13.06.2013 Views

ตารางที่ 2

ตารางที่ 2

ตารางที่ 2

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

เอกสารประกอบคําสอน<br />

รายวิชาบทนําเวชศาสตร์คลินิก<br />

พศ.401<br />

(Introduction to Clinical Medicine)<br />

เรื่อง<br />

อาการวิทยาระบบหายใจ<br />

โดย<br />

อาจารย์ นายแพทย์ณรงค์กร ซ้ายโพธิ ์ กลาง<br />

โครงการจัดตั ้งภาควิชาอายุรศาสตร์<br />

คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์<br />

ปี การศึกษา 2555


แผนการสอน<br />

ผู ้สอน: อาจารย์ นายแพทย์ณรงค์กร ซ้ายโพธิ ์ กลาง<br />

ระยะเวลา: 1 ชั่วโมง<br />

ผู ้เรียน: นักศึกษาแพทย์ ชั ้นปี 4<br />

วัตถุประสงค์ เมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอนแล้ว<br />

นักศึกษาสามารถ<br />

เนื้อหา<br />

1. บอกแนวทางการซักประวัติผู้ป่ วยที่มาด้วยความผิดปกติในระบบทางเดินหายใจ<br />

2. บอกสาเหตุหรือการวินิจฉัยแยกโรคของผู้ที่มาด้วยความผิดปกติในระบบทางเดินหายใจ<br />

3. มีเจตคติที่ดีและมีพฤติกรรมที่เหมาะสมในการซักประวัติผู้ป่<br />

วย<br />

1. Cough<br />

2. Hemoptysis<br />

3. Chest pain<br />

4. Dyspnea<br />

การจัดประสบการณ์การเรียนรู ้: บรรยายและซักถาม 1 ชั่วโมง<br />

สื่อการศึกษา<br />

1. power point<br />

2. เอกสารประกอบคําสอน<br />

การประเมินผล<br />

1. สังเกตการมีส่วนร่วมในชั ้นเรียน<br />

2. การสอบ MCQ


อาการไอ (Cough)<br />

การไอเป็ นกลไกป้ องกันตนเองอัตโนมัติ(defence reflex mechanism) ประกอบด้วย 3 ระยะ ได้แก่<br />

1. ระยะการหายใจเข้าลึก<br />

2. ระยะการหายใจออกอย่างแรงเพื่อต้านการปิ<br />

ดของฝาปิ ดกล่องเสียง<br />

3.ระยะการเปิ ดของฝาปิ ดกล่องเสียงและการหายใจออกอย่างเร็วซึ ่งจะทําให้เสียงไอดังเกิดขึ ้น<br />

การไอทําหน้าที่กําจัดสารออกจากกล่องเสียง<br />

หลอดลมคอ หลอดลมใหญ่ เช่น สารคัดหลั่ง<br />

สิ ่ง<br />

แปลกปลอม เชื ้อโรค เป็ นต้น โดยทั ่วไปคนมักจะไอหลังจากเป็ นหวัด(common cold) ระยะเวลา 1-3 สัปดาห์<br />

ซึ ่งเป็ นกลไกหนึ ่งในการกําจัดสิ ่งแปลกปลอมเช่นกัน กลไกการไอจะสูญเสียไปเห็นได้จากตัวอย่างการกดไอ<br />

หลังจากการดมยาสลบซึ ่งทําให้สารคัดหลั่งคั ่งค้างอยู ่ในทางเดินหายใจและเกิดการติดเชื ้อตามมา การไอเป็ น<br />

สัญญาณเตือนของการเกิดโรคทําให้แพทย์ต้องตระหนักถึงความสําคัญและนําไปสู ่การวินิจฉัยโรคของผู ้ป่ วย<br />

เมื่อเกิดการไออย่างมากและเรื<br />

้อรังอาจก่อให้เกิดภาวะแทรกซ้อนตามมา ได้แก่ อาเจียน กระดูกซี่โครงหัก<br />

ปัสสาวะเล็ด เป็ นลม ปวดกล้ามเนื ้อ เหนื่อย<br />

อ่อนเพลีย และซึมเศร้า รวมถึงอาจเกิดอาการหรือภาวะอื่นๆได้<br />

ตาม<strong>ตารางที่</strong><br />

1<br />

<strong>ตารางที่</strong><br />

1 ภาวะแทรกซ้อนของอาการไอ<br />

System Complications<br />

Cardiovascular<br />

Arterial hypotension<br />

Loss of consciousness<br />

Rupture of subconjunctival, nasal, and anal veins<br />

Dislodgement/malfunctioning of intravascular catheters<br />

Bradyarrhythmias, tachyarrhythmias<br />

Neurologic<br />

Cough syncope<br />

Headache<br />

Cerebral air embolism<br />

CSF fluid rhinorrhea<br />

Acute cervical radiculopathy<br />

Malfunction in ventriculoatrial shunts<br />

Seizures<br />

Stroke due to vertebral artery dissection


<strong>ตารางที่</strong> 1 (ต่อ)<br />

System Complications<br />

Gastrointestinal<br />

Gastroesophageal reflux events<br />

Hydrothorax in peritoneal dialysis<br />

Malfunction of gastrostomy button<br />

Splenic rupture<br />

Inguinal hernia<br />

Genitourinary<br />

Urinary incontinence<br />

Inversion of bladder through urethra<br />

Musculoskeletal<br />

Asymptomatic elevations of serum creatine phosphokinase<br />

and rupture of rectus abdominis muscles<br />

Rib fracture<br />

Respiratory<br />

Pulmonary interstitial emphysema, with potential risk of<br />

pneumatosis intestinalis, pneumomediastinum,<br />

pneumoperitoneum, pneumoretroperitoneum,<br />

pneumothorax, subcutaneous emphysema<br />

Laryngeal trauma<br />

Tracheobronchial trauma (eg, bronchitis, bronchial<br />

rupture)<br />

Exacerbation of asthma<br />

Intercostal lung herniation<br />

Miscellaneous<br />

Petechiae and purpura<br />

Disruption of surgical wounds<br />

Constitutional symptoms<br />

Lifestyle changes<br />

Self-consciousness, hoarseness, dizziness<br />

Fear of serious disease<br />

Decrease in quality of life -


พยาธิสรีรวิทยา<br />

การไอเป็ นการตอบสนองอัตโนมัติ(cough reflex) สามารถถูกกระตุ้นโดยการเปลี่ยนแปลงด้านการ<br />

อักเสบหรือกลศาสตร์(inflammatory หรือ mechanical change)หลายชนิดภายในหลอดลม การสูดหายใจนําสิ ่ง<br />

กระตุ้นเข้าภายในทางเดินหายใจส่วนบนโดยเฉพาะกล่องเสียง ส่วนปลายของหลอดลมคอ(carina) และส่วน<br />

ต้นของแขนงหลอดลม ตัวรับเส้นประสาทความรู้สึก(sensory nerve receptor)จะตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้นซึ่งมี<br />

3 ตัวรับที่สําคัญ<br />

ได้แก่ rapidly adapting receptors(RARs), slowly adapting receptors(SARs) และ C-fiber<br />

receptors การทํางานของRARs จะถูกกระตุ้นด้วยควันบุหรี่<br />

สารละลายกรดและด่าง นํ ้าเกลือที่มีความเข้มข้น<br />

ตํ ่าหรือสูง การกระตุ้นทางกลศาสตร์ ปอดบวมนํ ้า(pulmonary congestion) ปอดแฟบ(atelectasis) หลอดลมตีบ<br />

(bronchoconstriction) และความยืดหยุ่นของปอดลดลง(decrease<br />

lung compliance) ส่วน C-fiber receptors จะ<br />

ตอบสนองต่อสารเคมี เช่น bradykinin(สาร mediator ที่หลั่งในขณะที่มีการอักเสบ)<br />

capsaicin(สาร vanilloid ที่<br />

สกัดจากพริก) และ hydrogen ions(acid pH) ซึ ่งมักเรียกตัวรับชนิดนี ้ว่า chemosensor<br />

1<br />

รูปที่<br />

1 กายวิภาคของเส้นประสาทของการไอ0<br />

1<br />

ตัวรับการไอ(cough receptor) แสดงเป็ นจุดกลม(•) บริเวณแตกแขนงของหลอดลม กล่องเสียง ส่วนปลายของหลอดอาหาร ส่งสัญญาณเชื่อมต่อ<br />

กับเส้นประสาทขาเข้าผ่านทางเส้นประสาท vagus และ superior laryngeal nerve นําไปสู ่ศูนย์การไอ(cough center) และสมองใหญ่(cerebral<br />

cortex) ส่งสัญญาณผ่านเส้นประสาทขาออกเชื่อมต่อกับกล้ามเนื้อที่ตอบสนองต่อการไอได้แก่<br />

กระบังลม และกล้ามเนื้อระหว่างซี่โครง


ตัวรับการไอ(cough receptor)ประกอบด้วย gated ion channels สามารถถูกกระตุ้นด้วยกรด ส่วน<br />

ตัวรับต่อ capsaicin มี transient receptor potential vanilloid-1(TRPV-1) channel พบใน RARs และ C-fibers<br />

ซึ ่งถูกกระตุ้นโดยความร้อน, กรด, สารbradykinin, อนุพันธ์ของ arachidonic acid และ adenosine<br />

triphosphate(ATP) ตําแหน่งที่มี<br />

TRPV-1 channel ปริมาณมากอยู่ที่เส้นประสาทของเยื่อบุผิวของทางเดิน<br />

หายใจและมีปริมาณมากขึ ้นในคนที่ไอเรื<br />

้อรัง ซึ ่ง TRPV-1 inhibitors สามารถกดการไอได้จากการศึกษาใน<br />

สัตว์ทดลองซึ่งอาจจะเป็ นยาแก้ไอที่ใช้ในคนในอนาคต สารbradykinin และ prostaglandin E2 and F2α จะ<br />

กระตุ้นการไอเพิ่มมากขึ ้นจากการตอบสนองต่อ capsaicin โดยผ่านการทํางานของ voltage-gated sodium<br />

channelที่จําเพาะ เส้นประสาทขาเข้า(afferent fiber) จาก cough receptor ภายในทางเดินหายใจจะรวมกันแล้ว<br />

ส่งผ่าน vagus nerve ที่ nucleus tractus solitarius ของก้านสมอง( brainstem) ซึ่ง nucleus tractus solitaries จะ<br />

เชื่อมต่อกับตัวเซลล์ประสาทเกี่ยวกับการหายใจ(respiratory-related<br />

neuron) ที่ศูนย์กลางการหายใจ(central<br />

respiratory generator) ซึ ่งเชื่อมต่อกับการตอบสนองต่อเส้นประสาทขาออก(efferent<br />

cough)<br />

2<br />

รูปที่<br />

2 พยาธิสรีรวิทยาของการตอบสนองอัตโนมัติต่อการไอ(cough reflex)และเส้นประสาทที่ควบคุมการไอ1<br />

2<br />

Cough receptors ได้แก่ rapidly adapting receptors(RARs), C-fiber และ slowly adapting fibers(SAR) เชื่อมต่อเข้าสู<br />

่ brainstem medullary<br />

central cough generator ผ่านทาง intermediary relay neurons อยู่ที่ nucleus tractus solitarius(NTS) Cerebral cortex ส่งสัญญาณควบคุมการไอ<br />

ด้วยความตั้งใจหรือไอมากขึ้นได้(urge-to-cough<br />

sensation) CGRP=calcitonin gene-related peptide, LTD4=leukotriene D4,<br />

PGE2=prostaglandin E, NK1=neulokinin-1, TRPV=transientreceptor potential vanilloid, TNF=tumour necrosis factor


ตัวเซลล์ respiratory neuron อยู ่ที่ศูนย์กลางการไอ(cough<br />

center) หรือ central cough generator (รูปที่<br />

1 และ 2) ทํางานโดยผ่านการกระตุ้น C-fiber, RARs หรือเส้นประสาทขาออก(afferent nerves) รวมถึงกระตุ้น<br />

