22.11.2014 Views

โดยสเตรปโตโซโตซิน - มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

โดยสเตรปโตโซโตซิน - มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

โดยสเตรปโตโซโตซิน - มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

ฤทธิ์ของสารสกัดจากเปลือกผลทับทิมที่มีผลลดระดับน้ําตาลในเลือดของ<br />

หนูขาวเบาหวานที่ถูกเหนี่ยวนําโดยสเตรปโตโซโตซิน<br />

สุมิตรา<br />

เมืองขวา<br />

วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต<br />

สาขาวิทยาศาสตรศึกษา<br />

มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร<br />

พ.ศ 2550


ฤทธิ์ของสารสกัดจากเปลือกผลทับทิมที่มีผลลดระดับน้ําตาลในเลือดของ<br />

หนูขาวเบาหวานที่ถูกเหนี่ยวนําโดยสเตรปโตโซโตซิน<br />

สุมิตรา<br />

เมืองขวา<br />

วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรวิทยาศาสตรหาบัณฑิต<br />

สาขาวิทยาศาสตรศึกษา<br />

มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร<br />

พ.ศ. 2550<br />

สิทธิ์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร


$61u~um~diCnsiuTtlr anir dor4gdnln<br />

.......<br />

ri 1 9 sfl. 2551 ..........<br />

auw amou.. ................... .H.


บทคัดยอ<br />

หัวขอวิทยานิพนธ ฤทธิ์ของสารสกัดจากเปลือกผลทับทิมที่มีผลลดระดับน้ําตาลใน<br />

เลือดของหนูขาวเบาหวานที่ถูกเหนี่ยวนําโดยสเตรปโตโซโตซิน<br />

ผูวิจัย สุมิตรา เมืองขวา<br />

ระดับการศึกษา วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตรศึกษา<br />

พ.ศ. 2550<br />

ประธานกรรมการที่ปรึกษา ดร.รัศมี แสงศิริมงคลยิ่ง<br />

กรรมการที่ปรึกษา ผูชวยศาสตราจารย ดร. อภิชาต นนทประเสริฐ<br />

กรรมการที่ปรึกษา ดร. ดวงกมล วิรุฬหอุดมผล<br />

การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาฤทธิ์ของสารสกัดจากเปลือกผลทับทิมที่มี<br />

ผลลดระดับน้ําตาลในเลือด ระดับเอนไซม Asparate aminotransferase (AST) Alanine<br />

aminotransferase (ALT) ระดับ Blood urea nitrogen (BUN) รวมทั้งระดับ Creatinine (Cr) ใน<br />

เลือดของหนูขาวเบาหวานที่ถูกเหนี่ยวนําโดยสเตรปโตโซโตซินขนาด 50 มิลลิกรัม/กิโลกรัม<br />

ผลการวิจัยพบวา หนูขาวเบาหวานกลุมที่ปอนดวยสารสกัดจากเปลือกผลทับทิมขนาด 200 400<br />

และ 600 มิลลิกรัม/กิโลกรัม สามารถลดระดับน้ําตาลในเลือดไดใกลเคียงกัน อยางมีนัยสําคัญทาง<br />

สถิติ เมื่อเทียบกับกลุมควบคุมในเวลาเดียวกัน สวนหนูขาวเบาหวานกลุมที่ปอนดวย<br />

Glibenclamide 5 มิลลิกรัม/กิโลกรัม สามารถลดระดับน้ําตาลในเลือดของหนูขาวเบาหวานไดดี<br />

ที่สุด สวนผลตอระดับเอนไซม Asparate aminotransferase (AST) Alanine aminotransferase<br />

(ALT) และระดับ Blood urea nitrogen (BUN) Creatinine (Cr) ไมมีความแตกตางกันอยางมี<br />

นัยสําคัญทางสถิติ (p>0.05) เมื่อเทียบกับกลุมควบคุมในเวลาเดียวกัน ในหนูขาวเบาหวานกลุมที่<br />

ปอนดวยสารสกัดจากเปลือกผลทับทิมขนาด 200 400 และ 600 มิลลิกรัม/กิโลกรัม และหนูขาว<br />

เบาหวานกลุมที่ปอนดวย Glibenclamide 5 มิลลิกรัม/กิโลกรัม ยกเวนระดับเอนไซม Asparate<br />

aminotransferase (AST) มีแนวโนมเพิ่มขึ้นอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p


(p


Thesis Title<br />

Abstract<br />

Effect of Punica granatum Linn. Peels Extract on<br />

Blood Sugar Level in Streptozotocin-Induced<br />

Diabetic Rats<br />

The Researcher Ms. Sumittra Muangkhoua<br />

Level of Study<br />

Year 2007<br />

Master of Science, Science Education<br />

Chairman of Thesis Adviser Ratsamee Sangsirimongkolying, Ph.D<br />

Thesis Adviser Assist. Prof. Apichart Nontprasert, Ph.D<br />

Thesis Adviser Daungkamol Viroonudompon, Ph.D<br />

The purpose of this research was to study the effect of Punica granatm Linn.<br />

peels extract on blood sugar level, Asparate aminotransferase (AST), and Alanine<br />

aminotransferase (ALT) (enzyme) level, and blood urea nitrogen (BUN), as well as<br />

Creatinine (Cr) level in Streptozotocin-induced diabetic rats at 50 mg./kg. The results<br />

showed that having compared with the control group, blood sugar level of the group of<br />

the oral administration of Punica granatum Linn. peels extract at 200 400 and 600 mg./kg.<br />

significantly decreased. Blood sugar level of the group of the oral administration<br />

glibenclamide 5 mg./kg. significantly decreased most effectively in the diabetic rats during<br />

treating. Asparate aminotransferase (AST), and Alanine aminotransferase (ALT), enzyme<br />

level, and blood urea nitrogen (BUN), as well as Creatinine (Cr) level did not significantly<br />

(p>0.05) different from the control group of oral administration of Punica granatm Linn.<br />

peels extract at 200 400 and 600 mg./kg. Blood sugar level of the group of oral<br />

administration of glibenclamide 5 mg./kg., excluding Asparate aminotransferase (AST)<br />

enzyme level which significantly (p


experiment, whereas blood sugar level of the glibenclamide significantly (p


กิตติกรรมประกาศ<br />

วิทยานิพนธนี้สําเร็จลงไดดวยความกรุณาของ ดร.รัศมี แสงศิริมงคลยิ่ง<br />

ผูชวยศาสตราจารย ดร.อภิชาต นนทประเสริฐ ดร.ดวงกมล วิรุฬหอุดมผล คณะกรรมการที่<br />

ปรึกษาวิทยานิพนธ ซึ่งคอยดูแลใหคําปรึกษาและแกไขขอบกพรองตางๆ ทุกขั้นตอนตลอด<br />

ระยะเวลาการทําวิทยานิพนธ<br />

กราบขอบพระคุณ คุณสิริมา มงคลสัมฤทธิ์ ที่กรุณาใหคําปรึกษาและแนะนําในการใช<br />

สถิติในการวิเคราะหขอมูล และดร.วารุณี หาญพิทักษพงศ ที่กรุณาใหขอเสนอแนะและแนวคิด<br />

ปรับปรุงวิทยานิพนธเพื่อใหมีความสมบูรณยิ่งขึ้น<br />

กราบขอบพระคุณเจาหนาที่หองปฏิบัติการ หนวยเคมีคลินิก วิทยาลัยแพทยศาสตร<br />

กรุงเทพมหานครและวชิรพยาบาลที่ใหความอนุเคราะหอุปกรณในการทดลอง เจาหนาที่หนวย<br />

สัตวทดลอง คณะเวชศาสตรเขตรอน มหาวิทยาลัยมหิดล ที่ไดใหความชวยเหลือในการดูแล<br />

สัตวทดลองเปนอยางดี ผูบังคับบัญชาและผูรวมงานทุกทานที่กรุณาเสียสละเวลาอันมีคาและ<br />

อํานวยความสะดวกในการดําเนินการวิจัยครั้งนี้<br />

ทายสุดขอกราบขอบพระคุณบิดา มารดา ซึ่งใหการสนับสนุนและเปนกําลังใจใหตลอด<br />

มา รวมทั้งทุกทานที่ไดมีสวนชวยเหลือใหวิทยานิพนธนี้สําเร็จไดดวยดี<br />

สุมิตรา เมืองขวา


สารบัญ<br />

หนา<br />

บทคัดยอภาษาไทย..................................................................................................................... ค<br />

บทคัดยอภาษาอังกฤษ................................................................................................................ ง<br />

กิตติกรรมประกาศ..................................................................................................................... ฉ<br />

สารบัญ....................................................................................................................................... ช<br />

สารบัญตาราง............................................................................................................................. ญ<br />

สารบัญภาพ................................................................................................................................ ฎ<br />

บทที่<br />

1 บทนํา<br />

ความเปนมาและความสําคัญของปญหา...................................................................... 1<br />

วัตถุประสงคของการวิจัย............................................................................................ 3<br />

ประโยชนของการวิจัย................................................................................................. 3<br />

ขอบเขตของการวิจัย.................................................................................................... 4<br />

นิยามศัพทเฉพาะ.......................................................................................................... 4<br />

2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ<br />

แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวของ....................................................................... 6<br />

โรคเบาหวาน.............................................................................................................. 6<br />

การเหนี่ยวนําโรคเบาหวานในสัตวทดลอง................................................................. 14<br />

สเตรปโตโซโตซิน...................................................................................................... 15<br />

Glibenclamide............................................................................................................ 17<br />

ลักษณะทางพฤกษศาสตรของทับทิม......................................................................... 19<br />

งานวิจัยที่เกี่ยวของ..................................................................................................... 23<br />

กรอบแนวคิดที่ใชในการวิจัย..................................................................................... 26<br />

สมมติฐานการวิจัย.................................................................................................... 26<br />

3 วิธีดําเนินการวิจัย<br />

แบบของการวิจัย........................................................................................................ 27<br />

ประชากรและกลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัย................................................................ 27


ญ<br />

บทที่ หนา<br />

เครื่องมือที่ใชในการวิจัย............................................................................................ 27<br />

วิธีดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูล............................................................................... 28<br />

การวิเคราะหขอมูลทางสถิติ .................................................................................... 31<br />

สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล................................................................................. 31<br />

4 ผลการวิเคราะหขอมูล<br />

ผลของสารสกัดจากเปลือกผลทับทิม และ Glibenclamide ที่มีผลลดระดับน้ําตาล<br />

ในเลือด (FBS) ของหนูขาวเบาหวานที่ถูกเหนี่ยวนําโดยสเตรปโตโซโตซิน............. 32<br />

ผลของสารสกัดจากเปลือกผลทับทิม และ Glibenclamide ที่มีผลตอระดับเอนไซม<br />

Asparate aminotransferase (AST) ในเลือดของหนูขาวเบาหวานที่ถูกเหนี่ยวนํา<br />

โดยสเตรปโตโซโตซิน............................................................................................. 36<br />

ผลของสารสกัดจากเปลือกผลทับทิม และ Glibenclamide ที่มีผลตอระดับเอนไซม<br />

Alanine aminotransferase (ALT) ในเลือดของหนูขาวเบาหวานที่ถูกเหนี่ยวนํา<br />

โดยสเตรปโตโซโตซิน............................................................................................. 39<br />

ผลของสารสกัดจากเปลือกผลทับทิม และ Glibenclamide ที่มีผลตอระดับ<br />

Blood urea nitrogen (BUN) ในเลือดของหนูขาวเบาหวานที่ถูกเหนี่ยวนําโดย<br />

สเตรปโตโซโตซิน.................................................................................................. 42<br />

ผลของสารสกัดจากเปลือกผลทับทิม และ Glibenclamide ที่มีผลตอระดับ<br />

Creatinine (Cr) ในเลือดของหนูขาวเบาหวานที่ถูกเหนี่ยวนําโดย<br />

สเตรปโตโซโตซิน................................................................................................... 45<br />

5 สรุปผลการวิจัย อภิปรายผล และขอเสนอแนะ<br />

สรุปผลการทดลอง.................................................................................................. 48<br />

อภิปรายผลการทดลอง........................................................................................... 48<br />

ขอเสนอแนะ........................................................................................................... 52<br />

บรรณานุกรม................................................................................................................ 53<br />

ภาคผนวก<br />

ภาคผนวก ก การเตรียมสารทดลอง........................................................................ 58<br />

ภาคผนวก ข Clinical Chemistry Reference Range for Adult Rats….............. 60<br />

ภาคผนวก ค ทับทิมที่ใชในการศึกษา..................................................................... 62


ฎ<br />

หนา<br />

ภาคผนวก ค หนูขาว Spraque-Dawley ที่ใชในการศึกษา.................................... 63<br />

ภาคผนวก ง แบบยื่นจริยธรรมในสัตวทดลอง...................................................... 65<br />

ประวัติผูวิจัย................................................................................................................. 66


สารบัญตาราง<br />

ตารางที่ หนา<br />

4.1 คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับน้ําตาลในเลือด (FBS) หลังไดรับ<br />

สารสกัดจากเปลือกผลทับทิม และ Glibenclamide ของหนูขาวเบาหวานทั้ง<br />

5 กลุม..................................................................................................................... 34<br />

4.2 คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับเอนไซม Asparate aminotransferase<br />

(AST) ในเลือดหลังไดรับสารสกัดจากเปลือกผลทับทิม และ Glibenclamide<br />

ของหนูขาวเบาหวานทั้ง 5 กลุม............................................................................ 37<br />

4.3 คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับเอนไซม Alanine aminotransferase<br />

(ALT) ในเลือดหลังไดรับสารสกัดจากเปลือกผลทับทิม และ Glibenclamide<br />

ของหนูขาวเบาหวานทั้ง 5 กลุม.......................................................................... 40<br />

4.4 คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับ Blood urea nitrogen (BUN) ใน<br />

เลือดหลังไดรับสารสกัดจากเปลือกผลทับทิม และ Glibenclamide ของหนูขาว<br />

เบาหวานทั้ง 5 กลุม............................................................................................... 43<br />

4.5 คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับ Creatinine (Cr) ในเลือดหลังได<br />

รับสารสกัดจากเปลือกผลทับทิม และ Glibenclamide ของหนูขาวเบาหวานทั้ง<br />

5 กลุม................................................................................................................... 46


สารบัญภาพ<br />

ภาพที่ หนา<br />

3.1 การขลิบหางหนูขาวเพื่อวัดระดับน้ําตาลในเลือด......................................................... 29<br />

