า การพึ่งพาเทคโนโลยีตลอด<br />

24 ชั่วโมงอาจไม่ใช่คำาตอบของการใช้ชีวิตอย่างมีคุณภาพ<br />

สักเท่าไหร่นัก และสถาปนิกยังคงต้องเสาะหาแนวคิดที่จะ<br />

ทำาให้บ้านมีสเปซที่เหมาะสมกับวิถีชีวิตในยุคดิจิทัลต่อไป<br />

อย่างเข้าอกเข้าใจมนุษย์ รวมถึงไม่ละทิ้งโจทย์ในอดีตที่ยัง<br />

ไม่ได้รับการคลี่คลาย เมื่อเราลองเปิดสวิตซ์ของเทคโนโลยี<br />

Smart Home กลับขึ้นมาอีกครั้งภายใต้โจทย์บ้านใน<br />

อนาคตข้อนี้ ภาพของสถาปัตยกรรมที่บรรจุเทคโนโลยี<br />

เหล่านี้ไว้อาจเริ่มปรากฏให้เห็นขึ้นมาลางๆ พร้อมให้เรา<br />

จินตนาการต่อเพื่อเติมเต็มหน้าตาของบ้านที่ชาญฉลาดใน<br />

อนาคตก็ได้<br />

From an environmental standpoint, 3D-printed houses<br />

are another innovation that utilizes technologies to<br />

maximize construction efficiency and reduce construction<br />

waste. In several projects such as URBAN Cabin<br />

by DUS Architects, bioplastic is used as the printing<br />

ink for its minimized burden on the environment. While<br />

3D-printed houses are still pretty much in their experimental<br />

phase and far from popular, it can open a new<br />

door for many other living typologies to come, simply<br />

because not only does it ticks several boxes on the<br />

environmental checklist, but it will also enable future<br />

homeowners to customize their homes according to<br />

their desires and preferences.<br />

A home of the future- Smart digital<br />

collaborations<br />

At this moment in time, the ‘smartness’ accumulated<br />

through the evolution of the architecture we call<br />

home is being challenged with digital tools that almost<br />

completely overshadow the physical and visible<br />

spaces of a home to the point where the majority<br />

of people can only imagine the image of a light<br />

bulb or a lock on a computer screen when the term<br />

‘smart home’ is mentioned. This is probably a great<br />

challenge for architects in the future to continue<br />

their quest for the right answer to the question of<br />

how a smart home in the future should be designed<br />

to maintain a sense of balance with the coexistence<br />

of humans and technologies. To what extent should<br />

a home rely on or assign technologies the role to<br />

take care of its inhabitants, and what should a living<br />

space that will work in tandem with all these new<br />

technologies look like?<br />

ภัณฑิรา จูละยานนท์<br />

อาจารย์ประจำาภาควิชา<br />

การวางแผนภาคและเมือง<br />

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์<br />

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย<br />

สนใจเกี่ยวกับความสัมพันธ์<br />

ระหว่างสถาปั ตยกรรมกับ<br />

วิถีชีวิตในเมือง ปั จจุบัน<br />

ทำางานวิจัยเกี่ยวกับอนาคต<br />

การอยู่อาศัย<br />

Panthira Julayanont<br />

is a lecturer at Department<br />

of Urban and<br />

Regional Planning,<br />

Faculty of Architecture,<br />

Chulalongkorn University.<br />

Her interests lay in<br />

relationships between<br />

architecture and urban<br />

life. She is currently<br />

conducting a research<br />

project on the futures<br />

of living.<br />

The ongoing situation that is now forcing people to<br />

spend more time at home is probably a reminder<br />

that relying on technology at all times may not the<br />

answer to quality living. Architects also still have<br />

to search for other possible concepts to create the<br />

most suitable living space that will suit life in the<br />

digital age with a true understanding of humans<br />

without discarding the past unanswered questions.<br />

Turning on the switch of the smart home technology<br />

under the challenging tasks that a home of the future<br />

is expected to fulfill, an image of architecture,<br />

equipped with smart technologies, is becoming<br />

more apparent and ready for us to envision what a<br />

smart home will actually look like in the future.


52<br />

theme / review<br />

Tick<br />

all the<br />

Boxes<br />

Ayutt and Associates Design has<br />

designed a house that resolves all<br />

the limitations and can comply with<br />

owners’ requirements regarding the<br />

dwelling and value-adding to the<br />

house design.<br />

Text: Warut Duangkaewkart<br />

Photo Courtesy of Ayutt and Associates design and<br />

Chalermwat Wongchompoo (Sofography) except as noted


53<br />

1<br />

01<br />

ระเบียงห้องพักและ<br />

เส้นสายของเปลือกห่อหุ้ม<br />

อาคาร


54<br />

theme / review<br />

2<br />

02<br />

ทัศนียภาพของอาคาร<br />

กับบริบทโดยรอบ<br />

หลากหลายครั้ง ที่เรามักจะมองเห็นบทความ<br />

หรือการพูดถึงบ้านต่างๆ ในแง่ของความสวย<br />

งาม หลากหลายคน เลือกที่จะให้คุณค่ากับ<br />

ภาพที่มองเห็นจากภายนอก ของงานออกแบบ<br />

สถาปัตยกรรมต่างๆ ซึ่งเราคงปฏิเสธไม่ได้<br />

ว่า ภาพลักษณ์ภายนอกนั้นเป็นองค์ประกอบ<br />

สำาคัญในการออกแบบ เป็นส่วนหนึ่งของงาน<br />

ทัศนศิลป์ที่รับรู้ด้วยการมองเห็น แต่ในขณะ<br />

เดียวกัน คุณค่าของบ้าน หรืองานสถาปัตย-<br />

กรรมใดๆ ก็ไม่ใช่เพียงแค่ความสวยงามเพียง<br />

อย่างเดียว ยังต้องประกอบไปด้วยการตอบ<br />

โจทย์ของผู้ที่อยู่อาศัย แก้ปัญหาและสร้าง<br />

คุณภาพชีวิตที่ดีให้กับผู้ใช้งานได้ ซึ่งใน<br />

มุมของสถาปนิกที่ทำางานออกแบบนั้นเรา<br />

สามารถนำาความคิดสร้างสรรค์ เข้าไปจัดการ<br />

ได้อย่างไรบ้าง<br />

“ทางเจ้าของบ้านมองหาที่ดินในย่านนี้ ซึ่ง<br />

โจทย์ของบ้านหลังนี้คือการสร้างบ้านสำาหรับ<br />

ครอบครัว ที่พ่อแม่สามารถเดินทางไปโรง-<br />

พยาบาลได้สะดวก และมีไอเดียว่าจะเป็นไป<br />

ได้ไหมว่าหลังจากเกษียณแล้ว บ้านหลังที่มีอยู่<br />

นั้นจะสามารถสร้างรายได้ให้ได้ด้วย” อยุทธ์-<br />

มหาโสม สถาปนิกกล่าวถึงที่มาของบ้านหลังนี้<br />

บ้าน SETTHA เป็นอาคาร 6 ชั้น ออกแบบโดย<br />

AAd (Ayutt and Associates Design) ตั้งอยู่<br />

อย่างโดดเด่นบนที่ดินหัวมุม บนถนนเศรษฐสิริ<br />

กรุงเทพมหานคร ใกล้กับโรงพยาบาลวิชัยยุทธ<br />

จากภายนอกตัวอาคารประกอบไปด้วยกลุ่ม<br />

ก้อนอาคารที่ปิดทึบบางส่วนในชั้นล่าง และ<br />

เปิดโล่งสำาหรับชั้นบน ซึ่งตัวอาคารที่ดูโมเดิร์น<br />

นี้ ไม่ได้มีเพียงแค่รูปฟอร์มเท่านั้น แนวความ<br />

คิดที่ซ่อนอยู่เบื้องหลังเองก็มีความน่าสนใจ<br />

ไม่ต่างกัน ด้วยการนำางานออกแบบอย่างชาญ-<br />

ฉลาดมาแก้ไขปัญหา และตอบสนองความ<br />

ต้องการของเจ้าของบ้านทั้งในแง่ของการอยู่<br />

อาศัย และการตอบโจทย์เรื่องการเพิ่มมูลค่า<br />

ให้กับบ้านหลังนี้ด้วย


ด้วยทำาเลที่ตั้งแล้ว จากบ้านไปถึงโรงพยาบาล<br />

มีระยะห่างเพียง 200 เมตรเท่านั้น ทำาให้เรื่อง<br />

ของการดูแลสุขภาพของครอบครัวกลายมา<br />

เป็นส่วนหนึ่งของแนวความคิดในการออกแบบ<br />

และจากเดิมที่พื้นที่นี้เป็นที่โล่งเพื่อให้เช่าเป็น<br />

ที่จอดรถรายวัน - เดือน จึงทำาให้มองเห็นถึง<br />

ความเป็นไปได้ในการประยุกต์ฟังค์ชั่นต่างๆ<br />

ให้เกิดขึ้นได้ ที่จะทำาให้บ้านหลังนี้เป็นบ้าน<br />

สำาหรับอยู่อาศัย และพื้นที่เชิงพาณิชย์ภายใน<br />

อาคารเดียวกัน<br />

ด้วยขนาดพื้นที่ที่จำากัด บนที่ดินขนาด 75<br />

ตารางวา พร้อมทั้งมีถนน 2 ด้าน ทำาให้ระยะ<br />

แนวร่นของอาคารนั้นเพิ่มมากขึ้นกว่าปกติ ตัว<br />

อาคารจึงถูกออกแบบให้เรียงตัวเป็นแนวตั้งขึ้น<br />

ไป รวมถึงแบ่งพื้นที่ชัดเจนตั้งแต่ทางเข้า โดย<br />

แบ่งออกเป็นทางเข้าสำาหรับส่วน Public และ<br />

ทางเข้าสำาหรับเจ้าของบ้านที่ขยับเข้ามาอยู่<br />

ภายในซอย ช่วยให้เกิดการแบ่งการใช้งานของ<br />

พื้นที่ภายในได้ดีขึ้นด้วยการสัญจร และพื้นที่<br />

ใช้งานของทั้ง 2 ส่วนถูกตัดขาดออกจากกัน<br />

อย่างชัดเจน แม้จะยังสามารถเชื่อมถึงกันได้<br />

แต่ก็มีความเป็นส่วนตัวอยู่ สอดคล้องไปกับ<br />

กฏหมายที่ดินที่กำาหนดให้อาคารต้องมีบันได<br />

หลักและบันไดหนีไฟแยกออกจากกัน รวมถึง<br />

ระยะต่างๆ ในกรณีที่เกิดเหตุอัคคีภัยด้วย<br />

ด้วยข้อกำาหนดเหล่านี้จึงมีส่วนช่วยในการ<br />

จัดสรรพื้นที่ให้มีความชัดเจนมากขึ้น<br />

พื้นที่ชั้น 1 นั้น ทางเข้าด้านหลังของพื้นที่เป็น<br />

โซนพื้นที่ส่วนตัวที่เจ้าของบ้านสามารถจอดรถ<br />

ได้ 2 คัน และเข้าถึงพื้นที่ส่วนตัวได้ด้วยบันได<br />

และลิฟท์โดยสาร ส่วนพื้นที่ด้านหน้านั้น ด้วย<br />

ความที่พื้นที่บริเวณนี้มีร้านอาหารอยู่มาก และ<br />

แต่เดิมพื้นที่นี้เคยเป็นที่จอดรถมาก่อน การใช้<br />

งานจึงถูกออกแบบให้เป็นพื้นที่ให้เช่าสำาหรับ<br />

จอดรถรายวัน-เดือน จำานวน 9 คัน และ<br />

สามารถเพิ่มจำานวนได้เป็น 13 คัน เมื่อใช้ร่วม<br />

กับลิฟท์ยกรถในอนาคต ซึ่งทางผู้ออกแบบได้<br />

คำานวณระยะความสูงของฝ้า เพื่อรองรับการ<br />

ขยายตัวของฟังก์ชันนี้ไว้ล่วงหน้าแล้ว ในกรณี<br />

ที่พื้นที่มีความต้องการมากขึ้นในอนาคต<br />

จากลานจอดรถชั้น 1 เมื่อเดินขึ้นมาสู่ชั้น 2 จะ<br />

เป็นพื้นที่ Multi-purpose ที่รองรับไอเดียของ<br />

ผู้ที่จะมาเช่าพื้นที่ ทั้งการทำาเป็น Co-working<br />

TICK ALL THE BOXES<br />

Space เป็นออฟฟิศให้เช่า รวมไปถึงร้านกาแฟ<br />

โดยออกแบบเป็นพื้นที่ Open plan ที่สามารถ<br />

ปรับเปลี่ยนและประยุกต์กับการใช้งานที่หลาก<br />

หลายได้ นอกจากนี้ในกรณีที่ไม่มีผู้มาเช่า ทาง<br />

เจ้าของบ้านเองก็ยังสามารถมาใช้พื้นที่นี้เพื่อ<br />

เป็นสตูดิโอหรือห้องทำางานส่วนตัวได้ ซึ่งใน<br />

บริเวณนี้มีการแยกการสัญจรภายในอาคาร<br />

อย่างชัดเจน เพื่อไม่ให้บุคคลภายนอกสามารถ<br />

เข้าถึงพื้นที่ที่เป็นพื้นที่อยู่อาศัยได้<br />

บริเวณชั้น 3 และชั้น 4 ถูกออกแบบให้เป็น<br />

ห้องนอนสำาหรับเจ้าของบ้านและครอบครัว<br />

หากมองจากภายนอก ผิวอาคารจะมองเห็น<br />

เสมือนเป็นผนังทึบที่คนภายนอกไม่สามารถ<br />

เห็นกิจกรรมภายในได้ แต่ด้วยการออกแบบ<br />

ของ AAd ที่เลือกใช้ Signature Fin ที่เป็นหนึ่ง<br />

ในเอกลักษณ์การออกแบบสำาคัญ เพราะด้วย<br />

Facade ระแนงนี้ ทำาให้มุมมองจากภายนอก<br />

ไม่สามารถเห็นพื้นที่ภายในได้ชัดเจน แต่จาก<br />

พื้นที่ภายในยังคงเห็นทิวทัศน์ภายนอกได้อยู่<br />

รวมถึงปล่อยให้แสงธรรมชาติเข้าได้อย่างเต็ม<br />

ที่ ทำาหน้าที่เสมือนเป็น Double Facade ช่วย<br />

ในการกรองแสง กรองความร้อน และลดความ<br />

แรงของลม ที่จะเข้ามากระทบกับผิวอาคาร<br />

ที่เป็นผนังกระจกโดยตรง ทำาให้เจ้าของบ้าน<br />

สามารถลดการใช้ม่านเพื่อบังแดดหรือปิดบัง<br />

มุมมองจากภายนอก อีกทั้งยังสามารถเปิด<br />

หน้าต่างรับลมได้ตลอดทั้งวัน เป็นการช่วย<br />

เหลือในแง่ของการประหยัดพลังงานไปด้วยอีก<br />

ทางหนึ่ง นอกเหนือจากความสวยงามที่เกิดขึ้น<br />

พื้นที่ชั้น 5 และชั้น 6 ถูกออกแบบให้เป็นห้อง<br />

รับแขก และพื้นที่ทำางานสำาหรับเจ้าของบ้าน<br />

พร้อมทั้งมีระเบียงดาดฟ้าเพื่อเปิดออกไปทำา<br />

กิจกรรมภายนอกได้ ในชั้นนี้พื้นที่ถูกเปิดโล่ง<br />

ให้มองเห็นวิวได้อย่างชัดเจน โดยไม่มีระแนง<br />

มากั้นเป็นผิวอาคาร เนื่องด้วยความสูงที่ทำาให้<br />

ไม่มีปัญหาเรื่องมุมมองจากภายนอกถนน<br />

ทำาให้สามารถมองเห็นวิว ต้นไม้ และรับบริบท<br />

ของธรรมชาติได้อย่างเต็มที่ ซึ่งการออกแบบที่<br />

ทำาให้มองเห็นพื้นที่สีเขียวนั้น เป็นอีกประเด็น<br />

สำาคัญในงานออกแบบของ AAd มาโดยตลอด<br />

เช่นเดียวกับบ้านหลังนี้ที่ตัวอาคารถูกทำาให้<br />

เป็นระดับลดหลั่นกันขึ้นไป เพื่อที่จะสร้างพื้นที่<br />

ระเบียงปลูกต้นไม้ในแต่ละชั้น และ สร้างความ<br />

เชื่อมโยงทางมุมมองให้กับห้องต่างๆ ที่ไม่ว่า<br />

55<br />

จะอยู่พื้นที่ไหน ก็จะสามารถมองเห็นต้นไม้ได้<br />

เสมอ ซึ่งแนวความคิดนี้น่าสนใจมากขึ้นเมื่อ<br />

ผู้ออกแบบไม่ได้ต้องการเพิ่มพื้นที่สีเขียวให้<br />

กับผู้อยู่อาศัยเท่านั้น แต่ช่วยเป็นการเพิ่มพื้นที่<br />

สีเขียวเหล่านั้นให้กับบริบทของพื้นที่โดยรอบ<br />

ไปด้วย ทำาให้ผู้คนที่สัญจรผ่านไปมาสามารถ<br />

มองเห็นต้นไม้ที่อยู่ตามผิวอาคาร และระเบียง<br />

ของบ้านได้<br />

และเมื่อย้อนไปถึงประเด็นสำาคัญของบ้าน<br />

หลังนี้ ที่เจ้าของบ้านต้องการความสะดวกใน<br />

การเข้าถึงโรงพยาบาล พื้นที่ภายในต่างๆ ถูก<br />

ออกแบบการสัญจรเพื่อรองรับไว้แล้ว อย่างใน<br />

กรณีฉุกเฉินที่จำาเป็นต้องขนย้ายเตียงผู้ป่วยก็<br />

ยังสามารถทำาได้ด้วยลิฟต์โดยสารของตัวบ้าน<br />

รวมถึงพื้นที่ชั้น 3 ที่เป็นห้องนอนของผู้สูงอายุ<br />

ก็สามารถที่จะจัดสรรพื้นที่เพื่อให้เกิดห้องแยก<br />

สำาหรับพยาบาลที่จะมาดูแลได้ รวมไปถึง<br />

ไอเดียเล็กๆ อย่างการที่ทำาให้บ้านนั้นสามารถ<br />

มองเห็นได้โดยง่าย เมื่อมองจากห้องพักที่<br />

โรงพยาบาล ในกรณีที่ผู้สูงอายุจำาเป็นจะต้อง<br />

เข้ารักษาตัว เพื่อทำาให้เกิดความสบายใจ และ<br />

ลดความกังวลในการเป็นห่วงบ้านของผู้สูงอายุ<br />

ได้ นอกจากนี้ผู้ออกแบบได้มองไปถึงในอนาคต<br />

ที่หากพื้นที่นี้ ไม่ได้ถูกใช้งานแล้ว ก็ยังสามารถ<br />

ปรับเปลี่ยนเป็นพื้นที่เชิงพาณิชย์ ให้คนมาเช่า<br />

เพื่อกลายเป็นห้องพักแบบ Studio 1 - 2 ห้อง<br />

ได้เช่นเดียวกัน ซึ่งเป็นการออกแบบพื้นที่ให้<br />

ยืดหยุ่น เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงในอนาคต<br />

ท้ายที่สุดแล้ว บ้าน SETTHA อาจไม่ได้โดดเด่น<br />

ชัดเจนเท่าผลงานอื่นๆ ของ AAd ที่เคยเห็น<br />

แต่ด้วยคุณค่าของงานที่สะท้อนผ่านความต้อง-<br />

การของผู้อยู่อาศัย และการแก้ปัญหาต่างๆ<br />

ด้วยความคิดสร้างสรรค์อย่างชาญฉลาด ทำาให้<br />

ความน่าสนใจของงานสถาปัตยกรรมที่อยู่<br />

อาศัยมีมิติที่มากขึ้น และไม่ใช่เพียงคุณค่าที่<br />

เกิดขึ้นในปัจจุบันเท่านั้น แต่มีการออกแบบให้<br />

สามารถปรับเปลี่ยนประยุกต์ เพื่อรองรับความ<br />

ต้องการที่หลากหลายในอนาคตได้อีกด้วย


56<br />

3


TICK ALL THE BOXES<br />

57<br />

From the outside, the house resembles a group of buildings<br />

with partially obscured lower floors and opened upper<br />

floors. This provides a modern-looking appearance but is<br />

not the house’s only interesting quality.<br />

4<br />

03<br />

แผงระแนงข้างบันได<br />

ภายในบ้าน<br />

04<br />

ห้องโถงรับประทานอาหาร<br />

ที่ใช้พื้นที่ร่วมกับโซน<br />

นั่งเล่น<br />

It is a common occurrence to see articles or<br />

those who speak about houses in terms of<br />

aesthetics. For many, it is the primary value of<br />

a house. Many choose to define architecture<br />

from its visual appearance, which is undeniably<br />

an essential consideration as it is the visualization<br />

of a design perceived through our eyes.<br />

Yet, at the same time, it is not the only part of<br />

an architectural concept or design. Architects<br />

must also manage and answer to the needs of<br />

the residents and creatively problem-solve to<br />

create high-quality life for users.<br />

“The owners looked for a plot of land around<br />

here. Their brief was for a family home with<br />

an easy access route to the hospital for their<br />

parents. They also asked if it would be possible<br />

for the house to be used as a source of<br />

income post-retirement.” The architect, Ayutt<br />

Mahasom, explains how the design of the<br />

house originates and develops.<br />

SETTHA House is a six-storey building designed<br />

by AAd (Ayutt and Associates Design)<br />

distinctively located on a corner land plot on<br />

Setthasiri road, Bangkok, near Vichaiyut Hospital.<br />

From the outside, the house resembles<br />

a group of buildings with partially obscured<br />

lower floors and opened upper floors. This<br />

provides a modern-looking appearance but<br />

is not the house’s only interesting quality.


58<br />

theme / review<br />

5<br />

<strong>05</strong><br />

โซนนั่งเล่นกับวิวต้นไม้<br />

06<br />

ผังพื้นแสดงการใช้งาน<br />

ภายในอาคาร<br />

GROUNG FLOOR PLAN<br />

1M<br />

1. HALL<br />

2. LIVING SPACE<br />

3. DINING SPACE<br />

4. WESTERN KITCHEN<br />

5. SKY BALCONY<br />

6. SERVICE AREA<br />

7. ASIAN KITCHEN<br />

6


TICK ALL THE BOXES<br />

59<br />

The concept behind this design element is<br />

just as brilliant as the smart design by the<br />

architect, who was able to resolve the limitations<br />

recognized and comply with the needs<br />

of the owners, both in terms of the dwelling<br />

and value-adding to the house design.<br />

As family healthcare was paramount as part<br />

of the design brief and concept, the house<br />

is only 200 meters from the nearby hospital.<br />

Additionally, given that the empty plot originated<br />

as a daily and monthly rental parking<br />

lot, the architect saw the potential to adapt his<br />

design to create residential and commercial<br />

space.<br />

Due to a limited site area of 300 square meters<br />

(75 sq. wah) and an extensive building setback<br />

due to roads on both sides, the house was<br />

designed vertically rather than horizontally to<br />

maximize available space. Utility spaces are<br />

clearly partitioned from the entrances, one for<br />

public and one for private. The latter is located<br />

deeper into the alley, thus improving the separation<br />

of interior spaces from traffic. Although<br />

the utility spaces cannot connect, a sense of<br />

privacy is retained. Local Land Code regulations<br />

compel buildings to include separate sets<br />

of main and emergency stairs and place them<br />

within certain distances in a fire emergency.<br />

These regulations define the management of<br />

the design partitioning of the spaces.<br />

07<br />

ห้องโถงที่เปิดรับทิวทัศน์<br />

ของบริบทภายนอก<br />

Local Land Code regulations compel buildings to<br />

include separate sets of main and emergency stairs<br />

and place them within certain distances in a fire<br />

emergency. These regulations define the management<br />

of the design partitioning of the spaces.<br />

7


60<br />

8


61<br />

08<br />

แนวทางเดินที่ขนาบข้าง<br />

ด้วยพื้นที่สวน


62<br />

theme / review<br />

09<br />

ผังพื้นแสดงการใช้งาน<br />

ภายในอาคาร<br />

10<br />

บรรยากาศพื้นที่สวน<br />

กลางบ้าน เมื่อมองจาก<br />

Top View<br />

3RD FLOOR PLAN<br />

1M<br />

1. HALL<br />

2. LIVING SPACE<br />

AND PANTRY<br />

3. BEDROOM<br />

4. BATHROOM<br />

5. SERVICE AREA<br />

6. MAID AND<br />

NURSE ROOM<br />

9<br />

The first floor includes the rear entry and is<br />

a private zone where the owners can park<br />

two cars and access the private area by stairs<br />

and an elevator. The front area includes a<br />

parking lot for nine cars, providing parking<br />

to service the many restaurants nearby. The<br />

design allows mechanical car lifters to increase<br />

future parking numbers to thirteen vehicles<br />

when installed. The architect ensured this by<br />

calculating the clear height required for the<br />

potential expansion if the need arises.<br />

Moving from the first-level parking lot to<br />

the second floor, you reach a planned multifunctional<br />

utility area that could be used for<br />

different purposes depending on the tenant’s<br />

needs, including co-working space, office<br />

area, and coffee shop. The area has an open<br />

plan that will adapt to the other uses. When<br />

the space is vacant, the owners can use the<br />

area as a private studio or personal office.<br />

This area is clearly secured in terms of accessibility<br />

from the remainder of the house area.


63<br />

10


64<br />

theme / review<br />

11<br />

11<br />

พื้นที่สวนบริเวณดาดฟ้า<br />

12<br />

ทัศนียภาพของอาคาร<br />

ในตอนกลางคืน<br />

The third and fourth floors are designed as<br />

bedrooms for family members. The external<br />

glazed walls appear opaque from the outside<br />

while concealing activities inside the house. At<br />

the same time, the slatted signature fin façade<br />

used as a vital part of the design by AAd allows<br />

those inside clear vision to external activity<br />

without being seen. The design also allows<br />

full natural light penetration while acting as<br />

a double façade system filtering the sunlight<br />

and minimizing heat gain and wind pressure<br />

that directly contact the glazed façade.<br />

Apart from aesthetics, the system is designed<br />

to reduce the need to use a bind to shield<br />

the residents from direct sunlight and allow<br />

windows to take advantage of wanted external<br />

natural environment conditions.<br />

The fifth and sixth floors include the living<br />

room and the owner’s office space. These two<br />

floors have a rooftop terrace for outdoor activities.<br />

The area is fully open for unobstructed<br />

views without the slatted façade as the building<br />

itself shields this part of the house from<br />

street view, allowing the residents to fully<br />

appreciate the scenery and natural landscape.<br />

The soft landscape has always been a vital<br />

ingredient of AAd’s design works.<br />

from lower ones to make space for a roof<br />

garden on each floor to create continuous<br />

perspectives from each of the rooms to take<br />

in views of the landscape from all areas.<br />

The idea becomes even more interesting<br />

when the residents and passersby can view<br />

the green areas on the roofs and façade.<br />

In terms of access to healthcare, the interior<br />

circulation allows for a bed-sized elevator<br />

that can be used in the case of an emergency.<br />

The third-floor bedroom also caters to<br />

this through partitioning, creating a secondary<br />

space for nursing care when required.<br />

Planning also allows the owner to convert<br />

the unused space into a one or two-bedroom<br />

condominium – a flexible space design for<br />

the changes that possibly come in the future.<br />

SETTHA House may ultimately be a little<br />

different from other works by AAd. Nevertheless,<br />

the value of this work reflects the<br />

owner’s need through the application of<br />

residential architecture that meets initial<br />

needs but remains flexible in design to<br />

accommodate future needs.<br />

The same application is applied here for<br />

Settha House, where the upper floors recede<br />

aad-design.com<br />

fb.com/AAgroup.design


TICK ALL THE BOXES<br />

65<br />

The value of this work by AAd reflects the owner’s<br />

need through the application of residential<br />

architecture that meets initial needs but remains<br />

flexible in design to accommodate future needs.<br />

วรุตร์ ดวงแก้วกาศ<br />

จบการศึกษาด้าน<br />

สถาปั ตยกรรม และทัศน-<br />

ศิลป์ ทำางานสร้าสรรค์<br />

อิสระโดยสนใจการ<br />

ออกแบบที่ผสมผสาน<br />

ระหว่างสถาปั ตยกรรม<br />

ศิลปะ และชีวิต<br />

Warut<br />

Duangkaewkart<br />

is a graduate of architecture<br />

and visual arts,<br />

Currently working<br />

independently with a<br />

focus on design that<br />

blends architecture,<br />

art and life<br />

12<br />

Project: SETTHA House Year: 2021 Lead Designer: Ayutt Mahasom Architect: Ayutt and Associates design (AAd) Interior Designer: Ayutt and Associates<br />

design (AAd) Landscape Designer: Ayutt and Associates design (AAd) Lighting Designer: Ayutt and Associates design (AAd) Client: Confidential Site area:<br />

300 sq.m. Construction area: 950 sq.m. Location: Setha Siri road, Phaya Thai, Bangkok, Thailand Materials: Floor finish - Cotto Italia (Tile), Wall finish -<br />

TOA paint (Texture paint, Sanitary ware - Amercian standard, Lighting - Lamptitude


66<br />

theme / review<br />

Warm<br />

Sun,<br />

Cool<br />

Breeze<br />

Anonym Studio has brought out and harnessed the potentials<br />

of wind and sunlight to craft the happiest and most livable living<br />

space of this multi-family house.<br />

Text: Nathanich Chaidee<br />

Photo Courtesy of Anonym Studio, Soopakorn Srisakul and Ketsiree Wongwan except as noted