ของ cough reflex ที่ตัวเซลล์ประสาทของก้านสมอง การไอสามารถถูกควบคุมโดยศูนย์สมองส่วนบน(higher<br />

cortical center) ทําให้ควบคุมหรือยับยั ้งการไอด้วยความตั ้งใจได้ ขณะนอนหลับเราสามารถกดการไอได้เป็ น<br />

เวลานานๆ ในทางตรงกันข้ามผู้ป่ วยที่ไอเรื<br />

้อรังจะไอมากขึ ้นโดยการกระตุ้นด้วยสารบางชนิด เช่น citric acid<br />

หรือ capsaicin เป็ นต้น ที่อยู<br />

่บริเวณ cough receptors(peripheral sensitisation) หรือกระตุ้นด้วยการ<br />

เปลี่ยนแปลงที่ประสาทส่วนกลางที่ก้านสมอง(central<br />

sensitisation)(รูปที่<br />

2) การกระตุ้นประกอบด้วย การ<br />

เปลี่ยนแปลงการหลั่งสารสื่อประสาท(neurotransmitters<br />

หรือ neuromodulators) และการกระตุ้นของเซลล์<br />

ประสาทบริเวณ postsynaptic รวมถึงโครงสร้างของประสาท<br />

การได้รับควันบุหรี่จากผู้อื่น(second-hand<br />

tobacco smoke) มีการกระตุ้นเซลล์ประสาทบริเวณ<br />

nucleus tractus solitaries ทําให้เกิดอาการไอจากการหลั่งสาร<br />

substance P ที่ก้านสมอง<br />

ในภาวะปกติการ<br />

เปลี่ยนแปลงทางกลศาสตร์(mechanical<br />

change) ของ cough receptor ทําให้ เกิดการตอบสนองอัตโนมัติต่อการ<br />

ไอ แต่การระคายเคืองและการอักเสบทําให้การเปลี่ยนแปลงด้าน<br />

neuroplastic ซึ่ง cough receptor จะไม่<br />

ตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้นหรืออาจตอบสนองมากเกิน(hypersensitive) ต่อสิ่งกระตุ้นอื่นๆ<br />

อาการไอเป็ นอาการนําที่พาผู้ป่<br />

วยมาพบแพทย์มากที่สุดในอาการทางระบบหายใจ<br />

ทั ้งนี ้เพราะอาการ<br />

ไอถือเป็ นขบวนการป้ องกันของร่างกายอย่างหนึ ่งเพื่อกําจัดสิ<br />

่งแปลกปลอมออกจากร่างกาย คือระบบการ<br />

หายใจตั ้งแต่จมูก ปาก หลอดลม และทางเดินหายใจส่วนล่าง โดยเฉพาะการติดเชื ้อของทางเดินหายใจส่วนบน<br />

จากไวรัส คือ หวัด ก็ทําให้ผู้ป่ วยมีอาการไอได้<br />

ผู้ป่ วยที่มาพบแพทย์ด้วยอาการไอนั<br />

้น อาจแบ่งได้เป็ น 3 กลุ่มตามระยะเวลาของการไอ<br />

ได้แก่<br />

1. ไอเฉียบพลัน(acute cough) คือการไอที่มีระยะเวลาน้อยกว่า 3 สัปดาห์<br />

2. ไอกึ่งเฉียบพลัน(subacute cough) คือการไอที่มีระยะเวลาระหว่าง 3 - 8 สัปดาห์<br />

3. ไอเรื ้อรัง(chronic cough) คือการไอที่มีระยะเวลานานกว่า 8 สัปดาห์<br />

Acute cough<br />

ผู้ป่ วยที่มีอาการไอน้อยกว่า 3 สัปดาห์ จากการซักประวัติ ตรวจร่างกาย และอาจรวมถึงการตรวจทาง<br />

ห้องปฏิบัติการง่ายๆ ทําให้สามารถแบ่งกลุ่มโรคออกเป็<br />

น 2 กลุ่ม และสาเหตุอื่นๆตาม<strong>ตารางที่</strong><br />

2 คือ


1. กลุ่มโรคที่เป็<br />

นอันตรายถึงชีวิต(life threatening group) ได้แก่ pneumonia, acute asthma, acute<br />

exacerbation of chronic obstructive pulmonary disease(COPD), pulmonary embolism, heart failure, หรือ<br />

โรคที่รุนแรงอื่นๆ<br />

2. กลุ่มโรคที่ไม่เป็<br />

นอันตรายถึงชีวิต(non-life threatening group) ซึ ่งแบ่งเป็ น<br />

2.1 กลุ ่มโรคติดเชื ้อ(infection)ได้แก่ upper และ lower respiratory tract infection<br />

2.2 กลุ ่มอาการกําเริบจากโรคเดิม(exacerbation of pre-existing condition) ได้แก่ upper airway cough<br />

syndrome(post-nasal drip syndrome), asthma, COPD<br />

2.3 กลุ ่มโรคจากสิ ่งแวดล้อมและอาชีพ(environmental and occupation)<br />

<strong>ตารางที่</strong><br />

2 สาเหตุที่พบบ่อยของอาการไอเฉียบพลันในผู้ใหญ่<br />

Common Less common<br />

Common cold<br />

Acute bacterial sinusitis<br />

Pneumonia<br />

Exacerbation of asthma<br />

Exacerbations of COPD<br />

Allergic rhinitis<br />

Environmental irritant rhinitis<br />

Congestive heart failure<br />

Aspiration syndromes<br />

Pulmonary embolism<br />

Foreign bodies<br />

Pertussis<br />

Subacute cough<br />

ผู ้ป่ ที วย ่มีอาการไอกึ ่งเฉียบพลัน นั ่นคือ ระยะเวลาระหว่าง 3 - 8 สัปดาห์ เมื่อซักประวัติและตรวจ<br />

ร่างกาย ตลอดจนการตรวจทางห้องปฏิบัติการง่ายๆ แบ่งออกเป็ น 2 กลุ่ม คือ<br />

1. โรคหลังติดเชื ้อ(postinfectious)ได้แก่<br />

1.1 ปอดอักเสบ(pneumonia)<br />

1.2 หลอดลมอักเสบ(bronchitis)<br />

1.3 ไอกรน(pertussis)<br />

1.4 อาการกําเริบจากโรคเดิม(exacerbation of pre-existing condition) ได้แก่ upper airway cough<br />

syndrome(post-nasal drip syndrome), asthma, bronchitis, gastroesophageal reflux disease<br />

2. ไม่ใช่โรคติดเชื ้อ(non-infectious) พิจารณาสืบค้นเพิ่มเติมแบบอาการไอเรื<br />

้อรัง(chronic cough)


Chronic cough<br />

ส่วนใหญ่ผู้ป่ วยที่มีอาการไอนานเกินกว่า 8 สัปดาห์ มักจะได้รับการรักษามาก่อนแล้ว โดยเฉพาะ<br />

อาจจะได้รับยาฆ่าเชื ้อ(antibiotic),ยาแก้แพ้(antihistamine), ยาสเตียรอยด์ชนิดสูด(inhaled corticosteroids), ยา<br />

ลดกรดไหลย้อน(anti-reflux) รวมถึง ยาลดกรดชนิด proton pump inhibitor มาแล้ว แต่การได้รับยาเหล่านั ้น<br />

อาจไม่เต็มที่เพราะไม่ทราบถึงการวินิจฉัยที่แน่นอน<br />

ดังนั ้นผู้ป่ วยเหล่านี ้จึงต้องได้รับการตรวจสืบค้นที ่<br />

เหมาะสมและได้รับการวินิจฉัยที่แน่นอน<br />

เพื่อการรักษาจะได้ถูกต้อง<br />

สาเหตุส่วนใหญ่ของผู้ป่ วยไอเรื ้อรัง ได้แก่ การสูบบุหรี่<br />

แต่ผู้ป่ วยที่ไอเรื<br />

้อรังจากการสูบบุหรี่มักจะไม่<br />

มาพบแพทย์ด้วยอาการไอ นอกจากจะมีความผิดปกติจากการไอ เช่น ไอมีเลือดปน หรือ อาการเหนื่อยมากขึ<br />

้น<br />

เป็ นต้น นอกจากนี ้สาเหตุของอาการไอเรื ้อรังที่พบบ่อยอีกสาเหตุหนึ<br />

่ง คือ การได้รับยาลดความดันโลหิตรักษา<br />

โรคหัวใจกลุ ่ม angiotensin converting enzyme inhibitor(ACEI) เช่น enalapril เป็ นต้น ในกรณีนี ้ผู้ป่ วยควร<br />

ได้รับการหยุดยาก่อนแล้วประเมินซํ ้า หากเป็ นผลจากยาแล้วอาการไอจะดีขึ ้นหลังหยุดยาในเวลา 1 – 2<br />

สัปดาห์<br />

นอกจากนั ้นสาเหตุอื่นๆที่พบบ่อยของอาการไอเรื<br />

้อรังตาม<strong>ตารางที่</strong><br />

2 ได้แก่<br />

1. กลุ่มอาการไอจากทางเดินหายใจส่วนบน(upper<br />

airway cough syndrome;UACS) ซึ ่งชื่อเดิมเรียกว่า<br />

กลุ่มอาการนํ<br />

้ามูกไหลลงคอ(post-nasal drip syndrome)<br />

2.โรคหืด(asthma)<br />

3. โรคหลอดลมอักสบที่มีเม็ดเลือดขาวชนิดอีโอซิโนฟิ<br />

ลสูงที่ไม่ใช่โรคหืด(non-asthmatic<br />

eosinophilic bronchitis;NAEB)<br />

4. โรคกรดไหลย้อน(gastroesophageal reflux disease;GERD)<br />

ดังนั<br />

้นการตรวจสืบค้นจึงประกอบด้วย การถ่ายภาพไซนัส(sinus imaging) การตรวจสมรรถภาพปอด<br />

และการตรวจภูมิไวหลอดลม(spirometry and bronchial provocation challenge) การตรวจเม็ดเลือดขาวชนิดอี<br />

โอซิโนฟิ ลในเสมหะ(sputum eosinophil) การตรวจภาวะกรด-เบสของหลอดอาหาร 24 ชั่วโมง(24-hour<br />

esophageal pH monitoring) การตรวจหลอดอาหารและทางเดินอาหารส่วนบนด้วยวิธีส่องกล้องและถ่ายภาพ<br />

กลืนสารทึบรังสี(endoscopic or video-fluoroscopic swallow or barium esophagogram) การถ่ายภาพรังสีทรวง<br />

อกด้วยเอ็กซเรย์คอมพิวเตอร์ละเอียดสูง(chest high resolution computed tomography; chest HRCT) การส่อง<br />

กล้องตรวจหลอดลมปอด(bronchoscopy) และการตรวจอื่นที่เหมาะสม<br />

นอกจากนี ้กรณีที่ไม่สามารถทําการตรวจสืบค้นได้<br />

อาจจะวินิจฉัยโรคได้โดยการทดลองให้การรักษา<br />

ไปก่อนแล้วอาการดีขึ ้น เรียกว่า therapeutic diagnosis ในผู้ป่ วยที่มีไอเรื ้อรังจากโรคดังต่อไปนี ้


1. upper airway cough syndrome(UACS) ซึ ่งอาจเกิดจากโรคจมูกอักเสบจากภูมิแพ้(allergic rhinitis)<br />

โรคจมูกอักเสบจากหลอดเลือด(vasomotor rhinitis) โรคโพรงจมูกอักเสบเรื ้อรัง(chronic sinusitis) การรักษา<br />

ได้แก่ ยาแก้แพ้(antihistamine) ยาลดอาการคัดจมูก(nasal decongestant) ยาพ่นจมูกชนิดสเตียรอยด์<br />

