29.03.2014 Views

file_20140204135352

file_20140204135352

file_20140204135352

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

Bonding technique<br />

ในการยึดชิ้นงานด้วย resin cement การมี cure ที่สมบูรณ์<br />

ของชั้น bonding ก็เป็นสิ่งสำคัญ บางท่านอาจเลือกใช้ activator,<br />

ฉายแสง bonding ก่อน cement หรือ ฉายแสง bonding พร้อม<br />

กันกับ cement เนื่องจากเกรงว่าความหนาของ bonding จะทำให้<br />

ชิ้นงานไม่ลงที่ แต่ในกรณีหลังสุด bonding ไม่ได้รับการ cure ที่<br />

สมบูรณ์ และทำให้ bond strength ต่ำกว่าการฉายแสง bonding<br />

ก่อน cement (Fig 11) อีกวิธีหนึ่งที่สามารถทำได้ และช่วยเพิ่ม<br />

bond strength คือ immediate dentin sealing<br />

Immediate dentin sealing<br />

เทคนิคนี้ ถูกพัฒนาขึ้นโดย Pascal Magne ในปี 2005 โดย<br />

แนะนำให้ seal dentin ก่อนพิมพ์ปากในวันที่มีการกรอแต่งฟัน ซึ่ง<br />

จะใช้เป็น Filled หรือ Unfilled adhesive ก็ได้ วิธีนี้พบว่ามีรายงาน<br />

อาการเสียวหลังทำน้อย และได้ bond strength สูง<br />

Dr. Mclaren ได้เสนอให้ทำ immediate dentin sealing (Fig<br />

12) หลังการพิมพ์ปากแล้ว เพื่อลดปัญหาวัสดุพิมพ์ปากไม่แข็งตัว<br />

ในบริเวณที่สัมผัสกับ ผิว bonding ที่ไม่แข็งตัวเต็มที่เนื่องจากโดน<br />

ออกซิเจน โดยแนะนำให้ใช้ unfilled adhesive ซึ่งมี film thickness<br />

ที่บาง เพื่อป้องกันการใส่ชิ้นงานไม่ลง bond strength ที่ได้ ไม่มี<br />

ความแตกต่างกันไม่ว่าจะ seal dentin ด้วย total etch technique<br />

หรือ self etch technique (Fig 13-14)<br />

Fig 1 : Drawing on the Right Side<br />

of the Brain ; www.drawright.com<br />

Uncut enamel<br />

etching time<br />

การใช้กรดกัดฟันที่ยัง<br />

ไม่ได้กรอแต่งนั้น พบว่า<br />

มี Bond strength ที่ดี<br />

ที่สุดเมื่อ Sandblast หรือ<br />

air-abraded ผิวฟันร่วมกับ<br />

การใช้กรดกัดฟัน 15-60<br />

วินาที ส่วนการขัดฟันด้วย<br />

พัมมิสแลัวจึงใช้กรดกัด<br />

60 วินาทีจะให้ค่า bond<br />

strength ที่รองลงมา<br />

Fig 2 : รูปปั้นจำลองขนาดมินิประมาณ10 มิลลิเมตร ทำจาก dental<br />

porcelain ด้วย layering technique ล้วนๆ<br />

Fig 7 : ภาพแสดงความทึบแสงของ Zirconia ที่แตกต่างกัน เมื่อมีความ<br />

หนาที่แตกต่างกัน<br />

Fig 8 : ภาพแสดง stump shade, โครง Zirconia และ ภาพหลังการรักษา<br />

Fig 9 : ภาพด้านซ้ายเป็นภาพของฟันที่กัดเอาเคลือบฟันออกทั้งหมด ภาพ<br />

ขวาเป็นภาพของเคลือบฟันหลังกัดเนื้อฟันออกทั้งหมด<br />

Fig 13: กราฟแสดง Bond Strength จาก IDS โดยใช้ Self Etch Technique<br />

Fig 14 : กราฟเปรียบเทียบ IDS ด้วย Adhesive 3 ยี่ห้อ: Optibond FL,<br />

All bond 3 และ Scotchbond Universal<br />

Fig 15 : กราฟแสดง Bond Strength ที่ได้รับจากการเตรียมผิวฟันที่แตก<br />

ต่างกัน และใช้ระยะเวลาในกัดด้วยกรดที่แตกต่างกัน<br />