67<br />

1<br />

01<br />

ผนังเปลือกอาคาร ที่<br />

ออกแบบให้เป็นช่องเปิด<br />

รับแสงและลมธรรมชาติ


68<br />

theme / review<br />

สัมผัสจากสายลมแรงผ่านช่องหน้าต่างบนชั้นสี่<br />

ของบ้าน คือที่มาของชื่อบ้านหลังนี้ที่นิยามจาก<br />

เจ้าของบ้านโดยตรง ตอบรับกับเจตนารมณ์<br />

ของงานออกแบบสถาปัตยกรรมบ้านพักอาศัย<br />

ขนาดสี่ชั้นหลังนี้ของ Anonym Studio ที่<br />

ต้องการดึงศักยภาพของทรัพยากรธรรมชาติ<br />

ของลมและแดด มาจัดการผ่านงานออกแบบ<br />

เพื่อสร้างความสุขของผู้อยู่อาศัยให้ได้มาก<br />

ที่สุด<br />

ที่มาและความสมาร์ทของบ้านหลังนี้ในภาพ<br />

รวมเรื่องของธรรมชาติเป็นสำาคัญจากที่ตั้ง<br />

ของบ้านหลังนี้ที่หันหน้าออกทางทิศใต้ ซึ ่งรับ<br />

ลมได้ดีมาก บวกกับบริบทของพื้นที่เอื้อกับ<br />

สภาวะของลม คุณพงศ์ภัทร เอื้อสังคมเศรษฐ์<br />

สถาปนิกจึงดึงเอาเรื่องพลวัตของลม จากการ<br />

จดจำาความรู้สึกที่ตรงนั้น มาพัฒนาเป็นงาน<br />

สถาปัตยกรรม ซึ่งบ้านหลังนี้เป็นโปรเจ็คต์<br />

กึ่งๆ ทดลองในเรื่องภาวะอยู่สบายของบ้าน<br />

และทางสถาปนิกค่อนข้างมั่นใจมากว่าเป็น<br />

ไปได้<br />

ด้วยความต้องการบ้านสี่ชั้นสำาหรับสามครอบ-<br />

ครัวคือ ครอบครัวรุ่นลูก และครอบครัวรุ ่น<br />

พ่อแม่ของทั้งสองฝั่ง โจทย์แรกของสถาปนิก<br />

จึงเป็นการออกแบบบ้านหลังนี้ให้เหมือนกับ<br />

เป็น Serviced Apartment ให้แต่ละครอบครัว<br />

ได้มีพื้นที่ส่วนตัวในแต่ละชั้นเป็นของตัวเอง<br />

ขณะเดียวกันกับชั้นล่างที่เป็นพื้นที่ส่วนกลาง<br />

สำาหรับรวมครอบครัวใหญ่ไว้ด้วยกัน<br />

ความรู้สึกจึงเป็นเรื่องสำาคัญของครอบครัวที่<br />

จำาเป็นจะต้องเชื่อมต่อ ทั้งในเรื่องความรู้สึก<br />

ของการใช้งาน และความรู้สึกในแง่มุมของ<br />

ประสาทสัมผัสรอบด้านเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี<br />

ครอบคลุมตั้งแต่พื้นที่ส่วนตัวที่สุดไปถึงพื้นที่<br />

ส่วนรวมของทุกคน<br />

แก่นสารของความเป็น ‘บ้าน’ จึงถูกถ่ายทอด<br />

ลงบนอาคารสี่ชั้นแห่งนี้ ด้วยการสร้าง Circulation<br />

หรือการหมุนเวียนของทางสัญจรในทุก<br />

มิติ ไม่ว่าจะเป็น Cross Circulation ของทาง<br />

เดินในแนวระนาบที่ใช้งานในชีวิตประจำาวัน<br />

และ Vertical Circulation หรือการไหลเวียน<br />

ของทัศนวิสัยในแนวดิ่ง ด้วยการใช้ระเบียงวาง<br />

สลับกันในแต่ละชั้น เพื่อสร้างจังหวะของพื้นที่<br />

และมุมมองที่เชื่อมโยงกัน ไปพร้อมกับการ<br />

จัดสรรพื้นที่ภายในซึ่งช่วยสร้างประสบการณ์<br />

ใช้งานและกระชับความสัมพันธ์<br />

พื้นที่ของอาคารจึงแบ่งออกเป็นสองด้าน ซึ่ง<br />

เป็นพื้นที่ของห้องนอนที่เปิดหน้าต่างให้ลมพัด<br />

ผ่านช่องเปิดได้ทั้งสองฝั่ง ส่วนหลังคาตรงกลาง<br />

ยกสูงขึ้นให้ลมสามารถทะลุทะลวงได้โดยรอบ<br />

โดยเว้นคอร์ทตรงกลางไว้ 2 คอร์ท คอร์ท<br />

แรกเป็นพื้นที่ส่วนกลางสำาหรับครอบครัวที่<br />

สามารถมองเห็นห้องนั่งเล่น ห้องรับประทาน-<br />

อาหารได้ ส่วนคอร์ทที่สองเป็นพื้นที่ปีนผา<br />

ของเจ้าของบ้าน ซึ่งจัดสรรเป็นพื้นที่แบบ<br />

กึ่งเอาท์ดอร์ ให้ได้บรรยากาศของการออก<br />

กำาลังกาย<br />

คอร์ทกลางของแต่ละชั้นจะมีจัดสรรช่องว่าง<br />

สะพานทางเดิน หรือระเบียงสลับกันไป เพื่อ<br />

สร้างจังหวะในการมองเห็น พร้อมกับลดความ<br />

เป็นทางการของอาคารสี่ชั้น เพิ่ม Sense of<br />

Place ของความเป็นบ้านให้มากขึ้นอีก เช่น<br />

เดียวกับช่องเปิดบันไดที่มีการบิดเปลี่ยน<br />

ระนาบไปในแต่ละชั้น เพื่อสร้างเอฟเฟกต์ทาง<br />

ความรู้สึกที่อบอุ่นขึ้น โดยแต่ละช่องเปิดหรือ<br />

มุมเล็กซอกน้อย จะมีการแทรกต้นไม้เป็น<br />

จุดรวมสายตาของผู้คนภายในครอบครัว และ<br />

เป็นวิวสำาหรับเพื่อนบ้านรอบข้างที่ว่า อาคาร<br />

สูงสี่ชั้นแต่ทว่ายังดูโปร่งพร้อมกับเปิดมุมมอง<br />

ธรรมชาติให้กับความเป็นอยู่ในเมือง<br />

Ambiguity หรือความคลุมเครือ คือคีย์เวิร์ดที่<br />

สถาปนิกเลือกใช้กับวัสดุฟาซาดของบ้านหลัง<br />

นี้ “เพราะคำาว่า คลุมเครือ สามารถต่อยอด<br />

บทสนทนาระหว่างแต่ละองค์ประกอบของงาน<br />

สถาปัตยกรรมด้วยกันเอง และกับคนทำางาน<br />

ได้ หลายครั้งที่งานวัสดุจะไปตกผลึกในไซต์<br />

งานระหว่างก่อสร้าง เราก็ดูตามสภาวะและ<br />

มุมมองของพื้นที่”<br />

ส่วนของช่องลม คือความตั้งใจตั้งแต่แรกเริ่ม<br />

ของสถาปนิกว่าจะต้องใช้งาน เพราะด้วยลม<br />

ธรรมชาติบริเวณบ้านหลังนี้ดีมาก และวัสดุ<br />

อิฐช่องลมน่าจะดีที่สุดและเหมาะสมที่สุด ณ<br />

เวลานั้นในเรื่องของการดึงลมเข้าบ้าน พร้อม<br />

กับสร้างความปลอดภัยให้กับบ้านในเวลา<br />

เดียวกัน<br />

วัสดุส่วนงานฟาซาดอาคารแบ่งออกเป็น 2 แบบ<br />

ได้แก่ ผืนผนังคอนกรีตเซาะร่องตามแนวตั้ง<br />

ของอาคาร กับผืนผนังอิฐช่องลมที่ทำาหน้าที่<br />

เป็นกรอบของงานสถาปัตยกรรมโดยรวม โดย<br />

ใช้โครงสร้างของอาคาร การคว้านเจาะช่องเปิด<br />

และการกรุกระจก เป็นส่วนช่วยในการบรรจบ<br />

องค์ประกอบทั้งหมดให้เชื่อมโยงเข้าด้วยกัน<br />

อย่างกลมกลืน<br />

ในการจัดวางแพทเทิร์นของอิฐช่องลม ผู้ออก-<br />

แบบได้ศึกษาเรื่องความทึบ-ความโปร่งเพื่อ<br />

จัดวางการไล่ระดับของความโปร่ง ให้สัมพันธ์<br />

กับรูปลักษณ์ของอิฐช่องลมแต่ละรุ่นที่มีหน้าตา<br />

และจำานวนของช่องเปิดแตกต่างกันไป อย่าง<br />

ในชั้นแรกจะดูทึบสุดด้วยเรื่องความเป็นส่วนตัว<br />

แล้วค่อยโปร่งขึ้นให้เห็นวิว ไล่ระดับขึ้นไปจนถึง<br />

ชั้นบนสุด พร้อมกันนั้นก็ทำาให้ช่องเปิดหลัก<br />

ของชั้นบนๆ เปิดออกมากขึ้นให้เห็นวิวทิวทัศน์<br />

นอกบ้าน”<br />

หลายมุมของบ้านที่เปลี่ยนรูปแบบของการจัด<br />

วางผนังอิฐช่องลมล้อมปิดกับการเปิดช่องว่าง<br />

กรุกระจกแทนในช่วงระหว่างการตรวจหน้างาน<br />

เพราะการปรับเปลี่ยนให้สอดประสานไปกับ<br />

ความรู้สึกจากเอฟเฟกต์ของมุมมอง แสง และ<br />

ลม ณ จุดนั้นจะเป็นการดึงศักยภาพของงาน<br />

ดีไซน์ที่มีผลต่อธรรมชาติของความเป็นอยู่<br />

ให้ได้มากที่สุด เอฟเฟกต์ของธรรมชาตินอก<br />

เหนือจากเรื่องลมแล้ว ยังเป็นเรื่องราวของแสง<br />

ธรรมชาติที่ทอดกระทบบนผืนผนังต่างๆ และ<br />

เปลี่ยนแปลงตามความเข้มของแสงตลอดวัน<br />

แสงธรรมชาติมีส่วนที่ช่วยสร้างความเชื่อมโยง<br />

ผ่านมิติทางการมองเห็นมากขึ้น<br />

“ส่วนตัวชอบโปรเจ็คท์นี้มาก เพราะรู้สึกว่ามัน<br />

เปลี่ยนความคิดในเชิงการทำางานก่อสร้าง<br />

สถาปัตยกรรม และงานโครงสร้าง เพราะเป็นงาน<br />

ที่ปล่อยให้เป็นไปตามธรรมชาติ พื้นผิวคอนกรีต<br />

ของเส้นแนวอิฐ สีธรรมชาติของอิฐช่องลม และ<br />

การเลือกผนังวัสดุภายในที่เป็นซีเมนต์อิมพอร์ท<br />

สีเทา ที่เล่าเรื่องราวเดียวกันหมดทั้งตัวบ้าน ซึ่ง<br />

แสงและลมช่วยเติมอารมณ์ให้บ้านมีชีวิต รวมทั้ง<br />

ส่วนงานโครงสร้างที่ทิ้งให้เห็นคาน ท่อ สายไฟ<br />

ตอนนี้ก็รู้สึกขอบคุณความคิดตรงนั้นที่ทำ าให้<br />

เราเปลี่ยนว่า มันก็ไม่จำาเป็น ถ้ามันจะดิบก็ต้อง<br />

ปล่อยให้มันดิบไปเลย อย่าปรุงเยอะ”


WARM SUN, COOL BREEZE<br />

69<br />

02<br />

พื้นที่สวนและช่องแสง<br />

กลางอาคาร<br />

03<br />

ทางเข้าหลักบริเวณด้าน<br />

หน้าอาคาร<br />

2<br />

3<br />

สุดท้ายแล้ว ความสมาร์ทของบ้านหลังนี้ใน<br />

สายตาของสถาปนิกเป็นอย่างไรนั้น สำาหรับ<br />

พงศ์ภัทรเขามองว่า “คำาว่า ‘สมาร์ท’ ในมุมมอง<br />

ของการออกแบบบ้าน เราคิดว่า เป็นเรื่องของ<br />

การจัดการทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่แล้วทั้ง<br />

ลมและแสง เข้ามาสร้างสรรค์ให้เกิดศักยภาพ<br />

สูงสุดเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีในการอยู่อาศัยผ่าน<br />

องค์ความรู้และงานออกแบบสถาปัตยกรรม<br />

ยกตัวอย่างเรื่องแสงธรรมชาติ เราจะสามารถ<br />

พัฒนาไปถึงเรื่องคุณภาพของแสงได้อย่างไร<br />

หรือประสบการณ์ของแต่ละช่วงเวลาของแสง<br />

ที่แตกต่างกัน เราจะสามารถจัดวางสเปซหรือ<br />

แทรกจังหวะอะไรบางอย่างเข้าไป แล้วสะท้อน<br />

ให้สัมผัสความรู้สึกอย่างไรได้บ้าง อันนี้เป็นเรื่อง<br />

สำาคัญ”


70<br />

4


71<br />

04<br />

บันไดทางขึ้นอาคาร<br />

และการซึมผ่านของแสง<br />

ธรรมชาติ


72<br />

theme / review<br />

5<br />

<strong>05</strong><br />

ภาพวาดแสดงแนวคิดการ<br />

ออกแบบให้สอดคล้องกับ<br />

ทิศทางของลม<br />

A sensation of slightly strong wind flowing<br />

through the window on the fourth floor of the<br />

house gives away the name of the residence.<br />

This very moniker the owners themselves<br />

came up with encapsulates the architectural<br />

characteristics of this four-story home that<br />

Anonym Studio helps envision and bring to<br />

reality. As the assigned project’s architect,<br />

the architecture studio wishes to bring out<br />

and harness the many potentials of natural<br />

elements such as wind and sunlight, incorporating<br />

and managing them as a part of the<br />

design to craft the happiest and most livable<br />

living space.<br />

The genesis of Baan Sailom and what essentially<br />

makes it a ‘smart’ home is the elemental<br />

presence of nature, from the location and<br />

south-facing orientation that opens the house<br />

up to an abundant amount of wind, to the<br />

surrounding context of the site, which enhances<br />

the presence of wind. All of which are utilized<br />

in the design. Phongphat Ueasangkhomset, the<br />

principal architect and co-founder of Anonym<br />

Studio incorporates the dynamism of wind<br />

and the particular experiences it brings to the<br />

living spaces, developing the natural elements<br />

to become a part of the house’s architecture.<br />

The work is somewhat a semi-experimental<br />

approach the architect took to explore effects<br />

of thermal comfort in residential spaces;<br />

something Phongphat was confident would<br />

end up delivering a successful outcome.


WARM SUN, COOL BREEZE<br />

73<br />

06-07<br />

\มุมโถงต้อนรับ ที่ออกแบบ<br />

ให้สามารถรับแสงธรรมชาติ<br />

ระหว่างวัน<br />

6<br />

what makes this house smart<br />

is the elemental presence of<br />

nature, from the location and<br />

south-facing orientation that<br />

opens the house up to an abundant<br />

amount of wind to the<br />

surrounding context of the site,<br />

which enhances the presence of<br />

wind.<br />

7


74<br />

08<br />

บรรยากาศภายในอาคาร<br />

เมื่อมองขึ้นไปจากโถง<br />

ต้อนรับชั้น 1<br />

09<br />

ผังพื้นแสดงส่วนต่างๆ<br />

ของอาคาร<br />

8<br />

With the brief to design a four-story house<br />

for three families (a husband, a wife and<br />

all four of their parents), the first task the<br />

architect needed to work with was to come<br />

up with the main functionality of the house,<br />

which would be something similar to that of<br />

a serviced apartment where each family is<br />

given their own private floor. Occupying the<br />

ground floor of the house are the common<br />

areas where all the family members gather<br />

and share the space.<br />

What the design is expected to deliver is a<br />

sense of connectivity between the physical<br />

spaces, be it private or common areas, and<br />

users’ sentiments and experiences that will ultimately<br />

create the best possible quality of life.<br />

The essence of what a ‘home’ is thus conveyed<br />

through this four-story building, with<br />

the thoughtfully designed dimensions of the<br />

circulation, from the cross circulation of the<br />

horizontal walkways the inhabitants use on<br />

a daily basis, to the vertical circulation that<br />

creates a visual flow achieved through the<br />

alternating placement of the terraces, which<br />

facilitates a corresponding rhythm of spaces<br />

and perspectives. These architectural components<br />

work alongside the manipulation of<br />

interior spaces, and together, all the elements<br />

are integrated into cohesive spatial experiences<br />

and relationships.


WARM SUN, COOL BREEZE<br />

75<br />

1. ENTRANCE<br />

2. FOYER<br />

3. SHOES STORANGE<br />

4. POWDER ROOM<br />

5. KITCHEN<br />

6. LIVING ROOM<br />

7. DINING<br />

8.THAI KITCHEN<br />

9. OUTDOOR KITCHEN<br />

10. MAID BATHROOM<br />

11. LAUNDRY<br />

12. MAID ROOM<br />

13. TERANCE<br />

14. PARKING<br />

15. CLIMBING AREA<br />

1. PANTRY<br />

2. WALK IN CLOSET<br />

3. BATHROOM 1<br />

4. LIVING ROOM<br />

5. MASTER BEDROOM<br />

6. WALK IN CLOSET<br />

7. BEDROOM 2<br />

8. BATHROOM 2<br />

9. STORANGE<br />

1. PANTRY<br />

2. LIVING ROOM<br />

3. MASTER BEDROOM<br />

4. WALK IN CLOSET<br />

5. MASTER BATHROOM<br />

6. BEDROOM 2<br />

7. BEDROOM 3<br />

8. BATHROOM 2<br />

9. STORANGE<br />

1. MASTER BATHROOM<br />

2. MASTER BEDROOM<br />

3. WINE CELLAR<br />

4. WALK IN CLOSET<br />

5. POWDER ROOM<br />

6. STUDIO<br />

7. STORANGE<br />

9


76<br />

theme / review<br />

The design divides the building’s functional<br />

spaces into two wings, which house the<br />

sleeping quarters with windows that can be<br />

left open for wind to flow through. The center<br />

of the roof is elevated for the airflow to work<br />

its way into the inside of the house. The first<br />

of the two courtyards is home to a common<br />

space with a visual access to the living area<br />

and dining room. The second courtyard is<br />

where the climbing wall is set up with the semioutdoor<br />

space that gives off an energetic vibe<br />

of a workout zone.<br />

The courtyards on all the floors are designed<br />

to have alternating voids, passageways or terraces,<br />

and together they create a cadence of<br />

how the spaces are perceived and experienced<br />

while making the four-story building look and<br />

feel less formal with a sense of place that<br />

makes it a home.<br />

The void at the staircases is designed to deviate<br />

into a different plane on each of the floors,<br />

making the space look and feel warmer and<br />

more intimate. Each opening or corner is<br />

10<br />

พื้นที่ใต้บันไดที่เชื่อมต่อ<br />

วิวสวน<br />

10


WARM SUN, COOL BREEZE<br />

77<br />

11<br />

The ventilation openings<br />

are among the architect’s<br />

initial intention to include<br />

in the design of the house<br />

considering the site’s ample<br />

airflow.<br />

12<br />

decorated with trees or plants to create a nice<br />

focal point for dwellers. Meanwhile, the house<br />

itself becomes a visually pleasant view for the<br />

neighbours with the green elements beautifully<br />

crafted to make the entire architecture more<br />

open and natural, especially with its surrounding<br />

urban context.<br />

Ambiguity is the keyword of the design of the<br />

facade. “The word ambiguity can be further<br />

ramified in the conversations that occur between<br />

all the architectural elements, as well as among<br />

the people who are involved in the project.<br />

There have been several occasions where<br />

decisions regarding the materials were made<br />

on site, while the construction was being<br />

carried out, because we looked at them based<br />

on the conditions and the perspectives the<br />

spaces would create at a certain period or<br />

moment.” The ventilation openings are among<br />

the architect’s initial intention to include in the<br />

design of the house considering the site’s<br />

ample airflow. Perforated concrete blocks<br />

became the most suitable alternative at the<br />

time as the material that can physically<br />

enhance the airflow and presence of natural<br />

wind inside the house’s interior spaces while<br />

still providing the needed privacy and security.<br />

Material wise, the facade comprises a massive<br />

concrete wall with details of this minimal<br />

pattern of vertical grooves created entirely by<br />

hand, and the walls constructed using perforated<br />

concrete blocks, which also serves as<br />

the frame that defines the entire architectural<br />

mass of the house. The design makes use of<br />

the building’s structure, creating recessed<br />

openings and using transparent glass walls<br />

to help put all the compositions together in a<br />

cohesive, harmonious architectural language.<br />

The arrangement of the concrete blocks’<br />

pattern is a thoughtful result of the architect’s<br />

study on how solidity and airiness can work<br />

11<br />

พื้นที่สวนระหว่างชานพัก<br />

บันได<br />

12<br />

บรรยากาศภายในห้องพัก


78<br />

theme / review<br />

13<br />

แสงและเงาที่เกิดจากการ<br />

ออกแบบช่องเปิด<br />

14<br />

ทัศนียภาพของอาคาร<br />

กับบริบทโดยรอบ<br />

13<br />

“What makes the house smart is how the design manages<br />

the existing natural resources, be it the wind or sunlight, and<br />

how it maximizes the potentials of these natural elements to<br />

deliver the best possible quality of life through the design.”<br />

14


WARM SUN, COOL BREEZE<br />

79<br />

together with the wall’s transitioning levels of<br />

density. The configuration corresponds with<br />

the physical attributes of the different types<br />

of perforated concrete blocks used. For the<br />

house’s first floor, the facade is constructed<br />

with the highest level of density for privacy<br />

purposes, before the mass gradually becomes<br />

more airy and open on the higher<br />

floors to grant the inhabitants better access<br />

to the view. The higher the floor, the more<br />

open the openings are to take in the outside<br />

surroundings.”<br />

There are a number of parts where adjustments<br />

were made with the arrangement of<br />

concrete blocks and glass openings during<br />

the construction process. Having inspected<br />

the site at different phases of the construction,<br />

certain details were revised based on<br />

the architect’s observation of the actual<br />

perspectives, and how natural light, shadow<br />

and wind interact with the actual spaces. The<br />

approach ends up bringing out the best possible<br />

potential of the design and the effects<br />

it has on the way the owners live and interact<br />

within the living spaces. In addition to the<br />

wind, there are stories of natural light and<br />

shadow, and their presence on different surfaces<br />

at varying intensities and times of day,<br />

including the role of nature on the facilitated<br />

visual connection of the architecture and its<br />

spaces.<br />

“I personally love this project because I feel<br />

that it changes the way I think and approach<br />

construction, architecture and structure<br />

because the entire process progresses very<br />

naturally. From the surface of the concrete<br />

blocks, the natural colors of the perforated<br />

blocks, the grey of the imported cement<br />

used with the interior walls, the natural wind<br />

and light that bring the house to life, to the<br />

exposed details of structural works from the<br />

beams, pipes, electrical cords, each existing<br />

as a part of this one narrative. I’m thankful<br />

for what changed my mindset which has<br />

made me let go and to allow certain things to<br />

reveal their rawness because not everything<br />

has to be embellished or polished.”<br />

From the architect’s perspective, “in the end,<br />

what makes the house smart, architecturally,<br />

is how the design manages the existing<br />

natural resources be it the wind or sunlight;<br />

how it maximizes the potentials of these<br />

natural elements to deliver the best possible<br />

quality of life through the use of an architectural<br />

body of knowledge. Take natural light,<br />

for example, how can we develop the quality<br />

of natural light in a living space or how can<br />

we curate living experiences from the way<br />

sunlight changes at different times of day,<br />

or how can we manipulate a space or insert<br />

some sort of rhythm to it to create or reflect<br />

discernible emotions? These factors are all<br />

important.”<br />

anonymstudio.com<br />

fb.com/anonymstudio<br />

ณัฐนิช ชัยดี<br />

จบการศึกษาด้าน<br />

ออกแบบตกแต่งภายใน<br />

ปั จจุบั นเป็ นคอลั มนิ สต์<br />

อิสระ ด้านสถาปั ตยกรรม<br />

และวัฒนธรรม<br />

Nathanich Chaidee<br />

is a graduate of<br />

interior design and<br />

currently working as<br />

a freelance journalist<br />

in architecture design<br />

and culture.<br />

Project: baan sailom Location: 26 Rama 9 road, Suan Luang, Bangkok, Thailand Client: Monthip Lipisunthorn,<br />

Wiboonsiri Wiboonma Architect: anonym Project Team: Phongphat Ueasangkhomset, Parnduangjai Roojnawate,<br />

Kamolchanok somsang Interior Designer: iwa design (Thailand) Structural Engineer: Wor consultant<br />

Mechanical Engineer: EXM consultant Contractor: Baan Lek Suay Land Area: 200 sq.wah Building Area:<br />

1,018 sq.m. Completion: 2021 Materials: Floor Finishing - COTTO / Sanitary Ware - American Standard)


80<br />

theme / review<br />

the<br />

At<br />

Home<br />

With<br />

Trees<br />

In the Bat Trang Village near Hanoi, Vo Trong Nghia Architects<br />

has designed a new house that demonstrated an intelligent<br />

way for a home to coexist with the city and nature.<br />

Text: Supreeya Wungpatcharapon<br />

Photo Courtesy of Vo Trong Nghia Architects and Horiyu Oki except as noted


81<br />

1<br />

01<br />

การสอดแทรกธรรมชาติ<br />

ระหว่างเปลือกอาคาร


่<br />

82<br />

theme / review<br />

วัสดุธรรมชาติและต้นไม้ เป็นองค์ประกอบที่<br />

โดดเด่นในผลงานเกือบทุกชิ้นของบริษัทสถาปนิก<br />

เวียดนาม Vo Trong Nghia Architects โดย<br />

เฉพาะงานประเภทที่อยู่อาศัย อย่างที่เราคงรู้จัก<br />

กันดีในผลงานชุด House for Trees หลายหลัง<br />

และในขณะที่ไม้ไผ่ดูจะเป็นวัสดุที่เขาเลือกใช้บ่อย<br />

ครั้งด้วยกรรมวิธีการสร้างในรูปแบบต่างๆ กันใน<br />

หลายงาน แต่เป็นครั้งแรกที่เขาเลือกใช้เซรามิค<br />

เป็นวัสดุเปลือกอาคารสำาหรับการออกแบบบ้าน<br />

Bat Trang หลังนี้ ด้วยทำาเลที่ตั้งของโครงการใน<br />

หมู่บ้าน Bat Trang ในเวียดนาม ห่างจากเมือง<br />

ฮานอยประมาณ 15 กิโลเมตร ซึ่งเป็นแหล่งผลิต<br />

เครื่องปั้นเซรามิคมากว่าศตวรรษ และเรื่องราว<br />

ของครอบครัวเจ้าของบ้านที่ประสบความสำ าเร็จ<br />

กับธุรกิจส่งออกเซรามิคไปญี่ปุ่นและยุโรปมา<br />

ตั้งแต่รุ่นบรรพบุรุษ จึงเป็นที่มาของแรงบันดาล-<br />

ใจให้กับทีมสถาปนิกในการออกแบบบ้านหลังนี้<br />

ให้ฉลาดที่จะอยู่ร่วมกับเมืองและธรรมชาติ<br />

อาคารพาณิชย์หรือตึกแถว องค์ประกอบที่คุ้น<br />

ตาของเมืองต่างๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออก<br />

เฉียงใต้ด้วยการใช้สอยเพื่อตอบสนองด้านการ<br />

ค้าและการอยู่อาศัยในอาคารเดียวกัน และมักจะ<br />

ออกแบบด้วยรูปแบบทั่วไปที่แบ่งส่วนด้านหน้า<br />

เป็นพื้นที่ค้าขายและส่วนหลังของอาคารแยกเป็น<br />

ส่วนที่อยู่อาศัยอย่างชัดเจนนั้น แต่ในเวียดนาม<br />

มีการปรับผังพื้นแยกพื้นที่ทั้งสองส่วนแทนด้วย<br />

ระดับชั ้นของอาคารมาตั ้งแต่ช่วงศตวรรษที<br />

19 จากโจทย์ความต้องการของธุรกิจเจ้าของ<br />

โครงการ พื้นที่ชั้นแรกและชั้นใต้ดินของอาคาร<br />

ตึกแถว Bat Trang House หลังนี้จึงเปิดเป็นพื้นที่<br />

โชว์รูมร้านเครื่องปั้นเซรามิคของครอบครัว ส่วน<br />

พื้นที่อีกสี่ชั้นด้านบนเป็นส่วนพักอาศัยที่ประกอบ<br />

ด้วย 5 ห้องนอน ส่วนห้องครัว ห้องน้ำ า และพื้นที่<br />

นั่งเล่นพบปะสังสรรค์ของสมาชิกครอบครัวทั้ง<br />

7 คน ในส่วนชั้นบนสุดเป็นสระว่ายน้ำ ากลางแจ้ง<br />

และห้องวางแท่นบูชาบรรพบุรุษ<br />

ที่ขาดไปไม่ได้สำาหรับลายเซ็นการออกแบบโดย<br />

สถาปนิก Vo Trong Nghia คือ การสร้างความ<br />

สัมพันธ์ของการอยู่อาศัยกับธรรมชาติ โดยสอด-<br />

แทรกพื้นที่ปลูกต้นไม้จริงๆ ไปในบ้านพักอาศัย<br />

ที่เป็นสิ่งที่ทั้งตัวเขาและครอบครัวเจ้าของบ้าน<br />

หลังนี้ต่างชื่นชอบเหมือนกัน แม้จะด้วยหลักคิด<br />

ใหญ่เดียวกันนี้ แต่ Vo Trong Nghia Architects<br />

มีเทคนิคการออกแบบที่หลากหลายต่างกันไป<br />

ในซีรีย์การออกแบบบ้านพักอาศัย House for<br />

Trees อย่างบ้าน Stacking Green (2011) ที่<br />

ซ้อนชั้นวางต้นไม้โชว์เป็นเปลือกอาคาร หรือ<br />

Pot Plant House (2014) ในเมืองโฮจิมินห์ ซึ่ง<br />

สร้างบนขนาดที่ดินจำากัด การออกแบบตัวบ้าน<br />

จึงเปรียบเสมือนกระถางไม้ไผ่ที่ปลูกต้นไม้อยู่<br />

ด้านบนหลังคาบ้านแทน สำาหรับอาคารพาณิชย์<br />

ในเมือง Bat Trang หลังนี้ อาจมีวิธีการออกแบบ<br />

ที่คล้ายคลึงกับบ้าน Ha Long Villa ที่สร้างเสร็จ<br />

ก่อนในปีเดียวกันด้วยพื้นที่สีเขียวที่แทรกอยู่<br />

ช่องว่างตรงกลางระหว่างผนังชั้นนอกและขอบ-<br />

เขตพื้นที่อยู่อาศัยภายใน แต่แตกต่างกันใน<br />

ด้านรายละเอียดโปรแกรมพื้นที่ใช้สอย และวัสดุ<br />

เปลือกอาคาร<br />

สวนลอยทางตั้งในระดับต่างๆของบ้าน Bat<br />

Trang ถูกออกแบบให้สอดแทรกลงไปในช่องว่าง<br />

ระหว่างบ้านและผนังก่อเซรามิคที่สร้างมาเป็น<br />

เปลือกห่อหุ้มพื้นที่ภายในไว้อีกชั้นหนึ่ง นอกจาก<br />

จะเป็นการป้องกันแสงแดดและสภาพอากาศ<br />

ภายนอกแล้วนั้น นับว่าเป็นการออกแบบที่ช่วย<br />

สะท้อนบริบทท้องถิ่นอีกด้วย เพราะเซรามิค<br />

เหล่านี้ออกแบบขนาดและสั่งทำ าพิเศษในหมู่บ้าน<br />

ด้วยขนาดที่ไม่เท่ากัน เมื่อนำ ามาก่อปิดทึบและ<br />

เปิดสลับกันไปเป็นช่องว่างในพื้นที่ใช้สอยส่วน<br />

ต่างๆ ทำาให้เกิดรูปแบบของผนังภายนอกอาคาร<br />

ที่เฉพาะตัว ช่วยสร้างปฏิสัมพันธ์ภายนอกภายใน<br />

อาคาร ระหว่างบ้านพักอาศัยส่วนตัวกับเมืองและ<br />

ผู้คนโดยรอบในระดับต่างๆ นอกจากนี้เซรามิค<br />

ยังมีความทนทานสูง ให้สีและพื้นผิวสวยงาม<br />

ดิบๆ แบบธรรมชาติ<br />

นอกจากนี้ทีมสถาปนิกยังให้ความสำาคัญกับหลัก<br />

การออกแบบด้วย Passive design ที่เปิดให้แสง<br />

และลมธรรมชาติผ่านเข้ามาสร้างความน่าสบาย<br />

ในอาคารและเพื่อการประหยัดพลังงาน ดังเช่น<br />

ในผลงานทุกชิ้นที่ผ่านมา ผังพื้นภายในของบ้าน<br />

จึงถูกออกแบบด้วยวิธีการที่เรียบง่าย มีการใช้<br />

แผงกระจกขนาดใหญ่สำาหรับกรอบของผนังบ้าน<br />

ชั้นในโดยไม่ต้องกลัวว่าบ้านจะร้อนจนเกินไป<br />

เนื่องจากแสงแดดโดยตรงนั้นถูกกรองโดยผนัง<br />

ก่อในชั้นนอก และพื้นที่สีเขียวที่เป็นช่องโล่ง<br />

ว่างระหว่างกรอบผนังทางตั้งนี้ทำางานได้ดีเป็น<br />

พิเศษในแง่ของการกรองแสงอาทิตย์ให้เข้ามาใน<br />

ปริมาณที่เหมาะสมในพื้นที่ภายในบ้านโดยเฉพาะ<br />

อย่างยิ่งในฤดูร้อน ทำ าให้การใช้เครื่องปรับอากาศ<br />

จึงแทบไม่จำาเป็น เนื่องจากสถาปนิกออกแบบให้<br />

มีระบบระบายอากาศสามชั้น คือ “ผนังก่อเซรา-<br />

มิกภายนอก” สลับกับ “พื้นที่สวนทางตั้ง” และ<br />

“ประตู” เป็นกรอบให้กับพื้นที่ใช้สอยภายในอีก<br />

ชั้นหนึ่ง จึงค่อนข้างเชื่อมั่นได้ว่าบ้านจะเย็นอย่าง<br />

แน่นอน นอกจากนี้ยังมีการติดตั้งแผงโซลาร์-<br />

เซลล์และที่เก็บกักน้ำาฝนเพื่อการนำากลับมาใช้<br />

ใหม่เป็นส่วนหนึ่งของการออกแบบที่ยั่งยืน<br />

ช่องหน้าต่างบานใหญ่สลับกับช่องเปิดโล่งจาก<br />

ผนังก่อเซรามิคที่เชื่อมต่อกัน แทรกด้วยพื้นที่<br />

สวนในร่ม ยังช่วยสร้างกรอบรูปที่มีชีวิตหลาย<br />

ระดับชั้น แตกต่างกันไปในแต่ละระดับและส่วน<br />

ของพื้นที่ใช้สอยภายใน ซึ่งจะมีการเปลี่ยนแปลง<br />

ของแสงและบรรยากาศตลอดเวลา และช่วย<br />

สร้างความเป็นส่วนตัวสำาหรับผู้อยู่อาศัยภายใน<br />

บ้าน ในขณะเดียวกันก็ช่วยสร้างมุมมองใหม่ๆ<br />

แก่สายตาคนจากท้องถนน นับว่าเป็นการ<br />

ออกแบบอาคารพาณิชย์ด้วยรูปทรงที่เรียบง่าย<br />

แต่ใช้สวนทางตั ้งและวัสดุพื ้นถิ ่นในรูปแบบใหม่<br />

ผสานให้เป็น “บ้าน” อีกหลังที่น่าอยู่ในเมือง<br />

การเชื่อมต่อที่ใกล้ชิดของคนกับธรรมชาติ และ<br />

สถาปัตยกรรม เป็นสิ่งสำาคัญอย่างยิ่งสำาหรับทีม<br />

สถาปนิก Vo Trong Nghia Architects ที่เน้น<br />

การออกแบบเพื่อให้แน่ใจว่าผู้อยู่อาศัยในบ้าน<br />

สามารถรู้สึกถึงความสดชื่นของพืชพรรณและ<br />

ทิวทัศน์ของเมืองโดยรอบในช่วงเวลากิจกรรม<br />

ประจำาวันของพวกเขาได้ นอกจากจะคำานึงถึง<br />

การใช้ชีวิตในอาคารแล้ว ทีมสถาปนิกยังตั้งใจที่<br />

จะออกแบบผลงานสถาปัตยกรรมของเขาให้มี<br />

ส่วนช่วยในการเพิ่มพื้นที่สีเขียวในเมืองหนาแน่น<br />

ของเวียดนามให้มากขึ้น เพื่อพัฒนาคุณภาพ<br />

ชีวิตและสุขภาพจิตที่ดี ซึ่งนับว่าเป็นวิสัยทัศน์<br />

และแบรนด์ของ Vo Trong Nghia Architects ที่<br />

พยายามสร้างความสัมพันธ์ใหม่ของการอยู่ร่วม<br />

กับธรรมชาติและโลก สำาหรับอาคารพาณิชย์<br />

ในเมือง Bat Trang หลังนี้ ยังเป็นความฉลาด<br />

ในการเลือกใช้วัสดุและการออกแบบเปลือก<br />

อาคารให้ช่วยโฆษณาธุรกิจของเจ้าของโครงการ<br />

พร้อมกับบอกเล่าอัตลักษณ์ด้านศิลปวัฒนธรรม<br />

และการค้าของเมืองเก่าแห่งนี้ไปด้วยกัน ผ่าน<br />

สถาปัตยกรรมในชีวิตประจำาวันทั่วๆ ไปอย่าง<br />

ตึกแถว โดยไม่ต้องลงทุนใหม่ไปกับป้ายไฟ<br />

โฆษณาขนาดใหญ่หรืออนุสาวรีย์ตามวงเวียน<br />

ถนนมาช่วยเสริมแต่อย่างใด


AT HOME WITH THE TREES<br />

83<br />

2<br />

ELEVATION 1<br />

0 1 2 5m<br />

ELEVATION 2<br />

0 1 2 5m<br />

02<br />

รูปด้านอาคารแสดงช่อง<br />

เปิด และต้นไม้ที่สอด<br />

แทรกตามชั้นต่างๆ<br />

03<br />

บรรยากาษอาคารตึกแถว<br />

กับบริบทเมือง<br />

3


84<br />

4


AT HOME WITH THE TREES<br />

85<br />

The architect takes inspiration from<br />

Bat Trang’s century-long history of<br />

ceramic production and the background<br />

of the house’s owner whose<br />

family has been running a ceramic<br />

business for generations.<br />

04<br />

ผนังเปลือกอาคารที่<br />

ช่องเปิดเป็นธรรมชาติ<br />

สอดแทรกด้วยต้นไม้<br />

<strong>05</strong><br />

ไดอะแกรมแสดงความ<br />

สัมพันธของพื้นที่ใช้สอย<br />

ในบ้าน<br />

5<br />

Natural materials and trees have always been<br />

given outstanding roles in almost every work that<br />

Vo Trong Nghia Architects has created through<br />

the course of their career, as seen with residential<br />

projects in particular, including the acclaimed<br />

House of Trees series. While bamboo is one of his<br />

most favored materials of choice and used with<br />

different construction methods for various projects,<br />

Bat Trang is, however, the first project that<br />

the Vietnamese architecture firm uses ceramic for<br />

the building’s skin. The house is situated in an area<br />

called Bat Trang Village in Vietnam, fifteen kilometers<br />

from Hanoi’s city center. The architecture team<br />

takes inspiration from Bat Trang’s century-long<br />

history of ceramic production and the background<br />

of the house’s owner whose family has been<br />

running a ceramic exporting business to Japan and<br />

Europe for generations. The result is the design of a<br />

unique-looking house and an intelligent way it has<br />

found to coexist with the city and nature.