(corticosteroid) หรือ anticholinergic และยาฆ่าเชื ้อ(antibiotic)<br />

2. asthma การรักษาที่ได้ผลที่ดีที่สุดคือ<br />

ยาสเตียรอยด์ชนิดสูด(inhaled corticosteroids) ยาขยาย<br />

หลอดลม(bronchodilator) ยาลดอักสบชนิด leukotriene receptor antagonist<br />

corticosteroids)<br />

3. non-asthmatic eosinophilic bronchitis(NAEB) ยาที่ใช้คือ<br />

ยาสเตียรอยด์ชนิดสูด(inhaled<br />

4. gastroesophageal reflux disease(GERD) ยาที่ใช้คือ<br />

ยาลดกรดชนิด proton pump inhibitor ร่วมกับ<br />

การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมชีวิต(life<br />

style modification) ได้แก่ การลดนํ ้าหนัก งดสูบบุหรี่และดื่มสุรา<br />

หลีกเลี่ยงภาวะเครียด<br />

หลีกเลี่ยงการกินอิ<br />

่มมากเกินไปและการนอนทันทีหลังกินอาหาร งดอาการรสจัด งดชา<br />

และกาแฟ นอนหัวสูง<br />

<strong>ตารางที่</strong><br />

3 สาเหตุที่พบบ่อยของอาการไอเรื<br />

้อรังในผู้ใหญ่<br />

Common Less common<br />

Smoking<br />

Angiotensin converting enzyme inhibitor(ACEI)<br />

Upper airway cough syndrome(UACS) หรือ<br />

post-nasal drip syndrome(PNS)<br />

Asthma<br />

Gastroesophageal reflux disease(GERD)<br />

Chronic infections: bronchiectasis, tuberculosis,<br />

cystic fibrosis<br />

Airway diseases: chronic bronchitis, cough-variant<br />

asthma, atopic cough, non-asthmatic<br />

eosinophilic bronchitis<br />

Parenchymal diseases: chronic interstitial lung<br />

fibrosis, emphysema, sarcoidosis<br />

Tumors: bronchogenic carcinoma, alveolar cell<br />

carcinoma, benign airway tumors, mediastinal<br />

tumors<br />

Foreign bodies<br />

Irritation of external auditory meatus<br />

Cardiovascular diseases: left ventricular failure,<br />

pulmonary infarction, aortic aneurysm<br />

Other diseases: reflux esophagitis, recurrent<br />

aspiration, endobronchial sutures


อาการไอเป็ นเลือด (Hemoptysis)<br />

ไอเป็ นเลือดเป็ นอาการนําของผู้ป่ วยที่ทําให้มาพบแพทย์ได้บ่อยอาการหนึ<br />

่ง มักทําให้ผู้ป่ วยกังวลถึง<br />

อาการนี ้ว่าจะเป็ นโรคร้ายแรงหรือไม่ ดังนั ้นแพทย์ต้องมีความรู้เรื่องอาการวิทยานี<br />

้เพื่อช่วยในการส่งตรวจ<br />

สืบค้นเพิ่มเติมและวินิจฉัยโรค<br />

ร่วมถึงรักษาได้อย่างเหมาะสมและถูกต้อง<br />

ไอเป็ นเลือด(hemoptysis) คือ การที่มีเลือดออกจากปอดหรือหลอดลม อาจปนมากับเสมหะหรือไม่ก็<br />

ได้ อาจมีเลือดปริมาณเล็กน้อยหรือมากก็ได้<br />

อาการคล้ายกับไอเป็ นเลือด(pseudohemoptysis) คือ การที่มีเลือดออกมาทางปากโดยเลือดออกจาก<br />

อวัยวะอื่นที่ไม่ใช่จากปอดหรือหลอดลม<br />

ได้แก่ จมูก เป็ นเลือดกําเดาไหล(epistaxis) หรือทางเดินอาหาร<br />

ส่วนบน เกิดอาการอาเจียนเป็ นเลือด(hematemesis) โดยมีแนวทางของการแยกระหว่างอาการคล้ายกับไอเป็ น<br />

เลือดและอาการไอเป็ นเลือด ตาม<strong>ตารางที่</strong><br />

1<br />

่ ตารางที 1 การแยกระหว่าง hemoptysis และ pseudohemoptysis<br />

ลักษณะ hemoptysis pseudohemoptysis<br />

ประวัติคลื่นไส้อาเจียน ไม่มี มี<br />

โรคประจําตัว โรคปอด โรคกระเพาะอาหารหรือโรคตับ<br />

ภาวะขาดอากาศ(asphyxia) อาจพบ ไม่ค่อยพบ<br />

การตรวจเสมหะ มีฟองปน ไม่มีฟอง<br />

เป็ นของเหลว หรือ กลุ่มก้อน ลักษณะคล้ายสีกาแฟ (coffee<br />

ground)<br />

สีแดงสดหรือชมพู สีนํ ้าตาล ถึง ดําคลํ ้า<br />

การตรวจทางห้องปฏิบัติการ เป็ นด่าง(alkaline pH) เป็ นกรด(acidic pH)<br />

เสมหะพบร่วมกับเซลล์<br />

macrophages และ neutrophils<br />

เสมหะพบร่วมกับเศษอาหาร<br />

การแบ่งประเภทของไอเป็ นเลือด<br />

การไอเป็ นเลือดมักแบ่งตามปริมาณของเลือดที่ออกมาคือ<br />

1. Massive hemoptysis คือ การที่มีเลือดออกจากปอดหรือหลอดลม<br />

ปริมาณที่ออกอาจตั<br />

้งแต่ 100 – 600 mLต่อ<br />

วัน แต่ส่วนใหญ่มักนิยมใช้ปริมาณมากกว่า 200 mLต่อวัน หรือมีภาวะหายใจลําบากและขาดออกซิเจน<br />

2. Non-massive hemoptysis คือ การที่มีเลือดออกจากปอดหรือหลอดลม<br />

ปริมาณน้อยกว่า 200 mLต่อวัน


สาเหตุของการไอเป็ นเลือด<br />

สาเหตุของการไอเป็ นเลือดมีมากมาย สาเหตุที่พบได้บ่อยแสดงตาม<strong>ตารางที่</strong><br />

2<br />

สําหรับสาเหตุที่พบบ่อยที่สุดได้แก่<br />

1.โรคที่มีการอักเสบ คือ bronchitis, bronchiectasis, tuberculosis และ lung abscess<br />

2. มะเร็งปอด<br />

<strong>ตารางที่</strong><br />

2 สาเหตุของอาการไอเป็ นเลือด<br />

Infections<br />

Mycobacteria eg. tuberculosis<br />

Fungal infections (mycetoma)<br />

Lung abscess<br />

Necrotizing pneumonia eg. Klebsiella,<br />

Staphylococcus, Legionella<br />

Trauma<br />

Blunt/penetrating injury<br />

Suction ulcers<br />

Tracheoarterial fistula<br />

Long contusion<br />

Neoplasm<br />

Bronchogenic carcinoma<br />

Bronchial adenoma<br />

Pulmonary metastases<br />

Sarcoma eg. Kaposi’s sarcoma<br />

Vascular<br />

Pulmonary infarct, pulmonary embolism<br />

Mitral stenosis<br />

Arteriobronchial fistula<br />

Arteriovenous malformations<br />

Bronchial telangiectasia<br />

Left ventricular failure<br />

Vasculitis<br />

Behcet’s disease<br />

Wegener’s granulomatosis<br />

Goodpasture’s syndrome<br />

Idiopathic pulmonary hemosiderosis<br />

Lupus pneumonitis<br />

Pulmonary<br />

Bronchiectasis eg. post-infection, cystic fibrosis<br />

Chronic bronchitis<br />

Emphysematous bullae<br />

Iatrogenic<br />

Swan-Ganz catheterization<br />

Bronchoscopy<br />

Transbronchial biopsy<br />

Transtracheal aspirate<br />

Parasitic<br />

Hydatid cyst<br />

Paragonimiasis


<strong>ตารางที่</strong><br />

2 (ต่อ)<br />

Coagulopathy<br />

Von Willebrand’s disease<br />

Hemophilia<br />

Anticoagulant therapy<br />

Thrombocytopenia<br />

Platelet dysfunction<br />

Disseminated intravascular coagulation<br />

Miscellaneous<br />

Lymphangioleiomatosis<br />

Catamenial (endometriosis)<br />

Pneumoconiosis<br />

Broncholith<br />

Idiopathic<br />

Foreign body<br />

Hemoptysis in children<br />

Bronchial adenoma<br />

Foreign body aspiration<br />

Vascular anomalies<br />

แนวทางการวินิจฉัยโรค<br />

การวินิจฉัยโรคต้องอาศัยการซักประวัติ การตรวจร่างกายอย่างละเอียดและการส่งตรวจสืบค้นทาง<br />

ห้องปฏิบัติการเพิ่มเติม เพื่อช่วยในการวินิจฉัยโรคได้อย่างถูกต้อง<br />

1. การซักประวัติ<br />

การซักประวัติของผู้ป่ วยมีประโยชน์อย่างมาก ตัวอย่างเช่น เลือดที่ออกมาเป็<br />

นเส้นๆ(blood-streaking)<br />

ปนกับเสมหะปริมาณมากหรือไม่ รวมถึงมีอาการไอเรื ้อรังร่วมด้วย ถ้ามีลักษณะดังกล่าวอาจนึกถึงหลอดลม<br />

อักเสบ(bronchitis) ถ้ามีไข้ หนาวสั ่น ร่วมกับไอเสมหะปนเลือดต้องนึกถึงปอดอักเสบ(pneumonia) หากมี<br />

เสมหะปริมาณมากและมีกลิ่นเหม็นควรนึกถึงฝี ที่ปอด(lung<br />

abscess) กรณีที่มีอาการไอเรื<br />

้อรังและเสมหะ<br />

ปริมาณมากปนเลือดอาจจะเป็ นโรคหลอดลมพอง(bronchiectasis) หากมีอาการไอเป็ นเลือดและมีอาการเจ็บ<br />

หน้าอกสัมพันธ์กับการหายใจ(pleuritic chest pain)ตามมาและเหนื่อยทันทีทันใดร่วมด้วยควรนึกถึงโรคลิ่ม<br />

เลือดอุดตันที่หลอดเลือดปอด(pulmonary embolism)<br />

นอกจากนี ้ ประวัติโรคประจําตัวเดิมควรต้องซักประวัติคด้วยเช่นกัน เช่น โรคไต (พบใน<br />

Goodpasture's syndrome หรือ Wegener's granulomatosis), โรค systemic lupus erythematosus หรือเอสแอลอี<br />

(สัมพันธ์การเกิดเลือดออกในปอดจาก lupus pneumonitis) โรคมะเร็ง(อาจพบมะเร็งปอดกลับมาเป็ นซํ ้า หรือมี<br />

มะเร็งกระจายมาในหลอดลมจากมะเร็งที่อื่นที่ไม่ใช่มะเร็งปอด)<br />

การรักษามะเร็งปอดด้วยเคมีบําบัดหรือการ<br />

ปลูกถ่ายไขกระดูก ผู้ป่ วยโรคเอดส์(AIDS)(อาจพบ Kaposi's sarcoma ที่เนื<br />

้อปอดหรือหลอดลม) ประวัติการ<br />

ทํางานและประวัติสังคมก็มีความสําคัญ เช่น งานเกี่ยวกับ<br />

asbestos ร่วมกับการสูบบุหรี่จะเพิ่มปัจจัยเสี<br />

่ยงต่อ


การเกิดโรคมะเร็งปอดมากขึ ้น อีกทั ้งประวัติโรคเลือดออกง่าย การรักษาด้วยยากลุ ่มต้านแข็งตัวของเลือด<br />

(anticoagulant) รวมถึงยาที่มีผลต่อเกล็ดเลือด<br />

เช่น heparin, aspirin, clopidogrel เป็ นต้น<br />

2. การตรวจร่างกาย<br />

ความผิดปกติบางอย่างที่ตรวจพบจากการตรวจร่างกายอาจช่วยในการวินิจฉัยโรคได้<br />

เช่น ฟังปอดพบ<br />

เสียง pleural friction rub ควรนึกถึง pulmonary embolism เสียง localized หรือ diffuse crackles นึกถึงภาวะ<br />