การเตรียมผิวชิ้นงาน Zirconia<br />

แนะนำให้ใช้กรด Hydrofluoric (HF) กัด Glass ceramic โดยใช้<br />

ความเข้มข้นและระยะเวลาตามที่บริษัทกำหนด ควรทากรดให้เลย<br />

margin ออกมาเล็กน้อย (Fig 16) เนื่องจากกรดมักจะดึงตัวออก<br />

จากเซรามิกเล็กน้อยบริเวณขอบ ทำให้บริเวณขอบไม่ได้ถูกกรด<br />

กัด ทั้งนี้ผิวเซรามิกที่ผ่านการ Glaze แล้วจะไม่ถูกกรดกัด จากนั้น<br />

จึงทา Silane และ adhesive<br />

ข้อควรระวังในการใช้งาน Zirconia<br />

ไม่ควรใช้ Phosphoric acid ในการทำความสะอาดผิว Zirconia<br />

เนื่องจาก phosphate group สามารถ bond กับออกซิเจนใน<br />

Zirconia ได้ ซึ่งจะทำให้ bonding site ใน Zirconia ถูกใช้ไปจน<br />

หมดไม่เหลือที่ให้เกิดปฏิกิริยา (Bonding agents สำหรับ Zirconia<br />

ในปัจจุบันจะใช้ phosphate monomer ชนิดพิเศษในการยึดกับ<br />

Zirconia ด้วยวิธีการเดียวกัน)<br />

Fig 3 : ตารางแสดงความแข็งแรงของ Zirconia แต่ละยี่ห้อ<br />

Fig 4 : ภาพ SEM ของ Zirconia 3 ยี่ห้อ<br />

Fig 5 : กราฟแท่งเปรียบเทียบความแข็งแรงของวัสดุในสภาวะต่างๆ<br />

Fig 10: กราฟแสดงอัตราการสึกของเคลือบฟันและวัสดุจากการเสียดสี<br />

Fig 11: กราฟเปรียบเทียบ Bond strength เมื่อฉายแสง Bonding ก่อน<br />

cement และฉาย Bonding พร้อม cement<br />

Fig 16 : ลักษณะการทา HF เมื่อเตรียมผิวเซรามิก<br />

References<br />

1. www.drawright.com<br />

2. McLaren, Edward A., and Phong Tran Cao. “Smile analysis and<br />

esthetic design:“in the zone.” Inside Dentistry 5.7 (2009) : 44-48.<br />

3. Mclaren, Edward A., and Schoenbaum, Todd. “The Bonded<br />

Functional Esthetic Prototype: Part 1”. “Inside Dentistry 9.1<br />

(2013): 70-74.<br />

4. McLaren, Edward A., and Yair Y. Whiteman. “Ceramics :<br />

rationale for material selection.” Compend Contin Educ Dent 31.9<br />

(2010): 666-668.<br />

5. McLaren, Edward A., and Phong Tran Cao. “Ceramics in<br />

dentistry—part I: classes of materials.” Inside dentistry 5.9<br />

(2009): 94-103.<br />

6. Giordano, Russell, and Edward A. McLaren. “Ceramics overview:<br />

classification by microstructure and processing methods.”<br />

Compend Contin Educ Dent 31.9 (2010): 682-684.<br />

7. www.edmclaren.com<br />

8. www.oralfacialarts.com<br />

Fig 6 : กราฟแสดงแรงที่ใช้ในการทำให้ porcelain<br />

หลุดร่อนจากโครงเมื่อลดอุณหภูมิลงในอัตราที่แตกต่างกัน<br />

Fig 12: กราฟเปรียบเทียบ Immediate Dentin Sealing ก่อนพิมพ์ปาก, หลังพิมพ์ปาก, cement ตามปกติ โดยฉายแสง<br />

Primer (All bond 3) ก่อน และ cement ตามปกติโดยไม่ได้มีการฉายแสง Bonding ก่อนโดยใช้ Optibond FL<br />

30 • THAI DENTAL MAGAZINE THAI DENTAL MAGAZINE • 31

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!