3.2 การวัดระดับน้ําตาลในเลือดโดยใช Glucose meter (Advantage ® )............................. 30<br />

4.1 ผลของระดับน้ําตาลในเลือด (FBS) ของหนูขาวเบาหวานภายหลังไดรับ<br />

สารสกัดจากเปลือกผลทับทิม และ Glibenclamide วันละครั้งเปนเวลา 7 วันและ<br />

หยุดไดรับสารดังกลาวเปนเวลา 7 วัน ................................................................ 35<br />

4.2 ผลของระดับเอนไซม Asparate aminotransferase (AST) ในเลือดของหนู<br />

ขาวเบาหวานภายหลังไดรับสารสกัดจากเปลือกผลทับทิม และ Glibenclamide<br />

วันละครั้งเปนเวลา 7 วันและหยุดไดรับสารดังกลาวเปนเวลา 7 วัน.................. 38<br />

4.3 ผลของระดับเอนไซม Alanine aminotransferase (ALT) ในเลือดของหนู<br />

ขาวเบาหวานภายหลังไดรับสารสกัดจากเปลือกผลทับทิม และ Glibenclamide<br />

วันละครั้งเปนเวลา 7 วันและหยุดไดรับสารดังกลาวเปนเวลา 7 วัน................. 41<br />

4.4 ผลของระดับ Blood urea nitrogen (BUN) ในเลือดของหนูขาวเบาหวาน<br />

หลังไดรับสารสกัดจากเปลือกผลทับทิม และ Glibenclamide วันละครั้งเปนเวลา<br />

7 วันและหยุดไดรับสารดังกลาวเปนเวลา 7 วัน ................................................ 44<br />

4.5 ผลของระดับ Creatinine (Cr) ในเลือดของหนูขาวเบาหวานหลังไดรับสารสกัดจาก<br />

เปลือกผลทับทิม และ Glibenclamide วันละครั้งเปนเวลา 7 วันและหยุดไดรับ<br />

สารดังกลาวเปนเวลา 7 วัน ..….…...................................................................... 47


บทที่ 1<br />

บทนํา<br />

ความเปนมาและความสําคัญของปญหา<br />

โรคเบาหวาน (Diabetes mellitus, DM) เกิดจากความผิดปกติของเมตาบอลิซึมของ<br />

กลูโคสหรือเกิดจากความผิดปกติของการหลั่งอินสุลินจากตอมไรทอของตับออน ทําใหเกิดภาวะ<br />

สําคัญคือ น้ําตาลในเลือดสูง (Hyperglycemia) ดื่มน้ํามาก (Polydipsia) กินอาหารจุ (Polyphagia)<br />

แตน้ําหนักลดและพบน้ําตาลในปสสาวะ (Glycosuria) (วิทยา ศรีมาดา. 2540 : 360) ซึ่งเปนโรค<br />

ทางระบบตอมไรทอที่เรื้อรังและเปนปญหาทางสุขภาพที่สําคัญของประชากรไทยและประชากรทั่ว<br />

โลก เพราะเปนโรคที่รักษาไมหายขาดและกอใหเกิดภาวะแทรกซอนมากมายเนื่องจากการปลี่ยน<br />

แปลงพยาธิสภาพของหลอดเลือดเล็ก (Microvascular) และหลอดเลือดใหญ (Macrovascular) เชน<br />

โรคหัวใจและหลอดเลือด (Atherosclerosis) โรคของตา (Retinopathy) โรคไต (Nephropathy)<br />

และอาการชาตามปลายมือปลายเทา (Neuropathy) (Reginald, et al. 1979 : 131-151) เปนตน จาก<br />

การรายงานของกระทรวงสาธารณสุขเมื่อป พ.ศ 2531 ถึงสถิติการเกิดโรคเบาหวานในประเทศ<br />

ไทย พบวามีอุบัติการณการเกิดในทุกกลุมอายุโดยในกลุมอายุนอยกวา 15 ป มีอุบัติการณเกิดต่ํา<br />

เพียง 0.5 คนตอป ตอประชากรหนึ่งแสนคน กลุมอายุ 15-25 ป มีอัตราความชุกรอยละ 2.5-3<br />

ในวัยผูใหญรอยละ 2.5-6.0 และจะพบมากที่สุดในกลุมผูสูงอายุที่เพิ่มขึ้น ในกลุมประเทศยุโรปจะ<br />

พบวามีอัตราการเกิดสูงกวาในประเทศไทย โดยพบอุบัติการณถึง 13.7-28.6 คนตอป ตอ<br />

ประชากรหนึ่งแสนคน ในป พ.ศ 2538 พบอัตราความชุกของโรคเบาหวานเทากับรอยละ 4 ของ<br />

ประชากรโลก ดังนั้นประมาณไดวามีผูปวยเบาหวานทั่วโลกอยูประมาณ 135 ลานคน แบง<br />

โรคเบาหวานชนิดที่ 1 ประมาณ 4 ลานคน และชนิดที่ 2 ประมาณ 129 ลานคน ในจํานวนนี้อยู<br />

ในทวีปเอเชียมากที่สุดคือ 66 ลานคน และคาดวาจํานวนผูปวยจะมีแนวโนมเพิ่มมากขึ้นทั่วโลก<br />

โดยในป พ.ศ 2568 จะมีผูปวยโรคเบาหวานในโลกถึงประมาณ 300 ลานคน ซึ่งอัตราความชุกที่<br />

เพิ่มขึ้นเปน 5.4% ของประชากรโลก โดยเฉพาะอยางยิ่งภูมิภาคเอเชียและอัฟริกา ซึ่งอาจเพิ่มขึ้น<br />

2-3 เทา สําหรับในประเทศไทย เมื่อป พ.ศ 2538 อัตราความชุกของโรคเบาหวานเพิ่มขึ้นเปน<br />

รอยละ 3.7 หรือพบผูปวยประมาณ 2 ลานคน และพบผูปวยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 รอยละ 95<br />

ของผูปวยทั้งหมดในประเทศไทย (วิทยา ศรีมาดา. 2541 : 1) จะเห็นไดวาโรคเบาหวานมีแนวโนม


เพิ่มมากขึ้นทุกป ดังนั้นเปาหมายของการรักษาคือ การควบคุมระดับน้ําตาลในเลือดใหอยูในเกณฑ<br />

ปกติเพื่อชะลอการเกิดภาวะแทรกซอนตางๆ โดยใชยาเม็ดลดระดับน้ําตาลในเลือดและอินสุลินซึ่งมี<br />

ราคาคอนขางสูง มีผลขางเคียง และขอจํากัดของการใชยาอยูมาก จึงทําใหสมุนไพรเปนอีก<br />

ทางเลือกหนึ่งที่ถูกนํามาใชในการวิจัยเพื่อศึกษาฤทธิ์ในการลดระดับน้ําตาลในเลือด และหาก<br />

ประเทศไทยสามารถพัฒนายารักษาโรคเบาหวานจากสมุนไพรภายในประเทศไดก็จะชวยสงเสริม<br />

เศรษฐกิจของชาติ ลดการนําเขายาจากตางประเทศ และสามารถทําใหพึ่งตนเองดานสาธารณสุขได<br />

ทางหนึ่ง ซึ่งจะนําไปสูการทดลองทางคลินิกและพัฒนาตอไปจนถึงการผลิตเชิงพาณิชย<br />

จากการรวบรวมงานวิจัยสรรพคุณลดระดับน้ําตาลในเลือดของสมุนไพรตางๆ ที่ได<br />

เผยแพรทั้งภายในและภายนอกประเทศตั้งแตป พ.ศ 2525 ถึง พ.ศ 2541 พบรายงานการวิจัยรวม<br />

81 เรื่อง สมุนไพรที่มีการนํามาวิจัยฤทธิ์นี้มีจํานวน 61 ชนิด ใน 39 วงศ ในจํานวนนี้ 54 ชนิด<br />

ใน 36 วงศ แสดงฤทธิ์ลดน้ําตาลในเลือดในสัตวทดลองและในคน (มาลี บรรจบ, และสุธิดา ไชย<br />

ราช. 2541: 41) เชน ใบสะแกเครือ (Combretum decandrum Roxb.) หญาหนวดแมว (Orthosiphon<br />

arisatus Miq.) เปนตน แตยังไมสามารถสรุปใหชัดเจนไดวาสมุนไพรชนิดใดมีประสิทธิภาพใน<br />

การลดระดับน้ําตาลในเลือดไดดีที่สุด ดังนั้นผูวิจัยจึงสนใจที่จะศึกษาในการนําสมุนไพรมาศึกษา<br />

ฤทธิ์ลดระดับน้ําตาลในเลือด จากการตรวจสอบเอกสารรายงานการวิจัย พบวา Phenolic<br />

compounds ที่ไดจากธรรมชาติสามารถปองกันหรือรักษาโรคเรื้อรังตางๆ ได เชน โรคหัวใจ<br />

โรคมะเร็ง โรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง เปนตน ทั้งยังมีการศึกษาพบวา Phenolic<br />

compounds เปนสารตานอนุมูลอิสระ (สุเขตร ศรีบุญเรือง. 2548 : 20) ซึ่งในโรคเบาหวานทั้งชนิด<br />

ที่ 1 และ 2 พบวามีความสัมพันธกับการเพิ่มขึ้นของอนุมูลอิสระ (อธิกา จารุโชติกมล. 2543 :15-<br />

16) ดังนั้น Phenolic compounds ที่พบในพืชตางๆ จึงอาจสามารถรักษาโรคเบาหวานได และได<br />

มีรายงานการวิจัยศึกษาถึงผลของสารสกัดจากใบหญาหนวดแมว (Orthosiphon arisatus Miq.) ตอ<br />

ฤทธิ์ลดระดับน้ําตาลในเลือดและการกระตุนการหลั่งอินสุลินโดยตรงจากตับออนโดยวิธี In-situ<br />

pancreatic perfusion พบวาสารสกัดสามารถลดระดับน้ําตาลในเลือดและสามารถกระตุนการหลั่ง<br />

อินสุลินจากตับออนไดในภาวะที่น้ําตาลสูงและมีการตรวจพบปริมาณ Total phenolic compounds<br />

ในสารสกัดจากใบหญาหนวดแมวเทากับ 13.07±7.50 มิลลิกรัม/กรัม ดังนั้นอาจเปนไปไดวา<br />

Phenolic compounds เปนสารสําคัญในการลดระดับน้ําตาลในเลือดของสารสกัดจากใบหญา<br />

หนวดแมวไดเชนกัน (กมลวรรณ ศรีปลั่ง. 2546 : 64-68) และจากการศึกษาฤทธิ์ของสารสกัดจาก<br />

เปลือกผลทับทิมตอการหายของแผล พบวามีการตรวจพบปริมาณ Phenolic compounds ใน<br />

เปลือกผลทับทิมถึง 44% (Murthy, et al. 2004 : 256-9) ดังนั้นผูวิจัยจึงไดคัดเลือกทับทิมในสวน<br />

ของเปลือกผลมาศึกษาเพิ่มเติมถึงฤทธิ์ลดระดับน้ําตาลในเลือด เนื่องจาก จากการศึกษาทางเคมี พบ


สารเคมีในสวนของเปลือกผลทับทิมที่สําคัญ ไดแก Hydrolyzable tannin 22-25% (คณะเภสัช<br />

ศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล. 2533) ซึ่งเปน Phenolic compounds ชนิดหนึ่ง (สุเขตร ศรีบุญเรือง.<br />

2548 : 28-29) และทับทิมเปนพืชสมุนไพรที่ขยายพันธุไดงาย พบไดทั่วไป มีสรรพคุณในตํารายา<br />

ไทย และตํารายากลางบานและยังไมมีรายงานการวิจัยใดที่ศึกษาถึงฤทธิ์ของสารสกัดจากเปลือกผล<br />

ทับทิมในการลดระดับน้ําตาลในเลือด<br />

ดังนั้นในการศึกษาวิจัยครั้งนี้จึงมุงเนนศึกษาฤทธิ์ของสารสกัดจากเปลือกผลทับทิมที่มี<br />

ผลลดระดับน้ําตาลในเลือดของหนูขาวเบาหวานที่ถูกเหนี่ยวนําโดยสเตรปโตโซโตซิน และศึกษา<br />

ผลของสารสกัดจากเปลือกผลทับทิมที่มีผลตอระดับเอนไซม Asparate aminotransferase (AST)<br />

Alanine aminotransferase (ALT) และระดับ Blood urea nitrogen (BUN), Creatinine (Cr) ใน<br />

เลือดของหนูขาวเบาหวานที่ถูกเหนี่ยวนําโดยสเตรปโตโซโตซิน<br />

วัตถุประสงคของการวิจัย<br />

1. ศึกษาฤทธิ์ของสารสกัดจากเปลือกผลทับทิมที่มีผลลดระดับน้ําตาลในเลือดของหนู<br />

ขาวเบาหวานที่ถูกเหนี่ยวนําโดยสเตรปโตโซโตซิน<br />

2. ศึกษาผลของสารสกัดจากเปลือกผลทับทิมที่มีผลตอระดับเอนไซม Asparate<br />

aminotransferase (AST) Alanine aminotransferase และระดับ Blood urea nitrogen (BUN) และ<br />

Creatinine (Cr) ในเลือดของหนูขาวเบาหวานที่ถูกเหนี่ยวนําโดยสเตรปโตโซโตซิน<br />

ประโยชนของการวิจัย<br />

1. นําผลการศึกษาวิจัยมาเปนขอมูลในการทดลองทางคลินิกและพัฒนาตอไปจนถึง<br />

การผลิตเชิงพาณิชย<br />

2. ทําใหสมุนไพรเปนอีกทางเลือกหนึ่งที่สามารถนํามาใชในการควบคุมระดับน้ําตาล<br />

ในเลือดได<br />

3. เปนขอมูลเบื้องตนในการศึกษาคนควาวิจัยทับทิมและพืชสมุนไพรชนิดอื่นตอไป<br />

4. ฟนฟูการแพทยแผนโบราณใหสามารถนํามาผสมผสานกับการรักษาโรคในแผน<br />

ปจจุบันไดอยางมีประสิทธิภาพ


ขอบเขตของการวิจัย<br />

1. ทับทิมที่ใชคือพันธุพื้นบาน โดยเก็บผลแกที่มีสีเหลืองปนสมแดง จากตําบลกลาง-<br />

ดง อําเภอปากชอง จังหวัดนครราชสีมา<br />

2. กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัยครั้งนี้คือ หนูขาวเพศผูสายพันธุ Spraque Dawley<br />