เลือดออกในเนื ้อปอดหรือมีโรคปอดเดิมที่สัมพันธ์กับเลือดออก เสียงหลอดลมตีบควรนึกถึง chronic<br />

bronchitis หรือเสียง rhonchi เด่นอาจนึกถึง bronchiectasis<br />

การตรวจระบบหัวใจและหลอดเลือดอาจพบอาการแสดงของโรคบางอย่าง เช่น pulmonary arterial<br />

hypertension อาจตรวจพบเสียง 2 ของหัวใจดัง(loud S2) หัวใจห้องขวาล่างโต(right ventricular hypertrophy)<br />

jugular venous pressure สูง ส่วนถ้าเป็ นโรค mitral stenosis อาจตรวจพบเสียงหัวใจแบบ diastolic rumbling<br />

murmur หรือถ้าผู ้ป่ เป็ วย น heart failure อาจตรวจพบเสียง S3 หรือ S4 gallop, PMI lateral shifted to the left<br />

และ heaving<br />

การตรวจผิวหนังและเยื่อบุผิวอาจพบความผิดปกติที่พบใน<br />

Kaposi's sarcoma ลักษณะ arteriovenous<br />

malformation ที่พบในโรค Osler-Rendu-Weber หรือลักษณะรอยโรคผิวหนังที่จําเพาะพบในโรค systemic<br />

lupus erythematosus<br />

3. การตรวจสืบค้นเพิ่มเติม<br />

การตรวจสืบค้นเพิ ่มเติมที่มีประโยชน์ในผู้ป่<br />

วยที่ไอเป็<br />

นเลือดอันดับแรกนั ้นคือ ภาพถ่ายรังสีทรวงอก<br />

(chest radiograph) อาจจะตรวจด้วยเอ็กซเรย์คอมพิวเตอร์(CT scan)ร่วมด้วยเพื่อค้นหารอยโรคที่เป็ นก้อน เนื ้อ<br />

ปอดผิดปกติแบบเฉพาะที่หรือแบบทั่วๆ<br />

โดยเฉพาะโรคหลอดลมพองตัว(bronchiectasis) ควรได้รับการตรวจ<br />

ด้วยเอ็กซเรย์คอมพิวเตอร์ชนิดความละเอียดสูง(HRCT) เนื่องจากสามารถเห็นรายละเอียดได้ดี อีกทั<br />

้งวิธีตรวจ<br />

นี ้เป็ นมาตรฐานของการวินิจฉัยโรคหลอดลมพองตัว<br />

ส่วนการตรวจสืบค้นอื่นๆได้แก่<br />

การตรวจนับปริมาณเลือด(complete blood count), การแข็งตัวของ<br />

เลือด(coagulation profile), การประเมินการทํางานของไต(blood urea nitrogen และ creatinine) และการตรวจ<br />

ปัสสาวะ(uninalysis)<br />

การตรวจเสมหะด้วยการย้อมเชื ้อแกรม(gram stain) และ acid-fast stain อาจร่วมกับการเพาะเชื ้อ จะ<br />

ช่วยบอกเชื ้อโรคที่ก่อให้เกิดอาการไอเป็ นเลือดของผู้ป่ วยได้<br />

การส่องกล้องตรวจหลอดลมและปอด(fiberoptic bronchoscopy) มีประโยชน์ในการหาตําแหน่งที่มี<br />

เลือดออกและตรวจดูรอยโรคภายในหลอดลม(endobronchial lesion) ถ้ามีเลือดออกปริมาณมากการส่องกล้อง<br />

แบบท่อเหล็กตรง(rigid bronchoscopy) มักดีกว่าแบบปรับมุมมอง(fiberoptic bronchoscopy) เนื่องจากสามารถ<br />

ดูแลรักษาเรื่องทางเดินหายใจและดูดเลือดที่ตกค้างในหลอดลมได้ดีกว่า


อาการเจ็บหน้าอก (Chest pain)<br />

อาการเจ็บหน้าอกเป็ นอาการสําคัญที่นําผู้ป่<br />

วยมาพบแพทย์ได้บ่อยอาการหนึ ่ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งใน<br />

ปัจจุบันผู้ป่ วยเข้าใจว่าอาการเจ็บหน้าอกเป็ นอาการนําของโรคหัวใจที่เป็ นสาเหตุทําให้เสียชีวิตได้อย่าง<br />

กระทันหัน อาการเจ็บหน้าอกจึงมีความสําคัญที่แพทย์ต้องสนใจเป็<br />

นพิเศษ<br />

ผู้ป่ วยมักไม่มีอาการเจ็บหน้าอกเพียงอย่างเดียวแต่อาจมีอาการอื่นๆร่วมด้วย<br />

บางครั ้งอาจเรียกว่า<br />

อาการไม่สบายที่หน้าอก(chest<br />

discomfort) นั่นคือ อาการตั ้งแต่เจ็บตื ้อๆ เสียดแทง แปล๊บๆ ปวดร้าวที่หน้าอก<br />

อึดอัด หายใจไม่โล่ง หรืออาจมีอาการจุกแน่นที่หน้าอกหรือใต้ลิ้นปี่<br />

ร่วมด้วย<br />

พยาธิสรีรวิทยา<br />

อวัยวะที่มีปลายประสาทรับความรู้สึกเจ็บคือ<br />

เยื่อหุ้มปอดชั<br />

้นนอก(parietal pleura) หลอดลมใหญ่<br />

(major airways) ผนังหน้าอก กระบังลม mediastinum และเยื่อหุ้มหัวใจส่วนล่างบริเวณที่ติดกับกระบังลม<br />

เมื่อ<br />

มีการอักเสบหรือฉีกขาดที่อวัยวะเหล่านั<br />

้นจะทําให้มีอาการเจ็บหน้าอก บางครั ้งบอกบริเวณที่ผิดปกติได้ชัดเจน<br />

เช่น เจ็บซี่โครง<br />

เจ็บเนื่องจากเยื่อหุ้มปอดอักเสบ<br />

แต่บางครั ้งไม่สามารถบอกตําแหน่งผิดปกติได้ เช่น อาการ<br />

เจ็บหน้าอกจากกล้ามเนื ้อหัวใจขาดเลือดทําให้เจ็บหน้าอกที่บริเวณไหล่หรือต้นแขนด้านใน<br />

เพราะที่บริเวณ<br />

ดังกล่าวมีปลายประสาทรับความรู้สึกจากบริเวณกล้ามเนื ้อหัวใจหรือเยื ่อหุ้มหัวใจ(visceral pleura) เข้าสู ่สมอง<br />

ส่วนกลางซึ ่งแปลเป็ นความรู้สึกว่าเป็ นความรู้สึกที ่ผิวที่ให้ความรู้สึกเจ็บชัดเจนกว่า<br />

เรียกว่า referred pain<br />

สาเหตุของการเจ็บหน้าอกในผู้ป่ วยที่มาห้องฉุกเฉินร้อยละ<br />

50 คือ โรคหัวใจและหลอดเลือด ได้แก่<br />

myocardial infarction(MI), angina, pulmonary embolism(PE) และ heart failure แต่ในแผนกผู้ป่ วยนอกมี<br />

สาเหตุของการเจ็บหน้าอกที่พบบ่อยได้แก่<br />

โรคกล้ามเนื ้อและกระดูก โรคทางเดินอาหาร โรคหัวใจชนิด stable<br />

coronary artery disease(CAD) โรคจิตชนิด panic disorder หรือโรคจิตอื่นๆ และโรคปอด รวมถึงสาเหตุอื่นๆ<br />

ตาม<strong>ตารางที่</strong><br />

1<br />

<strong>ตารางที่</strong><br />

1 สาเหตุของอาการเจ็บหน้าอก<br />

Cardiac causes<br />

Atherosclerotic coronary artery disease<br />

Congenital coronary artery disease<br />

Coronary spasm<br />

Systemic hypertension<br />

Pulmonary hypertension<br />

Aortic stenosis<br />

Pulmonary causes<br />

Pulmonary embolism<br />

Pneumothorax<br />

Pneumonia<br />

Pleuritis<br />

Bronchospasm<br />

Pulmonary hypertension


<strong>ตารางที่</strong><br />

1 (ต่อ)<br />

Cardiac causes (ต่อ)<br />

Aortic insufficiency<br />

Hypertrophic cardiomyopathy<br />

Severe anemia<br />

Severe hypoxia<br />

Polycythemia<br />

Aortic dissection<br />

Aortic aneurysm<br />

Pericarditis<br />

Mitral valve prolapse<br />

Myocarditis<br />

Cardiomyopathy<br />

Gastrointestinal causes<br />

Nutcracker esophagus<br />

Diffuse esophageal spasm<br />

Nonspecific motility disorder<br />

Achalasia<br />

Gastroesophageal reflux<br />

Mallory-Weiss syndrome<br />

Esophagitis<br />

Candida infection<br />

Herpetic infection<br />

Irradiation-induced pain<br />

Esophageal foreign body<br />

Peptic ulcer disease<br />

Pancreatitis<br />

Biliary disease<br />

Splenic infarction<br />

Gaseous bowel distention<br />

Pulmonary causes (ต่อ)<br />

Tracheitis or tracheobronchitis<br />

Intrathoracic tumor<br />

Psychiatric causes<br />

Depression<br />

Anxiety<br />

Panic attacks<br />

Malingering<br />

Other causes<br />

Cocaine use<br />

Lymphoma<br />

Diabetes<br />

Uremia<br />

Renal stones<br />

Mondor’s syndrome<br />

Mediastinitis<br />

Mediastinal emphysema<br />

Mediastinal neoplasm


<strong>ตารางที่</strong><br />

1 (ต่อ)<br />

Neuromusculoskeletal causes<br />

Thoracic outlet syndrome<br />

Anterior scalenus hypertrophy<br />

Cervical rib syndrome<br />

Cervical disc disease<br />

Costochondritis or Tietze’s syndrome<br />

Chest wall trauma or rib fracture<br />

Malignancy<br />

Herpes zoster<br />

Precordial catch syndrome<br />

Entrapment of nerves by sternal wire sutures<br />

Xiphodynia<br />

Slipping rib syndrome<br />

Ostealgia due to neoplasm<br />

Intercostal neuritis<br />

Costovertebral joint dysfunction<br />

แนวทางการวินิจฉัยโรค<br />

1. ประวัติอาการเจ็บหน้าอก<br />

การซักประวัติของอาการเจ็บหน้าอกมีความสําคัญอย่างยิ่ง<br />

ซึ ่งจะช่วยในการวินิจฉัยแยกโรค บางครั ้ง<br />

อาจวินิจฉัยโรคได้ด้วยการซักประวัติเพียงอย่างเดียวโดยตรวจเพิ่มเติมอื่นๆเพียงเล็กน้อย<br />

การซักประวัติ<br />

ประกอบด้วย<br />

1.1 ลักษณะอาการที่เริ่มเป็ น(onset) ได้แก่ เกิดขึ ้นทันทีทันใด(acute)หรือค่อยเป็ นค่อยไป(gradual<br />

หรือinsidious) ถ้าเกิดแบบ acute อาจจะเกิดจาก myocardial infarction, aortic dissection, acute pulmonary<br />

embolism, spontaneous pneumothorax, การแตกของกระเพาะอาหารหรือลําไส้ ส่วน insidious onset อาจจะ<br />

เกิดจาก pneumonia, pleuritis, pericarditis, esophageal spasm หรือ gallbladder stone<br />

1.2 ระยะเวลาที่มีอาการ(duration) อาจช่วยในการวินิจฉัยแยกโรคได้ตาม<strong>ตารางที่</strong><br />