86<br />

theme / review<br />

15<br />

7<br />

6<br />

11<br />

14<br />

7<br />

13<br />

10<br />

7<br />

7<br />

9<br />

6<br />

8<br />

11<br />

7<br />

6<br />

11<br />

7<br />

6<br />

7<br />

12<br />

11<br />

6<br />

2<br />

11<br />

7 7<br />

1. Entrance 2. Showroom 3. Storage 4. Clinic 5. Garage 6. Bath room 7. Courtyard 8. Living room 9. Dining room<br />

4<br />

6<br />

2<br />

5<br />

1<br />

6<br />

06<br />

ผังพื้นชั้นต่างๆ ของอาคาร<br />

07<br />

พื้นที่สวนธรรมชาติทางตั้ง<br />

ระหว่างเปลือกอาคาร


AT HOME WITH THE TREES<br />

87<br />

Shophouses are omnipresent in Southeast Asian<br />

towns and cities for their spatial functionality that<br />

integrates commercial and living spaces into one<br />

building. Most shophouses are commonly designed<br />

for commercial activities to take place at the front<br />

of the building’s ground floor, which is clearly<br />

separated from the living quarters. Nevertheless,<br />

this type of building in Vietnam often comes with a<br />

floor plan where floor levels are used to divide the<br />

two functional spaces, which is the kind of architectural<br />

program that can be dated back to the 19th<br />

Century. From the owner’s brief, the ground and<br />

underground floor of Bat Trang House would be<br />

used as the showroom for the products from the<br />

family’s business. The remaining four floors above<br />

are designed into the living quarter, comprising<br />

five bedrooms, a kitchen, restrooms, and the living<br />

spaces for the seven members of the family with<br />

the rooftop housing an outdoor pool and a room<br />

where ancestral shrines are placed.<br />

One of Vo Trong Nghia’s architectural<br />

signatures is a connection<br />

between humans’ living experiences<br />

and nature, which reveals itself in<br />

spaces where real trees and plants<br />

are grown, assimilating the green<br />

elements as an inseparable attribute<br />

of the house.<br />

7<br />

One of the must-haves in Vo Trong Nghia’s architectural<br />

signature is a facilitated connection<br />

between humans’ living experiences and nature,<br />

which reveals itself in the form of spaces where<br />

real trees and plants are grown, assimilating the<br />

green elements as an inseparable attribute of the<br />

house. Fortunately, Bat Trang House is one of the<br />

projects where both the architect and owner share<br />

the same adoration for green space. While most of<br />

his works originate from the same core principle,<br />

Vo Trong Nghia Architects has taken a different<br />

approach to how each project is designed. One of<br />

the houses in the House for Trees series such as<br />

Stacking Green (2011) sees layers of growing trees<br />

superimposed and shown as the building’s skin<br />

while Pot Plant House (2014) in Ho Chi Minh, which<br />

is built on a limited plot of land, conceives structures<br />

that look like a bunch of oversized bamboo<br />

plant pots with trees growing on the roof. For this<br />

shophouse in Bat Trang, Vo Trong Nghia Architects<br />

takes a similar approach to what they did with Ha<br />

Long Villa completed earlier in the same year with<br />

the presence of green spaces between the building<br />

shell and boundary of the interior living spaces.<br />

What sets the two projects apart, however, are details<br />

of the functional program and materials used<br />

for the building envelopes.


88<br />

8


89<br />

08<br />

บรรยากาศภายในของบ้าน


90<br />

theme / review<br />

The elevated, vertical gardens found at different<br />

levels of Bat Trang House are designed to fit in the<br />

spaces between the house and exterior ceramic<br />

walls, constructed as its shell whose major role<br />

is to protect the interior from sunlight and outside<br />

weather. The design of this particular part of the<br />

house reflects the project’s local context since<br />

all the ceramic tiles are custom-made by a local<br />

ceramic maker in the village. The varying sizes of<br />

the tiles create a unique-looking shell that renders<br />

interesting effects when constructed into the<br />

walls, including the openings created at different<br />

functional spaces of the house. The shell’s<br />

physical attributes facilitate interactions between<br />

the spaces inside and outside of the building;<br />

between the private residence and the city and<br />

community it’s a part of, at different levels. On top<br />

of everything, ceramic, as a construction material,<br />

offers high durability, with colors and textural<br />

details that bespeak natural, raw beauty.<br />

The vertical gardens at<br />

different levels of Bat<br />

Trang House are designed<br />

to fit the spaces between<br />

the house and exterior<br />

ceramic walls, constructed<br />

as its shell to protect the<br />

interior from sunlight and<br />

outside weather.<br />

9<br />

09<br />

มุมห้องนั่งเล่นกับ<br />

วิวต้นไม้<br />

10<br />

มุมภายในห้องนอน<br />

11<br />

รูปตัดอาคาร<br />

10


AT HOME WITH THE TREES<br />

91<br />

13 11<br />

6 15<br />

11 6<br />

8<br />

9<br />

10<br />

7<br />

2<br />

2 2<br />

2<br />

11<br />

The architecture team’s intent of incorporating passive<br />

design results in natural light and wind finding<br />

their ways into the building’s interior, creating the<br />

right level of thermal comfort while simultaneously<br />

lessening energy usage. Just like the studio’s<br />

previous works, the house’s floor plan is designed<br />

with an appreciation for simplicity. Large glass<br />

panels are brought in to frame the interior spaces<br />

without having to worry about the high temperature<br />

of the living spaces. A direct exposure to sunlight is<br />

filtered by the exterior walls, and the green spaces<br />

occupying the vertical void work particularly well<br />

as a natural filter that keeps natural light in the<br />

right amount for the interior spaces, especially over<br />

the summer. With this, the air conditioning system<br />

becomes almost unnecessary since the architect<br />

designs a triple-story ventilation system by alternating<br />

the ‘exterior ceramic walls’ with the ‘vertical<br />

garden space’ and ‘doors.’ Together they create a<br />

frame for the interior functional spaces, ensuring<br />

that the house’s temperature is at a comfortably<br />

cool level. Solar cell panels and a rainwater storage<br />

space have also been added for a sustainable<br />

energy reuse.


92<br />

theme / review<br />

12<br />

การสอดแทรกสวน<br />

ทางตั้งในอาคารสว่าง<br />

บรรยากาศเฉพาะ 12


AT HOME WITH THE TREES<br />

93<br />

Sizeable windows and openings created by the<br />

connected parts of the ceramic walls along with<br />

a nice presence of an indoor garden create layers<br />

of living frames, varied at different parts of the<br />

interior functional spaces by constant changes of<br />

natural light and ambiance. These architectural<br />

components also bring privacy to the living spaces<br />

and inhabitants while adding something new to<br />

the neighborhood. The shophouse’s simplistic<br />

architectural form, when met with vertical garden<br />

spaces and a new application of local materials,<br />

becomes a lovely urban home. A close connection<br />

between humans, nature and architecture has<br />

always play a vital role in Vo Trong Nghia Architects’<br />

architectural practice. They work to create<br />

a discernible presence of fresh greenery to the<br />

surrounding urban environment, making it a part of<br />

inhabitants’ living experiences. In addition to curating<br />

users’ experiences through thoughtful interior<br />

functional programs, Vo Trong Nghia Architects<br />

intends for their architecture to help increase the<br />

green space ratio in the dense urban areas of Vietnam,<br />

with the hope to improve people’s quality of<br />

life and mental well-being. This is and has always<br />

been the vision and identity of Vo Trong Nghia<br />

Architects whose goals and attempts include using<br />

architecture to build new relationships where<br />

humans can coexist with nature and the world.<br />

This shophouse in Bat Trang is brilliant for its use<br />

of materials and building shell design that does<br />

its job in showcasing the owner’s business while<br />

reflecting the old city’s artistic, cultural and commercial<br />

heritage through the ordinary architecture<br />

of a shophouse. All of these things were achieved<br />

without the need for a pricey LED billboard or a<br />

monument at one of the town’s roundabouts to<br />

help promote or tell a story.<br />

vtnarchitects.net<br />

fb.com/vtn.architects<br />

13<br />

ทัศนียภาพภายนอก<br />

อาคารกับบริบทเมือง<br />

สุปรียา หวังพัชรพล<br />

ผู้ช่วยศาสตราจารย์<br />

ประจำาคณะ<br />

สถาปั ตยกรรมศาสตร์<br />

ม.เกษตรศาสตร์ มีความ<br />

สนใจในงานออกแบบ<br />

และวิจัยเกี่ยวกับ<br />

สถาปั ตยกรรมทางสังคม<br />

การพัฒนาเมืองและชุมชน<br />

และกระบวนการมีส่วน<br />

ร่วมในการออกแบบ<br />

Supreeya<br />

Wungpatcharapon<br />

is an assistant<br />

professor at faculty of<br />

architecture, Kasetsart<br />

University. Her<br />

design and research<br />

interests are socially<br />

relevant architecture,<br />

participatory design<br />

in urban and community<br />

development.<br />

13<br />

Project: Bat Trang House Location: Bát Tràng, Hanoi, Vietnam Architecture firm: VTN Architects<br />

Principal architect: Vo Trong Nghia Design team: Ngo Thuy Duong, Nguyen Van An, Do Huu Tam,<br />

Pham Phuong Thao. Site area: <strong>22</strong>0m2 GFA: 740m2 Completion: 2020


94<br />

theme / review<br />

Living<br />

in<br />

the<br />

Present<br />

Designed by P.O.AR,<br />

Na Tanao is a tiny building<br />

in the old city area nested<br />

between built structures<br />

on a small piece of land only<br />

3.50 meters wide.<br />

Text: Xaroj Phrawong<br />

Photo Courtesy of P.O.AR<br />

(Patchara + Ornnicha ARchitecture Co., Ltd.)<br />

1


95<br />

2<br />

01<br />

มุมมองลอดจากซุ้มประตู<br />

วังสรรพสาตรศุภกิจสู่ ณ<br />

ตะนาว<br />

02<br />

ด้านหน้า ณ ตะนาว


96<br />

theme / review<br />

สถาปัตยกรรมในพื้นที่เมืองเก่าที่มีประวัติ-<br />

ศาสตร์มีข้อจำากัดหลายประเด็น พอเรามองไป<br />

ถึงการสร้างสรรค์สิ่งใหม่เข้าไปแทรกในความ<br />

เก่าของเมือง จะพบกับข้อจำากัดที่ต้องคำานึง<br />

มากมาย การหาคำาอธิบายที่ชวนให้เห็นภาพ<br />

คือการเข้าใจกับบริบท เข้าใจโจทย์ของแต่ละ<br />

โปรแกรม เงื่อนไขของแต่ละถิ่นที่ บริบทจึง<br />

เป็นสิ่งที่สถาปนิกต้องทำาการค้นคว้าให้มีความ<br />

เข้าใจเพียงพอ ก่อนที่จะลงมือออกแบบ ใน<br />

ประเด็นของบริบทประกอบไปด้วยทั้งแบบที่<br />

เป็นกายภาพ และไม่เป็นกายภาพ ดังเช่นพื้นที่<br />

อย่างเกาะรัตนโกสินทร์ที่มากมายด้วยบริบท<br />

ทั้ง กฏหมาย ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม<br />

เกาะรัตนโกสินทร์เกิดขึ้นจากการที่พัฒนา<br />

พื้นที่บางกอกให้กลายเป็นกรุงเทพมหานคร<br />

แบ่งออกเป็นพื้นที่เกาะรัตนโกสินทร์ชั้นใน<br />

มีแม่น้ำาเจ้าพระยา และคลองหลอดเป็นขอบ-<br />

เขต ส่วนเกาะรัตนโกสินทร์ชั้นนอก มีขอบเขต<br />

เป็นคลองคูเมืองเดิม คลองรอบกรุง แม่น้ำา<br />

เจ้าพระยา ในย่านที่มีกิจกรรมค้าขายคึกคัก<br />

พร้อมกับแหล่งท่องเที่ยว ตั้งอยู่ในส่วนเกาะ<br />

รัตนโกสินทร์ชั้นนอก เช่นย่านข้าวสาร แพร่ง-<br />

สรรพศาสตร์ เมื่อเราเดินสำารวจเมืองส่วนนี้<br />

จะสามารถพบร่องรอยการทับถมของสถาปัตย-<br />

กรรมเก่าปะทะใหม่กันเป็นเรื่องปรกติ คำาถาม<br />

ที่น่าสนใจสำาหรับการมองย่านนี้คือจะวางของ<br />

ใหม่ให้อยู่ร่วมกับของเก่าได้เหมาะสมอย่างไร<br />

ณ แพร่งสรรพศาสตร์ ในย่านถนนตะนาว มี<br />

อาคารใหม่แทรกตัวอยู่ในซอกที่ดินแคบ ด้าน<br />

หน้าอาคารที่ปรากฏกว้างเพียง 3.50 เมตร<br />

ชวนให้ดูสงสัยถึงกิจกรรมภายใน ด้วยลักษณะ<br />

ของรูปทรงสูงแคบ สีของเปลือก ที่ต่างบริบท<br />

โดยรอบ อาคารนี้คือ ณ ตะนาว ออกแบบโดย<br />

(P.O.AR (Patchara + Ornnicha Architecture<br />

Co., Ltd.)<br />

ที่ดินของ ณ ตะนาว มีลักษณะแคบยาว ขนาด<br />

หน้ากว้าง 5.00 เมตร ลึกราว 30 เมตร ที่ดิน<br />

เป็นที่ดินซึ่งตั้งอยู่ระหว่างห้องแถวเก่าด้าน<br />

ทิศเหนือและใต้ประจันหน้าเข้าหาที่ดิน ด้วย<br />

ลักษณะเฉพาะของที่ดินแปลงนี้ซึ่งพัฒนาเป็น<br />

อสังหาริมทรัพย์ได้ยาก ทำาให้เจ้าของที่ดินรุ่น<br />

ก่อนไม่สนใจพัฒนาที่ดินเดิม ที่ดินนี้จึงถูกทิ้ง<br />

ร้างกลายเป็นที่เก็บรถเข็นขายอาหาร พื้นที่<br />

ทำาอาหาร พื้นที่ซักล้างของตึกแถวโดยรอบ<br />

จนที่ดินแปลงนี้ได้สืบทอดมาถึงเจ้าของรุ่น<br />

ปัจจุบัน จึงได้ตัดสินใจพัฒนาที่ดินให้มีการใช้<br />

สอยสูงสุดตามที่กฏหมายจะพึงทำาได้ โปรแกรม<br />

ที่เกิดขึ้นมาประกอบไปด้วยโรงแรมและบ้าน<br />

เจ้าของโครงการ จำานวน 5 ห้อง ชั้นที่ 1-2<br />

เป็นร้านอาหาร โดยแบ่งพื้นที่บางส่วนชั้นที่ 2<br />

เป็นส่วนต้อนรับของโรงแรม ชั้นที่ 3-4 เป็น<br />

ห้องพักลูกค้า ชั้นที่ 5 เป็นบ้านเจ้าของโครงการ<br />

และชั้นดาดฟ้าเป็นเลานจ์<br />

การออกแบบคือการแก้ปัญหา การแก้ปัญหาที่<br />

ดีสามารถแสดงได้ถึงความฉลาดในการเลือก<br />

วิธีการด้วยเช่นกัน จากปัญหาของโปรแกรม<br />

ที่มีความหลากหลาย ปัญหาของรูปที่ดินแคบ<br />

ลึก ทำาให้การออกแบบงานนี้เป็นโจทย์ที่ยาก<br />

การเลือกหาคำาตอบจากปัญหาจึงเป็นสิ่งสำาคัญ<br />

ยิ่งยวด เมื่อมองไปยังผลงานออกแบบนี้ ได้<br />

พบการแก้ปัญหาที่น่าสนใจจากการบริการ<br />

พื้นที่ที่มีอย่างจำากัด ทำาให้ห้องพักที่แคบเพียง<br />

2.50 เมตร ไม่รู้สึกอึดอัด ด้วยการใช้การ<br />

ออกแบบสถาปัตยกรรมอย่างฉลาดมาจัดการ<br />

การแก้ปัญหาจากบริบทเป็นวิธีการออกแบบ<br />

สำาหรับงานนี้ โดยเป็นบริบทจากภายในที่ตั้ง<br />

และบริบทจากย่านถนนตะนาว ประเด็นบริบท<br />

จากภายในที่ตั้งมาจากปัญหาที่ดินมีลักษณะ<br />

แคบยาวในแนวทิศตะวันออกและตะวันตก อีก<br />

ทั้งยังมีตึกแถวสูง 5 ชั้นขนาบทั้งด้านทิศเหนือ<br />

และใต้ ทำาให้แสงอาทิตย์ส่องลงมายังที่ดินได้<br />

ในช่วง 11.00-13.00 ซึ่งเป็นเวลาที่น้อยมาก<br />

เมื่อพิจารณาถึงปัญหาที่จะตามมาจากการ<br />

ขาดแสงธรรมชาติ ทำาให้กำาหนดแนวทางการ<br />

ออกแบบให้การออกแบบผัง และสเปซภายใน<br />

ถูกจัดวางให้กระจายตัวจากกันทั ้งในแนว 3 มิติ<br />

ยิ่งเมื่อพิจารณาจากรูปตัด จะเห็นความพยายาม<br />

กระจายส่วนใช้สอยแต่ละส่วนให้มีความเหลื่อม<br />

กัน เพื่อให้อากาศไหลเวียนจากที่ต่ำ าสู่ที่สูง ตาม<br />

ช่องขนาดเล็กที่แทรกตัวแบบกระจายตั้งแต่ชั้น<br />

ที่ 1-5 ซึ่งในมุมมองของสถาปนิกคือการสร้าง<br />

‘tropical micro-climate’ คล้ายเป็นชานบ้าน<br />

ในแนวดิ่ง<br />

เมื่อเข้ามายังภายใน ช่องเปิดด้านทิศเหนือซึ่ง<br />

ประจันหน้ากับผนังตึกแถวเก่าเป็นสิ่งที่เชื่อม<br />

โยงความเก่าจากรอบข้าง สู่ความใหม่ของ<br />

โรงแรมอย่างขัดแย้ง หน้าต่างกระจกใสเปิด<br />

เผยให้เห็นร่องรอยคราบเวลาของผนังตึกแถว<br />

ที่สร้างใหม่ และตึกแถวเก่าที่สร้างในสไตล์<br />

นีโอคลาสสสิค จากปรกติที่พบเห็น มันคือส่วน<br />

ที่มักจะเลือกปิดทับมันไป หรือเลือกที่ไม่เปิด<br />

หามัน แต่สถาปนิกเลือกที่จะเปิดให้เห็นอย่าง<br />

ชัดเจนจากในห้องพัก ให้มันกลายเป็นการ<br />

สร้างประสบการณ์แก่ผู้เข้าพักที่จะได้พบกับ<br />

เรื่องไม่คุ้นเคยในชีวิตประจำาวัน จากการเลือก<br />

ที่จะเปิดหน้าต่าง มากกว่าปิดรับภาพข้างเคียง<br />

ทำาให้เกิดการสังสรรค์ของแสงในสเปซ แสง<br />

ธรรมชาติเป็นอีกปัจจัยที่ถูกใช้มาให้พื้นที่แคบ<br />

ลดความอึดอัดลงได้ ทุกส่วนที่แม้จะแคบจาก<br />

สัดส่วนปรกติได้มีแสงเข้ามาสร้างชีวิตชีวา<br />

มากขึ้น เมื่อเข้ามายังสเปซภายใน จะพบกับ<br />

ระดับความเข้มจางของแสงที่สลับกันไปทั้ง<br />

สลัวในระดับต่างๆ กันไปตามส่วนใช้สอย<br />

“สิ่งที่เราสร้าง เรา absorb surrounding เวลา<br />

ที่เรามาไซท์ ทุกคนมองว่ามันคือบริบทของเรา<br />

ซึ่งมันไม่มีความจำาเป็นที่จะต้องบังไปเสียหมด<br />

ด้วยความที่ห้องเราแคบ การที่เราเปิด ทำาให้<br />

ผู้ใช้ไม่รู้สึกอึดอัด การที่เปิด ทำาให้เวิ้งนี้กลาย<br />

เป็นส่วนหนึ่งของห้อง โดยคิดถึงเรื่องแสงกับ<br />

ลม” อรณิชา ดุริยะประพันธ์ หนึ่งในสถาปนิก<br />

จาก P.O.AR กล่าวถึงส่วนนี้<br />

บริบทจากย่านถนนตะนาวได้ถูกนำามาแก้<br />

ปัญหาจากการเชื่อมโยงเข้ากับสเปซภายใน<br />

เนื่องจากฝั่งตรงข้ามที่ดินตั้งอยู่ตรงข้ามซุ้ม<br />

ประตูวังสรรพสาตรศุภกิจ ซึ่งก่อสร้างขึ้นใน<br />

รัชกาลที่ 5 เมื่อราว พ.ศ. 2444 ในรูปแบบ<br />

สถาปัตยกรรมตะวันตกที่นิยมกันในหมู่ชนชั้น<br />

สูงของสยามในเวลานั้น อันเป็นพยานวัตถุบอก<br />

ได้ถึงอดีตอันรุ่งเรืองของย่านนี้ ในเวลาต่อมา<br />

วังสรรพสาตรศุภกิจได้ถูกขายให้เอกชน และ<br />

วังได้ถูกรื้อ พัฒนาเป็นพื้นที่การค้า ซุ้มประตู<br />

วังสรรพสาตรศุภกิจเป็นประเด็นที่ถูกนำามาคิด<br />

กับการออกแบบภายนอกและภายใน พื้นที่<br />

ทางเดินภายในห้องพักชั้นที่ 3 เป็นจุดที่อยู่<br />

ตรงกับระดับความสูงของยอดซุ้มที่เป็นวงกลม<br />

เป็นส่วนที่สถาปนิกออกแบบช่องเปิดให้เป็น<br />

วงกลม เหมือนสถาปัตยกรรมเป็นตัวสะท้อน<br />

วงกลมจากซุ้มประตู ในส่วนห้องพักที่ชั้น<br />

3-4 ด้านที่ประจันกับถนนตะนาว สถาปนิก<br />

ได้เลือกที่จะเชื่อมบริบทภายนอกเข้ามาเป็น<br />

ส่วนหนึ่งของสเปซภายในจากการให้ส่วนห้อง<br />

นอนเป็นประตูบานเลื่อนไม้ที่สามารถปิดได้<br />

เมื่อต้องการความเป็นส่วนตัว เมื่อต้องการที่<br />

จะรับทิวทัศน์จากย่านถนนตะนาว โดยเฉพาะ<br />

ซุ้มประตูวังสรรพสาตรศุภกิจ บานเลื่อนไม้


LIVING IN THE PRESENT<br />

97<br />

03<br />

ภาพด้านหน้าขนานไป<br />

ตามถนน แสดงให้เห็นถึง<br />

อาคารแทรกอยู่ในที่ดิน<br />

ระหว่างตึกแถวสองชุด<br />

3<br />

สามารถเปิดออกได้จนสุด ทำาให้สามารถนั่ง<br />

นอนชมทิวทัศน์ของถนนตะนาวทั้งในเวลา<br />

กลางวันและกลางคืนจากเตียงนอน นอกจาก<br />

การเลือกใช้บริบทมาสู่การออกแบบสเปซ ช่อง<br />

แสงแล้ว ประเด็นการเลือกใช้เปลือกภายนอก<br />

ที่กรุด้วยอิฐเปลือยสีเทา ก็มาจากการตีความ<br />

บริบทเก่าที่ไม่อ้างอิงอดีต<br />

“ตอนที่ออกแบบ เราไม่อยากเป็นส่วนของอดีตแต่<br />

เราก็ไม่ได้อยากเป็นอาคารที่ดูใหม่ จนไม่มีร่องรอย<br />

ถึงกัน เลยเลือกใช้อิฐที่มีสัดส่วนเดียวกันแต่ว่าคน<br />

ละสี ให้ดูรู้ว่าสิ่งไหนเกิดยุคไหน” พัชระ วงศ์บุญสิน<br />

หนึ่งในสถาปนิกจาก P.O.AR กล่าวถึงส่วนนี้<br />

วันที่ผู้เขียนได้ไปเยือนสถานที่นี้ สัมผัสได้ถึงลม<br />

ที่พัดผ่านตรอกลมจากช่องแคบขึ้นมาจากด้าน<br />

ล่าง และพัดเร็วขึ้นที่ช่องเปิดระหว่างทางเดิน<br />

ทำาให้รู้สึกสบายตัวขึ้น ในวันที่กรุงเทพมหานคร<br />

มีอุณหภูมิร้อนแบบปรกติ และรู้สึกได้ถึงเรื่องราว<br />

ย่านเก่าสู่สถาปัตยกรรม


98<br />

theme / review<br />

An interesting question from<br />

examining this old city neighborhood<br />

is how something new<br />

can be added to something old<br />

without ruining the charm and<br />

historical backdrop.<br />

4<br />

04<br />

บริเวณชั้น 2 ระเบียงยื่น<br />

ที่รอวันเป็นที่นั่งของร้าน<br />

อาหาร<br />

<strong>05</strong><br />

มุมมองจากใต้บันไดชั้น 1<br />

4สู่ถนนตะนาว<br />

5


LIVING IN THE PRESENT<br />

99<br />

6<br />

06<br />

รูปตัดตามขวาง และยาว<br />

Architecture in a historical town or city is<br />

often bound by limitations. When a new structure<br />

is created as a part of a city’s historical<br />

urban fabric, countless restrictions need to be<br />

put into consideration. Trying to come up with<br />

a concrete explanation is an attempt to understand<br />

the context, the brief that comes with<br />

each program, and conditions attached to<br />

each locality. Context is, therefore, something<br />

architects need to research and have enough<br />

understanding in before carrying on with the<br />

design process. The contextual issues include<br />

physical and non-physical things, just like<br />

how Rattanakosin Island is filled to the brim<br />

with legal, historical and cultural contexts.<br />

Rattanakosin Island was conceived from a<br />

land development plan that ended up turning<br />

the old Bangkok into the new Bangkok, which<br />

was divided into the inner Rattanakosin Island<br />

bordered by the Chao Phraya River and<br />

Khlong Lod Canal. The outer ring of Rattanakosin<br />

Island was defined by the waterways<br />

of Khlong Ku Mueang Doem and Khlong<br />

Rop Krung Canal as well as the Chao Phraya<br />

River. The areas with bustling commercial activities<br />

and traveling destinations are located<br />

on the outer periphery of the island such as<br />

Khao San Road, Prang Sappasart, etc. While<br />

strolling through this part of the city, superimposed<br />

traces of old and new architecture are<br />

common encounters. An interesting question<br />

that arises from examining the neighborhood<br />

is how something new can be added<br />

to something old without ruining the charm<br />

and historical backdrop. At Prang Sappasart<br />

neighborhood on Tanao road sits a new<br />

building, nested between built structures, on<br />

a small piece of land that is only 3.50 meters<br />

wide. With its tall, narrow shape, and color<br />

that sets the place apart from its neighboring<br />

buildings, one cannot help but wonder about<br />

what’s going on inside this new establishment.<br />

The building is called Na Tanao and it<br />

is designed by P.O.AR (Patchara + Ornnicha<br />

Architecture Co., Ltd.)


100<br />

7


101<br />

07<br />

มุมมองจากส่วนต้อนรับ<br />

ชั้น 2 สู่ถนนตะนาว


102<br />

theme / review<br />

The long and narrow piece of land is five<br />

meters wide and 30 meters deep. The land<br />

is situated between old row houses located<br />

towards the north and south, directly facing<br />

the site. The land’s special characteristics<br />

made a new development highly challenging.<br />

The previous generations of owners didn’t<br />

care much about the land, leaving it as a<br />

parking space for local food kiosks, as well<br />

as a cooking and wash areas for tenants living<br />

in the neighboring row of houses. Once the<br />

building was inherited, the current owner<br />

decided to develop it into an establishment<br />

with maximized functionalities that the laws<br />

and regulations would allow. The new program<br />

is born as a five-room building that includes<br />

the functionality of a hotel and the owner’s<br />

living space.<br />

The first and second floor houses a restaurant<br />

with a portion of the second floor used as the<br />

hotel’s reception area. The third and fourth<br />

floor is where the hotel rooms are located<br />

with the fifth floor that is home to the owner’s<br />

living spaces and the hotel’s lounge occupying<br />

the rooftop. Design is about finding a solution.<br />

A good solution is a reflection of how cleverly<br />

the decisions are made and the methods<br />

devised. The diversity of the program and<br />

the narrow and deep shape of the land are<br />

what make the design challenging. Searching<br />

and choosing the right answer to solve the<br />

problems, therefore, are vital. The project<br />

showcases some interesting problem solving<br />

approaches from an attempt to manage the<br />

limited usable spaces. The 2.50-meter wide<br />

hotel rooms doesn’t feel as confined as they<br />

may seem thanks to the smart architectural<br />

design. Finding a solution from the contexts is<br />

the approach taken with this project be it the<br />

context of the site itself or that of Tanao road.<br />

08<br />

แปลนชั้น 1-5 และดาดฟ้า<br />

8


LIVING IN THE PRESENT<br />

103<br />

9<br />

Finding a solution<br />

from the contexts is<br />

the approach taken<br />

with this project be<br />

it the context of the<br />

site itself or that of<br />

Tanao road.<br />

10<br />

09<br />

รายละเอียดบันไดทางขึ้น<br />

จากทางเท้า<br />

010<br />

ภาพมุมเสย แสดงถึง<br />

ปล่องระบายอากาศที่<br />

แทรกตลอดอาคาร<br />

11<br />

ส่วนต้อนรับที่ชั้น 2<br />

อาคารใหม่ปะทะอาคาร<br />

เก่าประชิดกัน บอกเรื่อง<br />

ราวสองเวลา<br />

11


104<br />

theme / review<br />

12<br />

7<br />

6<br />

12<br />

ภายในห้องพัก ประตูบาน<br />

เลื่อนสามารถเปิดสู่ถนน<br />

ตะนาวได้<br />

13


LIVING IN THE PRESENT<br />

1<strong>05</strong><br />

13<br />

ภายในห้องพักส่วนที่ติด<br />

ที่ดินด้านหลัง<br />

The site is not only long and narrow but has<br />

five story high shophouses sandwiching both<br />

the north and south side of the land. This<br />

means the site will have only two hours of<br />

sunlight between 11.00 and 13.00, which is a<br />

very small window of time considering all the<br />

problems that follow the lack of natural light.<br />

The design scatters the floor plan and interior<br />

spaces in three dimensional directions. Looking<br />

at the section, one can see the attempt<br />

to distribute functional spaces to overlap,<br />

enabling air circulation between the lower<br />

and upper floors, through sporadic small<br />

openings on all the five floors. The architects<br />

refer to the design as a creation of ‘tropical<br />

micro-climate’ or a series of vertical patios.<br />

Walking inside, the openings toward the<br />

north side facing the old shophouses are<br />

what connect the oldness of the surrounding<br />

context to the newness of the establishment.<br />

The contrast is accentuated through transparent<br />

windows, revealing the traces of time on<br />

the newly constructed walls and the timeworn<br />

neo-classical shophouses. What would<br />

normally get covered up or shielded from the<br />

hotel’s guests, is revealed and granted full<br />

access to the hotel rooms. It’s the architects’<br />

intention to curate an unfamiliar experience;<br />

one that a hotel guest may not come across<br />

in their everyday life. The decision to open the<br />

windows rather than concealing the access to<br />

the nearby environment renders a gathering of<br />

light within the space. Natural light is another<br />

factor that the architects utilize to lessen<br />

the discomfort of the rather confined space.<br />

Despite the rooms having relatively narrower<br />

and smaller proportions, the presence of natural<br />

light makes the space more alive. Once<br />

inside, one will encounter different levels of<br />

light density, varied by the nature of each<br />

functional space.<br />

13<br />

11


106<br />

theme / review<br />

The design of the spaces and openings, including the<br />

cladding material that is exposed gray bricks, were<br />

originated from the architects’ interpretation of the<br />

old context but without any reference to the past.<br />

14


Location: Baan Tanao Rd., Samranraj Sub-district, Phtanakorn Ditrict, Bangkok 10200 Client: Colonel Niraphan Isarakul<br />

Na Ayutthaya Architect: POAR (Patchara + Ornnicha Architecture co.,ltd.) Project Team: Ornnicha Duriyaprapan, Patchara<br />