น้ําหนัก 160-210 กรัม อายุ 7 -8 สัปดาห จํานวน 35 ตัว จากสํานักสัตวทดลองแหงชาติ<br />

มหาวิทยาลัยมหิดล ตําบลศาลายา อําเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม<br />

3. ตัวแปรที่ใชในการวิจัย<br />

3.1 ตัวแปรอิสระ<br />

3.1.1 ปริมาณของสารสกัดจากเปลือกผลทับทิมขนาด 200 400 และ 600<br />

มิลลิกรัม/กิโลกรัม<br />

3.2 ตัวแปรตาม ไดแก<br />

3.2.1 ระดับน้ําตาลในเลือดของหนูขาวเบาหวานที่ถูกเหนี่ยวนําโดยสเตรปโต-<br />

โซโตซิน<br />

3.2.2 ระดับเอนไซม Asparate aminotransferase (AST) Alanine<br />

aminotransferase (ALT) และระดับ Blood urea nitrogen (BUN) Creatinine (Cr) ในเลือดของ<br />

หนูขาวเบาหวานที่ถูกเหนี่ยวนําโดยสเตรปโตโซโตซิน<br />

3.3 ตัวแปรควบคุม ไดแก<br />

3.3.1 ตัวทําละลาย 95% เอธิลแอลกอฮอล<br />

3.3.2 หนูขาวเพศผูสายพันธุ Spraque Dawley น้ําหนัก 160-210 กรัม อายุ 7-<br />

8 สัปดาห<br />

นิยามศัพทเฉพาะ<br />

1. เปลือกผลทับทิม หมายถึง สวนของผลที่หอหุมเมล็ดทั้งหมด และมีสีเหลืองปนสม<br />

แดง<br />

2. สเตรปโตโซโตซิน (Streptozotocin, STZ) หมายถึง สารเคมีที่สามารถทําใหระดับ<br />

น้ําตาลในเลือดสูงไดในสัตวทดลอง โดยมีผลทําลาย β-cell ของตับออน


3. หนูขาวเบาหวาน หมายถึง หนูขาวเพศผูสายพันธุ Spraque Dawley น้ําหนัก 160-<br />

210 กรัม ที่ฉีดสเตรปโตโซโตซินขนาด 50 มิลลิกรัม/กิโลกรัม และตรวจเลือดหนูขาว พบวามี<br />

ระดับน้ําตาลในเลือดมากกวา 132 มิลลิกรัม/เดซิลิตร (James, et al. 2002 : 121-160)


แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวของ<br />

บทที่ 2<br />

เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ<br />

การวิจัยเรื่อง ผลของสารสกัดจากเปลือกผลทับทิมตอการลดระดับน้ําตาลในเลือดของ<br />

หนูขาวเบาหวานที่ถูกเหนี่ยวนําโดยสเตรปโตโซโตซิน ผูวิจัยไดศึกษาถึงทฤษฎีเอกสารและ<br />

งานวิจัยที่เกี่ยวของเพื่อเปนแนวทางในการทําวิจัยตามหัวขอตอไปนี้<br />

1.โรคเบาหวาน<br />

2. การเหนี่ยวนําโรคเบาหวานในสัตวทดลอง<br />

3. Streptozotocin<br />

4. Glibenclamide<br />

5. ลักษณะทางพฤกษศาสตรของทับทิม<br />

6.งานวิจัยที่เกี่ยวของ<br />

โรคเบาหวาน<br />

1. ประวัติของโรคเบาหวาน<br />

โรคเบาหวาน เปนโรคที่รูจักกันทั่วไปในวงการแพทยมาตั้งแตสมัยโบราณ Aretaeus<br />

นายแพทยชาวเยอรมัน ไดตั้งชื่อโรคนี้วา ไดอะบีตีส (Diabetes) หมายถึง การที่รางกายขับน้ําหรือ<br />

ปสสาวะออกมามากกวาปรกติ ตอมา Avicenna นายแพทยชาวอาหรับ ไดใหคําจํากัดความของ<br />

โรคนี้วาเปนโรคที่มีปสสาวะหวานเหมือนน้ําผึ้ง และมักมีอาการแทรกซอนรวมดวยอยูเสมอ ในป<br />

ค.ศ. 1650 Thomas willis นายแพทยชาวอังกฤษ ไดตรวจพบน้ําตาลในปสสาวะผูปวยที่เปน<br />

โรคเบาหวาน และไดบันทึกไววา ถาปสสาวะของผูปวยมีรสหวานเหมือนน้ําผึ้งผูปวยจะผอมลง<br />

ออนเพลีย และตายในที่สุด ในป ค.ศ. 1777 Kullen ไดเติมคําวา เมลลิตัส (Mellitus) ตอทาย<br />

ไดอะบีตีสเปน ไดอะบีตีส แมลลิตัส (Diabetes Mellitus) ซึ่งหมายความวาโรคปสสาวะมีรสหวาน<br />

เหมือนน้ําผึ้งนั่นเอง ตอมาในป ค.ศ. 1815 Chevreul นักเคมีชาวฝรั่งเศส สามารถพิสูจนไดวา<br />

น้ําตาลในปสสาวะในผูปวยเบาหวาน เปนน้ําตาลกลูโคส ป ค.ศ. 1869 Paul landerhans นักศึกษา


แพทยชาวเยอรมัน ไดพบกลุมเซลลเล็กๆ ซึ่งมีลักษณะแตกตางจากเซลลที่ผลิตน้ํายอยทั่วไปในตับ<br />

ออน เขาเรียกกลุมเซลลนี้วา Islet ป ค.ศ. 1889 Von mering & Minkowski นักวิทยาศาสตรชาว<br />

เยอรมันสามารถพิสูจนไดวา โรคเบาหวานเกิดจากการผิดปรกติของตับออนโดยการทดลองตัดตับ<br />

ออนของสุนัขออก ปรากฏวา สุนัขเปนโรคเบาหวาน ป ค.ศ. 1901 Opie นายแพทยชาวอเมริกัน<br />

พบวา โรคเบาหวานมีสาเหตุมาจากกลุมเซลลเล็กๆ ที่มีอยูทั่วไปในตับออนเสื่อมประสิทธิภาพจึงมี<br />

ผูขนานนามเซลลเหลานี้วา Islet of langerhans เพื่อเปนเกียรติแก Paul langerhans ผูคนพบเซลล<br />

เหลานี้ ป ค.ศ. 1921 Banting & Best นายแพทยชาวแคนนาดา 2 ทาน สามารถสกัดฮอรโมน<br />

จากกลุมเซลลเล็กๆ ของ Langerhans ได โดยสารที่สกัดไดนี้สามารถทําใหระดับน้ําตาลในเลือด<br />

ของผูปวยลดลงได เขาจึงใหชื่อสารนี้วา Insulin<br />

ปจจุบันความรูเกี่ยวกับสาเหตุและพยาธิสรีรวิทยาของโรคเบาหวานมีความกาวหนาไป<br />

มาก ดังนั้นทางสมาคมโรคเบาหวานแหงสหรัฐอเมริกา (American Diabetes Association หรือ<br />

ADA) รวมกับผูเชี่ยวชาญโรคเบาหวานทั่วโลก ไดมีการประชุมกันเพื่อทําการแกไขและปรับปรุง<br />

การวินิจฉัยและการจําแนกประเภทโรคเบาหวานขึ้นใหมตั้งแตกลางป พ.ศ. 2538 จนไดขอสรุป<br />

และประกาศใชเมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2540 American Diabetes Association (1997 : 1187-<br />

1197, อางถึงใน อภิชาติ วิชญาณรัตน. 2546 : 3) ประมาณหนึ่งปตอมา ผูเชี่ยวชาญขององคการ<br />

อนามัยโลกไดตีพิมพคําแนะนําเบื้องตนในเรื่องดังกลาวออกมา ซึ่งมีความคลายคลึงกันแตมีความ<br />

แตกตางในบางประเด็นสําคัญ<br />

2. ความหมายของโรคเบาหวาน<br />

โรคเบาหวานเปนกลุมโรคทางเมตะบอลิสม ซึ่งกอใหเกิดระดับน้ําตาลกลูโคสในเลือด<br />

สูงเปนเวลานานอันเปนผลมาจากความผิดปกติในการหลั่งอินสุลินหรือความผิดปกติในการออก<br />

ฤทธิ์ของอินสุลินหรือทั้งสองประการ<br />

3. เกณฑในการวินิจฉัยโรคเบาหวาน<br />

เกณฑในการวินิจฉัยโรคเบาหวานในปจจุบันไดดัดแปลงมาจากเกณฑของ National<br />

Diabetes Data Group (NDDG) ของสหรัฐอเมริกา National Diabetes Data Group (1979: 1039-<br />

1057, อางถึงใน อภิชาติ วิชญาณรัตน. 2546 : 3) และ WHO World Health Organization (1985:<br />

727, อางถึงใน อภิชาติ วิชญาณรัตน. 2546 : 3) ที่เคยใชอยูเดิม การจะวินิจฉัยโรคเบาหวานตาม<br />

เกณฑใหมนี้ทําได 3 วิธี ซึ่งทั้งสามวิธีนี้จําเปนตองไดรับการตรวจซ้ําอีกครั้งหนึ่งเพื่อยืนยันเสมอ<br />

ไมวาจะใชวิธีใดก็ตาม American Diabetes Association (1997: 1187-1197, อางถึงใน อภิชาติ วิช


ญาณรัตน. 2546 : 4) แตทางผูเชี่ยวชาญขององคการอนามัยโลกแนะนําใหตรวจซ้ําอีกครั้งสําหรับผู<br />

ที่ไมมีอาการของโรคเบาหวานชัดเจนเทานั้น<br />

เกณฑในการวินิจฉัยโรคเบาหวานมี 3 ประเภทดังนี้<br />

1. มีอาการของโรคเบาหวานรวมกับระดับน้ําตาลกลูโคสในพลาสมาจากหลอดเลือดดํา<br />

เวลาใดก็ตามมีคาเทากับหรือมากกวา 200 มิลลิกรัม/เดซิลิตร (อาการของโรคเบาหวานไดแก ดื่ม<br />

น้ํามาก ปสสาวะมาก และน้ําหนักตัวลดโดยไมทราบสาเหตุ)<br />

2. ระดับน้ําตาลกลูโคสในพลาสมาจากหลอดเลือดดําในขณะอดอาหาร (Fasting<br />

Plasma Glucose หรือ FPG) เทากับหรือมากกวา 126 มิลลิกรัม/เดซิลิตร (การอดอาหาร<br />

หมายถึง การงดรับประทานอาหาร หรือเครื่องดื่มที่ใหพลังงานเปนเวลาอยางนอย 8 ชั่วโมง)<br />

3. ระดับน้ําตาลกลูโคสในพลาสมาจากหลอดเลือดดําที่เวลา 2 ชั่วโมง ในการตรวจ<br />

75 gram Oral Glucose Tolerance Test (75 g OGTT) เทากับหรือมากกวา 200 มิลลิกรัม/<br />

เดซิลิตร<br />

4. การจําแนกประเภทของโรคเบาหวาน<br />

การจําแนกประเภทของโรคเบาหวานเดิมใชตาม WHO Study Group ซึ่งแบง<br />

ประเภทของโรคเบาหวานตามลักษณะทางคลินิก ไดแก โรคเบาหวานชนิดพึ่งอินสุลิน (Insulin<br />

Dependent Diabetes Mellitus, IDDM) โรคเบาหวานชนิดไมพึ่งอินสุลิน (Non-insulin Dependent<br />

Diabetes Mellitus, NIDDM ) โรคเบาหวานที่เกี่ยวของกับภาวะทุพโภชนาการ (MRDM) และ<br />

โรคเบาหวานที่มีสาเหตุจากอื่นๆ ซึ่งการจําแนกประเภทของโรคเบาหวานดังกลาวพบวาไมมี<br />

ความสัมพันธหรือไมสามารถแยกกันไดชัดเจนในแงของพยาธิสรีรีวิทยาในการเกิดโรค การดําเนิน<br />

โรค การตอบสนองตอการรักษา และการปองกันโรค เชน โรคเบาหวานชนิดพึ่งอินสุลิน (IDDM)<br />

ในระยะแรกๆ ของโรค ผูปวยบางรายสามารถควบคุมโรคไดดวยการใชยาเม็ดลดระดับน้ําตาล<br />

โรคเบาหวานชนิดไมพึ่งอินสุลิน (NIDDM) ในระยะหลังมักจําเปนตองใชอินสุลินในการรักษาเพื่อ<br />

ควบคุมระดับน้ําตาลกลูโคสในเลือด โรคเบาหวานที่เกี่ยวของกับภาวะทุพโภชนาการ (MRDM)<br />

จริงๆ แลวไมมีหลักฐานชัดเจนที่บงวาภาวะทุพโภชนาการเปนสาเหตุของโรคแตพบวาภาวะทุพ<br />

โภชนาการเปนสิ่งที่พบรวมดวยทําใหลักษณะอาการทางคลินิกของโรคเบาหวานซึ่งสวนใหญเปน<br />

ชนิด NIDDM มีลักษณะตางออกไป ดังนั้นการจําแนกประเภทของโรคเบาหวานใหมของสมาคม<br />

โรคเบาหวานแหงสหรัฐอเมริกา และองคการอนามัยโลกจึงไดมีการเปลี่ยนแปลงดังนี้คือ ยกเลิก<br />

การใชคําวา IDDM และ NIDDM เนื่องจากการแบงโรคเบาหวานเปน IDDM และ NIDDM<br />

เปนการแบงตามการรักษาแตไมไดบงถึงสาเหตุ หรือพยาธิสรีรวิทยาของโรค และใหใชคําวา<br />

โรคเบาหวานชนิดที่ 1 (Type 1 DM) และชนิดที่ 2 (Type 2 DM) ซึ่งเปนการแบงตามสาเหตุ


และพยาธิสรีรวิทยาในการเกิดโรคแทน โรคเบาหวานชนิดที่ 1 หมายถึง โรคเบาหวานที่เกิดจาก<br />

การทําลายของเซลลเบตาในตับออน ซึ่งสวนใหญจะเกิดจากกระบวนการ Autoimmune สวนนอย<br />

จะไมรูสาเหตุ โรคเบาหวานชนิดนี้จะมีแนวโนมการเกิด Ketoacidosis ไดงาย โรคเบาหวานชนิดที่<br />

2 หมายถึง โรคเบาหวานที่เกิดจากภาวะดื้ออินสุลินรวมกับความผิดปกติในการหลั่งอินสุลินของตับ<br />