2 และ 3


1.3 บริเวณที่มีอาการ(location) แบ่งเป็ นเจ็บหน้าอกแบบเฉพาะที่(localized)<br />

หรือแบบทั่วๆหน้าอก<br />

(diffuse หรือ generalized) มักจะบอกถึงอวัยวะที่เกิดโรค<br />

แต่อาจไม่ช่วยบอกโรคได้ทั ้งหมดเนื่องจากอาจเกิด<br />

จาก referred pain จากอวัยวะอื่น<br />

1.4 อาการปวดร้าวไปที่อื่น(radiation) จะช่วยบอกอวัยวะที่ผิดปกติโดยใช้ความรู้เกี่ยวกับ<br />

เส้นประสาทรับรู้ความรู้สึกของแต่ละอวัยวะของร่างกาย เช่น aortic dissection มักมีอาการเจ็บหน้าอกเหมือน<br />

มีดคมแทง ร้าวทะลุไปหลังและบริเวณระหว่างกระดูกสะบัก เป็ นต้น<br />

1.5 ลักษณะของการเจ็บ(quality) ได้แก่ บีบ รัด หนักๆเหมือนถูกกดทับ(dullness) จะนึกถึง Cardiac<br />

หรือ Ischemic pain ถ้าปวดๆตื ้อๆเหมือนของมีคมบาดหรือเสียดแทงเหมือนถูกแทง สัมพันธ์กับการหายใจ จะ<br />

นึกถึงโรคกลุ่ม Non-cardiac pain เช่น aortic dissection, pleuritis เป็ นต้น<br />

1.6 ความรุนแรง(intensity หรือ severity) มักจะบอกความรุนแรงของโรคได้ แต่ไม่เสมอไป<br />

1.7 สิ่งที่ทําให้อาการรุนแรงมากขึ้น(aggravating<br />

or precipitating factors) เช่น การออกกําลังทําให้<br />

อาการเจ็บแน่นหน้าอกเป็ นรุนแรงมากขึ ้นในโรค myocardial infarction ถ้าอาการเจ็บหน้าอกเป็ นมากขึ ้นหลัง<br />

มื ้ออาหารในโรค esophageal reflux หรือ spasm, gallbladder stone เป็ นต้น ส่วนหากอาการเจ็บมากขึ ้นเมื่อไอ<br />

จาม หรือหายใจลึกมักบ่งถึงโรคการอักเสบของเยื่อหุ้มปอด(pleuritis)หรือเยื่อหุ้มหัวใจ(pericarditis)หรือ<br />

mediastinum (mediastinitis)<br />

1.8 สิ่งที่ให้อาการทุเลาลง(alleviating or relieving factors) เช่น การหยุดพัก หรือ อาจดีขึ ้นจากการ<br />

อมยา nitroglycerin จะนึกถึง Cardiac หรือ Ischemic pain แต่ถ้าอาการเจ็บหน้าอกดีขึ ้นเมื่อได้รับยาลดกรดใน<br />

กระเพาะอาหาร ควรนึกถึงโรค peptic ulcer หรือ gastroesophageal reflux disease(GERD)<br />

1.9 อาการร่วมอื่นๆ(associated symptoms) อาการร่วมบางอย่างอาจทําให้นึกถึงโรคใดโรคหนึ ่งมาก<br />

ขึ ้น เช่น ถ้ามีอาการเจ็บแน่นหน้าอกอย่างรุนแรงร่วมกับเหงื่อแตกใจสั่น<br />

หน้ามืดจะเป็ นลม จะนึกถึง Cardiac<br />

หรือ Ischemic pain มากขึ ้น ส่วนถ้ามีอาการเจ็บแสบหน้าอก ร่วมกับจุกแน่นที ่คอ ท้องบริเวณใต้ลิ้นปี ่ คลื่นไส้<br />

อาเจียน ควรนึกถึงโรค peptic ulcer หรือ gastroesophageal reflux disease(GERD)<br />

1.10 ประวัติในอดีตที่สัมพันธ์การเจ็บหน้าอกครั ้งนี้ ได้แก่ ลักษณะอาการที่เคยเจ็บมาก่อน<br />

ประวัติการ<br />

ตรวจสืบค้นหรือการรักษารวมถึงผลการรักษา จะเป็ นประโยชน์เพื่อช่วยในการวินิจฉัยโรคครั<br />

้งนี ้<br />

1.11 ประวัติปัจจัยเสี่ยงต่างๆของการเจ็บหน้าอก ได้แก่ โรคประจําตัวเดิม เช่น เบาหวาน ความดัน<br />

โลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง เป็ นปัจจัยเสี่ยงของ<br />

Cardiac หรือ Ischemic pain เช่น myocardial infarction, aortic<br />

dissection เป็ นต้น


2. การตรวจร่างกายอย่างละเอียด<br />

การตรวจร่างกายผู้ป่ วยควรคํานึงว่ามีบริเวณที ่มีเจ็บหน้าอกอย่างใดอย่างหนึ ่งหรือไม่ ดังนี ้<br />

1. เป็ นปัญหาเฉพาะที่(localized<br />

pain)<br />

2. เป็ นอาการเจ็บที่ร้าวมาจากที่อื่น(radiated<br />

pain)<br />

3. เป็ นอาการเจ็บหน้าอกของ referred pain<br />

การตรวจร่างกายจึงคํานึงถึงโรคต่างๆที่อาจจะเป็<br />

นสาเหตุของอาการเจ็บหน้าอก ได้แก่<br />

1. โรคหัวใจและหลอดเลือด เช่น myocardial infarction, aortic dissection ควรเน้นการตรวจสัญญาณชีพคือ<br />

ชีพจรดูว่าแรง,เบา,สมํ ่าเสมอ,เท่ากัน 2 ข้างหรือไม่ ความดันโลหิตดูว่าปกติและเท่ากันใน 4 รยางค์(แขน 2ข้าง<br />

และขา 2 ข้าง)หรือไม่ นอกจากนี ้ควรเน้นการตรวจระบบหัวใจ เช่น แขนขาบวม(peripheral edema), เขียวคลํ ้า<br />

(cyanosis), jugular venous pressure(JVP), point of maximum impulse(PMI) หรือ apex, heart sound(gallop,<br />

murmur, distant) และตรวจระบบหายใจ เช่น เสียงกรอบแกรบ(crepitation หรือ rales), เสียงวี๊ด(wheezing)<br />

อาจพบใน congestive heart failure<br />

2. โรคระบบการหายใจ เช่น pleuritis อาจตรวจพบเสียงเสียดสีขณะหายใจ(friction rub) หรือเคาะทึบที่ผนัง<br />

ทรวงอก(dullness on percussion) นอกจากนี ้การตรวจต่อมนํ ้าเหลืองบริเวณคอและเหนือกระดูกไหลปลาร้า<br />

พบว่าโตขึ ้นอาจพบในโรคมะเร็งปอดหรือวัณโรค<br />

3. โรคระบบกระดูกกล้ามเนื ้อและประสาท เช่น costochondritis มักมีอาการบวม แดง กดเจ็บที่ผนังหน้าอก<br />

ด้านหน้า เป็ ต้น ส่วนการอักเสบของข้อไหล่มักพบอาการบวม แดง กดเจ็บที่ข้อไหล่ข้างนั<br />

้นๆซึ ่งเป็ นสาเหตุ<br />

ของการเจ็บหนาอกได้ นอกจากนี ้การติดเชื ้องูสวัด(herpes zoster) ที่ผิวหนังของหน้าอกทําให้ปวดแสบบริเวณ<br />

นั ้นตามแนวกระจายของเส้นประสาทซึ ่งพบได้จากการตรวจร่างกาย<br />

<strong>ตารางที่</strong><br />

2 ลักษณะสําคัญและโรคที่เป็ นสาเหตุของอาการเจ็บหน้าอก<br />

Condition Duration Quality Location Associated Features<br />

Angina<br />

More than 2 and Pressure, tightness, Retrosternal, often -Precipitated by exertion,<br />

less than 10 min squeezing, heaviness, with radiation to or exposure to cold,<br />

burning<br />

isolated discomfort in psychologic-stress<br />

neck, jaw, shoulders, -S4 gallop or mitral<br />

or arms- frequently regurgitation murmur during<br />

on left<br />

pain


<strong>ตารางที่</strong><br />

2 (ต่อ)<br />

Condition Duration Quality Location Associated Features<br />

Unstable angina 10–20 min Similar to angina but<br />

often more severe<br />

Acute<br />

myocardial<br />

infarction<br />

Aortic stenosis<br />

Pericarditis<br />

Aortic dissection<br />

Pulmonary<br />

embolism<br />

Variable; often<br />

more than 30 min<br />

Recurrent<br />

episodes as<br />

described for<br />

angina<br />

Hours to days;<br />

may be episodic<br />

Abrupt onset of<br />

unrelenting pain<br />

Abrupt onset;<br />

several minutes<br />

to a few hours<br />

Similar to angina but<br />

often more severe<br />

As described for<br />

angina<br />

Similar to angina Similar to angina, but occurs<br />

with low levels of exertion or<br />

even at rest<br />

Similar to angina<br />

Unrelieved by<br />

nitroglycerin<br />

As described for<br />

angina<br />

Sharp Retrosternal or<br />

toward cardiac apex;<br />

may radiate to left<br />

shoulder<br />

Tearing or ripping<br />

sensation; knifelike<br />

Anterior chest, often<br />

radiating to back,<br />

between shoulder<br />

blades<br />

Pleuritic Often lateral, on the<br />

side of the embolism<br />

May be associated with<br />

evidence of heart failure or<br />

arrhythmia<br />

Late-peaking systolic murmur<br />

radiating to carotid arteries<br />

-May be relieved by sitting up<br />

and leaning forward<br />

-Pericardial friction rub<br />

-Associated with hypertension<br />

and/or underlying connective<br />

tissue disorder, e.g., Marfan<br />

syndrome<br />

-Murmur of aortic<br />

insufficiency, pericardial rub,<br />

pericardial tamponade, or loss<br />

of peripheral pulses<br />

Dyspnea, tachypnea,<br />

tachycardia, and hypotension


<strong>ตารางที่</strong><br />

2 (ต่อ)<br />

Condition Duration Quality Location Associated Features<br />

Pulmonary<br />

hypertension<br />

Pneumonia or<br />

pleuritis<br />

Spontaneous<br />

pneumothorax<br />

Esophageal<br />

reflux<br />

Esophageal<br />

spasm<br />

Variable Pressure Substernal Dyspnea, signs of increased<br />

venous pressure including<br />

edema and jugular venous<br />

distention<br />

Variable Pleuritic Unilateral, often Dyspnea, cough, fever, rales,<br />

localized<br />

rub<br />

Sudden onset;<br />

several<br />

hours<br />

Pleuritic Lateral to side of<br />

pneumothorax<br />

Dyspnea, decreased breath<br />

sounds on side of<br />

pneumothorax<br />

10–60 min Burning Substernal, epigastric -Worsened by postprandial<br />

recumbency<br />

-Relieved by antacids<br />

2–30 min Pressure, tightness,<br />

burning<br />

Retrosternal Can closely mimic angina<br />

Peptic ulcer Prolonged Burning Epigastric, substernal Relieved with food or<br />

antacids<br />

Gallbladder Prolonged Burning, pressure Epigastric, right May follow meal<br />

disease<br />

upper quadrant,<br />

substernal<br />

Musculoskeletal Variable Aching Variable -Aggravated by movement<br />

disease<br />

-May be reproduced by<br />

localized pressure on<br />

examination<br />

Herpes zoster Variable Sharp or burning Dermatomal Vesicular rash in area of<br />

distribution<br />

discomfort<br />

Emotional and Variable; may be Variable Variable; may be -Situational factors may<br />

psychiatric fleeting<br />

retrosternal<br />

precipitate symptoms<br />

conditions<br />

-Anxiety or depression often<br />

detectable with careful history


ชนิดของอาการเจ็บหน้าอก<br />

มักแบ่งชนิดตามลักษณะของการเจ็บหน้าอกออกเป็ น 2 ประเภทใหญ่ได้แก่<br />

1. อาการเจ็บหน้าอกจากโรคหัวใจ(cardiac chest pain) และไม่ใช่โรคหัวใจ(non-cardiac chest pain)<br />