Wongboonsin, Chanthep Sae-Lee, Pattra Khoirangub, Phuvadej Intaragumhaeng, Sahapong Boonsub Interior Designer: POAR<br />

(Patchara + Ornnicha Architecture co.,ltd.) / LIGHTIS co.,ltd. Structural Engineer: Basic design co.,ltd. Mechanical Engineer:<br />

TAYA Decoration part co.,Ltd. Contractor: TAYA Decoration part co.,Ltd. Land Area: 131 sq.m Building Area: 404 sq.m<br />

Completion Materials: Floor finishing COTTO/Tabak wood/sand wash/polished stone, Wall finishing L-Thai/hardwood/<br />

Dinoc 3M/TOA, Ceiling finishing TOA/Dinoc 3M/hardwood, Sanitary KOHLER/American Standard


108<br />

theme / review<br />

Up<br />

Where<br />

the<br />

Cold<br />

Wind<br />

Blows<br />

“The best house is one that can ventilate efficiently<br />

and thoroughly” explained Kevin Mark Low about what makes<br />

a home a smart home in the design for this 28-storey luxurious<br />

condominium on Naradhiwas Road.<br />

Text: Sasikan Srisopon<br />

Photo Courtesy of YLP Co., Ltd. and SkyGround architectural film & photography except as noted


109<br />

01<br />

01<br />

ทางเข้าอาคารกิจกรรม<br />

Natural Cross<br />

หลักจากด้านทิศตะวันตก<br />

Ventilation คือจุดเด่น<br />

หลังคายื่นช่วยสร้างจุดเด่น<br />

1ของอาคารหลังนี้ นำาสายตา 1


110<br />

theme / review<br />

ความเป็น Smart home อาจเข้าใจได้มากกว่า<br />

การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเชื่อมต่อกับระบบและ<br />

อุปกรณ์ต่างๆ ภายในบ้านเพื่อตอบสนองความ<br />

ต้องการและอำานวยความสะดวกให้กับผู้อยู่<br />

อาศัยในด้านต่างๆ ซึ่ง Windshell Naradhiwas<br />

ได้สะท้อนตัวตน Smart home ผ่านรูปแบบ<br />

อาคารทางตั้งที่มีความแตกต่างจากโครงการ<br />

อื ่นๆ เริ ่มจากแนวคิดของคุณโชติพล เตชะไกรศรี<br />

กรรมการผู้จัดการบริษัท วาย แอล พี จำากัด<br />

ที่ต้องการมี “บ้าน” ในเมืองที่สะดวกต่อการ<br />

เดินทางมีพื้นที่ใช้สอยขนาดใหญ่ ใกล้ชิดกับ<br />

ธรรมชาติและมีสิ่งอำานวยความสะดวกครบ-<br />

ครันแบบคอนโดมิเนียม ถูกนำามาตีความและ<br />

สร้างสรรค์เป็นโครงการ Luxury คอนโดมิเนียม<br />

สูง 28 ชั้น 36 ยูนิต บนที่ดินประมาณ 2 ไร่<br />

ย่านใจกลางเมืองติดถนนนราธิวาสราชนครินทร์<br />

เขตยานนาวา โดยมี Kevin Mark Low สถาปนิก<br />

ชาวมาเลเซีย เป็นผู้ดูแลด้านการออกแบบร่วม<br />

กับบริษัท เอซีเอส ดีไซน์ สตูดิโอ จำ ากัด ในงาน<br />

ออกแบบโครงการ<br />

“บ้านที่ดีที่สุดจะมีความสามารถในการระบาย<br />

อากาศข้ามผ่านได้ดีและทั่วถึง” เป็นมุมมอง<br />

สำาคัญหนึ่งที่ Kevin Mark Low ได้อธิบายถึง<br />

คุณลักษณะที่ดีของบ้านไว้ แต่คุณลักษณะดัง<br />

กล่าวแทบไม่ปรากฏให้เห็นในที่อยู่อาศัยทาง<br />

ตั้งในประเทศไทยเนื่องด้วยข้อกำาหนดต่างๆ<br />

ในการก่อสร้างและความคุ้มค่าในการลงทุน<br />

เราจึงมักเห็นการแก้ปัญหาโดยการใช้ระบบ<br />

เครื่องปรับอากาศเกือบทุกพื้นที่ในคอนโด-<br />

มิเนียมและอาคารสูงรูปทรงกล่องห่อหุ ้มด้วย<br />

กระจก อย่างไรก็ตาม Windshell Naradhiwas<br />

ได้ทลายข้อจำากัดเหล่านั้น ด้วยความมุ่งมั่น<br />

ของสถาปนิกที่ต้องการเปลี่ยนแปลงสิ่งต่างๆ<br />

โดยไม่ทำาสิ่งที่เหมือนใคร จากความคิดเริ่มต้น<br />

ที่ว่า “จะไม่อนุญาตให้เครื่องปรับอากาศเข้ามา<br />

ออกแบบอาคาร แต่จะออกแบบอาคารให้เรา<br />

สามารถถอดเครื่องปรับอากาศออกได้”<br />

จากมุมมองดังกล่าวจึงเป็นที่มาของ “Tropical<br />

Stacking Home” แนวคิดสำาคัญในการ<br />

ออกแบบอาคารหลังนี้ ด้วยการออกแบบให้<br />

“บ้าน” มีพื้นที่ใช้สอยขนาดใหญ่และมีสวน<br />

หน้าบ้าน-หลังบ้าน วางซ้อนกันเป็นทางตั้ง<br />

และมีลมทะลุผ่านทั่วถึงทุกพื้นที่ภายในพื้นที่<br />

พักอาศัยเสมือนเราอยู่บ้านเดี่ยวบนพื้นดิน<br />

เนื่องจากสภาพแวดล้อมรอบข้างที่ตั้งโครงการ<br />

ส่วนใหญ่เป็นชุมชนแนวราบสถาปนิกจึง<br />

ออกแบบอาคารให้หันหน้ารับทิศทางลม<br />

ธรรมชาติตามแนวทิศตะวันออกเฉียงเหนือ-<br />

ตะวันตกเฉียงใต้ได้ตลอดทั้งปี นอกจากนั้นยัง<br />

ออกแบบช่องทางให้ลมสามารถเข้าและออก<br />

ได้ตามหลัก Natural Cross Ventilation และ<br />

จัดวางพื้นที่ให้เกิดการระบายอากาศที่อาศัย<br />

ความแตกต่างของอุณหภูมิที่เรียกว่า Stack-<br />

Ventilation โดยการวางช่องระบายอากาศอยู่<br />

ทั่วถึงในส่วนบนของอาคาร ทำาให้มวลอากาศ<br />

ร้อนสามารถลอยตัวขึ้นที่สูงและระบายออก<br />

ดูดกระแสมวลอากาศเย็นจากภายนอกไหล<br />

เข้ามาแทนที่เกิดการไหลเวียนของอากาศโดย<br />

อัตโนมัติทั้งอาคาร การออกแบบดังกล่าวนับ<br />

เป็นจุดเด่นของอาคารที่แก้ปัญหาเรื่องการ<br />

ระบายอากาศในอาคารสูงและช่วยสร้างสภาวะ<br />

น่าสบายให้กับพื้นที่อยู่อาศัยตามธรรมชาติได้<br />

อย่างดีสำาหรับอาคารพักอาศัยทางตั้งในเมือง<br />

สำาหรับการออกแบบผังพื้นที่ใช้สอยนั้น นับว่า<br />

เป็นความน่าสนใจทั้งในการสร้างจุดขายของ<br />

โครงการในระดับราคาเดียวกันและเสนอ<br />

แนวทางการออกแบบพื้นที่พักอาศัยประเภท<br />

อาคารสูงในเมือง จากปกติที่มักมีข้อจำากัดใน<br />

การปรับเปลี่ยนพื้นที่ใช้งานต่างๆ ให้ตอบรับ<br />

ลักษณะการใช้ชีวิตของเจ้าของยูนิตแต่ละคน<br />

ด้วยเงื่อนไขของการก่อสร้าง โครงสร้างและ<br />

งานระบบต่างๆ แต่ Kevin Mark Low และทาง<br />

โครงการได้เสนอการออกแบบด้วยวิธีการที่แม้<br />

จะดูตรงไปตรงมาแต่ต้องอาศัยการวางแผนไว้<br />

เป็นอย่างดี ด้วยการออกแบบยูนิตห้องเปล่าที่<br />

ขายแบบ Bare Shell และเตรียมเพียงส่วนงาน<br />

ระบบไว้รองรับ ผังพื้นจึงมีความยืดหยุ่น เปิด<br />

โอกาสให้ผู้อยู่อาศัยออกแบบตกแต่งและกั้น<br />

พื้นที่ได้เองในหลายจุด ตั้งแต่การวางผังทุกชั้น<br />

ให้มีเพียง 2 ยูนิต คือขนาด 453 ตารางเมตร<br />

และขนาด 562 ตารางเมตร แต่สามารถต่อ<br />

รวมเป็นพื้นที่เดียวกันได้หากต้องการ จนถึง<br />

การกั้นพื้นที่ห้องต่างๆ ที่เหมาะกับรูปแบบวิถี<br />

ชีวิตของแต่ละคน โดยแต่ละยูนิตจะมีลิฟต์และ<br />

โถงลิฟต์ส่วนตัวที่สร้างความรู้สึกปลอดภัยและ<br />

ความรู้สึกเป็นส่วนตัวสูงให้กับผู้อยู่อาศัย<br />

สถาปนิกยังแบ่งผังห้องพักเป็นพื้นที่ 3 ส่วน<br />

หลัก คือ หน้าบ้าน (Front Garden) ตัวบ้าน<br />

(House) และหลังบ้าน (Back Garden) ซึ่ง<br />

พื้นที่ทั้ง 3 ส่วนสามารถรองรับการใช้งานได้<br />

อย่างต่อเนื่อง ในขณะเดียวกันก็สร้างความ<br />

เป็นพื้นที่ส่วนกลาง และพื้นที่ส่วนตัวได้ชัดเจน<br />

ตอบรับกับความต้องการผู้ใช้ โดยบริเวณหน้า<br />

บ้าน (Front Garden) ออกแบบให้เป็นพื้นที่<br />

เฉลียงขนาดใหญ่สามารถมองเห็นทัศนียภาพ<br />

ภายนอกอาคารได้ในมุมกว้าง และมีสวนหน้า<br />

บ้านที่มีพื้นที่รองรับการใช้งานลึกประมาณ 1<br />

เมตร ทำาให้สามารถปลูกต้นไม้ขนาดกลางที่มี<br />

ความสูงได้ถึง 4-5 เมตรหรือทำาบ่อน้ำาขนาด<br />

เล็กได้ ช่วยสร้างความรู้สึกใกล้ชิดธรรมชาติ<br />

เสมือนอยู่บ้านบนพื้นดิน<br />

ในส่วนของตัวบ้าน (House) มีโถงกลางขนาด<br />

ใหญ่เป็นศูนย์กลางของผัง เป็นพื้นที่เปิดโล่ง<br />

แบบฝ้าเพดานสูง (Double space) หรือ<br />

Duplex ที่มีความสูงถึง 7 เมตร ต่อเนื่องกับ<br />

พื้นที่ชั้นล่างที่สามารถกั้นสัดส่วนเป็นห้องย่อย<br />

รองรับกิจกรรมอื่นๆ ได้อย่างอิสระ และเชื่อม<br />

กับพื้นที่ชั้น 2 ที่สามารถจัดเป็นพื้นที่ห้องนอน<br />

แบบมีห้องน้ำาในตัวได้ถึง 2-3 ห้องและพื้นที่<br />

สำาหรับพักผ่อนอเนกประสงค์ ซึ่งผู้อยู่อาศัย<br />

สามารถออกแบบพื้นที่ใช้งานรวมถึงกำาหนด<br />

รูปแบบบันไดได้เองตามความต้องการ นอกจาก<br />

นี้บริเวณโถงกลางยังสามารถมองเห็นพื้นที่<br />

ระเบียงและสวนด้านหลังผ่านประตูกระจก<br />

ขนาดใหญ่สูง 5.5 เมตรที่สามารถเปิดรับแสง<br />

และให้ลมธรรมชาติสามารถผ่านเข้ามาได้<br />

โดยไม่จำาเป็นต้องใช้เครื่องปรับอากาศตลอด<br />

เวลา ด้วยโครงสร้างอาคารนี้ใช้ Shear Wall<br />

หรือระบบผนังคอนกรีตเสริมเหล็กที่หล่อขึ้น<br />

มาได้อย่างประณีตทำาหน้าที่รับน้ำาหนักแทน<br />

คานและเสา จึงเอื้อให้พื้นที่ภายในห้องไม่มี<br />

โครงสร้างอาคารมาเป็นอุปสรรคในการปรับ<br />

เปลี่ยนพื้นที่ใช้งานหรือบดบังมุมมอง ทำาให้ผู้<br />

อยู่อาศัยสามารถออกแบบพื้นที่ต่างๆ ได้อย่าง<br />

หลากหลาย<br />

ผู้ออกแบบได้จัดเตรียมพื้นที่ให้สามารถทำาได้<br />

ทั้งครัวเปิดและครัวปิด ต่อเนื่องกับพื้นที่หลัง<br />

บ้าน (Back Garden) ที่มีขนาดกว้างรองรับ<br />

การใช้งานได้อย่างสะดวก และมีพื้นที่เก็บของ<br />

ชิ้นใหญ่ช่วยสร้างความเรียบร้อยให้กับพื้นที่<br />

นอกจากนี้พื้นที่ส่วนหลังบ้านยังออกแบบไว้<br />

ให้มีช่องเปิดขนาดใหญ่ที่ทำาหน้าที่เป็นช่องลม<br />

ของอาคารทั้งหลัง ซึ่งลมสามารถพัดผ่านและ<br />

ระบายอากาศได้ตลอดเวลาทำาให้เกิดการไหล-<br />

เวียนของอากาศที่ดี


รูปลักษณ์อาคารภายนอกถูกออกแบบให้มี<br />

ความเรียบง่ายไม่ปรุงแต่งมาก แต่สร้างความ<br />

โดดเด่นและมีเอกลักษณ์เฉพาะตัวด้วยผิว<br />

อาคารที่เปิดเผยให้เนื้อแท้ของวัสดุที่ใช้ทั้ง<br />

ภายในและภายนอกอาคารอันประกอบด้วย<br />

คอนกรีต ไม้ และเหล็ก ซึ่งรูปแบบดังกล่าว<br />

อาจไม่ได้แสดงความเรียบหรูของอาคารตาม<br />

ที่เราเคยพบ แต่เป็นการแสดงความงามแบบ<br />

ดิบๆ สะท้อนถึงความเป็นสัจจะของวัสดุที่<br />

ยอมรับในความงามของวัสดุที่เปลี่ยนแปลง<br />

ไปตามกาลเวลา ดังนั้นการออกแบบดังกล่าว<br />

จึงอาจดึงดูดความสนใจได้ในคนบางกลุ่ม<br />

นอกจากนั้นสถาปนิกยังตั้งใจเผยให้เห็นงาน<br />

ระบบท่ออาคารต่างๆ ทั้งหมดที่ติดตั้งไว้อย่าง<br />

UP WHERE THE COLD WIND BLOWS<br />

เป็นระเบียบเรียบร้อย เพื่อความสะดวกต่อ<br />

การจัดการดูแลรักษารวมถึงง่ายต่อการตรวจ<br />

สอบเมื่อเกิดกรณีชำารุดเสียหาย ซึ่งการโชว์<br />

งานระบบในอาคารเช่นนี้ต้องคัดเลือกวัสดุ<br />

อุปกรณ์ในการติดตั้งที่เหมาะสมกับรูปแบบ<br />

ของสถาปัตยกรรมและอาศัยฝีมือช่างในการ<br />

ก่อสร้างที่พิถีพิถันและได้คุณภาพ เพื่อให้<br />

สามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพรวมทั้ง<br />

สร้างความสวยงามในขณะเดียวกัน<br />

เมื่อเข้าใจถึงพฤติกรรมและความต้องการ<br />

ของผู้อยู่อาศัย ปัญหาและข้อจำากัดของการ<br />

อยู่อาศัยในอาคารสูง ผนวกกับการให้ความ<br />

สำาคัญเรื่องสิ่งแวดล้อม รวมถึงมุ่งเลือกใช้<br />

111<br />

เทคโนโลยีให้เกิดประโยชน์อย่างคุ้มค่า ทำาให้<br />

Windshell Naradhiwas เป็นคอนโดมิเนียม<br />

ที่สร้างประสบการณ์ใหม่ของการอยู่อาศัย<br />

แนวตั้งในเมือง สะท้อนความเป็น Smart Home<br />

ที่ไม่ได้แสดงถึงรูปลักษณ์อาคารหรืออาศัย<br />

เทคโนโลยีล้ำาสมัย หากแต่แสดงให้เห็นผ่าน<br />

การออกแบบอาคารอย่างชาญฉลาดของ<br />

สถาปนิกกับการวางแผนไว้ล่วงหน้าส่วนหนึ่ง<br />

และเปิดพื้นที่อิสระให้ผู้อยู่อาศัยสามารถออก-<br />

แบบสะท้อนไลฟ์สไตล์และรสนิยมการใช้ชีวิต<br />

ในบ้านของตนเองได้เต็มที่ โดยสถาปนิกเอง<br />

ต้องคาดการณ์ล่วงหน้าและออกแบบสถาปัตย-<br />

กรรมไว้รองรับฉากทัศน์ต่างๆ เหล่านั้นอย่างมี<br />

ประสิทธิภาพ<br />

2<br />

02<br />

อาคารหันหน้ารับทิศทาง<br />

ลมธรรมชาติได้ตลอดทั้งปี


112<br />

3<br />

03<br />

จัดวางพื้นที่ให้เกิดการ<br />

ระบายอากาศตาหลัก<br />

แนวคิด Stack Ventilation


UP WHERE THE COLD WIND BLOWS<br />

113<br />

4<br />

The definition of a ‘smart home’ can be<br />

understood in much broader and diversified<br />

aspects than merely an application of technologies,<br />

home automation systems or advanced<br />

tools designed to fulfill the needs and bring<br />

home dwellers greater convenience in every<br />

possible dimension of one’s living experience.<br />

Windshell Naradhiwas reflects what a smart<br />

home can be through a vertical architectural<br />

structure that sets itself apart from other projects<br />

within the same price range. Everything<br />

begins from Chotiphol Techakraisri, the Director<br />

of YLP Company Limited, and his idea of<br />

wanting to have a ‘house’ in the city with commuting<br />

convenience, big enough living space<br />

that is closer to nature and fully equipped<br />

facilities akin to a high-end condominium<br />

unit. The idea has been interpreted into the<br />

28-story, 36-unit luxurious condominium,<br />

situated on a 0.8 acre land, right in the city<br />

center on Naradhiwas Rajanagarindra Road,<br />

in Bangkok’s Yannawa district with Kevin Mark<br />

Low, a Malaysian architect, together with ACS<br />

Design Studio Company Limited helming the<br />

architectural design of the project.<br />

04<br />

ห้องเปล่า (bare shell)<br />

ไร้เสา-คานด้วยระบบ<br />

โครงสร้างแบบ shear wall<br />

<strong>05</strong><br />

พื้นที่เฉลียงขนาด<br />

ใหญ่สามารถมองเห็น<br />

ทัศนียภาพได้ในมุมกว้าง<br />

พร้อมสวนขนาดย่อม<br />

5


114<br />

theme / review<br />

6<br />

6<br />

06<br />

โถง Lobby สามารถถ่ายเท<br />

อากาศได้ดี สร้างสภาวะ<br />

น่าสบายและไม่อับชี้น<br />

07<br />

ผังโครงการปรากฏให้เห็น<br />

พื้นที่สวนหย่อมช่วยสร้าง<br />

ความร่มรื่นให้กับพื้นที่<br />

7


UP WHERE THE COLD WIND BLOWS<br />

115<br />

The ’Tropical Stacking Home’<br />

concept was born and treated<br />

as the key element of the architectural<br />

design, leading to the<br />

design of an urban home inside<br />

a high-rise residential building<br />

with sizeable functional spaces,<br />

and a garden at both the front<br />

and the back.<br />

mination to bring changes without following<br />

the norm. The initial conceptualized idea is ‘to<br />

prohibit the air conditioning system from dictating<br />

the design of the building, and design<br />

the building with removable air conditioners<br />

instead.’<br />

08<br />

โถงลิฟต์มีประตูบานเลื่อน<br />

อัตโนมัติโครงเหล็กสีดำา<br />

สร้างความแปลกตาให้<br />

กับพื้นที่<br />

“The best house is one that has the ability to<br />

ventilate efficiently and thoroughly.” That’s one<br />

of the key qualities Kevin Mark Low explained<br />

about what makes a home a smart home. But<br />

such a feature is rarely found in most condominium<br />

projects in Thailand due to rules and<br />

regulations that come with the construction<br />

and the question of whether such effort would<br />

be worth the investment. Therefore, we have<br />

seen residential projects of this nature take<br />

an easy route of using air conditioning systems<br />

with almost every functional space while<br />

the architecture is always the high-rise boxy<br />

shape wrapped in a glass shell. Nevertheless,<br />

Windshell Naradhiwas resorts to dismantling<br />

those limitations with the architect’s deter-<br />

8<br />

With that being the starting point, the ’Tropical<br />

Stacking Home’ concept was born and<br />

treated as the key element of the architectural<br />

design, leading to the design of an urban<br />

home inside a high-rise residential building<br />

with sizeable functional spaces, and a garden<br />

at both the front and the back. The project’s<br />

vertically overlapped living units have natural<br />

wind flowing through all the living spaces, just<br />

like something one can expect from horizontal<br />

living spaces of a single-detached home. With<br />

the project being surrounded by a neighborhood<br />

of low-rise residential homes, the architect<br />

designs the building to take in natural<br />

wind flowing from the northeast-southwest<br />

direction all year round. This stack ventilation<br />

involves the placement of openings at the upper<br />

part of the building, enabling the hot air to<br />

float upward and be ventilated, while pulling<br />

in the cool air from the outside to replace the<br />

ventilated heat, creating an automatic natural<br />

ventilation for the entire building. This quality<br />

becomes the building’s key features that helps<br />

solve the ventilation issues found 06 in most<br />

high-rise buildings while also naturally ทางเข้าอาคารกิจกรรม bringing<br />

thermal comfort to the residents<br />

หลักจากด้านทิศตะวันตก<br />

หลังคายื่นช่วยสร้างจุดเด่น<br />

living in<br />

urbanized vertical residential buildings. นำาสายตา


116<br />

theme / review<br />

9


LOCAL WISDOM FOR GLOBAL SOLUTIONS<br />

117<br />

09<br />

พื้นที่โถงกลางขนาดใหญ่<br />

มองเห็นพื้นที่ระเบียง<br />

และสวนหลังบ้าน (Back<br />

Garden)


118<br />

theme / review<br />

10<br />

The design of the layout is interesting for both<br />

its ability to be the selling point of the project,<br />

especially when compared to other condominiums<br />

within the same price range, as well<br />

as how it has proposed a new approach to<br />

residential spaces in urban high-rise condominiums.<br />

Normally, a project of this nature often<br />

comes with some sorts of limitation of how<br />

functional spaces can be adjusted to accommodate<br />

the lifestyle of each owner of each<br />

living unit since there are conditions regarding<br />

the construction of structural and system<br />

works. Kevin Mark Low and the project’s owner,<br />

however, chose a seemingly straightforward<br />

approach that required thoughtful and careful<br />

planning. The bare shell units are designed to<br />

have all the necessary system works, leaving<br />

the floor plan highly flexible for prospective<br />

residents to design and partition several parts<br />

of the unit as desired. Every floor of the condominium<br />

houses only two units (435 and 563<br />

square meters), which can also be connected<br />

into one unit upon the owner’s wish. The room<br />

partitioning can be done to suit each resident’s<br />

lifestyle and behaviors, while each unit has a<br />

private elevator lobby for the residents’ greater<br />

sense of safety and privacy.<br />

The architect also divides each unit into three<br />

main sections; front garden, house and back<br />

garden. These three portions of space offer<br />

uninterrupted spatial continuity but each with<br />

clear functionalities as both public and private<br />

spaces, which are what the targeted users<br />

need. The front garden is designed as a large<br />

patio that opens to a wide view of the city.<br />

The floor is designed and built with one meter<br />

depth, allowing homeowners to grow midsized<br />

trees with maximum 4-5 meter height<br />

or a small pool to bring nature closer to their<br />

everyday life.<br />

10<br />

ประตูกระจกนิรภัย<br />

ป้องกันรังสียูวีสูง 5.5<br />

เมตร สามารถเปิดรับลม<br />

และกันแรงลมได้ดี<br />

11<br />

พื้นที่ใช้งานถูกออกแบบ<br />

ให้สามารถกั้นสัดส่วน<br />

เป็นห้องย่อยเพื่อรองรับ<br />

กิจกรรมต่างๆ


119<br />

11


120<br />

theme / review<br />

12<br />

12<br />

วางผังทุกชั้นให้มีเพียง<br />

2 ยูนิตที่สามารถต่อรวม<br />

เป็นพื้นที่เดียวกันได้หาก<br />

ต้องการ<br />

13<br />

ห้องนอนสามารถมองเห็น<br />

พื้นที่บริเวณ Common<br />

Area ได้เกือบทั้งหมด<br />

13<br />

14


UP WHERE THE COLD WIND BLOWS<br />

121<br />

15<br />

The project reflects a definition<br />

of smart home, not just through<br />

the building’s aesthetic or highly<br />

advanced technologies, but the<br />

architect’s approach to architectural<br />

design, with a carefully<br />

thought out plan and masterful<br />

execution.<br />

14<br />

พื้นที่ walk-in Closet ทำา<br />

หน้าที่เชื่อมต่อพื้นที่ห้อง<br />

นอนกับพื้นที่ห้องน้ำา<br />

15<br />

ห้องน้ำามีพื้นที่กว้างและมี<br />

ช่องเปิดระบายอากาศไป<br />

ยังด้านหลังบ้านได้<br />

The ‘house’ section is home to a large double<br />

space or duplex space with an impressive<br />

7 meter ceiling height. The area is linked to<br />

the lower floor, which can be partitioned<br />

into rooms to freely accommodate different<br />

activities, and the second floor that can<br />

house 2-3 bedrooms with ensuite bathrooms,<br />

including a multifunctional living space. The<br />

inhabitants can design common spaces and<br />

the staircase according to their wishes. The<br />

main living area looks out to the balcony and<br />

the front garden through the massive, 5.5-meter<br />

high glass doors that can effectively allow<br />

sunlight and natural cross ventilation, keeping<br />

the living space from being air conditioned<br />

all the time. With the building’s structure<br />

constructed using shear walls or a reinforced<br />

concrete walling system, meticulously cast<br />

to bear the weight of the architectural and<br />

structural mass, each unit is absent of beams<br />

and columns, which would have otherwise<br />

obstructed the flexibility of the floor plan and<br />

the openness of the space. The inhabitants<br />

are given the freedom to design their own<br />

living spaces without having to worry too<br />

much about structural and spatial restrictions.<br />

The architect works out the floor plan to house<br />

both an open or closed kitchen. The Back<br />

Garden section of the floor plan is connected<br />

to the kitchen and super spacious in size for the<br />

utmost functional convenience with a storage<br />

space prepared to store large items to keep<br />

the living space tidy and organized. The Back<br />

Garden also houses a large opening, which<br />

functions as the building’s natural ventilator,<br />

effectively facilitating uninterrupted airflow.<br />

The building’s exterior is materialized to<br />

embrace simplicity with unrefined but aesthetically<br />

distinctive and unique beauty that reveals<br />

real textural attributes of materials such as<br />

concrete, wood and steel. The approach the<br />

architect takes with the project’s architectural<br />

style may not be an expression of conventional<br />

luxury most people are familiar with. But within<br />

such raw beauty lies the ‘truth to material’<br />

that accepts and celebrates the transformative<br />

beauty of materials through time. It’s<br />

understandable that the design may appeal<br />

to merely a certain group of individuals. The


1<strong>22</strong><br />

16<br />

พื้นที่ส่วนกลางและ<br />

14<br />

Infinity edge pool ที่<br />

มุมมองผ่านลานกิจกรรม<br />

เชื่อมต่อกับวิวเมืองได้<br />

กลางแจ้งจากทิศเหนือสู่<br />

15 ในมุมกว้าง 11<br />

อาคารกิจกรรมหลัก16


UP WHERE THE COLD WIND BLOWS<br />

123<br />

architect deliberately reveals system and pipe<br />

works immaculately installed for maintenance<br />

convenience and inspection should any damage<br />

occur in the future. Leaving system works<br />

exposed requires a careful selection of fittings<br />

for the installation to be done appropriately<br />

and suitable for the building’s architectural<br />

style. The process relies greatly on the skills<br />

and experiences of builders, for the functional<br />

and decorative components to fully deliver<br />

efficient functionality and aesthetic merits at<br />

the same time.<br />

With the users’ behaviors and needs, potential<br />

problems and limitations of high-rise living<br />

experiences, as well as environmental issues<br />

are studied and understood, and met with<br />

maximized benefits of technologies, Windshell<br />

Naradhiwas becomes a condominium project<br />

that brings new experiences to urban vertical<br />

living. The project reflects a definition of smart<br />

home, not just through the building’s aesthetic<br />

appearance or highly advanced technologies<br />

it has, but the architect’s approach to architectural<br />

design, with a carefully thought out<br />

plan and masterful execution. For the design<br />

to leave the space for inhabitants and offer<br />

them the freedom to curate their own living<br />

spaces that reflect their own lifestyles and<br />

tastes, attentive speculation on the architect’s<br />

part had to be made in advance for the<br />

design of the architecture that will efficiently<br />

and satisfyingly accommodate future possible<br />

scenarios in prospective users’ living<br />

experiences.<br />

small-projects.com<br />

windshell.com<br />

ศศิกาญจน์ ศรีโสภณ<br />

จบการศึกษาระดับ<br />

ปริญญาเอก สาขาสิ ่งแวด-<br />

ล้อมสรรค์สร้าง คณะ<br />

สถาปั ตยกรรมศาสตร์<br />

จากมหาวิทยาลัยเกษตร-<br />

ศาสตร์ ปั จจุบันเป็ น<br />

อาจารย์ประจําคณะ<br />

สถาปั ตยกรรมศาสตร์<br />

มหาวิทยาลัยรังสิต มี<br />

ความสนใจในสถาปั ตย-<br />

กรรมชุมชน เมืองและ<br />

สภาพแวดล้อม และการ<br />

ออกแบบแบบมีส่วนร่วม<br />

Sasikan Srisopon<br />

Ph.D. graduated from<br />

the built environment<br />

program at faculty of<br />

architecture, Kasetsart<br />

University. She is<br />

currently a lecturer at<br />

Rangsit University.<br />

Her interests involve<br />

community architecture,<br />

urban and<br />

environment, and<br />

participatory design.<br />

17<br />

แสงภายที่ลอดผ่านผนังอิฐ<br />

บล็อกช่องลมเหล่านี้ช่วย<br />

สร้างความมีชีวิตชีวาให้<br />

กับอาคาร<br />

17<br />

Project: Windshell Naradhiwas Location: Naradhiwas Rajanagarindra Road, Sathorn, Bangkok Client: YLP Site Area: 2-8.74 Rai<br />

Year: 2021 Designer: small projects; kevin mark low Main Contractor: Italian-Thai Development Plc. MEP Contractor: Italthai<br />

Engineering Glass & Aluminium Contractor: MBM Metalworks Architect: ACS Design Studio Lighting Designer: Lighting Planners<br />

Associates (S) PTE LTD Structural & MEP Design Engineer: MEINHARDT (Thailand) CM Consultant: Cornerstone Management<br />

Lobby & Facilities Interior Designer: Pernille Lind Studio Large Show Unit Interior Designer: Pernille Lind Studio Small Show Unit<br />

Interior Designer: Spacetime


124<br />

materials<br />

What<br />

Does<br />

Today’s<br />

Smart<br />

Home<br />

Look Like?<br />

A quick glance at the new smart<br />

home devices and how they work.<br />

Text: Patikorn Na Songkhla<br />

except introduction text is by <strong>ASA</strong> <strong>Journal</strong> team


In the<br />

Restrooms<br />

In-Home<br />

Security<br />

Home<br />

Electrical<br />

Equipment


126<br />

materials<br />

1<br />

2<br />

Photo Reference<br />

1. iotevolutionworld.com<br />

2. arm.co.th


WHAT DOES TODAY’S SMART HOME LOOK LIKE?<br />

127<br />

Smart Home บ้านอัจฉริยะ<br />

“อัจฉริยะ” ตามความหมายที่บัญญัติไว้ในพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน<br />

พ.ศ.2554 หมายถึง วิเศษน่าอัศจรรย์, มีความรู้ความสามารถเกินกว่าระดับ<br />

ปรกติมาก แล้วคำาว่า “บ้านอัจฉริยะ” หรือ “Smart Home” ที่มีการนำามาใช้<br />

กันมาระยะหนึ่งแล้วจะมีความหมายเช่นนั้นได้หรือไม่? บ้านวิเศษน่าอัศจรรย์<br />

บ้านที่มีความสามารถเกินกว่าระดับปรกติมาก<br />

เรากำาลังพูดถึงการนำาเทคโนโลยีไร้การสัมผัส ระบบอัตโนมัติต่างๆ เข้ามาใช้<br />

กับงานอาคารหรือบ้านพักอาศัย เพื่อให้เกิดความสะดวกสบาย รู้สึกปลอดภัย<br />

ในชีวิตและทรัพย์สิน หรือช่วยการประหยัดพลังงาน ระบบอัตโนมัติที่ช่วยให้<br />

ผู้อยู่อาศัยสามารถเปิด-ปิด หรือปรับเปลี่ยนฟังก์ชันการทำางานของอุปกรณ์<br />

ภายในและภายนอกบ้านได้ด้วยตนเอง การแตะเพียงครั้งเดียว การตั้งเวลา<br />

เปิด-ปิดอัตโนมัติ การใช้คำาสั่งเสียง การใช้สมาร์ทโฟน ใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์<br />