ออน ซึ่งเปนโรคเบาหวานที่พบบอยที่สุดทั่วโลก การจําแนกประเภทโรคเบาหวานใหมนี้ยังตัดคํา<br />

วา MRDM ออกไป โดยเฉพาะ MRDM ชนิดที่เกิดจากภาวการณขาดโปรตีน (Protein deficiency)<br />

สวน MRDM ชนิดที่มีหินปูนจับในตับออนหรือ Fibrocalculous pancreatic diabetes (วิทยา ศรี<br />

มาดา. 2540 : 364) ปจจุบันจะจัดอยูในโรคเบาหวานชนิดอื่นๆ (other specific types of diabetes) ที่<br />

มีสาเหตุจากโรคของตับออน การที่จะบงชี้วาผูปวยเบาหวานเปนชนิดใดนั้นมักจะขึ้นอยูกับสภาวะ<br />

ขณะไดรับการวินิจฉัยซึ่งอาจจะเปนการยากที่จะบอกไดอยางแนชัดในผูปวยบางราย<br />

5. พยาธิกําเนิดของโรคเบาหวาน<br />

5.1 โรคเบาหวานชนิดที่ 1 ผูปวยจะมีอาการระดับน้ําตาลในเลือดสูง กระหายน้ํา<br />

ปสสาวะมากผิดปกติ เหนื่อยงาย ทองผูก ติดเชื้อที่ผิวหนัง และน้ําหนักลด มักเกิดภาวะ<br />

Ketoacidosis สวนใหญพบในผูปวยที่มีอายุนอย และพบประมาณรอยละ 10 ของผูปวยทั้งหมด<br />

American Diabetes Association ( 1995 : 5-7, อางถึงใน กมลวรรณ ศรีปลั่ง. 2546 : 4) โดยเกิดจาก<br />

β-cell ถูกทําลาย ทําใหขาดอินสุลิน ซึ่งสามารถแบงเปนกลุมยอยตามสาเหตุ คือ<br />

5.1.1 โรคเบาหวานที่เกิดจากระบบภูมิคุมกันของรางกาย (Immune-mediated<br />

diabetes) เกิดจากการทําลาย β-cell จากระบบ Autoimmune ของรางกาย Zimmet (1995 : 1050-<br />

1064, อางถึงใน กมลวรรณ ศรีปลั่ง. 2546 : 4) พบวา 85-90% ของผูปวยเบาหวานชนิดนี้ตรวจพบ<br />

Autoantibodies ตางๆ ภายในกระแสเลือด ซึ่ง Autoantibodies คือ แอนติบอดี้ตอ β-cell แอนติเจน<br />

ไดแก Islet cell antibody , Insulin autoantibodeis , Glutamic acid decarboxylase antibody และ<br />

Tyrosine phosphatase-like protein antibody สวนปจจัยทางสิ่งแวดลอมจะมีสวนสําคัญในการ<br />

แสดงออกของโรคในผูที่มีความเสี่ยงทางพันธุกรรมที่สําคัญไดแก การติดเชื้อไวรัส อาหาร<br />

สภาพแวดลอมในครรภมารดา (Richard. 1995 : 43-48) ทั้งสองปจจัยจะสงเสริมกันทําใหเกิดการ<br />

ตอบสนองของระบบภูมิคุมกัน (Cell-mediated immune response) มาทําลาย β-cell กลไกการ<br />

ทําลายเบตาเซลลนั้นเกิดจากความผิดปกติของ T-cell โดยเริ่มจาก Macrophage จับกับ β-cell<br />

แอนติเจน และไปจับกับ T-cell ที่มีรีเซพเตอรจําเพาะกับ β-cell แอนติเจน ไปกระตุน Cytotoxic<br />

T-cell ใหหลั่ง Cytokine เชน Interferon gamma และสามารถกระตุน Cytotoxic T-cell ใหหลั่ง<br />

สารจําพวก Free radical เชน Superoxide, Hydrogen peroxide, Nitric oxide และ Cytokinine เชน


Interleukin-1(IL-1) , Tumor necrosis factoralpha (TNF-α) ซึ่งมีฤทธิ์ทําลาย β-cell เมื่อ β-cell<br />

ถูกทําลายไปมากกวา 80% จะเกิดภาวะน้ําตาลในเลือดสูง และการทําลายก็ยังคงดําเนินการตอไป<br />

5.1.2 โรคเบาหวานที่ไมทราบสาเหตุ (Idiopathic diabetes mellitus)<br />

เปนผูปวยที่มีการขาดอินสุลินโดยที่ไมมีหลักฐานของการเกิด Autoimmune ซึ่งเปนสวนนอยที่พบ<br />

และมักพบในประชากรแถบเอเชียและอัฟริกาผูปวยจะเกิดภาวะ Ketoacidosis จะมีภาวะขาดอินสุ<br />

ลินในระดับแตกตางกันไดหลากหลาย โรคเบาหวานชนิดนี้จะถายทอดทางพันธุกรรมแตไมมี<br />

ความสัมพันธกับ HLA Banerji,& Lebovitz (1989 : 784-792, อางถึงใน กมลวรรณ ศรี-ปลั่ง. 2546<br />

: 5)<br />

5.2 โรคเบาหวานชนิดที่ 2 เกิดจากการหลั่งอินสุลินที่ผิดปกติ คือ ตับออนสามารถหลั่ง<br />

อินสุลินไดแตไมเพียงพอที่จะควบคุมระดับน้ําตาลในเลือดใหอยูในเกณฑปกติ และรางกายเกิด<br />

ภาวะดื้อตออินสุลิน โรคเบาหวานชนิดนี้มักจะไมเกิดภาวะ Ketoacidosis ขึ้นเอง จะเกิดเมื่อมีภาวะ<br />

เครียดอยางชัดเจน Umpierrrez, et al (1995 : 790-795, อางถึงใน กมลวรรณ ศรีปลั่ง.2546 : 5) ภาวะ<br />

น้ําตาลในเลือดสูงจะเกิดอยางชาๆ ปจจัยในการเกิดโรค ไดแก อายุ ความอวน และการไมออกกําลัง<br />

กาย (Hertzel, 2001 : 153-160) ผูปวยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 สวนใหญอายุมากกวา 30 ป และพบ<br />

90% ของผูปวยทั้งหมด American Diabetes Association (1995 : 5-7, อางถึงใน กมลวรรณ ศรี<br />

ปลั่ง. 2546 : 5) ปจจุบันยังไมทราบสาเหตุที่ชัดเจนของโรค ความผิดปกติที่สําคัญของผูปวย<br />

เบาหวานชนิดนี้คือ ภาวะดื้อตออินสุลิน และการหลั่งอินสุลินที่ผิดปกติ โดยที่ผูปวยโดยสวน<br />

ใหญจะมีความผิดปกติทั้งสองอยางรวมกัน อยางไรก็ตามจะมีผูปวยจํานวนหนึ่งที่มีความผิดปกติ<br />

ในการหลั่งอินสุลินเปนหลัก<br />

5.2.1 ภาวะดื้อตออินสุลิน คือภาวะที่ความสามารถของอินสุลินในการทําให<br />

กลูโคสเขาเซลลลดลงโดยนื้อเยื่อที่เกิดภาวะดื้อตออินสุลิน ไดแก เนื้อเยื่อที่เกี่ยวของกับ<br />

กระบวนการ Glucose homeostasis ประกอบดวย กลามเนื้อลาย ไขมัน (Adipose tissue) และตับ<br />

แตที่สําคัญที่สุดที่พบวาเกี่ยวของกับพยาธิกําเนิดของโรคเบาหวาน ไดแก กลามเนื้อลาย ในคนปกติ<br />

กลามเนื้อลายจะมีรีเซพเตอรของอินสุลิน เมื่ออินสุลินจับกับรีเซพเตอรจะกระตุนใหเกิด<br />

Autophosphorylation ของ Tyrosine kinase หลังจากนั้นจะไปกระตุน Phosphor-inositide-3 kinase<br />

และ Kinase อื่นๆ ทําใหมีการเคลื่อนยายของ Glucose transporter-4 (GLUT4) ไปที่ Cell<br />

membrane เพื่อทําใหกลูโคสเขาเซลลได แตในผูปวยโรคเบาหวานชนิดนี้ที่มีอาการดื้อตออินสุลิน<br />

อาจเกิดจากความผิดปกติของโปรตีนที่เกี่ยวของกับ Insulin signaling pathway ในปจจุบันพบวา<br />

ความผิดปกติหลัก คือ กระบวนการเคลื่อนยาย GLUT4 ไปยัง Cell membrane ลดลง ทําให<br />

กลูโคสเขาเซลลลดลง Shepherd,& Kahn (1999 : 248-257, อางถึงใน กมลวรรณ ศรีปลั่ง. 2546 : 6)


โดยความผิดปกติภายในเซลล (Post-receptor defect) เปนสาเหตุสําคัญ ในขณะที่ความผิดปกติของ<br />

รีเซพเตอรของอินสุลินมีบทบาทนอยมาก ซึ่งปจจัยที่เกี่ยวของกับการเกิดภาวะดื้อตออินสุลินใน<br />

ผูปวยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ไดแก พันธุกรรม ปริมาณและตําแหนงของไขมันในรางกาย อายุ<br />

การขาดการออกกําลังกาย และสภาพแวดลอมในครรภมารดา Phillips, et al (1998 : 150-155, อาง<br />

ถึงใน กมลวรรณ ศรีปลั่ง. 2546 : 6)<br />

5.2.2 ความผิดปกติในการหลั่งอินสุลิน เชื่อวาพันธุกรรมมีสวนกําหนดปริมาณ<br />

และการทํางานของ β-cell เปนตัวกําหนดใหเกิด Apoptosis มากขึ้น (Federic. 2001 : 1290-301)<br />

ซึ่งความผิดปกติของยีนสที่เกี่ยวของกับการหลั่งอินสุลิน เชน Glucokinase หรืออาจเกิดจากการ<br />

หลั่งอินสุลินที่ลดลงในภาวะดื้อตออินสุลินทําใหระดับน้ําตาลในเลือดสูง การตอบสนองของ β-<br />

cell ตอกลูโคสจะลดลง คือ มีผลตอการหลั่งอินสุลินและการทํางานของอินสุลิน โดยพบวาการ<br />

นํากลูโคสเขาเซลลลดลงในภาวะดังกลาว เรียกภาวะนี้วา Glucotoxicity ความอวนอาจเปนอีก<br />

สาเหตุหนึ่ง ซึ่งรางกายมีการสลาย Triglyceride ที่สะสมไวใน Adipocyte เปน Fatty acid ใน<br />

กระแสเลือดสูงขึ้น โดยสามารถถูกเปลี่ยนเปน Triglyceride ภายใน β-cell ได สงผลใหการ<br />

ทํางานของ β-cell ลดลง เกิดภาวะ Lipotoxicity Kahn,& Flier (2000 : 1303-1306, อางถึงใน<br />

กมลวรรณ ศรีปลั่ง. 2546 : 6)<br />

6. การติดตามผลการควบคุมระดับน้ําตาล<br />

การติดตามผลการควบคุมระดับน้ําตาลหลังการรักษา ทําใหสามารถประเมินได<br />

ชัดเจนวาการรักษามีประสิทธิภาพและประสบผลสําเร็จมากนอยเพียงใดเนื่องจากการเปลี่ยนแปลง<br />

ระดับน้ําตาลในเลือดในแตละวัน เวลา ขึ้นกับอาหาร และกิจกรรมออกแรง การติดตามผลเทานั้น<br />

ที่จะแสดงถึงการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นได โดยเฉพาะอยางยิ่งในรายที่ใหการรักษาแบบเขมงวด<br />

เพื่อใหระดับน้ําตาลอยูในเกณฑที่ปกติมากที่สุด จําเปนตองติดตามผลการควบคุมระดับน้ําตาล<br />

อยางใกลชิด การติดตามผลการควบคุมระดับน้ําตาลทําไดหลายรูปแบบไดแก การวัดระดับน้ําตาล<br />

ในเลือดโดยตรง การวัดปริมาณน้ําตาลที่ทนออกมาในปสสาวะซึ่งแตละวิธีมีขอดีและขอจํากัด<br />

ตางกัน เปนการประเมินน้ําตาลในเลือด ณ เวลาที่ตองการ เพื่อใหทราบชัดเจนวาในขณะนั้นระดับ<br />

น้ําตาลในเลือดเปนเทาใด ซึ่งจะใชเปนขอมูลกําหนดหรือตัดสินการรักษา ณ เวลานั้นๆ การวัด<br />

ระดับน้ําตาลในเลือดอาจทําโดยหองปฏิบัติการ หรือใชเครื่องวัดระดับน้ําตาลขนาดเล็กที่สามารถ<br />

พกพาไปในที่ตางๆไดงาย การวัดระดับน้ําตาลในเลือดโดยหองปฏิบัติการ ถือเปนวิธีมาตรฐานที่<br />

ใชในสถานพยาบาลทั่วไปโดยใชเลือดที่เจาะจากเลือดดํา Snacks, et al (2002 : 436-472, อางถึงใน<br />

อภิชาติ วิชญาณรัตน. 2546 : 155) นิยมวัดในพลาสมาที่ใชโซเดียมฟลูออไรดเปนสารกันเลือด<br />

แข็งตัว ในบางครั้งอาจวัดเปนระดับน้ําตาลในเลือด (Whole blood) กรณีที่ไมไดใสสารโซเดียม


ฟลูออไรดจะตองปนแยกเม็ดเลือดแดงออกทันที มิเชนนั้นระดับน้ําตาลที่วัดไดจะต่ํากวาความเปน<br />

จริง การวัดทางหองปฏิบัติการอาศัยปฏิกิริยาของเอนไซม Glucose oxidase หรือ Hexokinase (วี<br />

กูล วีรานุวัตติ์, และกนกนาถ ชูปญญา. 2520 : 167-169) ในหองปฏิบัติการที่มีการควบคุมมาตรฐาน<br />

คาที่วัดไดจะมีความถูกตองแมนยําสูง ผูที่สงตรวจจะตองรูวาระดับน้ําตาลที่รายงานเปนระดับ<br />

น้ําตาลในพลาสมาหรือในเลือด เพราะระดับน้ําตาลในพลาสมาจะสูงกวาระดับน้ําตาลในเลือดรอย<br />

ละ 10-15 World Health Organization (1999 : 1, อางถึงใน อภิชาติ วิชญาณรัตน. 2546 : 155) ขอดี<br />