ลักษณะของอาการเจ็บหน้าอกสามารถแยกโรคออกจากกันได้ ตาม<strong>ตารางที่</strong><br />

3<br />

2. อาการเจ็บหน้าอกที่เป็ นอันตรายถึงชีวิต(life-threatening chest pain) และไม่เป็ นอันตรายถึงชีวิต(Non<br />

life-threatening chest pain)<br />

2.1 อาการเจ็บหน้าอกที่เป็<br />

นอันตรายถึงชีวิต ได้แก่<br />

1) acute ischemic heart disease<br />

2) acute pulmonary embolism<br />

3) aortic dissection<br />

4) spontaneous pneumothorax<br />

2.2 อาการเจ็บหน้าอกที่ไม่เป็<br />

นอันตรายถึงชีวิต เช่น pleuritis, peptic ulcer เป็ นต้น<br />

่ ตารางที 3 การวินิจฉัยแยกโรคของอาการเจ็บหน้าอก<br />

อาการเจ็บหน้าอก Cardiac หรือ Ischemic pain Non-cardiac pain<br />

ลักษณะ บีบ รัด หนักๆเหมือนถูกกดทับ ปวดๆตื ้อๆเหมือนของมีคมบาดหรือ<br />

เสียดแทงเหมือนถูกแทง สัมพันธ์กับ<br />

การหายใจ<br />

ระยะเวลา 30 วินาที – 30 นาที สั ้นเป็ นนาที หรือนานเป็ นชั ่วโมง<br />

ตําแหน่งที่เจ็บ<br />

กลางหน้าอก ใต้ sternum ด้านหน้าของ ปวดหน้าอกซ้าย ปวดใต้ราวนม ปวด<br />

ต้นแขน ไหล่ 2 ข้าง บริเวณระหว่าง<br />

กระดูกสะบัก มักบอกขอบเขตไม่ได้<br />

ชัดเจน<br />

เป็ นจุด บอกที่เจ็บได้ชัดเจน<br />

สิ่งที่ทําให้เจ็บหน้าอก<br />

การออกกําลัง ตื่นเต้น<br />

อากาศเย็นหลัง มีอาการพร้อมกับการเริ่มออกกําลัง<br />

เป็ นมากขึ ้น<br />

อาหารมื ้อหนัก<br />

ทันทีหรือภายหลังหยุดออกกําลังแล้ว<br />

มีอาการสัมพันธ์กับการขยับตัวหรือ<br />

บางท่าทางของร่างกาย<br />

สิ่งที่ทําให้อาการทุเลาลง<br />

การหยุดพัก หรือ อาจดีขึ ้นจากการอม<br />

ยา nitroglycerin<br />

มักต้องรักษาที่สาเหตุแล้วจะดีขึ<br />

้น


โรคที่พบบ่อยที<br />

่เป็ นสาเหตุสําคัญของอาการเจ็บหน้าอก ดังนี้<br />

1. Myocardial ischemia และ injury การเกิดภาวะเลือดและออกซิเจนไปเลี ้ยงหัวใจไม่เพียงพอต่อ<br />

ความต้องการทําให้เกิดขาดเลือด(ischemia) มักเกิดจากการอุดตันของหลอดเลือดแดงเลี ้ยงหัวใจ(coronary<br />

artery) เนื่องจากผนังหลอดเลือดแข็งตัว(atherosclerosis)<br />

ปัจจัยที่ทําให้อาการเป็<br />

นมากขึ ้น ได้แก่ การออกกําลัง<br />

ความเครียด ไข้ หลังมื ้ออาหาร ภาวะซีด ภาวะออกซิเจนในเลือดตํ ่า ความดันโลหิตตํ ่า นอกจากนี ้ยังเกิดจาก<br />

ventricular hypertrophy ผลจาก valvular heart disease, hypertrophic cardiomyopathy, ความดันโลหิตสูง<br />

(hypertension) เพราะมีการสูญเสียความสามารถในการไหลของเลือดไปยังกล้ามเนื ้อหัวใจชั ้นใน<br />

(endocardium) ประกอบด้วย<br />

1.1) Angina pectoris เป็ นอาการเจ็บหน้าอกแบบแน่นๆ หนักๆ เหมือนมีของมากดทับหรือบีบ แต่<br />

บางคนอาจไม่เจ็บแบบจําเพาะดังกล่าวแต่อาจมีเพียงอาการเหนื่อย<br />

ตําแหน่งที่เจ็บคือ<br />

ลึกๆตรงกลาง<br />

(retrosternal) ส่วนใหญ่มักเจ็บเป็ นพื ้นที่กว้างๆ<br />

อาจร้าวไปคอ กราม ฟัน ต้นแขน หรือไหล่ บางคนอาจจุกแน่น<br />

บริเวณลิ้นปี่<br />

ตําแหน่งที่ไม่ควรจะปวดร้าวหรือปวดร้าวน้อยมากได้แก่<br />

ร้าวไปใต้สะดือหรือหลัง<br />

โรค stable angina pectoris มักมีอาการค่อยๆมากขึ ้นเมื่อออกแรง<br />

การตื่นเต้น<br />

หรือหลังอาหารมื ้อหนัก<br />

อาการจะดีขึ ้นภายในเวลาเป็ นนาทีเมื่อพัก<br />

หรืออมยาใต้ลิ้นชนิด nitroglycerin แต่ถ้าอาการเจ็บนานเป็ นหลาย<br />

ชั่วโมงนั<br />

้นมักไม่ใช่อาการของ angina<br />

1.2) Unstable Angina และ Myocardial Infarction มีลักษณะอาการเจ็บคล้ายกับ Angina pectoris<br />

แต่ระยะเวลานานและอาการรุนแรงมากกว่า อีกทั ้งอาการที่เริ่มเป็<br />

นมักเป็ นแบบทันทีทันใดในขณะนั่งพัก ตื่น<br />

จากการนอน และการอมยาใต้ลิ้นชนิด nitroglycerin อาจลดอาการเจ็บได้ชั ่วคราวหรือไม่ลดอาการเจ็บเลย มัก<br />

มีอาการเหงื่อแตก<br />

เหนื่อยหอบ<br />

คลื่นไส้<br />

เวียนศีรษะร่วมด้วย การตรวจร่างกายอาจปกติ หรืออาจตรวจพบเสียง<br />

3 และ 4 (S3, S4 gallop) ที่บ่งถึง<br />

myocardial systolic และdiastolic dysfunction ตามลําดับ การตรวจพบ<br />

murmur ของ mitral regurgitation บ่งถึง ischemic papillary muscle dysfunction การเกิด ischemia แบบรุนแรง<br />

ทําให้เกิด pulmonary congestion และ pulmonary edema<br />

2. Pericarditis อาการเจ็บหน้าอกเกิดจากการอักเสบของเยื่อหุ้มปอดชั<br />

้นนอกที่อยู<br />

่ติดกับเยื่อหุ้มหัวใจ<br />

ส่วนเยื่อหุ้มหัวใจเองทําหน้าที่รับความรู้สึกไม่ดี<br />

ดังนั ้นหากมีการอักเสบของเยื่อหุ้มหัวใจเพียงอย่างเดียวโดย<br />

ไม่ชิดกับเยื่อหุ้มปอดจะทําให้ไม่เกิดอาการเจ็บหน้าอกหรือเจ็บน้อยมาก<br />

เช่น กล้ามเนื ้อหัวใจตาย(myocardial<br />

infarction) ภาวะ uremia และภาวะหัวใจถูกกดทับจากนํ ้าหรือเลือด(cardiac tamponade) เป็ นต้น<br />

การอักเสบของเยื่อหุ้มหัวใจ(pericarditis)ที่อยู ่ชิดติดกับเยื่อหุ้มปอดชั<br />

้นนอกมีเส้นประสาทรับความรู้สึกส่ง<br />

สัญญาณประสาททําให้รู้สึกเจ็บปวดบริเวณไหล่ คอ ท้อง และหลัง อาการเจ็บจะมากขึ ้นจากการกระตุ้นด้วย<br />

การไอ การหายใจเข้าลึก หรือการเปลี่ยนท่าทาง<br />

เช่น นอนหงาย เป็ นต้น และอาการเจ็บจะทุเลาลงด้วยการลุก<br />

นั่งท่าตรงหรือโน้มตัวไปข้างหน้า


3. Aortic dissection เป็ นโรคที่อันตรายและรุนแรงถึงขั<br />

้นเสียชีวิตได้ จากการฉีกขาดของผนังชั ้น<br />

intima ในหลอดเลือดแดง aorta ทําให้เกิดลิ่มเลือดอยู<br />

่ภายใน(intimal hematoma) ภาวะนี ้เกิดจากการกระทบ<br />

กระแทก เช่น อุบัติเหตุรถจักยนยนต์กระแทกที่หน้าอก<br />

หรือเกิดจากการใส่เครื่องมือทางการแพทย์เข้าสู<br />

่หลอด<br />

เลือดแล้วเกิดการฉีกขาด เช่น การใส่สายสวนหลอดเลือด(catheters) หรือ intraaortic balloon pumps เป็ นต้น<br />

ส่วนสาเหตุที่ไม่ใช่การกระทบกระแทกซึ<br />

่งเกิดขึ ้นได้เองนั ้นพบได้น้อย ได้แก่ กลุ่มโรคเนื<br />

้อเยื่อเกี่ยวพัน<br />

(connective tissue diseases) เช่น Marfan syndromes และ Ehlers-Danlos syndromes เป็ นต้นโดยครึ ่ งหนึ ่งของ<br />

โรคนี ้ในผู้หญิงอายุน้อยกว่า 40 ปี เกิดขึ ้นขณะตั ้งครรภ์ ส่วนใหญ่ผู้ป่ วยโรคนี ้มีอาการเจ็บหน้าอกอย่างรุนแรง<br />

และเจ็บมากที่สุดทันทีทันใด ซึ่งผู้ป่ วยมัก จะเสียชีวิตจากความรุนแรงดังกล่าว การเซาะของหลอดเลือด aorta<br />

มักเกิดขึ ้นบริเวณส่วน ascending aorta แล้วขยายไปสู ่ส่วน descending aorta ทําให้เกิดอาการเจ็บหน้าตรง<br />

กลางอกร้าวทะลุหลังและบริเวณระหว่างกระดูกสะบัก การตรวจร่างกายอาจพบอาการแสดงของการลดลงของ<br />

เลือดที่ไปเลี<br />

้ยงแขนงของ aorta เช่น การตรวจไม่พบชีพจรของแขนข้างเดียวหรือทั ้ง 2 ข้าง, หลอดเลือดสมอง<br />

ทําให้กล้ามเนื ้อขาอ่อนแรงทั ้ง 2 ข้าง(paraplegia) เป็ นต้น ถ้าลิ ่มเลือดเซาะถึงส่วนต้นของ aorta ทําให้เกิดความ<br />

ผิดปกติของ coronary arteries หรือ aortic valve ส่งผลทําให้เกิด acute myocardial infarction หรือลิ้นหัวใจ<br />

aortaรั่วเฉียบพลัน(acute<br />

aortic insufficiency) หากมีการแตกของลิ ่มเลือดจะมีเลือดไหลเข้าสู่ระหว่างเยื่อหุ้ม<br />

หัวใจทําให้เกิดภาวะหัวใจถูกกดทับ(pericardial tamponade)<br />

4. Pulmonary embolism อาการเจ็บหน้าอกเกิดจากการขยายและตึงตัวของหลอดเลือด pulmonary<br />

artery หรือการตายของเนื ้อปอดที่อยู<br />

่ชิดเยื่อหุ้มปอด<br />

การเกิดลิ่มเลือดอุดตันของ<br />

pulmonary artery อย่างมาก<br />

(massive pulmonary emboli) อาจทําให้เกิดเจ็บหน้าอกตรงกลางบริเวณ substernum คล้ายกับ acute<br />

myocardial infarction ได้เช่นกัน แต่ส่วนใหญ่มักเกิดลิ่มเลือดอุดตันเล็กน้อยทําให้เกิดการตายของเนื<br />