ต่างๆ เชื่อมโยงมนุษย์กับสิ่งของบนระบบดิจิตอลโดยส่งข้อมูลผ่าน Internet<br />

หรือ Internet of Things (IoT) ทำาการเชื่อมต่อทุกสิ่งที่เชื่อมต่อได้<br />

Website www.arm.co.th กล่าวถึง Smart Home ในแบบของคนไทย และ<br />

ความหมายของ Smart Home ที่เป็นสากล ว่าความหมายบ้านอัจฉริยะในบ้าน<br />

เรามีความหมายที่กว้าง อาจเป็นบ้านที่มีระบบอัตโนมัติเล็กๆ ควบคุมโดย<br />

ผู้อยู่อาศัย (User Control) สามารถปรับเปลี่ยนฟังก์ชันต่างๆ ของบ้านให้<br />

ตอบสนองความต้องการของตนด้วยตัวผู้อยู่อาศัยเอง จนถึงระบบเต็มรูปแบบ<br />

ที่เรียกว่า Rule-based Control ซึ่งบ้านจะมีระบบควบคุมที่สามารถจับค่าพารา-<br />

มิเตอร์ต่าง ๆ ภายในบ้าน แล้วทำาการปรับเปลี่ยนหรือตอบสนองต่อความ<br />

ต้องการของผู้อยู่อาศัยได้โดยอัตโนมัติ การที่บ้านมีระบบประตูอัตโนมัติ หรือ<br />

มีระบบรีโมทช่วยควบคุมการเปิด-ปิดอุปกรณ์ไฟฟ้า หรือเพียงติดตั้งกล้อง<br />

วงจรปิด ก็มีความเข้าใจว่าเป็น Smart Home แล้ว ขณะที่ความหมายของบ้าน<br />

อัจฉริยะที่เป็นสากลจะมีรายละเอียดมากไปกว่านั้น<br />

ปี ค.ศ.2003 Housing Learning & Improvement Network ได้ตีพิมพ์<br />

คำาจำากัดความของ Smart Home ซึ่งถูกนำาเสนอโดย Intertek หน่วยงาน<br />

ในด้านการรับรองคุณภาพ ความปลอดภัยของสินค้า กระบวนการผลิต<br />

และระบบการจัดการ ว่าหมายถึง การรวมโครงข่ายการสื่อสาร (Communication<br />

Network) ของที่อยู่อาศัยรวมเขาด้วยกันเพื่อเชื่อมต่อเครื่องใช้<br />

ไฟฟ้า การบริการ การตรวจตราดูแล รวมทั้งสามารถเข้าถึงการควบคุม<br />

อุปกรณ์ต่างๆ ได้ โดยมีคุณสมบัติ 3 ประการ ได้แก่<br />

1. มี Smart Home Network เป็นระบบพื้นฐานอาจมีการ<br />

เดินสายหรือไร้สายก็ได้<br />

2. มี Intelligent Control System เป็นระบบการควบคุม<br />

ระบบอัจฉริยะที่มีความชาญฉลาด<br />

3. มี Home Automation Device เป็นอุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้า<br />

ภายในบ้านที่สามารถเชื่อมโยงกันได้ ตัวอย่างเช่น ตู้เย็น<br />

อัจฉริยะ ประตูอัตโนมัติ รีโมทควบคุมการทำ างานเครื่องใช้<br />

ไฟฟ้าต่าง ๆ ระบบรักษาความปลอดภัย เป็นต้น<br />

บทความ Smart Home โดย Adam Hayes (8 มิถุนายน ค.ศ.2021)<br />

จาก Website www.investopedia.com กล่าวไว้ว่าบ้านอัจฉริยะ หมายถึง<br />

การตั้งค่าบ้านที่สะดวกสบายซึ่งอุปกรณ์ต่างๆ สามารถควบคุมได้จาก<br />

Smart Home<br />

When we talk about Smart, we always mean wonderful, amazing,<br />

knowledgeable beyond the average level. For Smart Home, which<br />

was termed and used for quite a while now, can it convey its<br />

meaning? - amazing magical house or a house with abilities beyond<br />

the level.<br />

Talking about Smart Home, generally, we are talking about adopting<br />

contactless technology, applying various automation systems to<br />

the buildings or houses to provide comfort and safety for our life<br />

and property or help save energy – be it an automated system that<br />

allows residents to turn on and off or adjusts the functionality of<br />

the device inside and outside the house by oneself, a single tap<br />

setting, the automatic on-off time using voice commands, using<br />

a smartphone or various electronic devices to connect humans<br />

to things on a digital system by sending information via the<br />

internet or the Internet of Things (IoT) to connect everything that is<br />

connectible.<br />

According to an article on www.arm.co.th - which discusses the<br />

meaning of Smart Home in a local and universal context - Smart<br />

Home has a broad range of meanings. It could be a house with a<br />

small automation system controlled by the dwellers or so-called<br />

User Control where the dwellers can adjust various functions of the<br />

house themselves to meet their own needs. It could also mean up<br />

to a full system called Ruled-based Control in which parameters in<br />

the place can be captured and controlled and then automatically<br />

adjust to the dweller’s need. Most people today have very little<br />

understanding of the meaning of the term. Some think a house<br />

with an automatic door is a smart home. Others believe a place<br />

with a remote control system for electrical equipment or a set of<br />

simple CCTV is a smart home. Not as simple as that, the universal<br />

definition of Smart Home is indeed more detailed and complicated.<br />

According to the definition published in 2003 by the Housing<br />

Learning & Improvement Network and presented by Intertek, the<br />

agency for quality assurance, product safety, production process,<br />

and management systems – Smart Home means integration of<br />

communication networks of the residence to connect all those<br />

electrical appliances, services, supervision systems, as well as to<br />

access the control of devices and equipment in the house, with<br />

three main features to make a smart home -<br />

1. Smart Home Network provided as a basic system, can<br />

be wired or wireless.<br />

2. Intelligent Control System, as an intelligent gateway to<br />

manage the systems.<br />

3. Home Automation Device, home products, and<br />

appliances that link, for example, a smart refrigerator,<br />

automatic door, remote control of various electrical<br />

appliances, security system, etc.


128<br />

materials<br />

ระยะไกลโดยอัตโนมัติ จากทุกที่ด้วยการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตโดยใช้<br />

โทรศัพท์มือถือหรืออุปกรณ์เครือข่ายอื่นๆ อุปกรณ์อัจฉริยะเชื่อมต่อ<br />

ถึงกันผ่านอินเทอร์เน็ตทำาให้ผู้ใช้สามารถควบคุมฟังก์ชันการทำางานต่างๆ<br />

เช่น การเข้าถึงการรักษาความปลอดภัยของบ้าน อุณหภูมิ แสงสว่าง<br />

และ Home Theater จากระยะไกล เป็นต้น<br />

อุปกรณ์ของบ้านอัจฉริยะเชื่อมต่อถึงกัน และสามารถเข้าถึงได้ผ่าน<br />

จุดศูนย์กลางที่เป็น Smart Device เพียงจุดเดียว อุปกรณ์ล็อกประตู<br />

โทรทัศน์ อุปกรณ์ควบคุมอุณหภูมิ กล้องวงจรปิด ไฟแสงสว่าง และ<br />

แม้แต่เครื่องใช้ เช่น ตู้เย็น ก็สามารถควบคุมได้ ผ่านระบบอัตโนมัติ<br />

ภายในบ้านระบบเดียว โดยผู้ใช้งานสามารถสร้างตารางเวลาเพื่อให้<br />

การปรับเปลี่ยนรายละเอียดการทำางานอย่างมีประสิทธิผล<br />

อุปกรณ์เครื่องใช้อัจฉริยะในบ้านบางอย่างมาพร้อมกับทักษะการเรียนรู้<br />

ด้วยตนเอง เพื่อให้สามารถเรียนรู้ตารางเวลาของเจ้าของบ้านและทำา<br />

การปรับเปลี่ยนตามความจำาเป็น บ้านอัจฉริยะที่เปิดใช้งานด้วยการ<br />

ควบคุมแสงช่วยให้เจ้าของบ้านลดการใช้ไฟฟ้าและได้รับประโยชน์จาก<br />

การประหยัดต้นทุนที่เกี่ยวข้องกับพลังงาน ระบบอัตโนมัติในบ้านบาง<br />

ระบบจะแจ้งเตือนเจ้าของบ้านหากตรวจพบการเคลื่อนไหวใดๆ ในบ้าน<br />

เมื่อพวกเขาไม่อยู่ ในขณะที่ระบบอื่นๆ สามารถโทรหาหน่วยงาน<br />

เจ้าหน้าที่ตำารวจ หรือหน่วยดับเพลิงและป้องกันอุบัติภัย ในกรณีของ<br />

สถานการณ์ร้ายที่ใกล้เข้ามา<br />

บทความ Systems to Design a Smart and Contactless Home โดย<br />

Lilly Cao (25 มิถุนายน ค.ศ.2020) จาก Website www.archdaily.com<br />

ให้ข้อมูลว่าอุตสาหกรรมบ้านอัจฉริยะเติบโตขึ้นอย่างต่อเนื่อง ตามข้อมูล<br />

ของ Berg Insight ในปี ค.ศ. 2018 การติดตั้งระบบ Smart Home<br />

ในอเมริกาเหนือเพิ่มขึ้น 49.7% เป็น 135.4 ล้านดอลล่าร์ภายในสิ้นปี<br />

ระหว่างปี ค.ศ.2018 ถึง ค.ศ.2023 คาดว่าตลาดจะเติบโตต่อไปที่อัตรา<br />

การเติบโตต่อปีที่ 17.3% ซึ่งสูงถึง 49.5 พันล้านดอลลาร์ในรายรับต่อปี<br />

ภายในสิ้นระยะเวลาที่คาดการณ์ไว้<br />

ความปลอดภัยภายในบ้าน<br />

กล้องวงจรปิดไร้สายช่วยในการปกป้องบ้านให้มีความปลอดภัย โดย<br />

เฉพาะในเวลาที่ไม่ได้มีคนอยู่บ้าน อีกทั้งยังเป็นประโยชน์ในการเฝ้า<br />

ติดตามสัตว์เลี้ยง เด็กเล็ก หรือผู้สูงอายุ กล้องสมัยใหม่แบบ Full HD<br />

พร้อมการมองเห็นในเวลากลางคืน สามารถแชร์ภาพที่บันทึกไว้ผ่าน<br />

แอป ตรวจจับเสียงและการเคลื่อนไหวพร้อมการแจ้งเตือนแบบ Real<br />

Time มีระบบป้องกันผู้เยี่ยมชมที่ไม่ต้องการ หรือแม้แต่มีระบบเสียง<br />

สองทางเพื่อการสื่อสารกับทุกคนที่อยู่ใกล้กล้อง กล้องวงจรปิด Nest<br />

Cam สามารถตรวจจับได้ว่าวัตถุที่เคลื่อนไหวใช่มนุษย์หรือไม่ และยังมี<br />

การบันทึกภาพไปบน Cloud ที่ผู้ใช้งานสามารถย้อนดูได้ถึง 30 วัน<br />

3<br />

Photo Reference<br />

3. installershub.co.uk<br />

4. littlelunablue.com<br />

5. ananda.co.th


WHAT DOES TODAY’S SMART HOME LOOK LIKE?<br />

129<br />

In an article written by Adam Hayes on 8 June 2021 published<br />

on www.investopedia.com, Hayes wrote - smart home refers to<br />

a convenient home setup where appliances and devices can be<br />

automatically controlled remotely from anywhere with an internet<br />

connection using a mobile or other networked device. Devices in a<br />

smart home are interconnected through the internet, allowing the<br />

user to remotely control functions such as security access to the<br />

house, temperature, lighting, and a home theater.<br />

Smart home devices are connected and accessed through one<br />

central point - a smartphone, tablet, laptop, or game console. It<br />

can control door locks, televisions, thermostats, home monitors,<br />

cameras, lights, and even appliances such as the refrigerator. The<br />

user can install the system on a mobile or other networked device<br />

and create time schedules for specific changes to take effect.<br />

Some smart home appliances come with self-learning skills to learn<br />

the homeowner’s schedules and make adjustments as needed.<br />

Smart homes enabled with lighting control allow homeowners to<br />

reduce electricity use and benefit from energy-related cost savings.<br />

Some home automation systems alert the homeowner if any motion<br />

is detected in the home when they’re away, while others can call<br />

the authorities - police or the fire department - in case of imminent<br />

situations.<br />

4<br />

In her article’ Systems to Design a Smart and Contactless Home’<br />

published on www.archdaily.com, 25 June 2020 - Lilly Cao reports<br />

that the smart home industry has grown steadily. According to Berg<br />

Insight, in 2018, the installed base of North American smart home<br />

systems increased by 49.7 percent to reach 135.4 million by the<br />

5<br />

year’s end. Between 2018 and 2023, the market might grow further<br />

at the compound annual growth rate of 17.3%, reaching $49.5<br />

billion in yearly revenues by the end of the forecasted period.<br />

In-Home Security<br />

Wireless CCTV helps keep the house safe, especially when no one<br />

is home. It is also suitable for monitoring pets, young children, or<br />

the elderly. Modern Full HD Camera with night vision saved images<br />

can be shared via an application and detect sound and motion with<br />

real-time alerts. Generally, it has a system to prevent unwanted<br />

visitors or even has two-way audio to communicate with anyone<br />

near the camera. The Nest Cam CCTV can detect moving objects<br />

to check if they are human or not, and can also save images onto<br />

the Cloud where users can look back up to 30 days.<br />

5<br />

August Smart Lock is an intelligent door lock system. Door locks<br />

can be opened from an application on a smartphone and shared<br />

access with a family member or friend. It has a voice interaction<br />

system with those ringing the bell to the mobile phone through the<br />

front door camera. Even in the bedroom, the users do not have to<br />

get up to open the door. Chamberlain Smart Garage Door Opener<br />

is a new smart home device invented to open and close the door<br />

from a mobile phone or smartwatch. It also supports Apple’s


130<br />

materials<br />

August Smart Lock เป็นระบบล็อกประตูอัจฉริยะ สามารถเปิดล็อก<br />

ประตูจากแอปบนสมาร์ทโฟน และยังแชร์สิทธิ์ในการเข้าบ้านให้สมาชิก<br />

ในครอบครัวหรือเพื่อนได้อีกด้วย มีระบบคุยโต้ตอบด้วยเสียงกับคน<br />

กดกริ่งไปที่มือถือผ่านทางกล้องหน้าประตู อยู่ในห้องนอนก็ยังไม่ต้อง<br />

ลุกมาเปิดประตูเลย<br />

วันนี้เครื่องเปิดประตูบ้านหรือโรงเก็บรถยนต์จะเปลี่ยนไป Chamberlain-<br />

Smart Garage Door Opener สามารถกดเปิด-ปิดประตูจากมือถือหรือ<br />

นาฬิกาอัจฉริยะได้ นอกจากนี้ยังรองรับ HomeKit ของ Apple ดังนั้น<br />

ถ้ารถยนต์ของเรารองรับระบบ CarPlay ของ Apple ประตูนี้ก็จะทำางาน<br />

ร่วมกับรถยนต์ในการตรวจดูสถานการณ์จอดเพื่อสั่งปิดประตูได้เมื่อ<br />

รถยนต์เข้าจอดเป็นที่เรียบร้อยแล้ว<br />

อุปกรณ์เครื่องใช้ ไฟฟ้ าภายในบ้าน<br />

หลอดไฟอัจฉริยะ Philips Hue หลอดไฟที่สามารถปรับแต่งสีได้ตาม<br />

ความต้องการ ปรับความสว่าง ตั้งเวลาเปิด-ปิดในช่วงเวลาที่กำาหนด<br />

ควบคุมการทำางานระยะไกลผ่านแอป ควบคุมและใช้งานด้วยคำาสั่งเสียง<br />

หลอดไฟอัจฉริยะ Stack’s Alba Smart LED รองรับระบบ Nest ซึ่งเป็น<br />

ระบบอัจฉริยะภายในบ้านให้สามารถสั่งงานจากระบบส่วนกลางผ่าน<br />

Nest System หรือเชื่อมคำาสั่งกับอุปกรณ์ของ Nest ตัวอื่นๆ ได้ด้วย<br />

อุปกรณ์ที่ยังไม่ฉลาดจะกลายเป็นอัจฉริยะได้ด้วย Belkin WeMo ที่เป็น<br />

ปลั๊กไฟอัจฉริยะขนาดกะทัดรัดติดตั้งสะดวก เชื่อมต่อเครื่องใช้ไฟฟ้า<br />

ยุคเดิม ควบคุมการจ่ายไฟ ตรวจสอบไฟฟ้าที่ใช้งาน และสามารถตั้ง<br />

เวลาเปิดปิดผ่านสมาร์ทโฟน สามารถใช้งานด้วยคำาสั่งเสียงได้อีกด้วย<br />

สะดวกสบายต่อผู้อยู่อาศัย<br />

อุปกรณ์เสริมในการส่งสัญญาณเตือนเรื ่องควันไฟและคาร์บอนไดออกไซด์<br />

(CO2) Roost Smart Battery ออกแบบให้การแจ้งเตือนถูกส่งไปยัง<br />

โทรศัพท์มือถือเจ้าของบ้าน เพื่อนบ้าน สถานีดับเพลิง หรือตำารวจให้<br />

เข้าไปดูในที่เกิดเหตุได้ แม้จะอยู่ไกลจากจุดเกิดเหตุก็ตาม โดยการจับ<br />

สัญญาณเตือนแล้วส่งข้อมูลออกไปหาเจ้าของบ้านซึ่งสามารถแจ้งไปได้<br />

หลายคนพร้อมกัน<br />

เครื่องวัดอุณหภูมิภายในบ้านอัจฉริยะอย่าง Ecobee Smart Thermostat<br />

หรือ Nest Learning Thermostat มีความสามารถในการตรวจวัดอุณภูมิ<br />

ภายในบ้านและเรียกดูสภาพอากาศภายนอกบ้านได้ โดยเราสามารถสั่ง<br />

งานเชื่อมไปยังเครื่องปรับอากาศเพื่อปรับอุณหภูมิของห้องให้เหมาะสม<br />

ตามสภาพอากาศในแต่ละช่วงเวลาได้ แถมยังแสดงผลข้อมูลไปยัง<br />

โทรศัพท์มือถือ และนาฬิกาอัจฉริยะได้อีกต่างหาก โดยมีแอปพลิเคชัน<br />

ทั้ง iOS และ Android สิ่งนี้ช่วยให้บ้านอยู่สบายขึ้นและยังช่วยลดค่าใช้<br />

จ่ายรายเดือนอีกด้วย<br />

HomeKit, so if the car supports Apple’s CarPlay system, the door<br />

will work with the vehicle to monitor the parking status to close the<br />

door once it is parked.<br />

Home Electrical Equipment<br />

Even simple equipment like a light bulb can be smart. Philips<br />

Hue smart bulb is a customizable color bulb for the user to<br />

adjust brightness, set the on-off time during the specified time,<br />

remote control via application to control and oper ate with voice<br />

commands. Stack Lighting has also produced Alba Smart LED, a<br />

smart light bulb that supports Nest, an intelligent home system that<br />

can be used via its central system or linked to other Nest devices.<br />

Unintelligent devices could also become smart now. The Belkin<br />

WeMo, a compact, easy-to-install smart plug, can connect old<br />

appliances’ power supply control, check the electricity in use, and<br />

set a time to turn on and off via a smartphone. This device can also<br />

be controlled with voice commands, providing convenience to home<br />

users.<br />

The Roost Smart Battery Smoke and the Carbon Dioxide (CO2)<br />

Alarm is designed to allow notifications to send to the mobile<br />

phone of homeowners, neighbors, fire stations. The police can look<br />

at the scene, even if it is far from the location of the accident, by<br />

detecting the alarm and sending it out to the homeowner or more<br />

than one owner simultaneously.<br />

Smart home thermometers such as the Ecobee Smart Thermostat<br />

or Nest Learning Thermostat can measure the temperature inside<br />

the house and even report the weather outside. The system creates<br />

a possible connection to the home air conditioner to adjust the<br />

room temperature according to the weather conditions at the<br />

desired time. Information can also be delivered to a mobile phone<br />

or a smartwatch with apps for both iOS and Android, which helps<br />

make a living in the house more pleasant and lower monthly<br />

electrical cost.<br />

Amazon Echo, a new smart speaker device also known as Voice-<br />

Activated Speaker, is a speaker that works with voice commands.<br />

It can be connected to various smart home devices via voice<br />

commands through the assistant, Alexa; no matter where you are<br />

in the house, this smart speaker can control electrical devices<br />

comfortably.<br />

The WallyHome Water Leak Detection system was invented to<br />

help manage the problem of water leakage and all those problems<br />

concerning water in the house, including the event of water bills<br />

unusually rising without cause or any evidence of increased usage.<br />

This device will check the water distribution system at each point in<br />

Photo Reference<br />

6. philips.com<br />

7. wweslarati.com<br />

8. ananda.co.th<br />

9-10. ecobee.com


WHAT DOES TODAY’S SMART HOME LOOK LIKE?<br />

131<br />

6<br />

8<br />

7<br />

9<br />

10


132<br />

materials<br />

อุปกรณ์ลำาโพงอัจฉริยะ Amazon Eco ที่เรียกว่าเป็น Voice-Activated-<br />

Speaker หรือลำาโพงที่ทำางานด้วยคำาสั่งเสียง สามารถเชื่อมต่อกับ Smart-<br />

Home Device ต่าง ๆ เพื่อการสั่งการจากเสียงผ่านผู้ช่วยที่ชื่อว่า Alexa<br />

ไม่ว่าคุณจะอยู่ที่ไหนภายในบ้าน ก็สามารถควบคุมอุปกรณ์ไฟฟ้าต่างๆ<br />

ได้อย่างสะดวกสบาย<br />

ระบบตรวจสอบระบบน้ำาภายในบ้าน WallyHome Water Leak Detection<br />

จะช่วยจัดการปัญหา น้ำารั่ว น้ำาไม่ไหล น้ำามีความผิดปกติ ค่าน้ำาสูงขึ้น<br />

ไม่รู้ว่าเป็นเพราะการใช้งานส่วนไหนเพิ่มขึ้น โดยมันจะทำาการตรวจสอบ<br />

ระบบการจ่ายน้ำาในแต่ละจุดภายในบ้านให้ อีกทั้งยังวัดอุณหภูมิของน้ำา<br />

ได้ด้วยว่าเป็นอย่างไร และทำาการแจ้งเตือนไปยัง Email, SMS หรือแอป<br />

บนโทรศัพท์มือถือให้ทราบว่ามีจุดไหนบ้างที่เกิดปัญหา<br />

แล้วจะเป็นอย่างไรถ้าเครื่องใช้ไฟฟ้าภายในบ้านคุยกับเราได้ LG HomeChat<br />

เป็น Smart Device ที่ไม่ธรรมดาเลย เพราะไม่เพียงแค่ต่อเชื่อมเข้ากับ<br />

อินเตอร์เน็ตหรือมีแอปสั่งงานแค่นั้น แต่ยังสามารถพูดคุยรับคำาสั่งของ<br />

เราได้ผ่านการ Chat การรับคำาสั่งโดยการสนทนาผ่านแอปพลิเคชัน<br />

LINE โดยผู้ใช้จะต้องทำาการ Add friend บัญชี LG HomeChat เข้าไป<br />

เป็นเพื่อนก่อน จากนั้นก็ออกคำาสั่งควบคุมการทำางานส่งไปเป็นประโยค<br />

คำาสั่ง ซึ่งทาง LG จะมีตัวอย่างประโยคให้เรารู้คร่าวๆ ว่าควรจะสั่งด้วย<br />

ประโยคประมาณไหน จากนั้น บัญชี LG HomeChat LINE ก็จะตอบทวน<br />

คำาสั่งกลับมาให้เรายืนยันอีกครั้ง และเมื่อเรายืนยันคำาสั่งเสร็จข้อความ<br />

การสั่งงานก็จะถูกส่งไปยังอุปกรณ์ต่างๆ ให้ทำ างานอย่างที่เราแจ้งไปหรือ<br />

เราจะสนทนาสอบถามข้อมูลก็ได้ เช่น สั่งเปิดโทรทัศน์ สั่งเปิดดูดฝุ่น<br />

ในห้อง ถามว่าในตู้เย็นมีเบียร์เหลือกี่ขวด เป็นต้น บางครั้ง LINE LG-<br />

HomeChat รู้ว่าเรากำาลังจะออกไปข้างนอก อาจถามมาว่าต้องการปิด<br />

อุปกรณ์ต่างๆ ภายในบ้านหรือไม่? เมื่อเราตอบ “Yes” ระบบต่างๆ ก็<br />

จะปิดลง<br />

11<br />

LG ได้ร่วมมือกันกับ LINE และ Nest ในการพัฒนาระบบ LG HomeChat<br />

นี้ ทำาให้ผู้ใช้ไม่จำาเป็นจะต้องดาวน์โหลดแอปมาลงเพื่อใช้ในการควบคุม<br />

อุปกรณ์ต่างๆ ให้ยุ่งยาก เพียงแค่เปิดแอป LINE และร่วมการสนทนา<br />

ออกคำาสั่งคุยกับอุปกรณ์ต่างๆ ของทาง LG ได้เลย<br />

ปลายปี 2564 Jarton เปิดตัวแอปพลิเคชัน “Jarton Home” Platform IoT<br />

ครบวงจรสัญชาติไทยที่สามารถควบคุมอุปกรณ์บ้านอัจฉริยะจากทั่วโลก<br />

ครอบคลุมมากกว่า 100 แบรนด์ อาทิ AIS, Cotto, Jarton, Lamptitude,<br />

Lumax by L & E, MEX, Sanwa, Schneider, Somfy, Toshino, Uni-Aire<br />

เป็นต้น ใช้งานได้ทั้ง Mobile Application และ Web Application รองรับ<br />

การสั่งเสียงทั้ง Apple Watch, Apple Home Kit, Samsung Smart Things<br />

ตั้งเป้าหาพันธมิตรร่วมทุนเพื่อเสริมความแข็งแกร่ง มุ่งขยายงานสู่ระดับ<br />

อาเซียน มั่นใจผลักดันตลาดบ้านอัจฉริยะที่มีมูลค่ามากกว่า 4,000 ล้าน<br />

บาท ให้ขยายตัวเพิ่ม 3-5 เท่า ภายใน 2 ปี Jarton Home ยังได้รับการ<br />

12<br />

Photo Reference<br />

11-14. ananda.co.th


WHAT DOES TODAY’S SMART HOME LOOK LIKE?<br />

133<br />

the house, measure the temperature of the water, and alert to email,<br />

SMS, or mobile application where the problem is.<br />

And how good would it be if home appliances could talk to us!<br />

LG HomeChat is no ordinary smart device at all as it connects to<br />

the internet or has an application to command but can chat and<br />

commute with us through the LINE application. The users add<br />

LG HomeChat account as a friend first and then issue an order<br />

to control the operation sent as a sentence which LG provides<br />

samples for us to use when and where we want. Then the LG<br />

HomeChat LINE account will reply to the command, reconfirm,<br />

and once we do, the order is completed. It will send command<br />

messages to various devices according to what we ordered –<br />

whether to turn on the television, turn on the vacuum cleaner in<br />

the room, check how many drinks are available in the fridge, etc.<br />

Sometimes it even knows we’re going out and may ask if we want<br />

to turn off devices in the house. When we say “Yes,” it will shut the<br />

system down.<br />

LG has also now partnered with LINE and Nest to develop the LG<br />

HomeChat system, enabling users to control the devices only by<br />

opening the LINE application and automatically starting to chat<br />

with those LG devices.<br />

13<br />

At the end of 2021, Jarton launched the application “Jarton Home,”<br />

a fully integrated IoT platform from Thailand that can control<br />

smart home devices worldwide, covering more than 100 brands,<br />

including AIS, Cotto, Jarton, Lamptitude, Lumax by L&E, MEX. ,<br />

Sanwa, Schneider, Somfy, Toshino, Uni-Aire, etc. This platform<br />

can be used with both mobile and web applications, supporting<br />

voice commands for Apple Watch, Apple Home Kit, Samsung<br />

Smart Things. Jarton aims to seek joint venture partners to expand<br />

to the ASEAN region and make the smart home market, which is<br />

currently worth more than 4,000 million baht to grow 3-5 times<br />

within two years. Jarton Home is also supported by the Digital<br />

Economy Promotion Agency under the Ministry of Digital Economy<br />

and Society (DEPA) to encourage Thai people to gain access to IoT<br />

systems or smart homes with lower costs, to bridge the technology<br />

gap, and to expand economic growth.<br />

There are also many other smart home appliances available in the<br />

market today that have been invented for sale, such as kettles that<br />

can be operated via apps to calculate the time to boil water and<br />

wait before users get home or even wake us up in the morning,<br />

a smart bed that can be adjusted to support the weight of each<br />

sleeper, analyze the data and adjust the conditions for the best<br />

sleep, a tree health monitor that reports the health of the trees<br />

we plant, a reminder for watering, fertilizing, bringing it to the<br />

sun. Automatic blinds operated by voice control or sun sensor or<br />

smartphone, quiet operation, and no electrical wiring required -<br />

powered by a high-quality rechargeable Li-ion battery that only<br />

needs charging once or twice a year.<br />

14


134<br />

materials<br />

สนับสนุนจากสำานักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล ในสังกัดกระทรวง-<br />

ดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (DEPA) เพื่อส่งเสริมให้คนไทยสามารถ<br />

เข้าถึงระบบ IoT หรือบ้านอัจฉริยะได้ด้วยต้นทุนที่ต่ำา ลดช่องว่างทาง<br />

เทคโนโลยี และขยายการเติบโตทางเศรษฐกิจ<br />

ยังมีอุปกรณ์เครื่องใช้อัจฉริยะภายในบ้านอื่นๆ ที่คิดค้นผลิตออกมา<br />

จำาหน่ายมากมาย เช่น กาต้มน้ำาที่สั่งการทำางานผ่านแอป คำานวณเวลา<br />

เพื่อต้มน้ำารอก่อนจะถึงบ้าน หรือปลุกเราในตอนเช้า, เตียงนอนที่มีความ<br />

สามารถปรับสภาพให้รองรับน้ำาหนักของแต่ละคน วิเคราะห์ข้อมูลของ<br />

ผู้นอน และปรับสภาวะเพื่อการหลับให้ดีที่สุด, เครื่องตรวจสุขภาพ<br />

ต้นไม้ที่คอยรายงานสุขภาพต้นไม้ที่เราปลูก แจ้งเตือนการรดน้ำา ใส่ปุ๋ย<br />

การนำาไปเจอแดด, ม่านอัตโนมัติที่ทำางานโดยการควบคุมด้วยเสียงหรือ<br />

เซ็นเซอร์ดวงอาทิตย์หรือสมาร์ทโฟน ทำางานเงียบไม่ต้องการการเดิน<br />

สายไฟฟ้า ใช้พลังงานจากแบตเตอรี่ลิเธียมไอออนแบบชาร์จซ้ำาคุณภาพ<br />

สูง ชาร์จเพียงปีละครั้งหรือสองครั้ง เป็นต้น<br />

ในห้องน้ำา<br />

ห้องน้ำาสาธารณะที่สวนนานาโกะ โดริ (Nanago Dori Park) โดย Kazoo-<br />

Sato โดดเด่นด้วยรูปแบบทรงกลมสีขาว ตอบโจทย์ยุคสมัยของการ<br />

ไร้สัมผัส ห้องน้ำาที่สั่งงานด้วยเสียง “Hi Toilet” (VOICE COMMAND-<br />

Toilet) มีแนวคิดมานานก่อนการแพร่ระบาดของไวรัส Covid-19<br />

สุขภัณฑ์อัจฉริยะจาก Toto ที่คิดค้นและพัฒนาไปกับฟังก์ชันอัจฉริยะ<br />

อันหลากหลายเพื่อตอบสนองความสะดวกสบายในชีวิต ฝารองนั่งเปิด-<br />

ปิดอัตโนมัติ ระบบชำาระล้างอัตโนมัติหลังการใช้งาน ระบบกำาจัดกลิ่น<br />

ไม่พึงประสงค์ทำาการฟอกกลิ่นภายในโถสุขภัณฑ์ ทั้งขณะและหลังการ<br />

ใช้งาน ละอองน้ำาที่พ่นบนพื้นผิวภายในโถสุขภัณฑ์ก่อนการใช้งาน เพื่อ<br />

ให้ทำาความสะอาดสิ่งสกปรกได้อย่างง่ายดาย น้ำาบริสุทธิ์ที่ผ่าน Electrolyzed<br />

ช่วยขจัดคราบสิ่งสกปรก แม้แบคทีเรียที่มองไม่เห็นด้วยตาเปล่า<br />

ก้านฉีดชำาระทำาความสะอาดตัวเองทั้งภายในและภายนอกโดยอัตโนมัติ<br />

เพื่อคงความสะอาดถูกสุขอนามัย อีกทั้งลดการใช้สารเคมีเพื่อโลกที่ดี<br />

ยิ่งขึ้น สุขภัณฑ์อัจฉริยะไม่ได้เป็นเรื่องใหม่ได้เข้ามามีบทบาทในบ้าน<br />

ระยะหนึ่งแล้ว และยังมีการพัฒนามาอย่างต่อเนื่องด้วย<br />

ลิฟต์ในบ้านไม่ใช่เรื่องไกลตัวแล้วในปัจจุบัน การที่บ้านสองชั้นขึ้นไปมี<br />

ผู้อยู่อาศัยเป็นผู้สูงอายุ ผู้พิการ หญิงตั้งครรภ์ การขึ้น-ลงบันไดอาจ<br />

ทำาได้ยากกว่าปกติ ลิฟต์บ้านจึงเป็นตัวช่วยให้บุคคลเหล่านี้สามารถใช้<br />

ชีวิตภายในบ้านได้อย่างสะดวกสบายและปลอดภัยมากยิ่งขึ้น<br />

ลิฟต์สมัยใหม่ออกแบบให้ทันสมัยสวยงาม ได้มาตรฐานความปลอดภัย<br />

เป็นไปตามข้อกำาหนด ใช้พลังงานไฟฟ้าต่ำา มาพร้อมกับระบบไฟฟ้า<br />

สำารองพร้อมที่จะทำางานเมื่อไฟฟ้าดับ เทคโนโลยีในปัจจุบันทำาให้ลิฟต์<br />

ไม่ต้องการโครงสร้างที่ซับซ้อน ลดความยุ่งยากในการติดตั้ง ไม่ต้อง<br />

การบ่อลิฟต์ ประหยัดพื้นที่สามารถทำาได้ในพื้นที่จำากัด ลดค่าใช้จ่ายใน<br />

การในการทำาปล่องลิฟต์<br />

In the Restrooms<br />

Under the sphere form in pure white, the public toilet at Nanago<br />

Dori Park, designed by Kazoo Sato, is a smart toilet responding<br />

to the state of the art technology. It’s contactless, activated by<br />

voice command - an idea long before the spread of the Covid-19<br />

pandemic.<br />

Equipped with smart sanitary wares from Toto that were invented<br />

and developed with a variety of smart functions, this toilet was<br />

designed to meet the convenient lifestyle. The seat cover opens<br />

and closes automatically. An automatic flushing system after use<br />

with the odor elimination system purifies the inside of the toilet<br />

bowl during and after use. Spraying water on the surface inside<br />

the toilet bowl before use to clean the dirt electrolyzed purified<br />

water helps remove impurities and bacterias invisible to the naked<br />

eye. The spray wand automatically cleans itself inside and out to<br />

maintain cleanliness and hygiene and reduce the use of chemicals<br />

for a better world. Smart sanitary ware is not a new thing. It has<br />

been playing a role in the home for a while now and has been<br />

continuously developed.<br />

Home Elevators<br />

Home elevators are not that far away these days. The fact that<br />

houses that are two floors or more with elderly, disabled, pregnant<br />

women cause users to go up and downstairs with difficulty. The<br />

home lift is thus helping these people to live more comfortably and<br />

safely in their homes. Unlike those old days, modern elevators are<br />

designed to be stylish and beautiful. It meets the safety standards<br />

according to the requirements, and low power consumption comes<br />

with an uninterruptible power system, ready to work in a power<br />

failure.<br />

Today’s technology makes elevators easier to deal with in terms of<br />

structure, can be simply installed, and may not need an elevator<br />

space as before, so can achieve installation in confined spaces,<br />

which means the owner can also reduce the cost of building an<br />

elevator shaft.<br />

The control system considers that users, whether elderly or<br />

disabled, can be set up for use in various ways, including limiting<br />

for particular users, access to specific floors, etc. By connecting<br />

smart devices, today’s smart home lift can also command through<br />

the IoT system.<br />

Installing an intelligent home technology system provides<br />

homeowners with comfort. Rather than controlling appliances,<br />

temperature, lights, and other features using different devices, now<br />

homeowners can manage all of the above by using just one device,<br />

usually a smartphone or tablet.