ของการตรวจวัดโดยหองปฏิบัติการนอกจากความแมนยําแลว คาใชจายจะนอยเนื่องจากตรวจ<br />

ตัวอยางสงตรวจ (Specimen) หลายตัวอยางพรอมกัน แตขอจํากัดคือ จะตองทําในสถานพยาบาล<br />

การเก็บตัวอยางเลือดมีความยุงยาก ตองใชตัวอยางเลือดครั้งละ 1-3 มิลลิลิตร และใชเวลานาน<br />

ดังนั้นจึงใชวิธีนี้เปนครั้งคราวในผูปวยแตละราย<br />

6.1 การวัดระดับน้ําตาลในเลือดโดยใชเครื่องวัดชนิดพกพา (Glucose meter)<br />

ในปจจุบันเครื่องวัดระดับน้ําตาลชนิดพกพามีการพัฒนาจนไดรับความเชื่อถือ และการยอมรับให<br />

ใชแทนการวัดระดับน้ําตาลในเลือดโดยหองปฏิบัติการได การวัดโดยเครื่องชนิดพกพาที่กลาวนี้<br />

เปนการวัดระดับน้ําตาลจากเลือดแดง (Capillary blood) ที่เจาะจากปลายนิ้ว (Finger prick) ความ<br />

ถูกตองของคาที่ไดขึ้นกับสมรรถภาพของเครื่อง การปฏิบัติตามขั้นตอนอยางถูกตองของผูใช และ<br />

การตั้งคาของเครื่องกับแผนทดสอบหรือน้ํายามาตรฐานกอนใช Skele, et al (2002 : 994-1003, อาง<br />

ถึงใน อภิชาติ วิชญาณรัตน. 2546 : 155) ผูใชตองรูวาเครื่องที่ใชวัดใหคาเปนระดับของ Capillary<br />

plasma glucose หรือ Capillary whole blood glucose เพราะคาใน Plasma จะสูงกวาใน Whole<br />

blood รอยละ 10-15 เชนกัน นอกจากนี้ถาเปนระยะหลังรับประทานอาหาร (Post-prandial) ระดับ<br />

น้ําตาลในเลือดแดงจะสูงกวาระดับน้ําตาลที่เจาะจากหลอดเลือดดําประมาณรอยละ 10 การวัด<br />

ระดับน้ําตาลในเลือดโดยเครื่องวัดชนิดพกพา ใชเลือดที่เจาะจากปลายนิ้วเพียง 3-50 ไมโครลิตร<br />

และไดผลใน 10-30 วินาที แลวแตชนิดของเครื่อง สามารถทําไดทั้งที่สถานพยาบาล ที่คลินิก ที่<br />

บาน หรือที่ใดๆ ก็ได จึงมีประโยชนและเปนที่นิยมมาก แตคาใชจายสูงกวาการการตรวจโดย<br />

หองปฏิบัติการและคาที่เครื่องอานไดมีกรอบจํากัดระหวาง 20-600 มิลลิกรัม/เดซิลิตร การใช<br />

เครื่องวัดระดับน้ําตาลชนิดพกพาในสถานพยาบาลหรือคลินิก เปนการตรวจวัดแทนการสงตรวจที่<br />

หองปฏิบัติการเพื่อประเมินระดับน้ําตาลในเลือดขณะนั้น สําหรับสั่งหรือเปลี่ยนแปลงการรักษา<br />

โดยทันที Lewandrowski, et al (2001 : 175-179, อางถึงใน อภิชาติ วิชญาณรัตน. 2546 : 156)<br />

ทั้งนี้สามารถตรวจวัดไดบอยเทาที่จําเปนโดยไมจํากัดเวลา การใชเครื่องวัดระดับน้ําตาลชนิดพกพา<br />

ที่บานหรือสถานที่ตางๆ เปนการตรวจวัดโดยผูปวยหรือญาติเพื่อติดตามผลการรักษาของตนเอง<br />

เรียกวา Self-Monitoring of Blood Glucose (SMBG) (Gareth & John. 1999 : 10-11) ซึ่งเปน


เครื่องมือสําคัญที่ใชเพื่อใหไดขอมูลสําหรับปรับเปลี่ยนการรักษาจนควบคุมระดับน้ําตาลใหไดปกติ<br />

หรือใกลเคียงปกติ โดยผูปวยสามารถตรวจวัดระดับน้ําตาลวันละ 1-7 ครั้ง หรือมากกวาที่จําเปน<br />

สําหรับปรับเปลี่ยนการรักษารายวันเพื่อใหระดับน้ําตาลอยูในเกณฑที่กําหนดไว<br />

6.2 การวัดปริมาณน้ําตาลที่เกาะติดกับโปรตีน การคนพบปฏิกิริยาที่เรียกวา<br />

Nonenzymatic glycosylation คือน้ําตาลสามารถจับกับกลุม Amino ของอณูโปรตีน ระยะแรกเปน<br />

การจับกันหลวมๆ ตอมาเกิดการเปลี่ยนแปลงชาๆ โดยไมตองอาศัยเอนไซมใดๆ เปนตัวกระตุน<br />

หรือเรงปฏิกิริยา จนเปนการเกาะติดที่ถาวร ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นจะเปนสัดสวนโดยตรงกับระดับ<br />

น้ําตาลที่มีอยู ไดมีการนํามาประยุกตใชทางคลินิกเพื่อบงชี้ระดับน้ําตาลในเลือดระยะยาว โดยการ<br />

วัดปริมาณน้ําตาลที่เกาะติดกับฮีโมโกลบินในเม็ดเลือดแดง (Glycated hemoglobin ,<br />

Glycohemoglobin ) และน้ําตาลที่เกาะติดโปรตีนในเลือด<br />

6.3 การวัดปริมาณน้ําตาลที่เกาะติดเม็ดเลือดแดง คือการวัดฮีโมโกลบิน (Hemoglobin)<br />

สวนที่เปน Hemoglobin A 1c ซึ่งเปนสวนที่เกิดปฏิกิริยากับน้ําตาลในเลือด แมจะเปนสวนนอยของ<br />

ฮีโมโกลบินทั้งหมดแตก็เปนสวนที่คงตัว การวัดปริมาณน้ําตาลที่เกาะติดกับฮีโมโกลบินในเม็ด<br />

เลือดแดงมีชื่อเรียกไดหลายอยางคือ Hemoglobin A 1c (HbA 1c ) , Glycosylated hemoglobin หรือ<br />

Glycohemoglobin (GHb) Nathan,& Cagliero (2001 : 827-926, อางถึงใน อภิชาติ วิชญาณรัตน.<br />

2546 : 157) การเกิด HbA 1c เปนปฏิกิริยาระหวางกลูโคสกับกลุม Amino ของสายฮีโมโกลบิน ที่<br />

เกิดโดยไมตองอาศัยสารเรงปฏิกิริยาใดๆ เนื่องจากเม็ดเลือดแดงมีอายุในระบบหมุนเวียนโลหิต<br />

120 วัน ดังนั้นการวัด HbA 1c จึงบงชี้ถึงระดับน้ําตาลที่ผานมาในระยะถึง 2-3 เดือน (วิทยา ศรี<br />

มาดา. 2540 : 419) พบวาปริมาณน้ําตาลที่เกาะติดเม็ดเลือดแดงมีความสัมพันธกับคาเฉลี่ยของ<br />

SMBG ชวง 8-10 สัปดาห สามารถใชเปนเครื่องมือสําคัญในการติดตามผลการควบคุมระดับ<br />

น้ําตาลระยะยาวที่ดีและพบวามีความสัมพันธกับการเกิดภาวะแทรกซอนเรื้อรังที่ตาและไต<br />

ขอจํากัดของ HbA 1c คือมีคาใชจายสูง<br />

6.4 การวัดปริมาณน้ําตาลที่เกาะติดโปรตีนในเลือด เรียกวา Glycated serum protein<br />

สวนใหญวัดน้ําตาลที่เกาะติดกับแอลบูมิน วิธีที่นิยมใชวัดคือวัดระดับ Fructosamine (Chen, et al.<br />

2002: 151-155) เนื่องจากอายุครึ่งชีวิต (half life) ของแอลบูมินเทากับ 20 วัน ดังนั้น Fructosamine<br />

จะบงชี้ถึงระดับน้ําตาลในเลือดของชวงเวลาเพียง 1-2 สัปดาหที่ผานมา (วิทยา ศรีมาดา. 2540: 419)<br />

ในบางรายงานพบวามีความสัมพันธกับคาเฉลี่ยของ SMBG ควบคูกับการตรวจวัดปริมาณ<br />

Fructosamine ทุกสัปดาห เพื่อเปนเครื่องมือสําหรับการรักษาแบบเขมงวด สําหรับปรับเปลี่ยนการ<br />

รักษา รวมทั้งพฤติกรรมใหบรรลุเปาหมายการรักษาและเห็นผลในชวงสั้น อยางไรก็ดี ระดับ


Fructosamine บงชี้ผลการควบคุมระดับน้ําตาลระยะยาวไดไมชัดเทากับ HbA 1c ในคนอวนระดับ<br />

Fructosamine ที่วัดไดอาจต่ํากวาที่ควรจะเปน<br />

6.5 การวัดปริมาณน้ําตาลในปสสาวะ การวัดปริมาณน้ําตาลในปสสาวะอาศัยหลัก<br />

ของ Renal threshold ซึ่งมักอยูที่ 180 มิลลิกรัม/เดซิลิตร (อภิชาติ วิชญาณรัตน, และคนอื่นๆ. 2527<br />

: 33) กลาวคือเมื่อระดับน้ําตาลในเลือดสูงเกินพิกัด การดูดกลับน้ําตาลจะไมสมบูรณ ทําใหเหลือ<br />

และทนออกมาทางปสสาวะซึ่งมักจะเปนสัดสวนกับระดับน้ําตาลในเลือด ในผูที่มี Renal threshold<br />

ต่ําเกินไปจะทําใหตรวจพบน้ําตาลในปสสาวะได แมระดับน้ําตาลในเลือดไมสูง ในทางตรงกัน<br />

ขามหาก Renal threshold สูงเกินไปจะทําใหตรวจไมพบน้ําตาลในปสสาวะ แมระดับน้ําตาลใน<br />

เลือดจะสูงก็ตาม อีกประการหนึ่งปสสาวะที่เก็บตองใชเวลากรองจากไตมาสะสมในกระเพาะ<br />

ปสสาวะ ปริมาณน้ําตาลในปสสาวะที่เก็บมาตรวจจึงไมเปนเวลาเดียวกับระดับน้ําตาลในเลือด<br />

ดวยเหตุนี้จึงทําใหการวัดปริมาณน้ําตาลในปสสาวะมีความคลาดเคลื่อนในการสะทอนถึงระดับ<br />

น้ําตาลในเลือดอยางมาก<br />

6.6 การตรวจวัดอื่นๆ ที่บงถึงการควบคุมเบาหวานการตรวจปริมาณสารคีโตนสามารถ<br />

บงชี้ถึงสภาวะการใชพลังงานของรางกายซึ่งสะทอนถึงระดับการควบคุมเบาหวานได ปริมาณ<br />

สารคีโตนตรวจไดทั้งในปสสาวะและเลือดในผูปวยเบาหวานการตรวจปริมาณคีโตนมีความจําเปน<br />

ในหลายกรณี ในผูปวยเบาหวานที่มีอาการคลื่นไส อาเจียน ออนเพลีย หอบเหนื่อย และซึมลง<br />

ตองตรวจหาปริมาณสารคีโตนในปสสาวะและเลือด ถาพบสารคีโตนปริมาณสูงในปสสาวะและ<br />

เลือด รวมกับมีภาวะกรดเกิน สามารถวินิจฉัยวาเกิด Diabetic Ketoacidosis Nathan,& Cagliero<br />

(2001 : 827-926, อางถึงใน อภิชาติ วิชญาณรัตน. 2546 : 159)<br />

การเหนี่ยวนําโรคเบาหวานในสัตวทดลอง<br />

การทดลองเพื่อหาสารตานโรคเบาหวานนั้นจะตองมีรูปแบบการทําใหสัตวทดลองเปน<br />

โรคเบาหวาน โดยที่สัตวจะมีอาการทางคลินิกที่สําคัญ คือ ระดับน้ําตาลในเลือดสูง ซึ่งการ<br />

เหนี่ยวนําสัตวทดลองใหเกิดโรคเบาหวานมีวิธีการดังนี้ ไดแก<br />

1. การผาตัด<br />

วิธีการนี้คือ การผาตัดเอาตับออนออก (Pancreatectomy) ทั้งหมดหรือบางสวนใน<br />

สัตวทดลอง Sherwin, et al (1996 : 1258-1277, อางถึงใน กมลวรรณ ศรีปลั่ง. 2546 : 8)<br />

2. การใชฮอรโมน


Growth hormone (สุวรรณา หังสพฤกษ. 2532 : 963) สามารถเหนี่ยวนําใหเกิด<br />

โรคเบาหวานได การให Growth hormone แกสุนัขและแมวสามารถเหนี่ยวนําใหเกิดโรคเบาหวาน<br />

ได ซึ่งสัตวจะมีอาการของโรค รวมทั้ง Ketonuria และ Ketonemia สวนภาวะน้ําตาลในเลือดสูง<br />

และ Glucosuria พบไดในหนูที่ไดรับ Cortisone Vogel,& Vogel (1997 : 535-546, อางถึงใน<br />

กมลวรรณ ศรีปลั่ง. 2546 : 8)<br />

3. การใชสารเคมี<br />

Alloxan สามารถทําใหเกิดโรคเบาหวานได (สุวรรณา หังสพฤกษ. 2532 : 964) แต<br />

อาจทําลายตับ ไต และ Pituitary gland โดยที่ Streptozotocin ก็สามารถทําใหเกิดโรคเบาหวาน<br />

ไดเชนกัน และเฉพาะเจาะจงตอ β-cell Rerup (1970 อางถึงใน กมลวรรณ ศรีปลั่ง. 2546 : 9)<br />

Streptozotocin<br />

Streptozotocin (STZ , NSC 85998) เปนยาปฏิชีวนะที่ใชกันอยางกวางขวาง ซึ่ง<br />

สังเคราะหไดจากเชื้อ Streptomyces achromogenes ซึ่งเปนแบคทีเรียแกรมลบพบไดในดิน แต<br />

ภายหลังสามารถสังเคราะหไดในหองปฏิบัติการ Rerup (1970 : 485-518, อางถึงใน กมลวรรณ ศรี<br />

ปลั่ง. 2546 : 9) STZ ถูกคนพบวาสามารถทําใหระดับน้ําตาลในเลือดสูงไดในสัตวทดลองทั้งใน<br />