้อปอด<br />

แบบเฉพาะที่<br />

ส่งผลเกิดเจ็บหน้าอกที่สัมพันธ์กับการหายใจ(pleuritic<br />

chest pain) อาการร่วมอื่นๆได้แก่<br />

อาการ<br />

เหนื่อย<br />

บางครั ้งมีอาการไอเป็ นเลือด สําหรับอาการที่พบบ่อยคือ<br />

ภาวะหัวใจเต้นเร็ว ซึ ่งการตรวจคลื่นไฟฟ้<br />

า<br />

หัวใจ(ECG) สามารถช่วยสนับสนุนการวินิจฉัยโรคนี ้ได้<br />

5. Pneumothorax เป็ นภาวะลมในช่องเยื่อหุ้มปอด<br />

มีอาการเจ็บหน้าอกทันทีทันใดและสัมพันธ์กับ<br />

การหายใจ(pleuritic chest pain)และมีอาการเหนื่อยคล้ายกับการเกิด<br />

pulmonary embolism ถ้าภาวะนี ้เกิดขึ ้น<br />

เองเรียกว่า spontaneous pneumothorax โดยอาจมีหรือไม่มีสิ ่งกระตุ้น รวมถึงอาจมีหรือไม่มีโรคปอดเดิมก็ได้<br />

การตรวจร่างกายมักพบการเคาะโปร่งของทรวงอกด้านที่เกิดโรค(hyperresonance<br />

on percussion) และฟังได้<br />

ยินเสียงปอดลดลง ภาพถ่ายรังสีทรวงอก(chest X-ray) สามารถช่วยยืนยันการวินิจฉัยโรคได้เมื่อพบลมแทรก<br />

ในช่องเยื่อหุ้มปอด


อาการหอบเหนื่อย<br />

(Dyspnea)<br />

อาการหอบเหนื่อยเป็<br />

นอาการที่ผู้ป่<br />

วยรู้สึกหายใจไม่ปกติ ไม่สบาย หายใจไม่อิ่ม<br />

หายใจลําบาก หายใจ<br />

ไม่ทัน หายใจไม่โล่ง ต้องเพิ่มแรงที่ใช้ในการหายใจ<br />

บางรายอาจรู้สึกแน่นหน้าอกหรืออ่อนเพลียเมื่อยล้าแทน<br />

อาการหอบเหนื่อย<br />

ดังนั ้นแพทย์ต้องประเมินดูว่าผู้ป่ วยมีอาการหอบเหนื่อยจริงหรือไม่<br />

และรุนแรงเพียงใด<br />

เพื่อวางแผนในการวินิจฉัยและรักษาได้อย่างถูกต้องเหมาะสมต่อไป<br />

อาการหอบเหนื่อย(dyspnea) คือ ผู้ป่ วยรู้สึกหายใจไม่สบายหรือหายใจลําบาก ซึ ่งความรุนแรงของ<br />

อาการมีความหลากหลายเป็ นผลจากปัจจัยต่างๆ ได้แก่ ปัจจัยทางกายภาพ จิตใจ สังคม และสิ<br />

่งแวดล้อม<br />

พยาธิสรีรวิทยา<br />

การรับรู้เกี่ยวกับอาการเหนื่อยเป็<br />

นการทํางานประสานกันระหว่างเส้นประสาทขาออก(efferent motor<br />

output) ที่ออกจากสมองกระตุ้นกล้ามเนื<br />

้อหายใจ กับตัวรับผ่านทางเส้นประสาทขาเข้า(afferent sensory input)<br />

ซึ ่งสมองสามารถแปลผลและจัดการกับข้อมูลที่ได้รับตามรูปที่<br />

1<br />

ถ้ามีความต้องการอากาศมากขึ ้นจะมีการกระตุ้นก้านสมองและประสาทรับความรู้สึกแน่นหน้าอก<br />

ผ่านตัวรับเวกัส(vagal-irritant receptor) รวมถึงข้อมูลจากตัวรับที่หลอดลม<br />

ปอด และผนังทรวงอก แล้วส่ง<br />

สัญญาณไปกระตุ้นก้านสมองหรืออาจกระตุ้นสมองส่วนรับความรู้สึกโดยตรง อาการหอบเหนื่อยในแต่ละ<br />

โรคอาจกระตุ้นผ่านกลไกเดียวหรือหลายกลไกก็ได้ และบางครั ้งสามารถปรับเปลี่ยนได้ในแต่ละสถานการณ์<br />

รูปที่<br />

1 สัญญาณขาเข้าและออกทําหน้าที่ควบคุมความรู้สึกหอบเหนื่อย


การประเมินอาการหอบเหนื่อย<br />

1. ลักษณะของอาการหอบเหนื่อย<br />

แพทย์ควรมีการประเมินลักษณะหอบเหนื่อยว่าเป็<br />

นอย่างไร อาจช่วยบ่งบอกโรคบางอย่างได้ตาม<br />

<strong>ตารางที่</strong><br />

1 ซึ ่งเป็ นประโยชน์ในการวินิจฉัยโรคต่อไป<br />

<strong>ตารางที่</strong><br />

1 ลักษณะของอาการหอบเหนื่อยและกลไกพยาธิสรีรวิทยา<br />

ลักษณะ ความผิดปกติ<br />

Chest tightness or constriction Bronchoconstriction, interstitial edema (asthma, myocardial<br />

ischemia)<br />

Increased work or effort of breathing Airway obstruction, neuromuscular disease (COPD,<br />

moderate to severe asthma, myopathy, kyphoscoliosis)<br />

Air hunger, need to breathe, urge to breathe Increased drive to breathe (CHF, pulmonary embolism,<br />

moderate to severe airflow obstruction)<br />

Cannot get a deep breath, unsatisfying breath Hyperinflation (asthma, COPD) and restricted tidal volume<br />

(pulmonary fibrosis, chest wall restriction)<br />

Heavy breathing, rapid breathing, breathing more Deconditioning<br />

2. ความรุนแรงของอาการหอบเหนื่อย<br />

การประเมินอาการหอบเหนื่อยสามารถประเมินได้จากหลายวิธีแต่ที่นิยมใช้กัน<br />

ได้แก่ วิธี modified<br />

Borg scale หรือ visual analogue scale เป็ นการประเมินโดยผู้ป่ วยให้คะแนนความเหนื่อยขณะพักและหลังการ<br />

ทดสอบด้วยการออกกําลัง วิธีการให้คะแนนระดับความเหนื่อยของผู้ป่<br />

วยที่อยู<br />

่ที่บ้าน<br />

เช่น การเดินขึ ้นบันได<br />

เป็ นต้น การประเมินด้วย Baseline dyspnea index และ Chronic respiratory disease questionnaire ใช้ในการ<br />

ประเมินเรื่องความสามารถหรือความพิการจากการทํางาน<br />

นอกจากนี ้ยังมีวิธีที่นิยมกันมากโดยเฉพาะในการ<br />

ประเมินผู้ป่ วยโรค COPD คือ Modified Medical Research Council(MMRC) scaleโดยออกแบ่งเป็ น 5 ระดับ<br />

ดังนี ้<br />

ระดับ 0 ไม่มีอาการหอบเหนื่อย<br />

ยกเว้นไปออกกําลังอย่างหนัก<br />

ระดับ 1 มีอาการหอบเหนื่อยเมื่อเดินเร็วๆ<br />

บนทางราบ หรือเดินขึ ้นเขา<br />

ระดับ 2 เดินบนทางราบได้ช้ากว่าคนปกติที่มีอายุเท่ากัน<br />

หรือต้องหยุดพักเพื่อหายใจเมื่อเดินทาง<br />

ราบได้ระยะหนึ ่ง<br />

ระดับ 3 ต้องหยุดพักหายใจเพราะเหนื่อยเมื่อเดินได้ประมาณ 100 เมตร<br />

ระดับ 4 มีอาการหอบเหนื่อยเมื่อต้องออกจากบ้าน<br />

หรือเหนื่อยเมื่อเปลี่ยนเสื<br />

้อผ้าเอง


กรณีผู้ป่ วยโรคหัวใจ สามารถประเมินระดับความเหนื่อยของผู้ป่ วยว่าทํากิจวัตรประจําวันเป็ นอย่างไร<br />

บ้างและจัดระดับความเหนื่อยตาม<br />

New York Heart Association(NYHA) Functional Classification แบ่งเป็ น<br />

4 ระดับ ดังนี ้<br />

ระดับ 1 ออกกําลังได้ไม่จํากัด<br />

ระดับ 2 จํากัดการออกกําลังเล็กน้อย ไม่เหนื่อยและสบายดีถ้าอยู<br />

่เฉยๆ แต่มีอาการเหนื่อยบ้างเมื่อ<br />

ออกกําลังตามธรรมดา<br />

ระดับ 3 ต้องจํากัดการออกกําลังอย่างมาก ออกกําลังเล็กน้อยก็เหนื่อย<br />

ระดับ 4 ไม่สามารถออกกําลังได้ อยู ่เฉยๆก็เหนื่อย<br />

สาเหตุของอาการหอบเหนื่อย<br />

อาการเหนื่อยมีสาเหตุหลักจากโรค<br />

2 ระบบคือ โรคระบบหายใจ และโรคระบบหัวใจและหลอดเลือด<br />

ซึ ่งโรคระบบหายใจแบ่งความผิดปกติเป็ น 3 แบบ ได้แก่ ความผิดปกติของตัวแลกเปลี่ยนก๊าซ(gas<br />

exchanger)<br />

ตัวทําหน้ าที่หายใจ(ventilatory<br />

pump) และตัวควบคุม(controller) สําหรับโรคระบบหัวใจและหลอดเลือดแบ่ง<br />

ความผิดปกติเป็ น 3 แบบได้แก่ ความผิดปกติของการสูบฉีดเลือดของหัวใจ(cardiac output) ชนิดตํ ่า ปกติและ<br />

สูง โดยประกอบด้วยโรคต่างๆดังรูปที่<br />

2 และ<strong>ตารางที่</strong><br />

2<br />

<strong>ตารางที่</strong><br />

2 สาเหตุของอาการหอบเหนื่อย<br />

Airway<br />

Obstruction foreign body<br />

Angioedema<br />

Epiglottitis<br />

Other infections eg. diphtheria<br />

รูปที่<br />

2 พยาธิสรีรวิทยาของอาการหอบเหนื่อยและโรคที่เป็<br />

นสาเหตุ<br />

Chest<br />

Pneumothorax<br />

Pleural effusion,<br />

Trauma – rib fractures, flail chest


<strong>ตารางที่</strong><br />

2 (ต่อ)<br />

Lung<br />

Asthma<br />

Pneumonia<br />

Croup(laryngotracheobronchitis)<br />

Bronchiolitis<br />

Pulmonary contusion<br />

Adult respiratory distress syndrome<br />

Chronic obstructive pulmonary disease<br />

Pneumoconiosis<br />

Vascular<br />

Pulmonary embolism<br />

Pulmonary hypertension<br />

Cardiac<br />

Congestive cardiac failure<br />

Acute pulmonary edema<br />

Acute myocardial infarction<br />

Cardiac arrhythmias<br />

Others<br />

Psychogenic hyperventilation<br />

Poisoning, eg. carbon monoxide, cyanide<br />

Metabolic acidosis<br />

Anemia<br />

Guillain-Barre syndrome<br />

แนวทางการวินิจฉัยโรค<br />

1. การซักประวัติ<br />

การซักประวัติของผู้ป่ วยที่มีอาการหอยเหนื่อยเริ่มตั<br />

้งแต่ลักษณะความรู้สึกเหนื่อย<br />

ความสัมพันธ์กับ<br />

ท่าทาง การติดเชื ้อ สิ่งแวดล้อม<br />

ถ้าเป็ นอาการหอบเหนื่อยขณะนอนต้องลุกนั่งตลอดเวลา(orthopnea)<br />

มักบ่งถึง<br />

congestive heart failure หรือกล้ามเนื ้อกระบังลมทํางานผิดปกติ(diaphragmatic dysfunction)มักพบในคนอ้วน<br />

