13.06.2013 Views

ตารางที่ 2

ตารางที่ 2

ตารางที่ 2

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

การเกิดโรคมะเร็งปอดมากขึ ้น อีกทั ้งประวัติโรคเลือดออกง่าย การรักษาด้วยยากลุ ่มต้านแข็งตัวของเลือด<br />

(anticoagulant) รวมถึงยาที่มีผลต่อเกล็ดเลือด<br />

เช่น heparin, aspirin, clopidogrel เป็ นต้น<br />

2. การตรวจร่างกาย<br />

ความผิดปกติบางอย่างที่ตรวจพบจากการตรวจร่างกายอาจช่วยในการวินิจฉัยโรคได้<br />

เช่น ฟังปอดพบ<br />

เสียง pleural friction rub ควรนึกถึง pulmonary embolism เสียง localized หรือ diffuse crackles นึกถึงภาวะ<br />

เลือดออกในเนื ้อปอดหรือมีโรคปอดเดิมที่สัมพันธ์กับเลือดออก เสียงหลอดลมตีบควรนึกถึง chronic<br />

bronchitis หรือเสียง rhonchi เด่นอาจนึกถึง bronchiectasis<br />

การตรวจระบบหัวใจและหลอดเลือดอาจพบอาการแสดงของโรคบางอย่าง เช่น pulmonary arterial<br />

hypertension อาจตรวจพบเสียง 2 ของหัวใจดัง(loud S2) หัวใจห้องขวาล่างโต(right ventricular hypertrophy)<br />

jugular venous pressure สูง ส่วนถ้าเป็ นโรค mitral stenosis อาจตรวจพบเสียงหัวใจแบบ diastolic rumbling<br />

murmur หรือถ้าผู ้ป่ เป็ วย น heart failure อาจตรวจพบเสียง S3 หรือ S4 gallop, PMI lateral shifted to the left<br />

และ heaving<br />

การตรวจผิวหนังและเยื่อบุผิวอาจพบความผิดปกติที่พบใน<br />

Kaposi's sarcoma ลักษณะ arteriovenous<br />

malformation ที่พบในโรค Osler-Rendu-Weber หรือลักษณะรอยโรคผิวหนังที่จําเพาะพบในโรค systemic<br />

lupus erythematosus<br />

3. การตรวจสืบค้นเพิ่มเติม<br />

การตรวจสืบค้นเพิ ่มเติมที่มีประโยชน์ในผู้ป่<br />

วยที่ไอเป็<br />

นเลือดอันดับแรกนั ้นคือ ภาพถ่ายรังสีทรวงอก<br />

(chest radiograph) อาจจะตรวจด้วยเอ็กซเรย์คอมพิวเตอร์(CT scan)ร่วมด้วยเพื่อค้นหารอยโรคที่เป็ นก้อน เนื ้อ<br />

ปอดผิดปกติแบบเฉพาะที่หรือแบบทั่วๆ<br />

โดยเฉพาะโรคหลอดลมพองตัว(bronchiectasis) ควรได้รับการตรวจ<br />

ด้วยเอ็กซเรย์คอมพิวเตอร์ชนิดความละเอียดสูง(HRCT) เนื่องจากสามารถเห็นรายละเอียดได้ดี อีกทั<br />

้งวิธีตรวจ<br />

นี ้เป็ นมาตรฐานของการวินิจฉัยโรคหลอดลมพองตัว<br />

ส่วนการตรวจสืบค้นอื่นๆได้แก่<br />

การตรวจนับปริมาณเลือด(complete blood count), การแข็งตัวของ<br />

เลือด(coagulation profile), การประเมินการทํางานของไต(blood urea nitrogen และ creatinine) และการตรวจ<br />

ปัสสาวะ(uninalysis)<br />

การตรวจเสมหะด้วยการย้อมเชื ้อแกรม(gram stain) และ acid-fast stain อาจร่วมกับการเพาะเชื ้อ จะ<br />

ช่วยบอกเชื ้อโรคที่ก่อให้เกิดอาการไอเป็ นเลือดของผู้ป่ วยได้<br />

การส่องกล้องตรวจหลอดลมและปอด(fiberoptic bronchoscopy) มีประโยชน์ในการหาตําแหน่งที่มี<br />

เลือดออกและตรวจดูรอยโรคภายในหลอดลม(endobronchial lesion) ถ้ามีเลือดออกปริมาณมากการส่องกล้อง<br />

แบบท่อเหล็กตรง(rigid bronchoscopy) มักดีกว่าแบบปรับมุมมอง(fiberoptic bronchoscopy) เนื่องจากสามารถ<br />

ดูแลรักษาเรื่องทางเดินหายใจและดูดเลือดที่ตกค้างในหลอดลมได้ดีกว่า

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!