WHAT DOES TODAY’S SMART HOME LOOK LIKE?<br />

135<br />

15<br />

16<br />

Photo Reference<br />

15. ananda.co.th<br />

16. tokyotoilet.jp


136<br />

materials<br />

17<br />

18<br />

Photo Reference<br />

17-19. archdaily.com<br />

19


WHAT DOES TODAY’S SMART HOME LOOK LIKE?<br />

137<br />

การออกแบบระบบควบคุมคำานึงถึงผู้ใช้งานไม่ว่าจะเป็นผู้สูงอายุ ผู้พิการ<br />

สามารถตั้งค่าเพื่อการใช้งานในลักษณะต่างๆ เช่น การจำากัดสิทธิ์ผู้ใช้<br />

การเข้าถึงเฉพาะชั้น เป็นต้น อีกทั้งยังสามารถสั่งการผ่านระบบ IoT โดย<br />

การเชื่อมต่อ Smart Device<br />

การติดตั้งระบบเทคโนโลยีบ้านอัจฉริยะช่วยให้เจ้าของบ้านมีความ<br />

สะดวกสบาย แทนที่จะควบคุมเครื่องใช้ ควบคุมอุณหภูมิ ไฟแสงสว่าง<br />

และคุณสมบัติอื่นๆ โดยใช้อุปกรณ์ที่แตกต่างกัน เจ้าของบ้านสามารถ<br />

ควบคุมอุปกรณ์ทั้งหมดได้โดยการใช้เพียงอุปกรณ์เครื่องเดียว ซึ่งโดย<br />

ปกติคือสมาร์ทโฟนหรือแท็บเล็ต<br />

เนื่องจากเชื่อมต่อกับอุปกรณ์พกพา ผู้ใช้จึงสามารถรับการแจ้งเตือนและ<br />

อัปเดตเกี่ยวกับเรื่องราวที่เกิดขึ้นในบ้านได้ ตัวอย่างเช่น กริ่งประตูอัจฉริยะ<br />

ช่วยให้เจ้าของบ้านมองเห็นและสื่อสารกับผู้ที่มาที่ประตูบ้านได้แม้ใน<br />

เวลาที่พวกเขาไม่อยู่บ้าน ผู้ใช้สามารถตั้งค่าและควบคุมอุณหภูมิภายใน<br />

แสงสว่าง และอุปกรณ์ต่างๆ ได้เช่นกัน ระบบอัจฉริยะช่วยให้เจ้าของบ้าน<br />

สามารถใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ได้อย่างมีประสิทธิภาพมาก<br />

ขึ้น ลดต้นทุนทางด้านพลังงาน<br />

แม้ว่าบ้านอัจฉริยะจะมอบความสะดวกสบายและประหยัดค่าใช้จ่าย<br />

แต่ก็ยังมีความท้าทายอยู่ ความเสี่ยงทางด้านความปลอดภัยและ<br />

จุดบกพร่องยังคงเป็ นภัยต่อผู้ผลิตและผู้ ใช้เทคโนโลยี ตัวอย่างเช่น<br />

แฮกเกอร์ที่เชี่ยวชาญสามารถเข้าถึงอุปกรณ์ที่เปิ ดใช้งานอินเทอร์เน็ต<br />

ของบ้านอัจฉริยะได้ มาตรการเพื่อลดความเสี่ยงของการโจมตี<br />

ดังกล่าว ได้แก่ การปกป้ องอุปกรณ์และอุปกรณ์อัจฉริยะด้วยรหัส<br />

ผ่านที่รัดกุม การใช้การเข้ารหัสเมื่อมีให้ ใช้งาน และการเชื่อมต่อ<br />

อุปกรณ์ที่เชื่อถือได้กับเครือข่ายเท่านั้น<br />

Since the system is connected to a mobile device, users can<br />

receive notifications and updates on what’s going on in their<br />

house. For example, smart doorbells allow homeowners to see and<br />

communicate with people at their door even when they’re away.<br />

Users can set and control desirable indoor temperature, lighting,<br />

and devices as well. Smart systems allow homeowners to use<br />

appliances and all those electronic equipment more efficiently,<br />

reducing energy costs.<br />

Although smart homes offer convenience and cost<br />

savings, such challenges remain there. Security risks<br />

and bugs continue to threaten manufacturers and<br />

technology users. For example, savvy hackers can<br />

access smart homes’ Internet-enabled devices. Simple<br />

measures to reduce the risk of such attacks include<br />

protecting the devices and smart devices with strong<br />

passwords, using encryption when available, and only<br />

connecting trusted devices to the network.<br />

Finally, each member in the house has to learn and get<br />

used to new things in daily life. Yet there are all those<br />

questions about how long intelligent technology will<br />

last with us, what new things will happen that will<br />

cause us to upgrade to demolish our home and do it over<br />

and over again? Probably better once in a while!<br />

สุดท้ายทุกคนในบ้านต้องทำาความคุ้นเคยเรียนรู้กับสิ ่งที่เข้ามาใหม่<br />

ในชีวิตประจำาวัน และยังมีคำาถามว่าเทคโนโลยีอัจฉริยะนั้นจะมีอายุ<br />

อยู่กับเราไปได้ยาวนานเพียงใด อะไรใหม่ๆ ที่เกิดขึ ้นจะทำาให้ต้องมา<br />

Upgrade มารื้อบ้านเราแล้วทำาใหม่ครั้งแล้วครั้งเล่า? ...น่าจะ<br />

นานๆ ครั้ง<br />

ปฏิกร ณ สงขลา<br />

เป็ นสถาปนิกอาวุโส<br />

บริษัท สถาปนิก 49 จำากัด<br />

มีประสบการณ์ ทำ างาน<br />

มากกว่า 35 ปี ปั จจุบัน<br />

ยังเป็ นหัวหน้าโครงการ<br />

ISA Material Info Series<br />

กิจกรรมส่ งเสริมข้อมูล<br />

ความรู้เกี่ยวกับวัสดุและ<br />

เทคโนโลยีการก่อสร้าง<br />

ของสมาคมสถาปนิกสยาม<br />

ในพระบรมราชูปถัมภ์<br />

Patikorn Na Songkhla<br />

is a Senior Architect at<br />

Architects 49 Limited,<br />

with more than 35 years<br />

of work experience.<br />

Currently he Also serves<br />

as Head of ISA Material<br />

Info Series, activities to<br />

promote information<br />

and knowledge about<br />

construction materials<br />

and technology of the<br />

Association of Siamese<br />

Architects under royal<br />

patronage.


138<br />

Moen<br />

Smart Water Network<br />

Moen ไดออกโปรดักท์ใหมเป็นกอกน้ำอัจฉริยะ<br />

รุนลสุด Moen Smart Faucet พรอมระบบ<br />

ควบคุมกรเคลื่อนไหว ฟีเจอร์ใหมนี้เพิ่มกร<br />

ทำงนแบบไรมือจับโดยใชท ทงกรเคลื่อนไหว<br />

เพื่อควบคุมอุณหภูมิและกรไหล แต ถยังไม<br />

คุนเคยกับระบบก็สมรถเลือกรุนที่มีมือจับได<br />

ตมตองกร<br />

ผูใชงนสมรถโบกมือและแสดงกรเคลื่อนไหว<br />

ที่ดนหนของเซ็นเซอร์เพื่อรับน้ำรอน น้ำอุน<br />

หรือน้ำเย็น โดยผูใชสมรถตั้งคอุณหภูมิ<br />

เริ่มตนรวมถึงปรับแตงททงเพิ่มเติมไดผน<br />

แอพของ Moen Smart Water กอกน้ำรุนใหม<br />

นี้ยังสมรถเปิดใชงนดวยเสียง (ดวย Amazon<br />

Alexa และ Google Assistant) และสมรถ<br />

กรแสดงกรวัดคและอุณหภูมิที่แมนยำ เชน<br />

สมรถขอน้ำ 100 องศหนึ่งถวยได รวมทั้ง<br />

materials<br />

ตั้งคลวงหนสำหรับคำสั่งทั่วไป เชน อุณหภูมิ<br />

และปริมตรที่แตกตงกันสำหรับหมอกแฟ<br />

กับน้ำหนึ่งขวด<br />

Moen ยังรวมระบบกอกน้ำอัจฉริยะกับผลิตภัณฑ์<br />

น้ำอัจฉริยะอื่นๆ และเครือขย Smart Water<br />

ใหม ซึ่งเป็นระบบนิเวศน้ำอัจฉริยะสำหรับที่<br />

อยูอศัยซึ่งมีศูนย์กลงอยู ที ่ Flo Smart Water<br />

Monitor และ Shutoff ของ Moen หกบนมี<br />

เครื่องตรวจสอบน้ำอัจฉริยะและกอกน้ำ Moen<br />

และ / หรือฝักบัวอัจฉริยะติดตั้งไว อุปกรณ์<br />

เหลนี้จะสมรถสื่อสรกันได โดย Smart-<br />

Water Monitor นี้ติดตั้งบนสยจยน้ำหลัก<br />

ของบนและติดตมกรไหลของน้ำ แรงดัน<br />

และอุณหภูมิเพื่อแจงผูอศัยในบนถึงกร<br />

รั่วไหล ทอแตก และปัญหอื่นๆ ที่อจเกิด<br />

ขึ้นได<br />

Moen has revealed its latest smart faucet,<br />

the Moen Smart Faucet with Motion<br />

Control. The new feature adds completely<br />

handle-free operation, using gestures<br />

to control the temperature as well as a<br />

flow, but the users can still have a handle<br />

if they really want one.<br />

The idea is the user operates the faucet<br />

using swipe and push motions in front of<br />

the sensor to get hot, warm, or cold water.<br />

The Moen Smart Water App would<br />

let the user set the default temperatures,<br />

as well as customize the gestures further.<br />

The new faucet has all the features of the<br />

existing Moen Smart Faucet, including<br />

voice activation (with Amazon Alexa and<br />

Google Assistant). There’s also the ability<br />

to dispense precise measurements and<br />

temperatures, so users can ask for one<br />

cup of 100-degree water, as well as set<br />

presets for common commands such as<br />

the right temperature and volume to fill a<br />

coffee pot versus a water bottle.<br />

Moen also announced integrations<br />

between its smart faucet and other<br />

smart water products and its new Smart<br />

Water Network, a residential smart water<br />

ecosystem centered around Moen’s Flo<br />

Smart Water Monitor and Shutoff. If a<br />

house has a smart water monitor and<br />

a Moen faucet and/or smart shower<br />

installed, the devices should soon be<br />

able to communicate with each other to<br />

help winterize the system and prevent<br />

burst pipes by flushing the water lines.<br />

The Smart Water Monitor installs on<br />

a home’s main water supply line and<br />

monitors the water flow, pressure, and<br />

temperature to notify home dwellers of<br />

leaks, burst pipes, and other potential<br />

issues.<br />

moen.com


139<br />

Masonite<br />

Smart Door<br />

Masonite เป็นหนึ่งในผูผลิตประตูภยในและ<br />

ภยนอกชั้นนำระดับโลก เมื่อเร็วๆ นี้ไดเปิดตัว<br />

ประตูอัจฉริยะสำหรับที่อยูอศัยเป็นครั้งแรก<br />

M-Pwr Smart Door เป็นกรรวมมือกันระหวง<br />

Masonite, Ring และ Yale เป็นประตูภยนอก<br />

ที่อยูอศัยแหงแรกที่รวมพลังงน ไฟ เซ็นเซอร์<br />

กริ่งประตูแบบวิดีโอ และล็อคอัจฉริยะเขกับ<br />

ระบบประตู เทคโนโลยีที่ใชในประตูนี้ประกอบ<br />

ดวยกริ่งวิดีโอ Ring, สมร์ทล็อค Wi-Fi และ<br />

Masonite is a leading global manufacturer<br />

of interior and exterior doors.<br />

Recently it has showcased the first<br />

residential smart door, highlighting the<br />

home building industry’s shift toward<br />

embracing connected technology.<br />

A collaboration between Masonite, Ring,<br />

and Yale, the M-Pwr Smart Door is the<br />

first residential exterior door to integrate<br />

power, lights, sensors, a video doorbell,


140<br />

materials<br />

and a smart lock into the door system.<br />

The tech packed into this wooden frame<br />

includes a Ring Video doorbell, a Wi-Fi<br />

and Bluetooth Yale Assure smart lock,<br />

a Wi-Fi and Bluetooth powered PIR<br />

motion sensor, a door state sensor that<br />

uses the sensor array from the doorbell<br />

to determine if the door is open or<br />

closed, and motion-activated LED lighting<br />

embedded in the door’s threshold.<br />

The door also has its own smart hub<br />

inside to facilitate connections and a<br />

built-in backup battery to keep everything<br />

running for up to 24 hours in the<br />

event of a power outage.<br />

Bluetooth Yale Assure, เซ็นเซอร์ตรวจจับ<br />

ควมเคลื่อนไหว PIR ที่ขับเคลื่อนดวย Wi-Fi<br />

และ Bluetooth, เซ็นเซอร์สถนะประตูที่ใช<br />

เซ็นเซอร์จกกริ่งประตูเพื่อตรวจสอบวประตู<br />

เปิดหรือปิดอยู และไฟ LED แบบเคลื่อนไหว<br />

ที่ฝังอยูที่ธรณีประตู ประตูยังมีระบบอัจฉริยะ<br />

อยูภยในเพื่ออำนวยควมสะดวกในกรเชื่อม<br />

ตอและแบตเตอรี่สำรองในตัว เพื่อใหทุกอยง<br />

ทำงนไดนนถึง 24 ชั่วโมงในกรณีที่ไฟฟ้ดับ<br />

กรสรงประตูบนอัจฉริยะเป็นควมททย<br />

กวที่ใครๆ คิด โดยเฉพะอยงยิ่งกรจัดกร<br />

พลังงนและโมดูลกรเชื่อมตอที่เป็นพื้นฐน<br />

สำหรับแนวคิดนี้ กรออกแบบระบบเคเบิลและ<br />

กระบวนกรจัดกรสยเคเบิล กรประกอบ<br />

สวนประกอบทั้งหมดใชเวลมกกวหนึ่งปีใน<br />

กรพัฒน แมปัจจุบันผลิตภัณฑ์จะตองไดรับ<br />

กรติดตั้งอยงระมัดระวัง และยังตองอศัย<br />

ชงมืออชีพจัดกรทุกอยง แตถือไดวเป็น<br />

อีกกวหนึ่งไปสูบนและอครที่พักอศัย<br />

อัจฉริยะแบบครบวงจร<br />

Building a smart residential door turned<br />

out to be a bigger challenge than anticipated,<br />

particularly the power management<br />

and connectivity module that’s<br />

the basis for the concept. According to<br />

Moen, designing the cable system and<br />

cable management process assembling<br />

all the components took more than a<br />

year for development. Currently, the<br />

product will be strictly pro-install and<br />

also need an electrician on hand to wire<br />

everything, but it’s a bold move toward<br />

the fully integrated smart home and<br />

smart residential buildings.<br />

masonite.com


TESLA<br />

PowerWall<br />

Home Battery<br />

141<br />

As Tesla developed batteries for its<br />

electric car business, the company<br />

also started experimenting with using<br />

batteries for energy storage. In 2015,<br />

the company announced that it would<br />

apply its technology to a home energy<br />

storage system, the Powerwall. The<br />

device would allow customers to store<br />

electricity for solar self-consumption,<br />

time of use load shifting, and backup<br />

power.<br />

เมื่อ Tesla พัฒนแบตเตอรี่สำหรับรถยนต์<br />

ไฟฟ้ บริษัทก็เริ่มทดลองกรใชแบตเตอรี่เพื่อ<br />

กักเก็บพลังงน ในปี 2015 บริษัทไดประกศ<br />

วจะใชเทคโนโลยีกับระบบกักเก็บพลังงน<br />

ภยในบนอยง Powerwall อุปกรณ์ที่จะชวย<br />

ใหลูกคสมรถเก็บไฟฟ้ไวใชเองดวยพลังงน<br />

แสงอทิตย์ เวลใชงน กรเปลี่ยนโหลด และ<br />

พลังงนสำรอง<br />

Tesla Powerwall เป็นผลิตภัณฑ์กักเก็บพลัง-<br />

งนในบนแบบอยูกับที่ดวยแบตเตอรี่ลิเธียม<br />

ไอออนแบบชร์จไฟได ซึ่งผลิตโดย Tesla<br />

Powerwall เก็บไฟฟ้ไวใชเองดวยพลังงน<br />

แสงอทิตย์ เมื่อโครงขยไฟฟ้ดับ ไฟในบน<br />

ก็ยังเปิดอยู ระบบจะตรวจจับไฟดับและชร์จ<br />

ใหมโดยอัตโนมัติดวยแสงแดดเพื่อใหเครื่องใช<br />

ในบนยังคงทำงนไดเป็นเวลหลยวัน ควม<br />

เรียบงยของ Powerwall ทำใหสมรถเขกับ<br />

บนไดทุกสไตล์ โครงสรงแบบ all-in-one<br />

ขนดกะทัดรัดทำใหสมรถติดตั้งไดงยและ<br />

หลกหลย สำหรับพื้นที่ในรมหรือกลงแจง<br />

ในปี 2020 Tesla เริ่มโครงกร Powerwall+<br />

ซึ่งเป็นอุปกรณ์ที่รวมฟังก์ชั่นของ Powerwall2,<br />

Tesla Backup Gateway และ Tesla Solar<br />

Inverter โดยกรผสมผสนนี้ทำใหกรติดตั้ง<br />

งยขึ้นและชวยใหสงพลังงนไดดียิ่งขึ้นในชวง<br />

ที่มีแสงแดดจัด<br />

Tesla Powerwall is a rechargeable lithium-ion<br />

battery stationary home energy<br />

storage product manufactured by<br />

Tesla. The Powerwall stores electricity<br />

for solar self-consumption, time of use<br />

load shifting, and backup power. when<br />

the grid goes down the power in the<br />

house stays on. The system detects<br />

outages and automatically recharges<br />

with sunlight to keep home appliances<br />

running for days. Powerwall complements<br />

a variety of home styles and<br />

solar systems. The compact, all-inone<br />

construction features versatile<br />

mounting options for indoor or outdoor<br />

spaces.<br />

In 2020, the company started filing for<br />

building permits for projects that would<br />

use the Powerwall+, a device that<br />

combines the functions of a Powerwall<br />

2, the Tesla Backup Gateway and the<br />

Tesla Solar Inverter. The combination<br />

simplifies installation and allows for<br />

even greater power delivery during<br />

periods of full sun.<br />

tesla.com


142<br />

AICA<br />

AICA ผู้ผลิตวัสดุปิดผิว เรผสมผสนพลังแห่ง<br />

กรออกแบบที่สร้งสรรค์และควมสมบูรณ์<br />

แบบของฟังก์ชันกรทำงนเพื่อสร้งแรง-<br />

บันดลใจและจินตนกร AICA BIM solution<br />

ช่วยให้นักออกแบบทั่วโลกสมรถเข้สู่โลก<br />

ดิจิทัลของงนก่อสร้งได้อย่งง่ยดย และ<br />

เข้ถึงสินค้ได้อย่งรวดเร็ว เพื่อเพิ่มศักยภพ<br />

และคุณภพของกรออกแบบ<br />

AICA จะยังคงตอบสนองควมท้ทยของ<br />

เทคโนโลยีใหม่ๆ ผ่นกรจัดกรที่สร้งสรรค์<br />

อย่งมั่นคง เรมุ่งมั่นที่จะสร้ งพื้นที่ชีวิตที่น่ -<br />

ตื่นตตื่นใจด้วยกรออกแบบที่เป็นนวัตกรรม<br />

ใหม่ๆ สร้งเทรนด์ใหม่ๆ และยังเป็นพลังแห่ง<br />

กรออกแบบตกแต่งภยในร่วมสมัยที่ทันสมัย<br />

AICA decorative surfacing materials<br />

manufacture, we combine the electricity<br />

of creative design and the<br />

perfection of functionality to inspire<br />

one’s imagination AICA BIM solution<br />

support designer around the world<br />

can enter the digital world of<br />

construction easily and help them<br />

to accelerates product selections,<br />

improve the speed and quality of<br />

specification.<br />

AICA will continue to meet the challenge<br />

of new technologies through<br />

creative management firmly. We are<br />

determined to exceed expectations in<br />

creating amazing life spaces with new<br />

innovative designs, establishing new<br />

trends and remaining a rising force in<br />

modern contemporary interior design.<br />

AICA ASIA LAMINATES HOLDING CO., LTD<br />

T: +66 2<strong>05</strong>9 7185<br />

F: +66 2<strong>05</strong>9 7186<br />

E: INFO@AICA-AL.COM<br />

W: WWW.AICA-AL.COM<br />

BIM<br />

Download<br />

materials<br />

SCG D’COR<br />

SCG D’COR ผู้ผลิตวัสดุตกแต่งทงเลือกใหม่<br />

ที่ไม่เพียงแต่ผลักดันกรยกระดับมตรฐนงน<br />

ก่อสร้งของประเทศไทยให้เป็นมิตรแก่สิ่งแวดล้อม<br />

ในทุกกระบวนกรก่อสร้ง และเน้นกรใช้<br />

ทรัพยกรหมุนเวียนให้สอดคล้องไปกับหลัก ESG<br />

SCG ยังสนับสนุนกรนำ BIM Solution หรือ<br />

เทคโนโลยีจำลองสรสนเทศสำหรับอครใน<br />

รูปแบบดิจิตอลมให้กลุ่มลูกค้และนักออกแบบ<br />

ได้เลือกนำไปประยุกต์ใช้กับกรทำงน รวมถึง<br />

ควบคุมงนก่อสร้งให้เกิดประสิทธิภพยิ่งขึ้นด้วย<br />

ซึ่งเป็นอีกหนึ่งแนวทงที่ช่วยเอื้อทั้งกรทำงน<br />

และกรเข้ถึงผลิตภัณฑ์ต่ งๆ ของ SCG ได้อย่ง<br />

สะดวกสบย<br />

SHERA<br />

จกพื้นถึงฝ้ จกผนังถึงหลังค ทุกๆ ส่วนของ<br />

อคร SHERA มุ่งมั่นที่จะผลักดันทุกจินตนกร<br />

ของคุณ SHERA Design Partner พร้อมที่จะเ<br />

ป็นส่วนหนึ่งในทุกแนวควมคิด ทำงนร่วมกับ<br />

สถปนิกและดีไซน์เนอร์เพื่อเป็นผู้ช่วยให้ผู้-<br />

ออกแบบ เลือกใช้สิ่งที่เหมะสมที่สุดตอบรับทุก<br />

แรงบันดลใจและกรสร้งสรรค์ผลงนใหม่ๆ<br />

SHERA BIM Solution ระบบ BIM จะเข้มรองรับ<br />

กรทำงนทุกรูปแบบ ทั้งวัสดุ กรติดตั้งและข้อมูล<br />

สินค้ เพื่อให้ผู้ออกแบบ เลือกใช้วัสดุได้หลก<br />

หลย ทำงนสะดวก เกิดแรงบันดลใจ และ ใช้<br />

งนได้จริง ตอบโจทย์ทุกกรทำงนพร้อมปรับ<br />

เปลี่ยนและยืดหยุ่นได้ตมที่ต้องกร<br />

SCG D’COR, the developer and manufacturer<br />

of alternative decorative materials,<br />

has been a driving force behind the<br />

improvement of Thailand’s construction<br />

standard. One of its attempts is for the<br />

architectural and construction industry<br />

to take environmental impacts caused by<br />

construction processes into a serious account,<br />

including the emphasis on the circular<br />

approach to material usage, coinciding<br />

with the ESG principles. Not only that,<br />

SCG has been an avid advocate of BIM<br />

Solution, the digital building information<br />

modeling technology that enables clients<br />

and designers to achieve a more efficient<br />

management of construction processes.<br />

The technology also serves as one of the<br />

ways that can help facilitate workflow efficiency,<br />

and a better and more convenient<br />

access to SCG’s products.<br />

SIAM FIBRE CEMENT GROUP CO.,LTD.<br />

T: +662 586 <strong>22</strong><strong>22</strong><br />

F: +662 586 2121<br />

E: CONTACT@SCG.COM<br />

W: FACEBOOK.COM/SCGBRAND<br />

BIM<br />

Download<br />

From floor to ceiling, from wall to the<br />

roof, SHERA pushes forward your<br />

imaginations to bring them to life. With<br />

SHERA Design Partner service, we work<br />

together with architects and designers<br />

across the world and assist them in<br />

creating the better build environment;<br />

sharing and inspiring their creativity<br />

as a true partner for every design.<br />

SHERA BIM SOLUTION ; Bim will support<br />

designer’s works in all styles including,<br />

model, installation and information.<br />

Even for work’s inspiration and comfortable<br />

to using SHERA BIM SOLUTION is<br />

flexible for all creative design.<br />

SHERA PUBLIC COMPANY LIMITED<br />

T: +66 <strong>22</strong>89 9888<br />

E: CALLCENTER@SHERA.COM<br />

W: WWW.SHERA.COM<br />

BIM<br />

Download


143


144<br />

PROFESSIONAL<br />

The<br />

Detail<br />

of<br />

Simplicity<br />

<strong>ASA</strong> Professional talks with Weerapat<br />

Chokedeetaweeanan, Managing Director of Studio<br />

Tofu a relatively small practice with a substantially<br />

growing portfolio, whose inspiring mission to<br />

develop users-oriented residential projects comes<br />

from the belief that a good home is the foundation<br />

of a good life.<br />

Text: Nuttawadee Suttanan<br />

Photo Courtesy of Studio Tofu


145<br />

01<br />

ทีมงานออกแบบ<br />

Studio Tofu 1


146<br />

professional<br />

2<br />

วันนี้ <strong>ASA</strong> PROFESSIONAL มีโอกาสได้พู ดคุยกับ<br />

“บอน-วีรภัฎ โชคดีทวีอนันต์ ” กรรมการผู้จัดการ<br />

บริษัท โตฟู จากัด บริษัทออกแบบที่ผลงานไม่ได้เล็ก<br />

ตามขนาดของบริษัทและยังมีการต่อยอดจากความ<br />

สามารถที่มีอยู่ คือ การทาโครงการพัฒนาที่อยู่อาศัย<br />

ที่ต้องการพัฒนาที่อยู่อาศัยที่คานึงถึงคนที่อยู่อาศัย<br />

ด้วยแนวคิดที่ว่าถ้าทาที่อยู่อาศัยที่ดี ก็จะเป็ นพื้นฐาน<br />

ของชีวิตที่ดีได้<br />

“ความหมายของคาว่า ศิลปะและการออกแบบ มันก็<br />

ต่างไปโดยสิ้นเชิง”<br />

บอนจบการศึกษาระดับปริญญาตรีจากคณะมัณฑนศิลป์<br />

มหาวิทยาลัยศิลปากร หลังเรียนจบเขาได้ทางานอยู่ 3 ปี<br />

ก่อนจะตัดสินใจไปศึกษาต่อด้านสถาปัตยกรรมศาสตร์<br />

ผังเมืองที่สถาบัน Berlage ประเทศเนเธอร์แลนด์ การเรียน<br />

ที่สถาบัน Berlage นับเป็นก้าวแรกของการเปิดโลกกว้าง<br />

ของบอน เป็นจุดเริ่มต้นผลงานดีๆ ที่เกิดขึ้นของ Studio-<br />

Tofu และเป็นช่วงเวลาที่บอลย้าเสมอว่า “นี่คือช่วงเวลาที่ดี<br />

มากๆ ของเขา”<br />

“ในช่วงนั้น เนเธอแลนด์ก็ค่อนข้างเป็ นหนึ ่งในประเทศ<br />

ที่ทุกคนจับตามองด้านสถาปั ตยกรรม ที่ Berlage เป็ น<br />

เหมือนโรงเรียนที่พยายามจะไม่เป็ นโรงเรียน เขาใช้ชื่อ<br />

ว่า “สถาบัน” นักเรียนในแต่ละรุ่นก็ไม่เหมือนกัน ความ<br />

สนใจหรือว่าการถกเถียงก็จะต่างกัน โดยเฉพาะอย่าง<br />

ยิ่งเวลาเราไปถึงที่นั่นแล้ว ความหมายของคาว่า ศิลปะ<br />

และการออกแบบ มันก็ต่างไปโดยสิ้นเชิง มันเปิ ดโลก<br />

ค่อนข้างเยอะและนับว่าเป็ นช่วงเวลาที่ดี”<br />

หลังกลับจากเนเธอแลนด์ บอนเข้าทางานในบริษัทที่ปรึกษา<br />

ทางด้านผังเมือง ก่อนจะพบว่างานด้านผังเมืองในช่วงเวลา<br />

นั้นอาจไม่ใช่งานที่เหมาะกับเขา บอนจึงตัดสินใจออกมารับ<br />

งานอิสระ และเมื่องานเริ่มเป็นรูปเป็นร่างมากขึ้น จากการ<br />

ทางานคนเดียว เขาก็เริ่มมีผู้ช่วยคนที่หนึ่ง คนที่สอง และ<br />

เพิ่มจานวนขึ้นเรื่อยๆ จนกลายเป็น STUDIO TOFU ในทุก-<br />

วันนี้<br />

“อยากให้ชื่อ TOFU เป็ นสิ่งที่ทาให้ทุกคนรู้สึกว่าเรื่อง<br />

สถาปั ตยกรรมหรือการออกแบบไม่ได้เป็ นเรื่องไกลตัว”<br />

STUDIO TOFU ก่อตั้งขึ้นเมื่อประมาณปี 2550 หลังจาก<br />

บอนทางานฟรีแลนซ์ได้ประมาณสองปี ที่มาของชื่อ “TOFU”<br />

มาจากความต้องการตั้งชื่อบริษัทที่เข้าถึงคนได้ง่าย เพราะ<br />

เขาไม่อยากให้เรื่องการออกแบบเป็นเรื่องไกลตัวของคนทั่วไป<br />

“วันนั้นก็ไปกินอาหาร แล้วเจอคาว่า TOFU เราก็ชอบ<br />

ตัวอักษร 4 ตัวนี้ ออกเสียงไม่ยาก เขียนง่าย แล้วเรา<br />

ทางานค่อนข้างรายละเอียดเยอะ แล้วก็คาว่า TOFU<br />

คนก็จะคิดถึงก้อนเหลี่ยมๆ ขาวๆ ชืดๆ หน่อย จืดๆ เรา<br />

ก็คิดว่าเราท างานตรงข้ามเลย เลยคิดว่าเป็ นเเบบเหมือน<br />

กับความขัดแย้งที่เลือกน ามาใช้ แล้วก็อยากให้ชื่อ TOFU<br />

เป็ นสิ ่งที่ทาให้ทุกคนรู้สึกว่าเรื่องสถาปั ตยกรรมหรือการ<br />

ออกแบบไม่ได้เป็ นเรื่องไกลตัว”<br />

“เราเป็ นบริษัทขนาดเล็ก”<br />

บอนให้คานิยาม STUDIO TOFU ว่าเป็นบริษัทขนาดเล็ก<br />

ที่ทางานออกแบบสถาปัตยกรรมและออกแบบภายใน<br />

เป็นหลัก เวลาผ่านมา 12 ปี STUDIO TOFU มีการปรับ-


THE DETAIL OF SIMPLICITY<br />

147<br />

“Art and design hold entirely different meanings.”<br />

Weerapat graduated with a bachelor degree from the Faculty of Decorative Art, Silpakorn<br />

University. He got a job and worked for three years before deciding to further pursue his studies<br />

in architecture and urban design at The Berlage, the Netherlands. Studying at The Berlage<br />

was Weerapat’s first step into a much wider world, and marked the beginning of Studio Tofu’s<br />

impressive track records. Weerapat recalls the time as one of ‘the best periods of his life.”<br />

“At the time, the architectural movement in the Netherlands was something everyone<br />

kept their eyes on. The Berlage is like this school that doesn’t try to be a school. They<br />

call themselves an ‘institution’ and the students enrolling each year were very diverse<br />

with different interests, and they would have their own unique ways of perceiving<br />

and discussing things. When I was there, I could tell that art and design hold entirely<br />

different meanings. Being there really opened up my world. I think of my time there as<br />

one of the best periods of my life.”<br />

After returning from the Netherlands, Weerapat applied and got accepted to work at an urban<br />

planning consulting firm. He later realized that the job might not be for him and decided to quit<br />

to start working as a freelancer. Things progressed and fell more into place, leading him to go<br />

from working solo to having one, two and more people working with him. Eventually, STUDIO<br />

TOFU was born.<br />

“I want the word TOFU in the name to make people feel like architecture or design<br />

isn’t something far-fetched.”<br />

STUDIO TOFU was founded in 2007, around two years after Weerapat’s freelancing career<br />

took off. The ‘TOFU’ part of the name comes from his intention for the studio to feel more<br />

accessible to the general public, not wanting design to look like something intimidating or<br />

incomprehensible.<br />

“I was having a meal and saw the word ‘TOFU’ and I thought to myself, I like these<br />

four letters together. The word is easy to pronounce, easy to write. The word ‘tofu,’<br />

which gives off this image of a white, pale, plain looking rectangular form with<br />

bland taste, is something entirely opposite to the details that come with the work<br />

that I do, so there’s this contrast that I like. I want the name TOFU to make people<br />

feel like architecture or design isn’t something far-fetched or out-of-reach.”<br />

3<br />

“We are a small company.”<br />

Weerapat defines STUDIO TOFU as a small company working primarily in architectural and<br />

interior design. It’s been twelve years and STUDIO TOFU has gone through quite a few adjustments<br />

with its team members. There was a time when there were twelve people working<br />

together before Weerapat downsized the team to better suit the studio’s working style. There<br />

are currently six members on the STUDIO TOFU team, including Weerapat. One oversees the<br />

administrative works, document and accounting system and the remaining five are members of<br />

the design team, which comprises both architects and interior designers.<br />

02<br />

คุณบอน-วีรภัฏ<br />

โชคดีทวีอนันต์ กรรมการ<br />

ผู้จัดการ และทีมงาน<br />

Studio Tofu<br />

03<br />

บรรยากาศการทางาน<br />

ภายในออฟฟิศ<br />

“In terms of communication, management and our work process in general, I don’t<br />

think we are ready to have that many people working on our team so I think I will<br />

stick to what I’m the most comfortable with. And there are people who want to<br />

work with us because they like how we do things, so it’s better this way, keeping<br />

everything in the right process and order, choosing the right projects to work with.”<br />

With the company being rather small, the design team with both architects and interior designers<br />

are required to stay fully informed and understand both the architecture and interior design<br />

part of the projects. Such a method allows everyone on the team to see what is missing, keeping<br />

an eye on all the gaps in different parts of the job while still working together as a team.