Rat, Mice, Hamster, สุนัขและลิง Lazarus,& Shapiro (1972 : 129-137, อางถึงใน กมลวรรณ ศรี<br />

ปลั่ง. 2546 : 9) สเตรปโตโซโตซิน มีผลจําเพาะเจาะจงที่ β-cell ในตับออน และเมื่อสัตวถูก<br />

เหนี่ยวนําโดยสเตรปโตโซโตซิน แลวจะมีอาการเหมือนคนที่เปนโรคเบาหวาน คือ น้ําตาลใน<br />

เลือดสูง (Hyperglycemia) , ปสสาวะมีน้ําตาลมากผิดปกติ (Glucosuria), ปสสาวะมีอะซีโตน<br />

(Ketonuria) Junod, et al (1969 : 2122-2139, อางถึงใน กมลวรรณ ศรีปลั่ง. 2546 : 9)<br />

1. คุณสมบัติทางเคมี<br />

STZ (C 8 H 15 N 3 O 7 ) มีสูตรโครงสรางคือ 2-deoxy-2-(3-methyl-3-nitrosourea) –Dglucopyranose<br />

ซึ่งมี Methylnitrosourea เกาะอยูที่ตําแหนง C 2 ของ D-glucose ภาวะปกติสเตรป<br />

โตโซโตซินอยูในรูป α และ B anomer อยางละครึ่งผสมกัน มีลักษณะเปนผงสีเหลืองออน มี<br />

ความเสถียรที่อุณหภูมิต่ํา สามารถละลายน้ําได คาความเปนกรด-ดาง ของสารละลายควรมี<br />

คาประมาณ 4-4.5 (Herr, et al. 1967 : 4808-4809)<br />

2. เภสัชจลนศาสตร<br />

การเหนี่ยวนําสัตวใหเกิดโรคเบาหวานทําไดโดยฉีดสเตรปโตโซโตซินผานทางหลอด<br />

เลือดดํา (Intravenous, i.v.) หรือทางชองทอง (Intraperitoneal, i.p.) ยาจะกระจายไปยังตับออนและ


ลําไสโดยที่ตับและไตมากที่สุด แตไมเขาสูสมอง Karunanayake, et al (1974 : 673-683, อางถึงใน<br />

กมลวรรณ ศรีปลั่ง. 2546 : 10)<br />

3. กลไกการออกฤทธิ์ของสเตรปโตโซโตซิน<br />

กลุม Methylnitrosourea ในสเตรปโตโซโตซินนั้นเปนกลุมที่ออกฤทธิ์โดยที่จะไปจับที่<br />

Glucose transporter (GLUT2) และผานเขาไปใน β-cell เกิดการเติมหมู Alkyl ที่สาย DNA<br />

สงผลใหสาย DNA เสียหาย นอกจากนี้สเตรปโตโซโตซินยังทําใหเกิด Nitric oxide (NO) ซึ่งก็มี<br />

ผลในการทําลายที่ β-cell ได Szkudelski (2001 : 536-546, อางถึงใน กมลวรรณ ศรีปลั่ง. 2546 :<br />

10) อยางไรก็ตามมีหลายการทดลองแสดงใหเห็นวาไมเพียงแค NO เทานั้นที่ทําใหสาย DNA ถูก<br />

ทําลายยังมี Superoxide radical (O • .2) ที่เกิดจากสเตรปโตโซโตซินไปยับยั้งการเกิด Kerbs cycle<br />

ลดการใชออกซิเจนที่ไมโตคอนเดรีย สงผลกระตุนการทํางานของ Xanthine oxidase (XOD) เกิด<br />

Superoxide radical (O 2• ), Hydrogen peroxide (H 2 O 2 ) และ Hydroxyl radical (OH • ) ตามมาโดย<br />

NO และ Superoxide radical (O • .2) สามารถทั้งออกฤทธิ์แยกกันและรวมกันเปน Peroxynitrite<br />

(ONOO • ) ซึ่งออกฤทธทําใหสาย DNA เสียหายไดเชนกัน เมื่อสาย DNA ไดรับความเสียหายจะ<br />

กระตุนให poly(ADP-ribose) Synthetase ทํางานโดยมี NAD เปนสารตั้งตนในการซอมแซมสาย<br />

DNA (DNA repair) จึงทําให NAD ภายใน β-cell ลดลง Uchigata, et al (1982 : 6084-6088,<br />

อางถึงใน กมลวรรณ ศรีปลั่ง. 2546 : 10) มีการทดลองยืนยันวาการทดลองของ NAD เปนสาเหตุ<br />

มาจากสเตรปโตโซโตซิน โดยให Nicotinamide และ Picolinamide ซึ่งเปนตัวยับยั้ง Poly (ADPribose)<br />

synthetase สามารถที่จะปองกันการทําลายของ STZ ตอสาย DNA ใน In vivo และ<br />

ปองกันการลดลงของ NAD ใน In vitro การลดลงของ NAD เปนสาเหตุใหเกิดการตายของ<br />

เนื้อเยื่อที่ β-cell การทํางานของ β-cell ผิดปกติมีการสังเคราะห Proinsulin ลดลง จึงทําให<br />

β-cell หลั่งอินสุลินนอยลงเกิดโรคเบาหวานได<br />

4. ปจจัยที่มีอิทธิพลตอการเหนี่ยวนําใหเกิดโรคเบาหวานโดยสเตรปโตโซโตซิน<br />

4.1 อาหาร เมื่อหนูไดรับอาหารที่มีโปรตีนสูงและคารโบไฮเดรตต่ํา (โปรตีน 63%,<br />

คารโบไฮเดรต 6%) กอนการฉีดสเตรปโตโซโตซิน จะทําใหโอกาสการเกิดโรคเบาหวานลดลง<br />

Schmidt, et al (1980 : 161-168, อางถึงใน กมลวรรณ ศรีปลั่ง. 2546 :11)<br />

4.2 ขนาดของสเตรปโตโซโตซินและชนิดของสัตวทดลอง ความรุนแรงของการเกิด<br />

โรคเบาหวานจะขึ้นอยูกับขนาดที่มากขึ้น ขนาดของสเตรปโตโซโตซินที่ใชจะอยูระหวาง 25-200<br />

มิลลิกรัม/กิโลกรัม ตามแตชนิดของสัตวทดลอง โดยขนาดของสเตรปโตโซโตซินที่ใหหนูขาว<br />

ประมาณ 50-65 มิลลิกรัม/กิโลกรัม Karunanayake, et al (1974 : 673-683, อางถึงใน กมลวรรณ<br />

ศรีปลั่ง. 2546 :11)


4.3 อายุ เมื่อใหสเตรปโตโซโตซินแกสัตวทดลองที่อายุนอยโอกาสเกิดโรคเบาหวานก็<br />

จะนอยลง โดยมีรายงานการทดลองวาเมื่อใหที่ 60 มิลลิกรัม/กิโลกรัม (i.v) ในหนูอายุ 8 สัปดาห<br />

ผลการเหนี่ยวนําใหเกิดโรคเบาหวานดีกวาหนูอายุ 4 และ 6 สัปดาห Wong,& Wu (1994 : 131-<br />

136, อางถึงใน กมลวรรณ ศรีปลั่ง. 2546 : 12)<br />

Glibenclamide<br />

Glibenclamide เปนยากลุม Second generation sulfonylurea จับกับ Receptor ไดดีกวา<br />

และมี Potency สูงกวายาในกลุม First generation sulfonylurea ประมาณ 100 เทา ทําให<br />

สามารถใชขนาดยาที่ต่ํากวาไดจึงมีโอกาสที่จะทําใหเกิดฤทธิ์ขางเคียงจากสวนอื่นของโมเลกุลยา<br />

นอกเหนือจากสวน Sulfonylurea นอยกวา และอาจเกิดปฏิกิริยากับยาอื่นนอยกวาดวย (สุวัฒน<br />

วิมลวัฒนาภัณฑ. 2543: 503) ในผูปวยใหมควรเลือกใช Second generation sulfonylurea มากกวา<br />

First generation sulfonylurea เนื่องจากสามารถหลีกเลี่ยงโรคแทรกซอนจากการใชยา Sulfonylurea<br />

คือ Syndrome of Inappropriate ADH secretion (SIADH) และ Cholestatic jaundice ซึ่งถึงแม<br />

พบนอยแตรุนแรง และสามารถหลีกเลี่ยง Drug interaction ได (วิทยา ศรีมาดา. 2541: 42) ยาก<br />

ลุมนี้เปนยาลดน้ําตาลในเลือดชนิดหลักที่ใชมาเกือบ 40 ป และยังใชกันอยางแพรหลายในปจจุบัน<br />

จัดเปนยาที่ใชมากที่สุด เพราะมีฤทธิ์แรง และราคาคอนขางถูก<br />

1. คุณสมบัติทางเคมี<br />

สูตรโครงสรางทางเคมีคือ 1-{4-[2-(5-Chloro-2-methoxybenzamido) ethyl]<br />

benzensulfonyl} -3-cyclohexylurea โดยมีโครงสรางพื้นฐานของ Sulfonylureas ไดแก Benzene<br />

ring, Sulfonyl group และ Urea ซึ่งน้ําหนักโมเลกุลของ Glibenclamide เทากับ 494 Davis,&<br />

Gramer (1996: 1487-1518, อางถึงใน กมลวรรณ ศรีปลั่ง. 2546 : 12)<br />

2. เภสัชจลนศาสตร<br />

Glibenclamide จัดเปนกรดออน ถูกดูดซึมไดดีในระบบทางเดินอาหารประมาณรอยละ<br />

85 หลังรับประทานยา มีปริมาตรการกระจายตัวประมาณ 10-15 ลิตร สามารถจับกับพลาสมา<br />

โปรตีนไดมากกวา 99% โดยที่ Glibenclamide จะชอบจับกับอัลบูมินมากกวายากลุมอื่น<br />

Harrigan, et al (2001 : 68-78, อางถึงใน กมลวรรณ ศรีปลั่ง. 2546 : 13) ยาสามารถกระจายไปยัง<br />

อวัยวะตางๆ ของรางกาย โดยเฉพาะที่ตับ ไต ถูกเปลี่ยนแปลงที่ตับไดเปนสารที่ไมมีฤทธิ์และมี<br />

ฤทธิ์บางเล็กนอย (สุวัฒน วิมลวัฒนาภัณฑ. 2543 : 507) ในตับยาจะถูกเปลี่ยนเปน 4-transhydroxy<br />

glibenclamide และ 3-cis-hydroxy glibenclamide โดยมีฤทธิ์ลดน้ําตาลในเลือดไดเพียง


25% ของ Glibenclamide และถูกขับออกทางปสสาวะและอุจจาระ (อภิชาติ วิชญาณรัตน, และคน<br />

อื่นๆ. 2527 : 44) โดยที่คาครึ่งชีวิตจะยาวขึ้นในผูปวยโรคตับหรือไต<br />

3. กลไกการออกฤทธิ์ลดน้ําตาลในเลือด<br />

3.1 กลไกการออกฤทธิ์ที่ตับออน ออกฤทธิ์กระตุน β-cell ใหหลั่งอินสุลิน แตไม<br />

สามารถกระตุนใหเกิดการสรางอินสุลินได ยาจะออกฤทธิ์โดยไปจับกับรีเซฟเตอรที่ผนังเซลล<br />

เรียกวา Sulfonylurea Receptor (SUR) และทําใหเกิดการปดกั้น ATP sensitive potassium<br />

channels ที่ผนังเซลลของ β-cell เกิด Membrane depolarization ทําให Calcium channels ที่ผนัง<br />

เปด แคลเซียมวิ่งจากภายนอกเขาสูเซลล การเพิ่มขึ้นของแคลเซียมภายในเซลลทําใหมีการ<br />

เคลื่อนยาย Insulin granule มาที่ผนังเซลลและหลั่งอินสุลินออกมา การออกฤทธิ์ของยาจะ<br />

คลายคลึงกับฤทธิ์ของกลูโคสกลาวคือ เมื่อกลูโคสเขาสู β-cell โดยผานทาง GLUT2 ทําใหเกิด<br />

กระบวนการ Glycolysis ทําใหระดับ ATP ภายในเซลลเพิ่มขึ้น มีผลไปปดกั้น Potassium<br />

channels ที่ผนังเซลลเชนกัน Schmid-Antomarchi, et al (1987 : 161-168, อางถึงใน กมลวรรณ ศรี<br />

ปลั่ง. 2546 : 13) ปจจุบันพบวา SUR เปนสวนหนึ่งของ ATP sensitive potassium channels ซึ่ง<br />

อยูบนผนังเซลล นอกจากนี้ยังสามารถพบไดที่ผนังเซลลของกลามเนื้อหัวใจและหลอดเลือดซึ่งอาจ<br />

ทําใหยามีผลตอการเตนและการบีบตัวของหัวใจ Ashcroft,& Gribble (1999 : 903-919, อางถึงใน<br />

กมลวรรณ ศรีปลั่ง. 2546 : 13)<br />

3.2 กลไกการออกฤทธิ์นอกตับออน เมื่อใชยานี้รักษาระยะยาวระดับอินสุลินในเลือด<br />

อาจต่ํากวาตอนกอนใหยา แตยังสามารถลดระดับน้ําตาลได นาจะเปนไปไดวายาเพิ่ม Insulin<br />

sensitive และ Insulin receptor binding (Nielsen, et al. 1988 : 613-620) โดยมีงานวิจัยมากมาย<br />

เชน มีการเพิ่มของ Insulin receptor ใน Monocyte, Adipocyte และ Erythrocytes ในผูปวย<br />

เบาหวานชนิดที่ 2 เพิ่มฤทธิ์ของอินสุลินใน Cell culture และกระตุนการสังเคราะห Glucose<br />

transporters ลดการสรางกลูโคสจากตับ ใน Culture rat hepatocytes แตมีบางรายงานที่ขัดแยง<br />

เชน ยาไมมีผลลดน้ําตาลในเลือดในสัตวที่ผาตัดตับออนออก ไมมีผลในผูปวยเบาหวานชนิดที่ 1<br />

และไมมีผลในผูปวยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่ใช Somatostatin เพื่อกดการหลั่งอินสุลิน<br />

3.3 ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา ลดระดับน้ําตาลในเลือดในผูปวยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ใน<br />

ระยะที่ยังไมมีภาวะ Ketoacidosis และลดระดับ Glucacon ในเลือด ซึ่งชวยลดอุบัติการณการเกิด<br />

ภาวะ Ketoacidosis ไดอีกทางหนึ่ง นอกจากนี้ยังลดระดับไขมันในเลือดทั้ง LDL และ<br />