หรือโรคหืด(asthma)ที่กระตุ้นด้วยกรดไหลย้อน<br />

อาการเหนื่อยขณะนอนกลางคืนต้องตื่นขึ<br />

้นมาหายใจเป็ นช่วงๆ(paroxysmal nocturnal dyspnea) อาจ<br />

บ่งถึง congestive heart failure หรือโรคหืด ส่วนอาการเหนื่อยเป็<br />

นช่วงๆแบบทันทีทันใดอาจต้องนึกถึง<br />

myocardial ischemia ภาวะหลอดลมตีบ หรือ pulmonary embolism ถ้ามีอาการเหนื่อยเรื<br />

้อรังอาจต้องนึกถึง<br />

COPD และ interstitial lung disease<br />

อาการหอบเหนื่อยเมื่อนั่งหรือยืนและอาการทุเลาลงเมื่อนอน(platypnea)<br />

ควรนึกถึงโรค left atrial<br />

myxoma หรือ hepatopulmonary syndrome หรือ pulmonary arteriovenous malformation สําหรับอาการ<br />

เหนื่อยเมื่อนอนตะแคงข้างใดข้างหนึ<br />

่งลง(trepopnea) ควรนึกถึงภาวะ pleural effusionข้างเดียว โรคปอดและ<br />

หลอดลมใหญ่ข้างเดียว หรือ congestive heart failure นอกจากนี ้ควรซักประวัติการทํางานซึ ่งอาจเป็ นสาเหตุ<br />

ของโรคปอดจากการทํางานได้ เช่น asbestosis, silicosis เป็ นต้น


2. การตรวจร่างกาย<br />

ความผิดปกติจากการตรวจร่างกายอาจพบได้ตั<br />

้งแต่แรกในขณะซักประวัติ เช่น ผู้ป่ วยพูดไม่จบ<br />

ประโยคต้องหยุดหายใจเพราะเหนื่อย<br />

เป็ นต้น ควรตรวจดูว่ามีการใช้กําลังงานเพื่อการหายใจมากขึ<br />

้นหรือไม่<br />

โดยดูจากกล้ามเนื ้อช่วยหายใจ(accessory muscle) การบุ ๋มของบริเวณเหนือกระดูกกลางอก(supraclavicular<br />

retraction) ต้องใช้มือยันพื ้นหรือยันเข่าข่างใดข้าหนึ ่งเพราะเหนื่อยมากบ่งถึงความผิดปกติตัวทําหน้าที่หายใจ<br />

(ventilatory pump) นอกจากนี ้การวัดสัญญาณชีพโดยเฉพาะอัตราการหายใจ อาจพบลักษณะ respiratory<br />

paradox หรือ abdominal paradox นั ่นคือท้องยุบขณะหายใจเข้าซึ ่งตรงข้ามกับการหายใจในคนปกติซึ ่งบ่งถึง<br />

กล้ามเนื ้อกระบังลมอ่อนแรง การตรวจพบ pulsus paradoxus เป็ นความแตกต่างของความดันเลือดซิสโตลิกที่<br />

เปลี่ยนแปลงตามการหายใจเข้าและออกที่ค่ามากกว่า<br />

10 mmHgอาจบ่งถึงโรค COPD หรือ cardiac tamponade<br />

การตรวจร่างกายทั ่วไปโดยดูภาวะซีด เขียวคลํ ้า ลักษณะที่พบในโรคตับแข็ง(spider<br />

nevi, palmar<br />

erythema, gynecomastia) มีประโยชน์เช่นเดียวกับการตรวจทรวงอกและปอดโดยการเคาะ หากเคาะแล้วทึบ<br />

อาจบ่งถึงนํ ้าในช่องเยื่อหุ้มปอดหรือก้อนที<br />

่ปอด เคาะแล้วเสียงโปร่งอาจเป็ นโรค emphysema หรือ<br />

pneumothorax การฟังเสียงปอดหากพบ wheezes, rales, rhonchi, เสียงหายใจออกยาวและดังลดลง อาจต้อง<br />

นึกถึงโรคของหลอดลมอุดตัน และ interstitial edema หรือ fibrosis ลักษณะนิ้มปุ ้ ม(clubbing of fingers) อาจ<br />

บ่งถึงโรค interstitial pulmonary fibrosis หรือมะเร็งปอด ลักษณะนิ้วมือและนิ้วเท้าเปลี่ยนสีและปวดบวมเมื่อ<br />

โดนอากาศเย็น(Raynaud's phenomenon) อาจบ่งถึงโรคกลุ ่มเนื ้อเยื่อเกี่ยวพันที่สัมพันธ์กับโรคปอด<br />

เช่น<br />

scleroderma เป็ นต้น<br />

การตรวจร่างกายระบบหัวใจและหลอดเลือดก็มีความสําคัญ เช่น โรคหัวใจห้องขวา อาจตรวจพบ<br />

jugular venous distention บวมและเสียง 2 ของหัวใจดัง(loud S2) ส่วนโรคหัวใจห้องซ้าย อาจตรวจพบ S3<br />

และ S4 gallops รวมถึงโรคลิ้นหัวใจอาจตรวจพบเสียง murmur<br />

การตรวจด้วยเครื่องมืออย่างง่ายเพื่อวัดระดับออกซิเจนในเลือดของผู้ป่ วยได้แก่ pulse oximetry โดย<br />

ใช้เครื่องมือที่เรียกว่า<br />

pulse oximeter เป็ นอุปกรณ์ขนาดเล็กและพกพาได้สะดวก ช่วยประเมินความรุนแรงของ<br />

ภาวะขาดออกซิเจนเบื ้องต้นได้ในขณะซักประวัติและตรวจร่างกาย<br />

3. การตรวจสืบค้นเพิ่มเติม<br />

การถ่ายภาพรังสีทรวงอกเป็ นวิธีการตรวจเพิ ่มเติมแรกๆที่ควรส่งตรวจเนื่องจากช่วยวินิจฉัยสาเหตุของ<br />

อาการหอบเหนื่อยได้ค่อนข้างมาก<br />

ตัวอย่างเช่น ลักษณะที่มีปริมาณปอดขยายตัวมากผิดปกติบ่งถึง<br />

COPD แต่<br />

ถ้าปอดขยายตัวน้อยอาจเกิดจาก interstitial edema, fibrosis, กล้ามเนื ้อกระบังลมทํางานผิดปกติ(diaphragmatic<br />

dysfunction) หรือผนังทรวงอกเคลื่อนตัวผิดปกติ<br />

ลักษณะที่มีเส้นเลือดโตผิดปกติอาจบ่งถึง<br />

pulmonary artery


hypertension ลักษณะหัวใจโตมากอาจบ่งถึง dilated cardiomyopathy หรือ valvular disease ลักษณะที่มีนํ<br />

้าใน<br />

ช่องเยื่อหุ้มปอด<br />

2 ข้าง ควรนึกถึง congestive heart failure และโรคกลุ ่มเนื ้อเยื่อเกี่ยวพันบางชนิด<br />

ลักษณะที่มี<br />

นํ ้าในช่องเยื่อหุ้มปอดข้างเดียวอาจเป็<br />

นโรคมะเร็ง วัณโรคเยื่อหุ้มปอด หรือ pulmonary embolism<br />

การตรวจด้วยเอ็กซเรย์คอมพิวเตอร์ของทรวงอก(chest CT scan) เป็ นการดูรอยโรคที่ปอดได้อย่าง<br />

ชัดเจนและละเอียดมากขึ ้น เช่น โรค interstitial lung เป็ นต้น นอกจากนี ้ยังช่วยในการวินิจฉัยโรค pulmonary<br />

embolism ด้วยวิธีการตรวจ CT angiography ของ pulmonary artery ซึ ่งไม่สามารถวินิจฉัยได้โดยการใช้<br />

ภาพรังสีทรวงอกแบบธรรมดา<br />

การตรวจอื่นๆที่มีประโยชน์<br />

ได้แก่ การตรวจด้วยคลื่นเสียงสะท้อนหัวใจ(echocardiography)<br />

จะช่วย<br />

ในการวินิจฉัยโรคหัวใจชนิดต่างๆได้ เช่น ventricular hypertrophy, myocardial infarction, systolic<br />

dysfunction, pulmonary hypertension หรือ valvular heart disease เป็ นต้น<br />

การตรวจพิเศษที่ใช้แยกระหว่างโรคระบบหายใจกับโรคหัวใจคือ<br />

cardiopulmonary exercise test เพื่อ<br />

ดูว่ามีข้อจํากัดในการออกกําลังหรือไม่ เช่น เมื่อออกกําลังสูงสุด(peak<br />

exercise) ผู้ป่ วยสามารถหายใจได้ถึงค่า<br />

หายใจสูงสุดที่ควรจะเป็<br />

น แต่อาจพบลักษณะของการเพิ่มขึ ้นของ dead space หรือ hypoxemia หรือหลอดลม<br />

ตีบ(bronchospasm) นั่นคือ แปลผลว่าอาการหอบเหนื่อยเกิดจากโรคระบบหายใจ<br />

ในทางตรงกันข้ามถ้าอัตรา<br />

ชีพจร >85% ของค่าสูงสุดที่ควรจะเป็<br />

น และค่า anaerobic threshold เกิดเร็ว ความดันเลือดตํ ่าหรือสูงมากๆ<br />

ขณะออกกําลัง ค่าO2 pulse (O2 consumption/heart rate)ตํ ่า หรือการตรวจคลื่นไฟฟ้<br />

าหัวใจเปลี่ยนแปลงบ่งถึง<br />

การขาดเลือดไปเลี ้ยง(ischemic change) แปลผลได้ว่าโรคหัวใจเป็ นสาเหตุของอาการหอบเหนื่อยของผู้ป่<br />

วย


เอกสารอ้างอิง<br />

1. กาญจนา จันทร์สูง, สุทธิพันธ์ จิตพิมลมาศ, วัชรา บุญสวัสดิ ์ , บรรณาธิการ. อาการวิทยาทางอายุรศาสตร์.<br />

ฉบับพิมพ์เรียบเรียงครั ้งที่<br />

2.ขอนแก่น: คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น; 2542.<br />

2. สมเกียรติ วงษ์ทิม. How to approach patients with cough symptom . ใน: นพ.แจ่มศักดิ ์ ไชยคุนา<br />

,บรรณาธิการ. หนังสือประกอบการประชุมวิชาการประจําปี 2553: อุรเวชช์ร่วมสมัย 2553. พิมพ์ครั ้งที่<br />

1.<br />

กรุงเทพมหานคร: ภาพพิมพ์; 2553. หน้า 1-4.<br />

3. Anthony S. Fauci, Dennis L. Kasper, Dan L. Longo, Eugene Braunwald, Stephen L. Hauser, J. Larry<br />

Jameson, Joseph Loscalzo, editors. Harrison's principle of Internal Medicine.7 th ed. New York: McGraw-<br />

Hill; 2008.<br />

4. Chung KF, Pavord ID. Prevalence, pathogenesis, and causes of chronic cough. Lancet 2008;371:1364-74.<br />

5. Bidwell JL, Pachner RW. Hemoptysis: diagnosis and management. Am Fam Physician 2005;72:1253-60.<br />

6. Lordan JL, Gascoigne A, Corris PA.The pulmonary physician in critical care * Illustrative case 7:<br />

Assessment and management of massive haemoptysis. Thorax 2003; 58:814-9.<br />

7. Flook N, Unge P, Agréus L, Karlson BW, Nilsson S. Approach to managing undiagnosed chest pain:<br />

could gastroesophageal reflux disease be the cause?. Can Fam Physician 2007; 53:261-6.<br />

8. Thomas P. "I can't breathe"--assessment and emergency management of acute dyspnoea. Aust Fam<br />

Physician 2005; 34:523-9.

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!