148<br />

professional<br />

04<br />

ผลงานออกแบบ<br />

โครงการ The Bound<br />

Hous<br />

เปลี่ยนจานวนสมาชิกในทีมอยู่เป็นระยะ ช่วงเวลาหนึ่ง<br />

STUDIO TOFU เคยมีสมาชิกรวมกันถึง 12 คน ก่อนที่จะ<br />

ปรับลดขนาดทีมเพื่อให้เหมาะกับรูปแบบการทางานของ<br />

บริษัท และในปัจจุบัน STUDIO TOFU มีทีมทั้งหมด 6 คน<br />

รวมตัวเขาด้วย หนึ่งคนทาหน้าที่ธุรการที่ดูแลเอกสารและ<br />

ระบบบัญชี อีก 5 คนที ่เหลือคือทีมออกแบบซึ่งมีทั้งสถาปนิก<br />

และมัณฑนากร<br />

“ในด้านการสื่ อสาร การบริหารจัดการ ลาดับงานของ<br />

บริษัท ยังไม่ได้พร้อมที่จะเป็ นสิบกว่าคน ผมก็เลยคิดว่า<br />

เลือกเอาที่เราถนัด แล้วก็มีคนทางานที่อยากทาด้วยกัน<br />

แล้วชอบในการทางานลักษณะนี้ คิดว่าจะดีกว่า แล้วก็<br />

ทาลาดับงานดีๆ ดูงานที่เหมาะสม”<br />

ด้วยขนาดบริษัทที่ค่อนข้างเล็ก ทีมออกแบบที่มีทั้งสถาปนิก<br />

และมัณฑนากร จึงต้องเข้าใจงานทั้งสองส่วนคือทั้งในส่วน<br />

ของงานสถาปัตยกรรมและงานออกแบบภายใน การทางาน<br />

แบบนี้ทาให้ทุกคนในทีมได้มองเห็นช่องว่างในงานในส่วน<br />

ต่างๆ รวมทั้งสามารถทางานร่วมกับทีมอื่นๆ เพื่อให้ได้เป็น<br />

อย่างดี<br />

“ออกแบบภายในต้องทางานสถาปั ตยกรรมได้บ้าง<br />

บางคนเป็ นสถาปั ตยกรรมก็ต้องทางานออกแบบ<br />

ภายในได้บ้าง ซึ ่งที่เคยคุยกันเขาก็บอกว่ามันก็ดีตรง<br />

ที่เขาได้ลับสมอง ได้ฝึ กอีกรูปแบบหนึ ่ง ผมคิดว่าเวลา<br />

เขาไปทางานสถาปั ตยกรรม มันจะมีบางจุดที่เป็ นจุด-<br />

บกพร่องในงานออกแบบภายในหรือเปล่า หรือว่าเห็น<br />

ข้อดีที่จะส่งเสริมกัน หรือว่าบางทีคนทาออกแบบภายใน<br />

เขาก็จะรู้ว่าสิ่งที่เขาออกแบบมันไปกระทบกับงาน<br />

สถาปั ตยกรรมหรือเปล่า ซึ ่งเป็ นข้อดีของการทางาน”<br />

สาหรับคนที่จะมาเป็นส่วนหนึ่งของ STUDIO TOFU บอนให้<br />

ความสาคัญกับ “วินัยและความอดทน” มากกว่าความเก่ง<br />

ที่สาคัญที่สุดคือความพร้อมที ่จะเรียนรู ้ เปิดรับสิ่งใหม่ตลอด<br />

เวลา เพราะบอนถือว่าการทางานของ STUDIO TOFU ก็<br />

เปรียบเหมือนการเรียนรู้ตลอดเวลานั่นเอง<br />

“สาคัญเลยก่อนเก่งไม่เก่งคือวินัยกับอดทน น่าจะเป็ น<br />

ประเด็นแรกๆ แต่คนที่จะมุ่งมาทางนี้อยู่แล้วมันต้องที่<br />

รักจะมีความคิดสร้างสรรค์ ช่างคิด แล้วก็พร้อมที่จะ<br />

เปิ ดรับสิ่งใหม่ๆ อยู่ตลอดเวลา เราเองก็เป็ นแบบนั้น<br />

พร้อมที่จะเรียนรู้ตลอดเวลา เพราะเราก็คงเป็ นนักศึกษา<br />

ตลอดชีวิต เราก็จะได้เรียนรู้กับน้อง กับลูกค้า<br />

“เราต้องการที่จะทางานให้เกิดผลงาน เพราะการตลาด<br />

ที่ดีที่สุดคือต้องทางานให้ดี ให้เขาเห็นแล้วแนะนาต่อ”<br />

กลุ ่มลูกค้าในช่วงเริ่มต้นของ STUDIO TOFU คือการแนะนา<br />

จากเพื่อน ขยายกลุ ่มเป็นเพื่อนของเพื่อน เมื่อผลงานดี การ<br />

แนะนาต่อจึงเกิดขึ้นจนทาให้ STUDIO TOFU เป็นที่รู้จักกัน<br />

ในทุกวันนี้ และลูกค้าอีกกลุ่มที่บอนคิดว่าคือกลุ่มสาคัญที่ทา<br />

ให้เกิดผลงานดีๆ ของ STUDIO TOFU คือเจ้าของโครงการ<br />

ที่มีความเชี่ยวชาญในด้านต่างๆ และกลุ่มลูกค้าที่ให้โอกาส<br />

STUDIO TOFU ได้ทดลองทางานในรูปแบบใหม่ๆ อยู่ตลอด<br />

เวลา<br />

4<br />

“โดยนิสัยของเราที่ค่อนข้างละเอียด พอมาเจอคนที่<br />

ละเอียดกว่า เราก็เหมือนกับต้องพัฒนาตัวเองต่อไป<br />

เรื่อยๆ หรือว่าจะทากับเจ้าของโรงแรมที่เชี่ยวชาญด้าน<br />

โรงแรม เราก็เหมือนได้เรียนรู้เพราะเขาเฉพาะทางกว่า<br />

เรา บางจุดที่เป็ นงานเบื้องหลังหรือการบริหารจัดการ<br />

ที่ผู้ออกแบบนึกไม่ถึง คนพวกนี้จะเป็ นกลุ่มคนที่โต้ตอบ<br />

กับเรา และให้ข้อมูลในส่วนนั้นในเชิงลึก”<br />

งานของ STUDIO TOFU ไม่ใช่งานที่เน้นงานเฉพาะด้าน<br />

ผลงานของ STUDIO TOFU จึงค่อนข้างหลากหลาย ไม่ว่า<br />

จะเป็นบริษัท บ้าน คอนโด โรงแรม ศูนย์การค้า ร้านกาแฟ<br />

ร้านอาหาร แฟชั่นแบรนด์ ซึ่งทุกงานที่ออกมาเป็นการใช้<br />

ความรู้หลายแขนงที่เป็นความสนใจของทีมมาประยุกต์ใช้<br />

โดยที่ทุกอย่างนั้นการออกแบบจะอยู ่บนแกนหรือหลักความ-<br />

คิดเดียวกัน


THE DETAIL OF SIMPLICITY<br />

149<br />

“Our interior designers have to be able to handle the architecture, at least to a certain extent,<br />

and the architects have to know interior design to a certain point. We would talk about this<br />

from time to time, and everyone has said that they like how this way of working since it allows<br />

them to learn and practice on something that isn’t entirely their expertise. I think when a<br />

designer looks into the architectural part of a project, they can see certain flaws in the interior<br />

design better, and they can also see how certain elements complement each other. And<br />

vice versa, having a better understanding of how interior design works allows architects to<br />

know how the things they design affect the architecture. In the end, I think this method and<br />

approach is beneficial for everyone.”<br />

For the people who wish to be a part of STUDIO TOFU, “discipline and patience’ are what<br />

Weerapat finds to be more important than talent while the most significant trait of all is the<br />

willingness to learn and be open to new things. To Weerapat, the way STUDIO TOFU works is<br />

an ongoing learning process.<br />

“What’s more important than talent are discipline and patience. Those are the first<br />

qualities I look for. But the people who are determined to pursue a career in this line<br />

of work have to love to be creative, to think and always be ready to be open to new<br />

things. I’m like that. I’m always ready to learn because I think I will be a student for<br />

the rest of my life. I learn from working with my team and the clients.<br />

5<br />

“We want to work to create the actual works. The best marketing strategy is to do<br />

good work so that people can see for themselves and recommend your studio to<br />

others.”<br />

<strong>05</strong>-06<br />

พื้นที่และการตกแต่ง<br />

ภายในบ้าน<br />

Some of the first clients STUDIO TOFU had were through friends’ recommendation, then it<br />

became friends of friends. When the work is good, words spread, and STUDIO TOFU has<br />

gradually made a name for themselves. Another group of clients that Weerapat considers to<br />

be a significant part of many of the studio’s memorable projects are the project owners whose<br />

varying expertise allow him and his team to constantly experiment on something new.<br />

“Personally, I’m very attentive to details. So, when I work with people who are even<br />

more detail-oriented than me, the experiences automatically force me to continue<br />

developing myself. For example, when I work with hotel owners, it’s a new learning<br />

curve because these people have the knowledge and expertise in the hospitality<br />

field, which is something I can learn from. Some of the back of the house operations,<br />

or the management side of things are something designers may never know or even<br />

think about before. Our clients work with us, give us feedback and provide in-depth<br />

information that we need to or should know.”<br />

STUDIO TOFU’s portfolio is diverse since they don’t work only on specific type of projects,<br />

but anything from houses, condominiums, hotels, shopping malls, cafes, restaurants, or even<br />

for fashion brands. Every completed work is the manifestation of the team’s interdisciplinary<br />

knowledge and interests, applied and executed with the practice of design that is based on the<br />

same conceptual core or principle.<br />

“We’re interested in art, including the newer forms of art. We’re into graphic design and we’re<br />

obsessed with architecture. We utilize the things we’re interested in, things we have learned.<br />

We express concepts differently but they’re based on the same conceptual core or principle.”<br />

6<br />

“To us, working is about the process.”<br />

As the studio grows older, thought processes changes and experiences accumulate. One of<br />

the things Weerapat realizes from how STUDIO TOFU works is the focus that has been put on<br />

the work process. Through countless hours of experimentation and trial and error, more lessons<br />

are learned and they’ve grown into a team of professional practitioners with more experiences.<br />

Everything gradually forms into a work process where everyone is able to fully contribute their


150<br />

PROFESSIONAL<br />

7


ARCHITECTURE THROUGH THE LENS<br />

151<br />

07<br />

ฟาซาดด้านหน้าอาคาร<br />

ที่อออกแบบอย่างเรียบง่าย<br />

ร่วมกับการเลือกใช้วัสดุ<br />

ท้องถิ่น


152<br />

professional<br />

“ศิลปะเราก็สนใจ ศิลปะรูปแบบใหม่ๆ เราก็สนใจ งาน<br />

กราฟิ คเราก็สนใจ งานสถาปั ตยกรรมเราก็ยิ่งโคตร<br />

สนใจ เราก็ใช้สิ่งที่เราสนใจเรียนรู้มา แต่ละอย่างเราก็<br />

แสดงออกแตกต่างกัน แต่ว่าเราอยู่บนแกนหรือหลัก<br />

ความคิดเดียวกัน”<br />

“การทางานของที่นี่คือเราให้ความสาคัญกระบวนการ<br />

ทางาน”<br />

เมื่ออายุมากขึ้น วิธีคิดที่เปลี่ยนไป ผสมกับประสบการณ์<br />

ที่สั่งสมมาเป็นเวลาหลายปี สิ่งหนึ่งที่บอนตกผลึกจากการ<br />

ทางานของ STUDIO TOFU คือ การให้ความสาคัญกับ<br />

กระบวนการทางาน STUDIO TOFU ให้ความสาคัญกับ<br />

กระบวนการทางาน การทางานที่ผ่านการลองผิดลองถูก<br />

มานับไม่ถ้วน สั่งสมเป็นการเรียนรู้และประสบการณ์ เกิด<br />

เป็นกระบวนการที่ทุกคนได้ร่วมกันคิดจริงๆ ว่าการทางาน<br />

ควรเป็นอย่างไร โดยไม่ได้มีข้อจากัดที่ความอาวุโสหรือความ<br />

เป็นหัวหน้าลูกน้อง กระบวนการทางานเช่นนี้ทาให้เกิดการ<br />

แลกเปลี่ยนความคิดกันทีม รวมทั้งทาให้สมาชิกทุกคนได้<br />

เห็นความเป็นไปได้ในมุมอื่นๆ เกิดเป็น “เครื่องมือในการ<br />

ทางาน” ซึ่งเกิดจากทางานที่ค่อนข้างหลากหลายรูปแบบ<br />

และความสนใจที่มีหลายด้าน เครื่องมือในการทางานจึงเป็น<br />

ผลที่เกิดจากกระบวนการทางานที่หลากหลายนั่นเอง<br />

“เรามีเครื่องมือในการทางาน สมมุติ 20 วิธี โครงการ<br />

นี้เราเอาวิธีที่หนึ ่งบวกสามบวกสิบเจ็ด อีกงานเราเลือก<br />

เครื่องมืออีกแบบ เอามาเลือกใช้ ให้เหมาะกับงาน และ<br />

วิธีการต่างๆ เหล่านี้ จริงๆ ก็เป็ นจุดเริ่มต้นทาให้เราได้<br />

มีเครื่องมือในการทางานต่อไป”<br />

การทางานของ STUDIO TOFU จึงเป็นเหมือนกับน าประสบ-<br />

การณ์มาผสมผสานกับการทาความเข้าใจ ทดสอบและประมวล<br />

ผลอย่างรวดเร็ว เพื่อหาวิธีหรือรูปแบบที่ดีที่สุดในการทางาน<br />

นั้นๆ<br />

8<br />

“ตอนแรก แบบร่างมันจะมหาศาล งานแรกๆ อาจจะ<br />

เป็ นแบบนั้น พอนานๆ ไป เราผ่านความผิดพลาดมา<br />

เยอะ หลังๆ เรารู้แล้วว่าเราเคยทาผิดอันนี้มา ก็จะไม่<br />

ต้องย ่าที่เดิม”<br />

“การเรียนรู้และโอกาสอีกมหาศาลจาก The Bound<br />

House”<br />

“เราคิดว่าถ้าเริ่มต้นจากการทาของดี พื้นที่ดี ๆ สร้าง<br />

ประสบการณ์ ให้คนมาใช้ดี มันจะเป็ นพื้นฐานที่ดี ธุรกิจ<br />

ก็ดาเนินได้ ความคิดนี้แหละที่เราเอามาใช้กับ The<br />

Bound House”<br />

โครงการ The Bound House คือโครงการบ้านรูปแบบ<br />

ใหม่ที่จังหวัดนครปฐม ซึ่งพัฒนาขึ้นโดย STUDIO TOFU<br />

โดยการนาเอาประสบการณ์และความเชี่ยวชาญด้านการ<br />

ออกแบบที่อยู่อาศัยหลากหลายรูปแบบมาพัฒนาโครงการ<br />

ให้มีความแตกต่างจากโครงการ และให้ความสาคัญเป็น<br />

พิเศษกับการอยู่อาศัย สังคม และสิ่งแวดล้อม คุณภาพชีวิต<br />

ที่ดีขึ้น มากกว่าผลกาไรทางธุรกิจ<br />

“เราอยากทาโครงการของตัวเองในอนาคตแต่ก็ไม่รู้<br />

ว่าเมื่อไหร่ แต่ก็คิดว่าสักวันหนึ ่งอยากทาโครงการ<br />

เหมือนกับเป็ นการต่อยอดความรู้ที่เรามีมาเกือบสิบปี<br />

The Bound House ตอนเริ่มจะทาเราก็ตั้งใจทาเรา<br />

มีสถาปนิกไปสารวจพื้นที่ มีการสารวจทางการตลาด<br />

แล้วก็ทีมเฉพาะที่ทาเกี่ยวกับเรื่องนี้ โดยเฉพาะอีกทีม<br />

จุดเปลี่ยนสาคัญคือเราทาสัมภาษณ์เชิงลึก โดยเอา<br />

9<br />

คนที่จะซื้อบ้านภายในหนึ ่งปี มานั่งคุย จริงๆ จะทา 12 คน<br />

แต่บริษัทที่ปรึกษาบอกว่าให้ทา 6 คนก่อน ถ้า 6 คน เป็ น<br />

เสียงเดียวกัน ที่เหลือไม่ต้องทาแล้ว ก็มีช่วงอายุตั้งแต่<br />

สามสิบกว่าไปจนถึงหกสิบ สรุปแล้วผลที่ได้รับกลับมา<br />

ก็คือค่อนข้างเป็ นบวก สิ่งที่เราคิดจากมุมสถาปนิกที่จะ<br />

ทาบ้านขายสามารถที่จะเกิดขึ ้นได้จริง ไม่ใช่โครงการที่<br />

เพ้อฝั นหรือเข้าข้างตัวเอง”<br />

08<br />

พื้นที่ส่วนกลางโครงการ<br />

09<br />

ทางเข้าหลักโครงการ


THE DETAIL OF SIMPLICITY<br />

153<br />

10<br />

เส้นสายและรายละเอียด<br />

การออกแบบภายนอก<br />

อาคาร<br />

ideas of how the work should be done. They work without any limitations or unpleasant work<br />

culture created by toxic seniority or employer-employee relationships. Such a process enables<br />

constructive exchanges and sharing of ideas among team members, allowing everyone to see<br />

new possibilities from various aspects. Their ‘working tools’ are developed from their experiences<br />

working on different types of projects as well as the members’ diverse interests, and the<br />

result of the studio’s diverse work processes.<br />

“Say we have 20 different methods or tools, we can integrate method 1 to method<br />

17 for a project and choose a different tool to use with another project. All these<br />

methods help create a new tool that can be further developed for our future works.”<br />

The way STUDIO TOFU works is an incisive integration of experiences, understanding, testing<br />

and processing to find the best possible method and approach to a particular work.<br />

“At first, the amount of sketches we made were enormous. It was like that in the<br />

first projects, but after a while, and many mistakes, we’ve gradually learned and<br />

moved forward.”<br />

“The Bound House, an incredible lesson and tremendous opportunity.”<br />

“I think if we start with quality, from good space to great user experience, that will<br />

lay the ground for the business. That’s where The Bound House originated.”<br />

10<br />

The Bound House is an unprecedented housing estate project in Nakhon Pathom that STUDIO<br />

TOFU has developed. By devising their experiences and expertise in designing various types<br />

of residential projects, STUDIO TOFU developed The Bound House with the intention for it to<br />

be different and focus, not on profit making but, more on people’s living experiences and the<br />

quality of the neighborhood, environment and life.<br />

“I wanted to develop a project of our own at one point but I wasn’t exactly sure when. But<br />

that idea of wanting to develop a residential project that would allow me to take my decadelong<br />

experiences and knowledge further was always at the back of my mind. When we were<br />

about to start The Bound House, we paid attention to every detail. We had architects survey<br />

the site, and we had a specialized team handling market research. The turning point was<br />

when we did the in-depth interview with 6 prospective homeowners who were planning to<br />

buy a house within that year. We were going to do 12 but the consultant firm said to start<br />

with 6 and if all the 6 people’s opinions were unanimous we didn’t have to do the rest. The<br />

age ranges of our interviewees were between thirties and sixties. The results we got were<br />

mostly positive. What we thought from the standpoint of an architect who wanted to<br />

design a house for sale was actually something that could really happen. It wasn’t just an<br />

unrealistic idea or our own wishful thinking.<br />

Weerapat started off The Bound House with discussions with his friends, each with experiences<br />

in the fields needed for the development of this type of project. Many suggested that<br />

he should kick off the brand with a project in Bangkok. “But we think it’s doable,” was what<br />

Weerapat thought after receiving consultations from a number of people. When the team<br />

began collecting data and doing the survey, they discovered that while many housing estate<br />

projects put an extra emphasis on marketing strategies and promotions, very few were actually<br />

focusing on the quality of the living space. Werrapat used that as the key starting point<br />

of The Bound House. The first client of the project is a required governmental officer who<br />

lives alone and doesn’t wish to be burdened by the maintenance of a house that is too big,<br />

but rather a house that is easy to take care of and rightly suits his simple lifestyle. The client’s<br />

view and demands correspond with the design concept behind The Bound House, which<br />

aims to be a residential project for the life of the future with sufficient functional spaces that<br />

require minimum maintenance, that are easy to clean with a foyer that brings in natural light,<br />

while the house itself is designed to be energy-saving.


154<br />

professional<br />

บอนเริ่มการทา The Bound House ด้วยการนาโครงการ<br />

ไปปรึกษาจากเพื่อนที่มีประสบการณ์ในการทางานด้านนี้<br />

ในสาขาต่างๆ หลายคนแนะนาให้เริ่มโครงการที่กรุงเทพ-<br />

มหานคร “แต่เราคิดว่าเราน่าจะทาได้” คือสิ่งที่บอนคิด<br />

หลังจากได้รับคาปรึกษาจากหลายคน และเมื่อทีมเริ่มเก็บ<br />

ข้อมูล สารวจพื้นที่ ก็ทาให้พบว่าในขณะที่หลายโครงการ<br />

เน้นไปทางการโฆษณาด้านการตลาด ด้วยการลดแลกแจก<br />

แถมรูปแบบต่างๆ แต่น้อยมากที่จะเน้นในเรื่องคุณภาพของ<br />

ที่พักอาศัย บอนจึงใช้แนวคิดนี้มาเป็นจุดเริ่มต้นสาคัญของ<br />

การทา The Bound House และลูกค้าคนแรกของโครงการ<br />

The Bound House ก็คือข้าราชการเกษียณที่อยู ่บ้านคนเดียว<br />

ไม่อยากดูแลบ้านกว้างเกินไป และต้องการอยู่บ้านที่ดูแล<br />

ง่าย พอดีกับวิถีชีวิตตัวเอง ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดการ<br />

ออกแบบของ The Bound House ที่ต้องการออกแบบบ้าน<br />

ที่ตอบโจทย์ชีวิตของอนาคต พื้นที่ใช้สอยกว้าง ดูแลน้อย<br />

ทาความสะอาดง่าย ต้องมีโถง แสงธรรมชาติ ประหยัด<br />

พลังงาน<br />

อาจจะกล่าวได้ว่า The Bound House คือเปลี่ยนแปลงครั้ง<br />

สาคัญในการทางานของบอน จากการทาหน้าที่นักออกแบบ<br />

เพียงอย่างเดียว สู่การทาหน้าที่เจ้าของโครงการ แม้ทุกอย่าง<br />

ต้องเริ่มต้นใหม่ทั้งหมด แต่สิ่งหนึ่งที่บอนได้เรียนรู้จากการ<br />

ทางานนี้ คือผลสาเร็จที่เกิดขึ ้นกับ The Bound House ไม่ได้<br />

เกิดจากแข่งขันกับใคร แต่เป็นการแข่งกับตัวเอง และความ<br />

รู้ความสามารถหรือประสบการณ์ รวมทั้งเครือข่ายที่ดี เป็น<br />

ส่วนสาคัญที่ผลักดันให้เกิดโครงการที่ดี และถ้าเราตั้งใจ<br />

ทางานที่ดี แม้อาจจะเห็นผลลัพธ์ที่ดีช้าหรือระหว่างทางอาจ<br />

จะประสบปัญหา แต่ก็ความสาเร็จนั้นจะเด่นชัดเสมอ เหมือน<br />

กับโครงการ The Bound House นั่นเอง<br />

“แต่จริงๆ แล้วตอนนี้ที่คนเห็นว่าประสบความสาเร็จ<br />

จริงๆ ระหว่างทางผมก็ไม่ได้ โปรยไปด้วยกลีบกุหลาบนะ<br />

ไม่ได้หอคอยงาช้าง รับบาดแผลเยอะเหมือนกัน หลาย<br />

อย่างแต่ก่อนอยู่ในส่วนของลูกค้าทาทั้งหมด ตอนนี้<br />

เราต้องทาเอง หรือเมื่อก่อน เวลาเราคุยเรื่องแบบกับ<br />

เจ้าของโครงการ เขาก็จะมีฝ่ ายการตลาดต่าง ๆ บางที<br />

เขาก็จะบอกว่าเราปรับลดแบบได้ ไหมเพื่องบก่อสร้าง<br />

จะได้ลง แล้วก็ธุรกิจมันจะได้ดีกว่า ด้วยความไม่รู้ของ<br />

เราและเรายังไม่ได้อยู่ในกลไกของธุรกิจจริงๆ เราก็<br />

สวนกลับว่า แทนที่การตลาดจะมาพู ดแบบนี้ ทาไมการ<br />

ตลาดถึงไม่ไปคิดวิธีหาเงินเพิ่มมาบ้าง แต่ว่าตอนนี้เรา<br />

รู้แล้วว่าเพราะอะไร เพราะตอนนี้เราอยู่ในบทบาทหนึ ่ง”<br />

ก้าวต่อไปของ The Bound House คือการขยายโครงการ<br />

ไปในพื้นที่ต่างๆ ที่มีศักยภาพและพร้อมสาหรับการลงทุน<br />

ซึ่งการขยายโครงการ The Bound House นับเป็นจุดเริ่มต้น<br />

ก้าวใหม่ของ STUDIO TOFU เช่นกัน<br />

ก้าวต่อไปของ STUDIO TOFU<br />

ปัจจุบัน STUDIO TOFU อยู่ภายในบริษัทที่ตั้งใหม่ในชื่อ<br />

Bound Group ที่ทาหน้าที่เป็นร่มใหญ่ในการลงทุน ร่วมทั้ง<br />

เชื่อมการทางานกับส่วนต่างๆ ภายใต้ร่มของ Bound Group<br />

จะประกอบไปด้วย 1) STUDIO TOFU ที่เป็นบริษัทออกแบบ<br />

สถาปัตยกรรมและออกแบบภายใน 2) The Bound House<br />

บริษัทที่จะเน้นเรื่องการพัฒนาโครงการที่อยู่อาศัยสาหรับ<br />

อนาคต และ 3) Life Shop Nakhon Pathom ร้านขายของ<br />

ที่ระลึกดีไซน์ สินค้า eco-friendly ไอศครีมรสชาติแปลกๆ<br />

ฯลฯ รวมทั้งเป็นพื้นที่ของบ้านตัวอย่างและห้องนั่งเล่น<br />

ของโครงการ The Bound House ซึ่งทั้งสามส่วนจะมีการ<br />

บริหารจัดการที่แยกออกจากกัน และในอนาคตอันใกล้ จะ<br />

มี Bound Plus ซึ่งจะรับหน้าที่ในการบริหารจัดการในส่วน<br />

การทางานที่ทาร่วมกับบริษัทอื่นๆ ซึ่งมีความถนัดเฉพาะ<br />

ด้านนอกเหนือจากสามบริษัทในร่มของ Bound Group<br />

“การทา The Bound House ทาให้รู้ว่าเราไม่ถนัดอะไร<br />

และพอเราย้ายตลาดหรือขยายตลาด เราก็รู้ว่าเราอยาก<br />

จะร่วมกับคนที่เขาถนัดในส่วนที่เราไม่ถนัด และทาให้<br />

เกิด Bound Plus ขึ ้นมา”<br />

สิ่งหนึ่งที่เราได้เรียนรู้ไปพร้อมกับการคุยกับบอนคือ แม้ใน<br />

โลกปัจจุบันเทคโนโลยีจะก้าวหน้าไปเพียงใด ผู้คนอาจเปิด<br />

อินเทอร์เนตค้นหาแรงบันดาลใจได้เป็นร้อยอย่างพันอย่าง<br />

แต่คนที่จะทาให้เกิดขึ้นจริงได้คือเหล่านักออกแบบ และสิ่ง<br />

สาคัญที่บอนฝากทิ้งท้ายไว้ให้แก่นักออกแบบรุ่นใหม่ก็คือ<br />

สิ่งที่เขาทามาโดยตลอด นั่นคือ<br />

“การคิดแล้วทดลองทาจริง จากนั้นวัดผลโดยเร็ว คือ ถ้าดี<br />

ก็ทาต่อ ถ้าไม่ดีก็ปรับปรุง หากไม่ได้จริงๆ ก็ล้มแบบตัวเอง<br />

ได้เลย ก่อนที่จะให้คนอื่นมาล้ม ทุกความคิดจะได้ไม่วนเวียน<br />

อยู่เพียงในสมองของตัวเอง”<br />

11<br />

11<br />

บรรยากาศรอบโครงการ<br />

The Bound House<br />

12<br />

ทางเข้าด้านหน้าโครงการ<br />

The Bound House


THE DETAIL OF SIMPLICITY<br />

155<br />

12<br />

One can say that The Bound House is a big turning point in Weerapat’s career, from his role<br />

as a designer to new responsibilities as the project’s owner. While everything felt like a new<br />

start from square one, what Weerapat ended up learning from the project is how the success<br />

of The Bound House isn’t a result of a competition with competitors but himself. He also<br />

realizes that having the knowledge and experiences as well as good connections contribute<br />

a great deal to the quality and success of a project, and that if one sets their mind to create<br />

a great work, despite obstacles and hindrances, the end result will come in the form of a very<br />

tangible achievement. And The Bound House is just the case.<br />

“People look at me and they see success but the road we walked on wasn’t exactly a bed<br />

of roses. We were never in an ivory tower and we were hurt a lot. A lot of things were on the<br />

clients’ part but now we have to do those things ourselves. When we discussed the design<br />

with a project owner, they would have the marketing people telling us to revise the design<br />

to lessen the construction costs and it would be better, business wise. We didn’t know<br />

things to the extent that we do now, and we had never really been a part of the mechanism<br />

of the business, so our take at the time was: instead of the marketing team telling us to<br />

reduce construction costs, they should find a way to bring more money into the project.<br />

But now we know why they said that because we’re in a different role.”<br />

The next step for The Bound House is expanding the brand to other areas with enough potential<br />

for an investment. The expansion of The Bound House is also a new step for STUDIO<br />

TOFU.<br />

ณัฐวดี สั ตนันท์<br />

จบการศึกษาจากคณะ<br />

โบราณคดี มหาวิทยาลัย<br />

ศิ ลปากร ปั จจุ บันกำ าลัง<br />

ศึ กษาต่อระดับปริญญา<br />

เอกสาขาสถาปั ตยกรรม<br />

พื้นถิ ่น ที่คณะสถาปั ตย-<br />

กรรมศาสตร์ มหาวิทยา-<br />

ลัยศิ ลปากร พร้อมกับ<br />

การทำาบริษัทชื่อ “สนใจ”<br />

ที่ทำางานเรื่องการพัฒนา<br />

เมือง การให้คนเป็ นศูนย์-<br />

กลางและกระบวนการ<br />

มีส่วนร่วมในรูปแบบที่<br />

หลากหลาย<br />

Nuttawadee Suttanan<br />

completed her bachelor’s<br />

degree in archaeology<br />

and is currently pursuing<br />

PhD in vernacular<br />

architecture at<br />

Faculty of Architecture,<br />

Silpakorn University.<br />

She is also a partner<br />

of “SONJAI”, a studio<br />

working on urban development,<br />

people-centered<br />

and participatory<br />

process in various<br />

means.<br />

The Next Move<br />

Currently, STUDIO TOFU is under a newly founded company called Bound Group, which<br />

functions as the big umbrella for future investments. Within the Bound Group are 1) STUDIO<br />