Triglyceride ชวยใหเลือดแข็งตัวชาลง โดยมีฤทธิ์ตานเกล็ดเลือด<br />

3.4 ฤทธิ์ที่ไมพึงประสงค พบไดนอยมาก สวนใหญเกิดภาวะน้ําตาลในเลือดต่ํา อาจมี<br />

สวนทําใหอัตราการตายจากโรคหัวใจและหลอดเลือดเพิ่มขึ้น โดยทั่วไปฤทธิ์ยาที่ไมพึงประสงค


สวนใหญเกิดในเดือนแรกที่ใชยา ไดแก ผื่นคัน คลื่นไสอาเจียน เบื่ออาหาร ตัวเหลือง<br />

Erythema nodosum, Purpura photosensitivity, Thrombocytopenia, Red cell aplasia และ<br />

Agranulocytosis เปนตน<br />

ลักษณะทางพฤกษศาสตรของทับทิม<br />

ทับทิมเปนพืชที่มีอนุกรมวิธานดังนี้ (กนกอร ริ้วเหลือง. 2537 : 38)<br />

Kingdom : Plantae<br />

Subkingdom : Embryophyta<br />

Division : Tracheophhyta<br />

Subdivision : Pteropsida<br />

Class : Angiospermae<br />

Subclass : Dicotyledonae<br />

Order : Mytales<br />

Family : Punicaceae<br />

Genus : Punica<br />

Species : granatum<br />

1. ทับทิมมีลักษณะทางพฤกษศาสตร ดังนี้ (กนกอร ริ้วเหลือง. 2537 : 38)<br />

1.1 ลําตน เปนพรรณไมยืนตน ไมพุม ลักษณะผิวเปลือกลําตนเปนสีเทา สูงไม<br />

เกิน 3 เมตร ปลายกิ่งหอยลูลง ปลายกิ่งเล็กมักกลายเปนหนามแหลมๆ<br />

1.2 ใบ เปนใบเดี่ยว สวนใหญเรียงตัวแบบ Opposite ไมมีหูใบ กวาง 0.5-2.5<br />

เซนติเมตร ยาว 1-9 เซนติเมตร โคนใบสอบแคบ สวนที่คอนไปทางปลายสุดจะมนหรือหยักเวา<br />

เขาเล็กนอย เนื้อใบเนียน คอนขางบางและเปนมัน ยอดออนมีสีแดง<br />

1.3 ดอก ออกดอกเปนดอกเดี่ยวๆ หรือ ดอกชอแบบ Cyme เปนดอกสมบูรณเพศ<br />

มีดอกสีแดงสด และดอกสีขาว มี Hypanthium ดอกแบบ Regular ออกดอกที่ปลายกิ่งหรือซอก<br />

กิ่งแตละชอมี 1-5 ดอก<br />

1.4 กลีบเลี้ยง ติดกันที่ฐานเปน Hypanthium หรือ Calyx tube รูปรางคลายหมอดิน<br />

(urceolate) ปลายแยกมี 5-6 lobes<br />

1.5 กลีบดอก มี 5-7 กลีบ ซอนติดกันอยูที่ขอบของ Hypanthium เนื้อกลีบนิ่ม<br />

บางและยับยน


1.6 เกสรตัวผู มีจํานวนมากอยูแยกกันแบบ Perigynous หรือ Epigynous มีอับ<br />

เรณู 2 หอง<br />

1.7 เกสรตัวเมีย เปนแบบ Compound รังไขแบบ Inferior มี 8-12 carpels บาง<br />

ชนิดมีเพียง 3 carpels จํานวนหองเทากับจํานวน Carpel ovule มากเรียงเปน 2 วง วงนอกอยู<br />

สวนบนของรังไขเปนแบบ Parietal placentation วงในนอยูสวนลางของรังไขเปนแบบ Axile<br />

Placentation เวลาผารังไขดูตามขวางจะเห็นลักษณะซับซอนและมี Style 1 อัน Stigma 1 อัน<br />

1.8 ผล ลักษณะกลม โต วัดเสนผาศูนยกลางประมาณ 6-8 เซนติเมตร ผลแบบ<br />

Berry และ Calyx ยังคงเจริญติดอยูกับผล เมล็ดมีเยื่อสดๆ เปนเนื้อหุมอยู เรียกวา Pulp , Embryo<br />

ตั้งตรงไมมี Endosperm<br />

2. การศึกษาทางเคมี<br />

สารเคมีที่พบในสวนตางๆ ของทับทิมดังตอไปนี้ คณะเภสัชศาสตร<br />

มหาวิทยาลัยมหิดล (2533: 40-45, อางถึงใน สุนทรา หองแซง. 2542: 14-16)<br />

2.1 ราก n-Methyl-isopelletierine, Methyl pelletierine, Tannins, Pelletierine,<br />

Pseudo-pelletierine, Isopelletierine, D-Mannitol, β-Sitosterol, Betulic acid, Friedelin, Ursolic<br />

acid<br />

2.2 เปลือกตน Betulnic acid, Friedelin, Tannin, n-Methyl-isopelletierine,<br />

Pelletierine, Isopelletierine, Carbohydrates,D-Mannitol, Pectins, Citrict acid, Flavogallol,<br />

Quercetin-3-rutinoside, β-Sitosterol, Neohesperidin, Ursolic acid, Vitamins, Vitamin P,<br />

Essential oil<br />

2.3 ใบ Betulinic acid<br />

2.4 ผล Proteins, Carbohydrates, D-Glucose, D-Fructose, Sucrose, Polysaccharides,<br />

Inulin, Pectins, Oxalic acid, D-(+)-Malic acid, D-(+)-Tartaric, Citric acid, Gallic acid, P-(+)-<br />

Metoxy cinnamic acid, N-octadec-9t , enoic acid (Elaidic acid), Flavonoids, Anthocyanins,<br />

Quercetin-3-glycoside, Gum, Mucilages, Resins, Tannin, Gallotannin, Tetraterpenoids, B-<br />

Carotene, Waxes, Vitamins, Vitamin C, Ascorbate oxidase, Oil<br />

2.5 เปลือกผล Hydrolyzable tannin, Wax, Resin, Mannitol, Gum, Inulin,<br />

Mucilage, Gallic acid, Pectin, Calcium oxalate, Citrict acid, Malic acid, Isoquercitrin<br />

2.6 เนื้อในผล Callistephin, Chrysanthemin, Cyanin, Ellagic acid, Pectin, Granatin<br />

B, Pelargonin, Punicalagin, Punicalin<br />

2.7 เมล็ด Destrone


2.8 เปลือกเมล็ด Callistephin, Chrysanthemin, Cyanin, Delphin, Delphinidin, 3-O-<br />

B-D-glucoside, Pelargonin<br />

นอกจากนี้ยังมีรายงานการตรวจพบสารเคมีในทับทิม โดยไมไดระบุวาพบในสวน<br />

ใดดังตอไปนี้<br />

Glucerol, Sorbitol, Alkaloids, n-Methyl-isopelletierine, pelletierine, Cuscohygrine,<br />

Hygrine, Pyrrolidines, Carbohydrates, D-Fructose, D-Galactose, D-Mannose, D-Xylose, D-<br />

Mannitol, D-Rhamnose, Maltosee, Raffinose, Stachyose, Citric acid, Elements, Punicin, Tannins,<br />

Hydrolyzable tannins, Oil<br />

3. ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา<br />

มีฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาดังนี้ คณะเภสัชศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล (2533 : 40-45,<br />

อางถึงใน สุนทรา หองแซง. 2542 : 16-18)<br />

3.1 ราก ฤทธิ์ขับพยาธิ (Anthelmintic activity) มีผูพบวาเปลือกรากทับทิมมีฤทธิ์ขับ<br />

พยาธิเสนดายในไก และสารสกัดเปลือกรากทับทิมดวยน้ํารอนไมมีผลตอพยาธิ Ancylostoma ใน<br />

คน<br />

3.2 ตน<br />

3.2.1 ความเปนพิษตอเซลล (Cytotoxic activity) สารสกัดเปลือกตนดวยน้ํา อะ<br />

ซีโตน และอีเธอร ในขนาด 5.0 เปอรเซ็นต ไมมีพิษตอ CA-Ehrlic Ascite<br />

3.2.2 ฤทธิ์ฆาแมลง (Insecticide) เปลือกตนทับทิมไมสามารถฆาแมลงวัน มด<br />

หมัด หรือแมลงสาบได<br />

3.3 ใบ ฤทธิ์ตานแบคทีเรีย (Antibacterial activity) สารสกัดดวยเกลือจากใบทับทิม<br />

ในความเขมขน 1-40 มิลลิกรัม/กิโลกรัม มีฤทธิ์ฆา Staphylococcus aureus ซึ่งเปนสาเหตุของ<br />

การเปนหนอง และฆา Pasteure pestis<br />

3.4 ดอก<br />

3.4.1 ฤทธิ์ลดน้ําตาลในเลือด (Hypoglycemic activity) เมื่อใหหนูขาวกินดอก<br />

ทับทิมในขนาดตัวละ 4 กรัม พบวาทําใหปริมาณน้ําตาลในเลือดลดลง<br />

3.5 ผล<br />

3.5.1 พิษตอตัวออน (Embryotoxicity) ไดมีผูทดลองทดสอบพิษของสารสกัด<br />

จากเปลือกผลทับทิมดวยแอลกอฮอล 95 เปอรเซ็นต พบวาในขนาด 200 มิลลิกรัมตอกิโลกรัม<br />

ไมเปนพิษตอตัวออนของหนูขาวเมื่อใหหนูขาวกินสารสกัดดังกลาว


3.5.2 พิษตอตับ (Hepatotoxicity) เมื่อฉีดสารสกัดเปลือกผล สวนที่มี<br />

Gallotannin 0.5 เปอรเซ็นต เขาทางชองทองหนูถีบจักรวันละ 20 มิลลิลิตร/กิโลกรัม 2 วัน เมื่อ<br />

ตรวจวันที่ 3, 5 และ 9 วัน หลังจากใหยา พบวาตับถูกทําลายอยางรุนแรง<br />

3.5.3 ฤทธิ์ขับพยาธิ (Anthelmintic activity) สารสกัดจากผลทับทิมดวย<br />

แอลกอฮอล 95 เปอรเซ็นต มีฤทธิ์ขับพยาธิไสเดือน โดยทําใหพยาธิอัมพาตและตายและไดมีผู<br />

ทดลองใหหนูถีบจักรกินสารสกัดจากเปลือกผลดวยเมธานอล 120 มิลลิกรัม/กิโลกรัม พบวาใน 2<br />

วัน ขับพยาธิ Hymenolepsis diminuta ไดถึง 87 เปอรเซ็นต<br />

3.5.4 ฤทธิ์คุมกําเนิด (Antiferility activity) ในอินเดียไดมีการรายงานผลของ<br />

เปลือกทับทิมในการคุมกําเนิดในหนูขาว และหนูตะเภาทั้งสองเพศ โดยผสมในอาหารใหหนู<br />

ตะเภาทั้ง 2 เพศ โดยผสมในอาหารใหหนูตะเภาในขนาด 18.0 กรัม/กิโลกรัม แตผลการทดลอง<br />

ไมเพียงพอที่จะสรุปไดวาไดผลและไดมีผูทําการทดลองใชสารสกัดดวยตัวทําละลายตางๆ พบวา<br />

สารสกัดเปลือกผลทับทิมดวยน้ํา สามารถกระตุนกลามเนื้อมดลูกหนูขาวและสารสกัดดวย<br />

แอลกอฮอล 95 เปอรเซ็นต ไมทําใหหนูขาวแทง เมื่อกินสารสกัด 200 มิลลิกรัม/กิโลกรัม<br />

3.5.5 ฤทธิ์ตานเชื้อไวรัส (Antiviral activity) สารสกัดผลทับทิมดวยน้ําสามารถ<br />

ฆาไวรัส Red virus type I ไวรัสซึ่งเปนสาเหตุของไขหวัดใหญ โปลิโอ เริม และ Coxsackie B 5<br />

Virus<br />

3.5.6 ฤทธิ์ตอเอนไซม (Effect on enzyme) เมื่อฉีดสารสกัดเปลือกผลทับทิม<br />

สวนที่มีแทนนินเขาชองทองหนูถีจักรในขนาด 200 มิลลิกรัม/กิโลกรัม จะกระตุนเอนไซม<br />

Glutamate-pyruvate ได และสารสกัดเปลือกผลดวยน้ํารอน มีผลยับยั้งเอนไซม Postaglandin<br />

synthetase เพียงเล็กนอย เมื่อใชในขนาดความเขมขน 750 ไมโครกรัม/มิลลิลิตร<br />

นอกจากนี้มีผูพบวา Pelletierine ซึ่งสกัดจากเปลือกผล มีพิษนอยกวาเมื่อให Tannic acid แก<br />

กระตายวันละ 1 กรัม/กิโลกรัมและ Sherman พบวาทับทิมมีวิตามินสูงแต Wasta และ White<br />

พบวาทับทิมไมสามารถปองกันโรคลักปดลักเปดได<br />

3.6 เมล็ด<br />

3.6.1 ฤทธิ์คุมกําเนิด (Antifertility activity) น้ํามันจากเมล็ดทับทิมมีผลตอ<br />

ระบบสืบพันธุหลายอยางเมื่อฉีดเขาชองทองหนูถีจักรตัวละ 0.2 มิลลิลิตร มีผลทําใหกลามเนื้อ<br />

มดลูก คลายตัว และเมื่อฉีดเขาชองทองหนูถีบจักรตัวละ 0.4 มิลลิลิตร หรือฉีดเขาชองทอง<br />

กระตายตัวละ 0.5 มิลลิลิตร จะมีผลเหมือนฮอรโมนเพศหญิง และเมื่อนําน้ํามันไป Soponified<br />

นําสวนที่ไมทําปฏิกิริยาไปฉีดเขาชองทองกระตายตัวละ 250 มิลลิกรัม พบวามีฤทธิ์เหมือน


ฮอรโมนเพศหญิงซึ่งมีผูพบผลเชนเดียวกัน เมื่อฉีดเขาผิวหนังหนูขาวซึ่งตัดมดลูกออกและในหนู<br />

ถีบจักรซึ่งตัดมดลูกออก<br />

3.6.2 ฤทธิ์ตานแบคทีเรีย (Antibacterial activity) น้ํามันจากเมล็ดสามารถฆา<br />

Klebsiella pneumoniae ซึ่งเปนสาเหตุของนิวมอเนีย Sh. flexneri และ Salmonella paratyphi<br />

