13.06.2013 Views

ตารางที่ 2

ตารางที่ 2

ตารางที่ 2

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

3. Aortic dissection เป็ นโรคที่อันตรายและรุนแรงถึงขั<br />

้นเสียชีวิตได้ จากการฉีกขาดของผนังชั ้น<br />

intima ในหลอดเลือดแดง aorta ทําให้เกิดลิ่มเลือดอยู<br />

่ภายใน(intimal hematoma) ภาวะนี ้เกิดจากการกระทบ<br />

กระแทก เช่น อุบัติเหตุรถจักยนยนต์กระแทกที่หน้าอก<br />

หรือเกิดจากการใส่เครื่องมือทางการแพทย์เข้าสู<br />

่หลอด<br />

เลือดแล้วเกิดการฉีกขาด เช่น การใส่สายสวนหลอดเลือด(catheters) หรือ intraaortic balloon pumps เป็ นต้น<br />

ส่วนสาเหตุที่ไม่ใช่การกระทบกระแทกซึ<br />

่งเกิดขึ ้นได้เองนั ้นพบได้น้อย ได้แก่ กลุ่มโรคเนื<br />

้อเยื่อเกี่ยวพัน<br />

(connective tissue diseases) เช่น Marfan syndromes และ Ehlers-Danlos syndromes เป็ นต้นโดยครึ ่ งหนึ ่งของ<br />

โรคนี ้ในผู้หญิงอายุน้อยกว่า 40 ปี เกิดขึ ้นขณะตั ้งครรภ์ ส่วนใหญ่ผู้ป่ วยโรคนี ้มีอาการเจ็บหน้าอกอย่างรุนแรง<br />

และเจ็บมากที่สุดทันทีทันใด ซึ่งผู้ป่ วยมัก จะเสียชีวิตจากความรุนแรงดังกล่าว การเซาะของหลอดเลือด aorta<br />

มักเกิดขึ ้นบริเวณส่วน ascending aorta แล้วขยายไปสู ่ส่วน descending aorta ทําให้เกิดอาการเจ็บหน้าตรง<br />

กลางอกร้าวทะลุหลังและบริเวณระหว่างกระดูกสะบัก การตรวจร่างกายอาจพบอาการแสดงของการลดลงของ<br />

เลือดที่ไปเลี<br />

้ยงแขนงของ aorta เช่น การตรวจไม่พบชีพจรของแขนข้างเดียวหรือทั ้ง 2 ข้าง, หลอดเลือดสมอง<br />

ทําให้กล้ามเนื ้อขาอ่อนแรงทั ้ง 2 ข้าง(paraplegia) เป็ นต้น ถ้าลิ ่มเลือดเซาะถึงส่วนต้นของ aorta ทําให้เกิดความ<br />

ผิดปกติของ coronary arteries หรือ aortic valve ส่งผลทําให้เกิด acute myocardial infarction หรือลิ้นหัวใจ<br />

aortaรั่วเฉียบพลัน(acute<br />

aortic insufficiency) หากมีการแตกของลิ ่มเลือดจะมีเลือดไหลเข้าสู่ระหว่างเยื่อหุ้ม<br />

หัวใจทําให้เกิดภาวะหัวใจถูกกดทับ(pericardial tamponade)<br />

4. Pulmonary embolism อาการเจ็บหน้าอกเกิดจากการขยายและตึงตัวของหลอดเลือด pulmonary<br />

artery หรือการตายของเนื ้อปอดที่อยู<br />

่ชิดเยื่อหุ้มปอด<br />

การเกิดลิ่มเลือดอุดตันของ<br />

pulmonary artery อย่างมาก<br />

(massive pulmonary emboli) อาจทําให้เกิดเจ็บหน้าอกตรงกลางบริเวณ substernum คล้ายกับ acute<br />

myocardial infarction ได้เช่นกัน แต่ส่วนใหญ่มักเกิดลิ่มเลือดอุดตันเล็กน้อยทําให้เกิดการตายของเนื<br />

้อปอด<br />

แบบเฉพาะที่<br />

ส่งผลเกิดเจ็บหน้าอกที่สัมพันธ์กับการหายใจ(pleuritic<br />

chest pain) อาการร่วมอื่นๆได้แก่<br />

อาการ<br />

เหนื่อย<br />

บางครั ้งมีอาการไอเป็ นเลือด สําหรับอาการที่พบบ่อยคือ<br />

ภาวะหัวใจเต้นเร็ว ซึ ่งการตรวจคลื่นไฟฟ้<br />

า<br />

หัวใจ(ECG) สามารถช่วยสนับสนุนการวินิจฉัยโรคนี ้ได้<br />

5. Pneumothorax เป็ นภาวะลมในช่องเยื่อหุ้มปอด<br />

มีอาการเจ็บหน้าอกทันทีทันใดและสัมพันธ์กับ<br />

การหายใจ(pleuritic chest pain)และมีอาการเหนื่อยคล้ายกับการเกิด<br />

pulmonary embolism ถ้าภาวะนี ้เกิดขึ ้น<br />

เองเรียกว่า spontaneous pneumothorax โดยอาจมีหรือไม่มีสิ ่งกระตุ้น รวมถึงอาจมีหรือไม่มีโรคปอดเดิมก็ได้<br />

การตรวจร่างกายมักพบการเคาะโปร่งของทรวงอกด้านที่เกิดโรค(hyperresonance<br />

on percussion) และฟังได้<br />

ยินเสียงปอดลดลง ภาพถ่ายรังสีทรวงอก(chest X-ray) สามารถช่วยยืนยันการวินิจฉัยโรคได้เมื่อพบลมแทรก<br />

ในช่องเยื่อหุ้มปอด

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!