TOFU, an architectural and interior design practice 2) The Bound House, a company that<br />

focuses on the development of residential projects of the future and 3) Life Shop Nakhon<br />

Pathom, a shop selling design and eco-friendly products, including ice-cream with unusual<br />

flavors, which also houses a sales gallery and model living space of The Bound Houses, each<br />

is managed separately. In near future, the Bound Group will welcome Bound Plus whose<br />

main role will be to handle the management of the company’s collaborations with outside<br />

partners who can provide expertise and services that are beyond the realms of the three<br />

companies under the Bound Group’s umbrella.<br />

“Having developed The Bound House, we are able to determine our strengths and<br />

areas we are not exactly good at. When we’re moving or expanding into another<br />

market segment, we know that we want to work with people who are good at<br />

things we may not be the best at. That is why Bound Plus was established.”<br />

One thing we learned from this conversation with Weerapat is no matter how advanced technology<br />

has become, and people may go on the Internet to search for hundreds or thousands<br />

sources of inspirations, the people who can turn those dreams and visions into reality are still<br />

the designers. Another important message that Weerapat leaves for the young generation<br />

designers is something he has done throughout his professional life.<br />

“Think and put an idea into practice, and evaluate it quickly. If it’s good, proceed, if it isn’t,<br />

improve. And if you know something is never going to work, drop it yourself before someone<br />

else does that instead of you. This way, you won’t get stuck with a bunch of ideas only circulating<br />

in your head.”<br />

fb.com/studiotofuthailand<br />

studio-tofu.com


156<br />

professional / studio<br />

Sute<br />

Architect<br />

Sute Architect มีจุดเริ ่มต้นอย่างไร ช่วย<br />

เล่าให้ฟั งสั้นๆ<br />

เริ่มต้นจาก สิทธิพล โกมลเวชกุล ซึ่งเรียนจบ<br />

จากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมืองและ<br />

นฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม และไป<br />

ทางานตาแหน่งสถาปนิกอยู่บริษัทรับออกแบบ<br />

ข้ามชาติแห่งหนึ่งที่ เกาะสมุย สุราษฎร์ธานี เพื ่อ<br />

เก็บเกี่ยวประสบการณ์ ทางานมาได้สักระยะ<br />

จึงตัดสินใจย้ายกลับมาทางานที่ภาคอีสาน ใน<br />

ช่วงแรกที ่เพิ่งกลับมาทางานใหม่ๆ ที่บ้านเกิด<br />

จังหวัดอานาจเจริญ ตอนนั้นยังเป็นฟรีแลนซ์รับ<br />

ออกแบบโครงการเล็กๆ ทั่วไป พองานเริ่มเข้า<br />

มาเรื่อยๆ อย่างต่อเนื ่อง จึงชวนเพื ่อนสถาปนิก<br />

ที่สนิทกันคือ สุทธินนท์ ไถวสินธุ ์ มาร่วมก่อ<br />

ตั้งบริษัท สุธีสถาปนิก ซึ่งตั้งอยู ่ที่อุบลราชธานี<br />

เพราะเป็นเมืองใหญ่ที่เอื้อต่อการทางานในสาย<br />

งานออกแบบมากกว่า<br />

รูปแบบการทางาน และแนวคิดในการ<br />

ออกแบบของสุธีสถาปนิกเป็ นอย่างไร<br />

เราเข้าใจวิธีการทางานของสายงานนี้ดีว่า<br />

เจ้าของโครงการหรือเจ้าของบ้านทุกหลัง มี<br />

ความชอบและความต้องการที่แตกต่างกัน การ<br />

ทางานของเราอันดับแรกคือการเป็นผู ้ฟังที่ดี<br />

และเปิดใจรับความต้องการของเจ้าของว่าดีไซน์<br />

ที่เขาต้องการนั้นเป็นอย่างไร ถึงแม้สิ ่งที ่เขา<br />

อยากได้จะขัดใจเราก็ตาม แต่เราก็จะค่อยๆ หา<br />

ตรงกลางและนาเสนอแนวคิดรวมถึงดีไซน์ใน<br />

รูปแบบที่ดีขึ้นให้กับเขา หรือในบางครั้งที่เราได้<br />

เจอกับเจ้าของบ้านรสนิยมดีๆ ก็ทาให้เราเปิดโลก<br />

ในด้านการออกแบบด้วยเหมือนกัน แนวคิดใน<br />

การทางาน แต่ละโครงการจึงไม่ตายตัว ส่วนใหญ่<br />

จะอิงตามความต้องการของเจ้าของโครงการ<br />

และเน้นแลกเปลี่ยนความคิดกันเป็นหลัก จาก<br />

นั้นจึงค่อยมาพัฒนาแบบให้เกิดความน่าสนใจ<br />

ผลงานออกแบบที่รู้สึกท้าทาย และประทับใจ<br />

มีผลงานไหนบ้าง<br />

แนวคิดเราเริ่มจากการยึดความต้องการของ<br />

เจ้าของเป็นหลัก ความท้าทายที่เกิดขึ้นในการ<br />

ทางานจะมีอยู ่ไม่กี่โครงการ นั่นคือโครงการ<br />

ที่เราได้ใส่ความเป็นตัวเองและแนวคิดของเรา<br />

100% เช่น โครงการบ้านคุณปอ โชว์รูม Honda<br />

Bigwing Ubon และ Wind Clinic โดยเฉพาะ<br />

โชว์รูม Honda Bigwing Ubon เป็นอีกโครงการ<br />

ที่ค่อนข้างประทับใจมาก เพราะมีโอกาสได้เผย<br />

แพร่ในนิตยสารของประเทศเกาหลี รวมถึง<br />

โครงการ Wind Clinic ก็ยังได้เผยแพร่ในสื่อ<br />

อื่นๆ ด้วยเช่นกัน<br />

ช่วงสถานการณ์โควิด-19 ที่ผ่านมา<br />

สุธีสถาปนิกได้รับผลกระทบบ้างไหม<br />

อย่างไรบ้าง<br />

เป็นเรื่องน่าแปลกที่เราแทบไม่ได้รับผลกระ<br />

ทบจากสถานการณ์โควิด-19 เลย อาจเพราะ<br />

กลุ่มลูกค้าส่วนใหญ่เป็นกลุ่มของแพทย์ และ<br />

เป็นงานสเกลบ้านมากกว่าโครงการใหญ่ๆ จึง<br />

ทาให้ไม่เกิดการหยุดชะงัก ซึ่งแพทย์เขาก็ไม่ได้<br />

รับผลกระทบในช่วงสถานการณ์นี้อยู ่แล้ว รวม<br />

ถึงมาตรการควบคุมไซต์งานของต่างจังหวัดก็<br />

อาจจะไม่ถูกระงับเหมือนในกรุงเทพจากช่วงที่<br />

ผ่านมา<br />

จากวันแรกจนถึงวันนี้ การทางานของสุธี<br />

สถาปนิกเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร<br />

ตลอดระยะเวลา 10 กว่าปีที่ก่อตั้งสุธีสถาปนิก<br />

แน่นอนว่าสเกลงานที่เราทานั้นมีขนาดใหญ่<br />

ขึ้นเรื่อยๆ และมีเพิ่มขึ ้นอย่างค่อนข้างก้าว<br />

กระโดด จากแรกเริ่มก่อนเปิดสานักงานตั้งใจ<br />

ให้มีพนักงานแค่ 5 คน รับงานปีละ 5 งาน กลับ<br />

กลายเป็นปัจจุบันมีพนักงานร่วม 20 คนเห็นจะ<br />

ได้ เพราะโครงการที่เข้ามาต่อเนื่องจึงทาให้<br />

เราจาเป็นต้องขยายทีมเพื่อให้งานสามารถ<br />

ดาเนินการได้อย่างครอบคลุมและรวดเร็ว และ<br />

มีโอกาสในการรับงานมากขึ้นในจังหวัดอื่นๆ<br />

ของแถบภาคอีสาน เช่น ขอนแก่น ศรีสะเกษ<br />

อานาจเจริญ ไปจนถึงในภาคอื่นๆ อย่างภูเก็ต<br />

ซึ่งเป็นคอนเนคชั่นเก่า จากการทางานในช่วง<br />

แรกที่เกาะสมุย ในอนาคตหากโครงการที่เข้า<br />

มายังคงมีเพิ่มขึ้นก็อาจมีการขยายทีมเพิ่มอีก<br />

เพราะเราอยากให้งานออกมามีคุณภาพ ดาเนิน<br />

การในทุกโครงการได้อย่างไม่ติดขัด และราบ-<br />

รื่นมากที่สุด


SUTE ARCHITECT STUDIO<br />

157<br />

ผลงานออกแบบ บ้านคุณปอ<br />

ผลงานออกแบบ บ้านคุณปอ<br />

ผลงานออกแบบ Honda Bigwing Ubon


158<br />

professional / studio<br />

First, we have to be good listeners and be open to<br />

the owner’s requirements and needs. Sometimes<br />

even the client’s taste might offend us, but we<br />

will gradually compromise and fine-tune, trying<br />

to find the middle path and propose a better idea<br />

and design.


SUTE ARCHITECT STUDIO<br />

159<br />

ผลงานออกแบบ Wind Clinic<br />

Could you tell us briefly how Sute<br />

Architect started?<br />

It started with myself, Sittipon Komolwet;<br />

I am a graduate of the Faculty of<br />

Architecture, Urban Design and Creative<br />

Arts, Mahasarakham University. Then I<br />

went to work as an architect at a multinational<br />

design company at Koh Samui,<br />

Surat Thani, to gain more professional<br />

experience. After a while, I decided to<br />

move back to work in the northeastern<br />

region, which in the beginning, I just returned<br />

to work at my hometown in Amnat<br />

Charoen Province. At that time, I was<br />

still a freelancer designing mainly small<br />

projects. As the work began to come in<br />

continually, I invited one of my close architect<br />

friends, Sutinon Thawisin, to join<br />

and founded Sute Architect. Our office<br />

is located in Ubon Ratchathani because<br />

it is a large city and we think it is more<br />

conducive to working in the design field.<br />

What are the working style<br />

and design approaches of Sute<br />

Architect?<br />

We understand well that every project<br />

owner or homeowner has their preferences<br />

and needs. First, we have to<br />

be good listeners and be open to the<br />

owner’s requirements and the design he<br />

wants. Sometimes even the client’s taste<br />

might offend us, but we will gradually<br />

compromise and fine-tune, trying to find<br />

the middle path and propose a better<br />

idea and design. Sometimes we have a<br />

good chance to work with homeowners<br />

with good taste, which is also good because<br />

it allows us to open up the world in<br />

terms of design. So the design approach<br />

of each project is not fixed. Most of them<br />

are based on the requirements of project<br />

owners and then lead on to exchanging<br />

ideas, and gradually we develop the<br />

design and make it more interesting.<br />

Would you name a few<br />

challenging designs or works that<br />

you find impressive?<br />

As said earlier, our concept starts with<br />

the owner’s needs. A few projects that<br />

come up with challenges are those we<br />

have put 100% of ourselves and our<br />

ideas, such as the Baan Khun Po project,<br />

the Honda Big Wing Ubon showroom,<br />

and the Wind Clinic. The Honda Big<br />

Wing Ubon showroom is quite an impressive<br />

one, and we are very proud of it<br />

because it got published in a Korean design<br />

magazine. The Wind Clinic project<br />

has got published in many media as well.<br />

In this Covid-19 situation, has<br />

Sute Architect been affected?<br />

Surprisingly, we are almost unaffected<br />

by the pandemic situation, probably<br />

because many of our customers are<br />

medical doctors. And also, it’s more of a<br />

house-scale job than a big project. So I<br />

would say there is not much interruption.<br />

The doctors were not much affected<br />

during this situation anyway. Our project<br />

sites are mainly outside Bangkok, which<br />

is not under strict control measures, so it<br />

causes very little effect for us.<br />

From the first day until today, how has<br />

the work of Sute Architect developed<br />

and changed?<br />

Throughout the ten years since the establishment<br />

of our studio, the scale of our<br />

work has been getting bigger and bigger<br />

and has increased immensely from<br />

where we started. Before we officially<br />

started the studio, we initially intended<br />

to have only five employees, accepting<br />

five jobs a year, but it has now turned<br />

into a total of 20 employees. Due to the<br />

ongoing projects, we unavoidably have<br />

to expand the team to carry out the work<br />

comprehensively and quickly. We also<br />

see the opportunity to get more projects<br />

in other provinces in the northeastern<br />

region - Khon Kaen, Sisaket, Amnat<br />

Charoen, and in other areas such as<br />

Phuket, which is from my previous professional<br />

connections during the time I<br />

worked in Koh Samui. Who knows, in the<br />

future, if the incoming projects continue<br />

to increase, there could be an additional<br />

team expansion because we want the<br />

work to come out with quality, and we<br />

want to implement all projects smoothly.<br />

sutearchitect.com<br />

fb.com/sutearchitect


160<br />

chat<br />

Photo: Asst.Prof. Rattapong Angkasith


ASST.PROF. RATTAPONG ANGKASITH AND CHUTAYAVES SINTHUPHAN<br />

161<br />

สเกลเล็กสุดในระดับอาเซียนคือ 4 Nation เป็ นจตุภาคีที่เราจัดประชุม<br />

กันปี ละ 4 ครั้ง เวียนกันเป็ นเจ้าภาพ ซึ ่งการร่วมมือกันระหว่าง 4 Nation<br />

ที่น่าสนใจมากเพราะเป็ นภูมิภาคที่อยู่ใกล้ตัวเรา เรามีโครงการจัดทํา<br />

4 Nation Book โครงการแลกเปลี่ยนบทความเพื่อตีพิมพ์ลงในวารสาร<br />

ของแต่ละประเทศ<br />

ผศ.ดร.รัฐพงษ์ อังกสิทธิ ์ และ คุณชุตยาเวศ สินธุพันธุ์<br />

ฝ่ ายต่างประเทศ สมาคมสถาปนิกสยามฯ<br />

อาษา: นโยบายและวิสัยทัศน์ฝ่ ายต่างประเทศ<br />

ของคณะกรรมการบริหารชุดนี้มีแนวทางและ<br />

แผนงานเป็ นอย่างไร<br />

คุณชุตยาเวศ สินธุพันธุ์: จริงๆ นโยบายของคณะกรรมการ<br />

ชุดนี้คือเราพยายามจะทำาความร่วมมือกับต่างประเทศให้<br />

มากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ หรือแม้แต่<br />

การแลกเปลี่ยนนักเรียนและนักศึกษา ทั้งกับเครือข่ายที่เรา<br />

ติดต่อด้วยอยู่แล้ว ไปจนถึงการติดต่อหาพาร์ทเนอร์อื่นๆ<br />

ขณะเดียวกันหน่วยงานใหญ่อย่าง UIA เราก็พยายามเข้าไปมี<br />

บทบาทมากขึ้นเช่นกัน เพื่อให้สถาปัตยกรรมของไทยเข้าไป<br />

อยู่ในกระบวนการระดับสากลได้ในไม่มากก็น้อย<br />

ผศ.ดร.รัฐพงษ์ อังกสิทธิ ์: ส่วนตัวมีโอกาสได้เข้ามาช่วย<br />

ฝ่ายต่างประเทศตั้งแต่สมัยของ ดร.อัชชพล ดุสิตนานนท์<br />

จึงทำาให้พบว่านโยบายหลักๆ ของฝ่ายต่างประเทศคือการ<br />

พิจารณาโอกาสให้สมาชิกทั่วประเทศเข้ามามีกิจกรรมส่วน<br />

ร่วมในเวทีอาเซียนและเวทีสากล เพื่อสร้างเครือข่ายสังคม<br />

ผู้ประกอบวิชาชีพในระดับนานาชาติ ซึ่งเป็นนโยบายที่<br />

ครอบคลุมทุกแผนงานของท่านนายกทุกสมัยอยู่แล้ว<br />

อาษา: การสร้างโอกาสและผลักดันผลงาน<br />

ของสมาชิกในประเทศไทยไปสู่ เวทีอาเซียนหรือ<br />

เวทีระดับสากลมีทิศทางเป็ นอย่างไรในปั จจุบัน<br />

คุณชุตยาเวศ สินธุพันธุ์: เราพยายามทำา Publication ขึ้น<br />

มา ไม่ว่าจะเป็น Media Partner จากต่างประเทศที่เราส่ง<br />

ผลงานของสถาปนิกไทยเข้าไป หรือผลักดันให้นักออกแบบ<br />

ไทยส่งผลงานเข้าไปประกวดในเวทีต่างๆ เพื่อให้เป็นที่ยอม-<br />

รับ รวมถึงหน่วยงานต่างประเทศที่มีความสนใจผลงานของ<br />

สถาปนิกไทยและสอบถามเข้ามา เราก็พยายามคัดสรร<br />

ผลงานดีๆ ไปเผยแพร่หรือจัดแสดง เช่นในปีที่ผ่านมาถึง<br />

แม้เราจะไม่ได้ไป The Venice Biennale แต่เราก็นำาผลงาน<br />

ไปร่วมจัดแสดงด้วยเหมือนกัน โดยนำาชิ้นงาน copy ที่จัด<br />

แสดงจริงในประเทศไทยไปจัดแสดงที่เวนิส<br />

อาษา: โครงการต่างๆ ในส่วนของฝ่ ายต่าง-<br />

ประเทศที่ขณะนี้กําลังดําเนินการอยู่ และที่<br />

กําลังเตรียมแผนจะทําในอนาคตมี โครงการ<br />

ใดน่าสนใจบ้าง<br />

ผศ.ดร.รัฐพงษ์ อังกสิทธิ ์: ปกติแล้วสมาคมเราจะมี<br />

เครือข่ายสมาคมวิชาชีพ โดยมีตั้งแต่สเกลเล็กสุดในระดับ<br />

อาเซียนคือ 4 Nation เป็นจตุภาคีที่เราจัดประชุมกันปีละ<br />

4 ครั้ง เวียนกันเป็นเจ้าภาพ ซึ่งการร่วมมือกันระหว่าง 4<br />

Nation เป็นอะไรที่น่าสนใจมากเพราะเป็นภูมิภาคที่อยู่ใกล้<br />

ตัวเรา เรามีโครงการจัดทำา 4 Nation Book โครงการแลก-<br />

เปลี่ยนบทความเพื่อตีพิมพ์ลงในวารสารของแต่ละประเทศ


162<br />

chat<br />

Photo: Chutayaves Sinthuphan


ASST.PROF. RATTAPONG ANGKASITH AND CHUTAYAVES SINTHUPHAN<br />

163<br />

ควรปฏิเสธ Metaverse ขณะที่ยังต้องพยายามสร้างสรรค์ประสบการณ์<br />

ออนไลน์ให้เกิดความน่าสนใจขึ้นด้วย ซึ่งส่วนตัวคิดว่าทุกวันนี้การใช้<br />

งานในรูปแบบ Virtual หรือในโลก Metaverse ก็เริ่มทำาได้ดีขึ้นเรื่อยๆ<br />

เมื่อเทียบกับช่วงแรกที่เราเพิ่งหันมาใช้งานกัน<br />

โครงการที่เน้นให้นักศึกษาและสถาปนิกในวิชาชีพมา workshop ร่วม<br />

กัน รวมถึงโครงการแลกเปลี่ยนความรู้ด้านสถาปัตยกรรม เช่น สิงคโปร์<br />

ถนัดเรื่องการใช้เทคโนโลยีในการออกแบบก็นำามาแลกเปลี่ยนองค์<br />

ความรู้กัน ตลอดจนกิจกรรมเสวนา และแลกเปลี่ยนข้อมูลการส่งเสริม<br />

อุตสาหกรรมการก่อสร้างในช่วงโควิด-19 ที่จัดประชุมกันอย่างต่อเนื่อง<br />

ในช่วงที่ผ่านมา ส่วนเครือข่ายที่สเกลใหญ่ขึ้นมาก็จะเป็น Arcasia หรือ<br />

กลุ่มสถาปนิกเอเชีย ทุกประเทศจะส่งตัวแทนเข้ามาอยู่ในแต่ละหมวด<br />

ของ Arcasia ซึ่งก็จะมีการจัดประชุมย่อยกันเองในแต่ละหมวดและมี<br />

ประชุมใหญ่ร่วมกันด้วย<br />

อาษา: หลังจากเกิดสถานการณ์ โควิด-19 ซึ ่งทําให้<br />

หลายๆ โครงการตามแผนบริหารต้องหยุดชะงัก ทาง<br />

คณะกรรมการฝ่ ายต่างประเทศรวมถึงเครือข่ายสมาชิก<br />

ในประเทศอื่นๆ มีการรับมือ หรือปรับเปลี่ยนรูปแบบ<br />

กิจกรรมในแต่ละโครงการอย่างไร<br />

ผศ.ดร.รัฐพงษ์ อังกสิทธิ ์: คิดว่าฝ่ายการทำางานที่กระทบมากที่สุด<br />

น่าจะเป็นฝ่ายต่างประเทศ เพราะเราเดินทางกันไม่ได้ จากที่ต้องเป็น<br />

ตัวแทนเดินทางไปประชุมในแต่ละคณะกรรมการก็ทำาให้ต้องปรับเปลี่ยน<br />

เป็นรูปแบบออนไลน์ทั้งหมด ซึ่งก็มีทั้งข้อดีและข้อเสียแต่ข้อดีที่เห็นได้<br />

อย่างชัดเจนคือคนที่อยู่ในส่วนภูมิภาคก็สามารถเข้ามาฟังงานเสวนาได้<br />

หรือบางกิจกรรมก็ยังคงสามารถจัดขึ้นได้อยู่ เช่น การประกวดแบบ<br />

หรือการสัมมนาวิชาการออนไลน์ กลุ่มกิจกรรมเหล่านี้ก็อาจจะยังไม่ได้<br />

หยุดชะงักหรือได้รับผลกระทบมากเท่าไหร่<br />

คุณชุตยาเวศ สินธุพันธุ์: ในการร่วมมือกับกลุ่ม 4 Nation ปีที่ผ่าน<br />

มา เราต่างพยายามสร้างสัมพันธไมตรีและดำาเนินการกิจกรรมให้คง<br />

เดิมในหลายๆ โครงการมากที่สุด โดยตอนนี้ก็เน้นติดต่อกันในรูป<br />

แบบของออนไลน์เป็นหลัก แม้แต่การเซ็น MOU ก็คิดว่าน่าจะเป็นทาง<br />

ออนไลน์เช่นกัน อย่าง Arcasia ปีล่าสุดเราก็รับรางวัลกันผ่านรูปแบบ<br />

Virtual เพราะการเดินทางระหว่างประเทศในแถบของเรายังค่อนข้างน่า<br />

เป็นห่วงอยู่ แต่ท้ายที่สุดแล้วการทำางานของเราก็คือต้องพยายามสร้าง<br />

ประสบการณ์ในรูปแบบออนไลน์ให้ดีขึ้นให้ได้ เพราะ Metaverse เป็น<br />

เว็บไซต์ 3 มิติที่จำาเป็นต้องใช้สถาปนิกเป็นผู้ออกแบบ ฉะนั้นเราจึงไม่<br />

อาษา: ในช่วงแรกเริ ่มของสถานการณ์ โควิด-19 จนถึง<br />

สถานการณ์ระลอกปั จจุบัน ตัวแทนฝ่ ายต่างประเทศจาก<br />

สมาคมสถาปนิกสยามฯ ได้มีการแลกเปลี่ยนหรือหารือ<br />

กับกลุ่มองค์กรวิชาชีพสถาปนิ กระหว่างประเทศในประเด็น<br />

ที่น่าสนใจประเด็นใดบ้าง<br />

ผศ.ดร.รัฐพงษ์ อังกสิทธิ ์: ตั้งแต่เกิดสถานการณ์โควิดมา สมาคม<br />

แต่ละวิชาชีพรวมถึงสมาคมสถาปนิกเราค่อนข้างมีส่วนร่วมกับสังคม<br />

เยอะมาก เข้าไปจัดตั้งภาคีและเท่าที่ทราบมาคือท่านนายกชนะก็ยังได้<br />

เข้าไปช่วยในการจัดตั้งโรงพยาบาลสนามตั้งแต่ระลอกแรกๆ มีการจัด<br />

สัมมนาให้ความรู้ และเชิญผู้เชี่ยวชาญมาให้ความรู้เพื่อให้ในแต่ละพื้นที่<br />

ท้องถิ่นนำาความรู้ที่ได้ไปปรับใช้ในการจัดตั้งโรงพยาบาลสนาม เช่น<br />

แนวทางความรู้ในเรื่องของการออกแบบระบบระบายอากาศเพื่อลด<br />

ความเสี่ยงในการติดเชื้อ รวมถึงช่วยออกคู่มือต่างๆ แจกจ่ายให้ใช้ใน<br />

ประเทศด้วย ส่วนทางกลุ่มสถาปนิก ACSR ก็ออกคู่มือออนไลน์เกี่ยวกับ<br />

การปรับพื้นที่เพื่อรองรับสถานการณ์โควิดเหมือนกัน รู้สึกว่าในช่วงนั้น<br />

ก็ค่อนข้างร่วมมือร่วมใจกันมากในกลุ่มของประเทศสมาชิก สำาหรับใน<br />

กลุ่ม Young Architect ก็มีการจัดประกวดแบบหัวข้อเกี่ยวกับบ้านหรือ<br />

ที่อยู่อาศัยที่สามารถรองรับกับสถานการณ์โควิดได้ เป็นการกระตุ้นให้<br />

เกิดทั้งกิจกรรมและการสร้าง Awareness ได้ดีด้วย ในส่วนอื่นจริงๆ<br />

เราก็มีการพูดคุยกันตลอดเกี่ยวกับเคสของแต่ละประเทศ โดยตัวแทน<br />

จากสิงคโปร์ได้พูดถึงเรื่องระบบ Hospitel ของเขาซึ่งเขาใช้ระบบนี้เป็น<br />

พื้นที่แรกๆ ส่วนเคสที่หลายประเทศสนใจกันคือเคสของไทย ซึ่งช่วง<br />

ระลอกแรกเราใช้ระบบ อสม. เป็นการติดตามและดูแลผู้มีความเสี่ยง<br />

ในแต่ละพื้นที่


164<br />

chat<br />

การทํางานของเราก็คือต้องพยายามสร้างประสบการณ์ ในรูปแบบออนไลน์<br />

ให้ดีขึ ้นให้ ได้ เพราะ Metaverse เป็ น เว็บไซต์ 3 มิติที่จําเป็ นต้องใช้สถาปนิก<br />

เป็ นผู้ออกแบบ ฉะนั้นเราจึงไม่ควรปฏิเสธ Metaverse ขณะที่ยังต้องพยายาม<br />

สร้างสรรค์ประสบการณ์ ออนไลน์ ให้เกิดความน่าสนใจขึ ้นด้วย<br />

คุณชุตยาเวศ สินธุพันธุ์: อย่างที่กล่าวไปคือเราแลกเปลี่ยนการ<br />

ทำางานกันมาตลอด ยกตัวอย่างโครงการ Hack Vax หรือ Hack<br />

Vaccine Nation ซึ่งเป็นโครงการของ MIT ที่ Media Lab พัฒนาขึ้น<br />

มา โดยประเทศไทยเป็นประเทศที่ 2 ที่นำาโครงการ Hack Vax เข้ามา<br />

ปรับให้เข้ากับบริบทของไทย เช่น รูปแบบโรงพยาบาลในประเทศไทย<br />

หรือการรอคิวแบบไทยๆ โดยสถานที่แรกที่นำา Hack Vax ไปใช้คือที่<br />

โคราช โดยให้กรรมการสถาปนิกอีสานมาร่วมด้วย ซึ่งในฝั่งของภาค<br />

อีสานเราดำาเนินการไปได้กว่า 10 โรงพยาบาล รวมถึงในภายหลัง<br />

โครงการ Hack Vax ทางกระทรวงสาธารณสุขก็ยังได้นำาไปพัฒนาต่อ<br />

เป็นขั้นตอนการฉีดวีคซีนด้วย มันจึงเป็นโครงการที่ถูกปรับและใช้งาน<br />

มาเรื่อยๆ จนลงตัวกับการทำางานของทางกระทรวงสาธารณสุขในแต่ละ<br />

พื้นที่นั้นๆ อย่างบางแห่งให้ผู้ที่ไปรับวัคซีนจะเป็นผู้เคลื่อนที่โดยให้<br />

แพทย์อยู่กับที่ หรืออย่างบางแห่งที่โรงพยาบาลเล็กๆ ใน จ.อุดรธานี ก็<br />

ใช้วิธีให้ผู้เข้าไปรับวีคซีนอยู่กับที่แล้วแพทย์เคลื่อนที่แทนก็มี ตรงนี้จะ<br />

มีกระบวนการที่แตกต่างกันขึ้นอยู่กับบริบทที่แตกต่างกัน ซึ่งเป็นการ<br />

ที่สถาปนิกและแพทย์ร่วมมือกันคิดกระบวนการทำางานต่างๆ นี้ขึ้นมา<br />

อีกทั้งยังมีการคิดไปถึงเรื่องของบรรยากาศการนั่งรอ ความรู้สึกผ่อน<br />

คลาย ช่วยลดความตึงเครียดก่อนรับวัคซีน เป็นต้น ตลอดจนเราก็นำา<br />

แนวทางของเรานี้ไปแชร์กับกลุ่มประเทศอื่นๆ ด้วยเหมือนกัน เพื่อ<br />

แลกเปลี่ยนองค์ความรู้กันว่ามีอะไรบ้างที่เราสามารถนำามาใช้กับ<br />

ประเทศของเรา หรือเขานำาของเราไปใช้ได้บ้าง<br />

อาษา: สิ ่งที่คณะกรรมการฝ่ ายต่างประเทศคาดหวังให้<br />

เกิดขึ ้นในอนาคตกับวงการสถาปั ตยกรรมและวิชาชีพ<br />

สถาปนิกของไทยคืออะไร<br />

คุณชุตยาเวศ สินธุพันธุ์: เราอยากเห็นคนไทยไปทำางานในตลาดโลก<br />

มากขึ้น สังเกตเห็นได้เลยว่าสถาปนิกในประเทศญี่ปุ่นเขาจะได้รับงาน<br />

ต่างประเทศเยอะมาก ซึ่งเขาไม่ได้ออกไปหางานเอง 100% แต่จะมี<br />

หน่วยงานที่คอยผลักดันว่างานของสถาปนิกคนนี้ดี สามารถนำาไป<br />

เผยแพร่ในสื่อหรือนิทรรศการในต่างประเทศได้ เป็นหน่วยงานที่คอย<br />

ผลักดันคนของตัวเองไปสู่ตลาดโลก ส่วนของเราก็พยายามที่จะร่วมงาน<br />

กับหน่วยงานอื่นๆ ไม่ว่าจะเป็นกรมส่งเสริมการส่งออกก็ดี หรือหน่วย<br />

งานระหว่างประเทศอื่นๆ ก็ดี เราพยายามช่วยกันหาวิธีทางต่างๆ ที่จะ<br />

ผลักดันให้สถาปนิกไทยมีโอกาสได้ไปร่วมงานหรือรับงานในประเทศ<br />

อื่นได้มากขึ้น ถึงแม้ทุกวันนี้จะเห็นผลงานของสถาปนิกไทยในไป<br />

ออกแบบในต่างแดนเยอะอยู่เหมือนกัน แต่ส่วนตัวรู้สึกว่าต้องขยับ<br />

ไปให้ได้ไกลกว่านี้ ซึ่งคิดว่าคุณภาพฝีมือของคนไทยสามารถทำาได้<br />

แน่นอน<br />

ผศ.ดร.รัฐพงษ์ อังกสิทธิ ์: ภาพรวมของแผนงานที่เราวางแผนกันมา<br />

ตลอดคิดว่าค่อนข้างครอบคลุมอยู่แล้ว สิ่งที่จะเข้ามาเสริมน่าจะเป็นส่วน<br />

ของกิจกรรมมากกว่า ส่วนตัวมองว่าการส่งเสริม คือการหาเวทีที่จะ<br />

ส่งงานของประเทศเราไปโปรโมท เพราะส่วนใหญ่ในเวทีโลกจะมีการจัด<br />

ประกวดผลงานและสถาปนิกดีเด่นอยู่แล้ว สมาคมของเราก็มีการส่งผล<br />

งานเข้าไปร่วมประกวดกันอย่างต่อเนื่องอยู่แล้ว


165


166<br />

the last page<br />

Photo: Chaiyoot Chinmahavong<br />

ชัยยุทธ ชินมหาวงศ์<br />

จบการศึกษาจากคณะ<br />

สถาปั ตยกรรมศาสตร์<br />

จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย<br />

ปั จจุบันเป็ นผู้ช่วยกรรมการ<br />

ผู้จัดการ บริษัท แลนด์<br />

แอนด์เฮ้าส์ จำากัด (มหาชน)<br />

ไม่ว่าสภาพแวดล้อมและบริบทของสังคมจะ<br />

เปลี่ยนไปอย่างไร บ้านจะยังคงเป็นสถานที่<br />

ในการเติมพลัง เยียวยา และให้กำาเนิดชีวิตใหม่<br />

เสมอ ความสะดวกสบายใดๆ ที่ถูกประดิษฐ์<br />

ขึ้น ล้วนมีหน้าที่เติมเต็มและสนับสนุนนิยาม<br />

ของบ้านในแต่ละผู้คน<br />

No matter how the environment and<br />

social context change, a home will<br />

always be a place to recharge, heal, and<br />

give birth to new life. So any convenience<br />

and comfort invented are no doubt to<br />

have a duty to fulfill and support the<br />

definition of home for each person.<br />

Chaiyoot<br />

Chinmahavong<br />

is an architect. He graduated<br />

from the Faculty of<br />

Architecture, Chulalongkorn<br />

University and is<br />

currently the Executive<br />

Vice President of Land<br />

and Houses PCL.

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!