3.6.3 ฤทธิ์ขับพยาธิ (Antthelmintic activity) สารสกัดแอลกอฮอล 95<br />

เปอรเซ็นต สามารถขับพยาธิ Haemochus contortis ขนาดที่ไดผล 50 เปอรเซ็นตคือ 0.5<br />

มิลลิกรัม/กิโลกรัม สารสกัดทับทิมเมื่อใชเดี่ยวๆ หรือใชรวมกับนิโคติน 0.5 เปอรเซ็นต มีฤทธิ์ใน<br />

การขับถายพยาธิในลําไสกบ คือ Diplodiscus sp., Lorogenes sp. และ Cosmacerca sp. แตมีผู<br />

พบวาไมมีผลตอพยาธิปากขอ จะเห็นไดวาทับทิมมีสารซึ่งมีฤทธิ์ขับพยาธิ คือ Pelletierine แต<br />

เนื่องจากการทดสอบความเปนพิษมีหลักฐานนอย จึงยังคงไมแนะนําใหใช สวนฤทธิ์ในการแก<br />

อาการทองเสียก็เนื่องจากมีสารแทนนิน<br />

งานวิจัยที่เกี่ยวของ<br />

กมลวรรณ ศรีปลั่ง. (2546 : 64) ไดทําการศึกษาฤทธิ์ลดระดับน้ําตาลในเลือดของสาร<br />

สกัดจากใบหญาหนวดแมวในหนูขาวเบาหวานที่ถูกเหนี่ยวนําโดยสเตรปโตโซโตซิน โดยไดศึกษา<br />

หาสารประกอบเคมีในสารสกัดดวยน้ําของใบหญาหนวดแมว พบปริมาณ Phenolic compounds<br />

13.07±7.50 มิลลิกรัม/กรัม และปริมาณ Flavonoids 1.73±0.14 ไมโครกรัม/กรัม ซึ่งสารทั้งสอง<br />

ชนิดนี้ไดมีรายงานวาสามารถลดน้ําตาลในเลือดได และนํามาทดสอบฤทธิ์ลดน้ําตาลในเลือดดวย<br />

วิธี Oral Glucose Tolerance Test (OGTT) พบวาในหนูปกติ สารสกัดขนาด 0.2 และ 0.5<br />

กรัม/กิโลกรัม มีผลลดระดับน้ําตาลในเลือดไดเล็กนอย โดยที่ 1.0 กรัม/กิโลกรัม มีผลลดระดับ<br />

น้ําตาลในเลือดมากที่สุด และมีผลใกลเคียงกับกลุมที่ไดรับ Glibenclamide 5 มิลลิกรัม/กิโลกรัม<br />

สวนในหนูเบาหวานที่ถูกเหนี่ยวนําโดยสเตรปโตโซโตซิน พบวาสารสกัดขนาด 0.5 และ 1.0<br />

กรัม/กิโลกรัม มีผลลดระดับน้ําตาลอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ และเมื่อใหสารสกัดขนาด 0.5 กรัม/<br />

กิโลกรัม วันละครั้งทุกวันเปนเวลา 14 วัน ไมพบความแตกตางอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ของ<br />

ระดับน้ําตาลในวันที่ 8 แตพบในกลุมที่ไดรับ Glibenclamide 5 มิลลิกรัม/กิโลกรัม สวนในวันที่<br />

14 พบวาทั้ง 2 กลุม มีระดับน้ําตาลในเลือดลดลงอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ ผลตอสารเคมีในเลือด<br />

สวนใหญไมมีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญทางสถิติเมื่อเทียบกับกลุมควบคุมในเวลาเดียวกัน<br />

ยกเวนคา AST และ HDL พบวาสารสกัดไมมีผลกอใหเกิดพยาธิสภาพตอเนื้อเยื่อตางๆ


Jafri, M.A. (1999: 309-314) ไดทําการศึกษาผลของสารสกัดจากดอกทับทิมในการลด<br />

ระดับน้ําตาลในเลือดของหนูขาวเบาหวานที่ถูกเหนี่ยวนําโดยอัลลอกแซน โดยทดลองในหนูขาว<br />

สายพันธุ Wistar แบงออกเปน 5 กลุม กลุมละ 6 ตัว คือ กลุมควบคุมปอนดวยน้ํากลั่น กลุมที่<br />

ปอนดวย Tolbutamide 500 มิลลิกรัม/กิโลกรัม กลุมที่ปอนดวยสารสกัดจากดอกทับทิมขนาด<br />

300 400 500 มิลลิกรัม/กิโลกรัม ในหนูทุกกลุมกินน้ําตาลกลูโคสขนาด 2 กรัม/กิโลกรัม หลังให<br />

สารทดสอบ 30 นาที และทําการเจาะเลือดเพื่อตรวจวัดระดับน้ําตาลที่เวลา 30 และ 90 นาที<br />

หลังใหน้ําตาลกลูโคส พบวา 30 นาที หลังใหกินน้ําตาลกลูโคสระดับน้ําตาลในเลือดจะเพิ่มขึ้น<br />

เปน 2 เทา ในกลุมควบคุมและมีแนวโนมลดลงเรื่อยๆ ในกลุมที่ปอนดวย Tolbutamide และ สาร<br />

สกัดจากดอกทับทิม และที่เวลา 90 นาที ทุกขนาดของสารสกัดจากดอกทับทิมจะมีประสิทธิภาพ<br />

ในการลดระดับน้ําตาลในเลือด โดยเฉพาะในกลุมที่ปอนดวย Tolbutamide<br />

สุนทรา หองแซง. (2542 : 40) ไดทําการศึกษาผลของสารสกัดจากเปลือกผลทับทิม<br />

ตอการยับยั้งการเจริญของ Shigella บางชนิดซึ่งเปนสาเหตุของโรคบิด โดยศึกษาอิทธิพลรวมของ<br />

ชนิดของแบคทีเรียซึ่งไดแกแบคทีเรีย 3 ชนิดคือ Sh. Dysenteriae, Sh. Flexneri, Sh. sonnei และ<br />

ระดับความเขมขนของสารสกัดจากเปลือกผลทับทิมมี 5 ระดับคือ 60 120 80 240 และ 300<br />

มิลลิกรัม/มิลลิลิตร ผลการทดลองพบวาแบคทีเรีย Sh. Flexneri และ Sh. sonnei เมื่อไดรับสาร<br />

สกัดจากเปลือกผลทับทิมดวยความเขมขน 300 มิลลิกรัม/มิลลิลิตร ถูกยับยั้งการเจริญมากกวา<br />

แบคทีเรียชนิดตางกันที่ไดรับสารสกัดจากเปลือกผลทับทิมความเขมขนอื่น แบคทีเรีย Sh. Flexneri<br />

ที่ไดรับสารสกัดจากเปลือกผลทับทิมถูกยับยั้งการเจริญมากกวาแบคทีเรีย Sh. Sonnei และ Sh.<br />

Dysenteriae และสารสกัดจากเปลือกผลทับทิมระดับความเขมขน 300 มิลลิกรัม/มิลลิลิตร สามารถ<br />

ยับยั้งการเจริญของแบคทีเรียมากกวาสารสกัดจากเปลือกผลทับทิมระดับความเขมขนอื่น<br />

จารุวรรณ สุมมาตย. (2543) ไดทําการศึกษาสารสกัดจากเปลือกผลทับทิมที่ไดจาก<br />

การสกัดแบบตอเนื่องดวย Hexane, Chloroform และ Methanol ไปทดสอบฤทธิ์ในการยับยั้งการ<br />

เจริญเติบโตของเชื้อ Shigella sonnei, Shigella flexneri, Salmonella typhi, Vibrio cholerae<br />

flexneri และ Salmonella typhi ไดดี สวนสารสกัด Chloroform และ Methanol ยับยั้งได<br />

เล็กนอย จากการศึกษาสารสกัด Hexane ทางเคมีเบื้องตน พบวามีสวนยอยที่สามารถยับยั้งการ<br />

เจริญของเชื้อไดคือ สวนยอยที่ 79-80 ยับยั้งการเจริญของ Shigella flexneri ไดดี สวนยอยที่ 21-<br />

29 และ 61-73 ยับยั้งเชื้อ Shigella sonnei, Shigella flexneri และ Salmonella typhi ได และ<br />

สวนยอย 31-40 ยับยั้ง Shigella sonnei และ Salmonella typhi ได สามารถแยกองคประกอบ<br />

ทางเคมีของสวนยอยที่ 79-80 ได คือ กรดแทนนิค


Das, A.K. (2001 : 628-9) ไดทําการศึกษาฤทธิ์ลดระดับน้ําตาลในเลือดของสารสกัด<br />

จากเมล็ดทับทิมในหนูขาวเบาหวานที่ถูกเหนี่ยวนําโดยสเตรปโตโซโตซิน โดยนําสารสกัดจาก<br />

เมล็ดทับทิมที่สกัดดวยเมธานอลในขนาด 300 และ 600 มิลลิกรัม/กิโลกรัม และ Chlorpropamide<br />

200 มิลลิกรัม/กิโลกรัม ใหหนูขาวเบาหวานที่ถูกเหนี่ยวนําโดยสเตรปโตโซโตซินกิน พบวาสาร<br />

สกัดจากเมล็ดทับทิมสามารถลดระดับน้ําตาลในเลือดของหนูขาวเบาหวานที่ถูกเหนี่ยวนํา<br />

โดยสเตรปโตโซโตซินไดอยางมีนัยสําคัญที่ 47% และ 52% ตามลําดับที่ 12 ชั่วโมง<br />

Ragavan, B., & Krishnakumari, S. (2006 : 123-128) ไดทําการศึกษาฤทธิ์ของสาร<br />

สกัดจากรากของ T. Arjura ในการลดระดับน้ําตาลในเลือดของหนูขาวเบาหวานที่ถูกเหนี่ยวนํา<br />

โดยอัลลอกแซน และศึกษาการทํางานของเอนไซม Hexokinase, Aldolase และ<br />

Phosphoglucoisomerase และ Gluconeogenic เชน Glucose-6-phosphatase และ Fructose-1, 6-<br />

diphosphatase ในตับและไตของหนูปกติและหนูเบาหวานที่ถูกเหนี่ยวนําโดยอัลลอกแซนโดยปอน<br />

สารสกัดจากราก T. Arjura ขนาด 250 และ 500 มิลลิกรัม/กิโลกรัม เปนเวลา 30 วัน ผลการ<br />

ทดลองพบวาระดับน้ําตาลในเลือดลดลงอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p


สมมติฐานการวิจัย<br />

สารสกัดจากเปลือกผลทับทิมสามารถลดระดับน้ําตาลในเลือดและไมมีผลตอการ<br />

เปลี่ยนแปลงของระดับเอนไซม AST , ALT และระดับ BUN, Cr ในเลือดของหนูขาวเบาหวานที่<br />

ถูกเหนี่ยวนําโดยสเตรปโตโซโตซิน


บทที่ 3<br />

วิธีดําเนินการวิจัย<br />

แบบของการวิจัย<br />

การวิจัยเรื่อง ฤทธิ์ของสารสกัดจากเปลือกผลทับทิมที่มีผลลดระดับน้ําตาลในเลือด<br />

ของหนูขาวเบาหวานที่ถูกเหนี่ยวนําโดยสเตรปโตโซโตซิน เปนการวิจัยเชิงทดลอง<br />

ประชากรและกลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัย<br />

หนูขาวเพศผูสายพันธุ Spraque Dawley น้ําหนัก 160-210 กรัม อายุ 7-8 สัปดาห<br />

จํานวน 35 ตัว จากสํานักสัตวทดลองแหงชาติมหาวิทยาลัยมหิดล ตําบลศาลายา อําเภอนครชัยศรี<br />

จังหวัดนครปฐม นํามาเลี้ยงที่หนวยสัตวทดลอง คณะเวชศาสตรเขตรอน มหาวิทยาลัยมหิดล<br />

เครื่องมือที่ใชในการวิจัย<br />

1. สารเคมี<br />

1.1 Streptozotocin (Sigma, U.S.A)<br />

1.2 Glibenclamide ( Daonil ® , Hoechst Marion Roussel, Germany)<br />

1.3 Citric acid (Riedel-dettaen, U.S.A.)<br />

1.4 Tri-Sodium citrate (Analar BDH, England)<br />

1.5 95% เอธิลแอลกอฮอล<br />

1.6 70 % Alcohol<br />

1.7 Pevedine solution<br />

1.8 Sodium Chlorohydrate 4%<br />

1.9 Sterile water<br />

2. เครื่องมือ<br />

2.1 Glucose Meter ( Advantage ® , Roche Diagnostics Co, Thailand)


2.2 Rotary Vacuum Evaporator ยี่หอ Heidolph<br />

2.3 Oven ยี่หอ Memmert<br />

2.4 เครื่องบดไฟฟา ยี่หอ DANGER<br />

2.5 เครื่องชั่งแบบละเอียด ยี่หอ Sartorius รุน GR-200<br />

2.6 เครื่องชั่งน้ําหนัก<br />

2.7 ปากกาวัด pH<br />

3. อุปกรณ<br />

3.1 ขวดรูปชมพู<br />

3.2 กระดาษกรองเบอร 4 ยี่หอ Whatman<br />

3.3 บีกเกอร<br />

3.4 กรรไกรตัดไหม<br />

3.5 ปเปต<br />

3.6 Needle ขนาด 20 21 และ 24 ยี่หอ Nipro<br />

3.7 Micro-Hematocrit tube (Non-Heparin) ยี่หอ Vitrex<br />

3.8 Syringe Insulin ขนาด 100 ยูนิต ยี่หอ Terumo<br />

3.9 Syringe ขนาด 3 5 10 และ 50 มิลลิลิตร ยี่หอ Nipro<br />

3.10 Endroffin tube<br />

วิธีดําเนินการทดลองและการเก็บรวบรวมขอมูล<br />

1. การสกัดเปลือกผลทับทิม<br />

1.1 นําเปลือกผลทับทิมมาอบแหงที่อุณหภูมิ 60 องศาเซลเซียส เปนเวลา 96<br />

ชั่วโมง บดใหละเอียดดวยเครื่องบดไฟฟา นํามาจํานวน 40 กรัม ใสในขวดรูปชมพูขนาด 250<br />

มิลลิลิตร เติมเอธิลแอลกอฮอล 95 เปอรเซ็นต ปริมาตร 160 มิลลิลิตร แชไวนาน 48 ชั่วโมง<br />

1.2 นํามากรองดวยกระดาษกรองเบอร 4<br />

1.3 นําไประเหยตัวทําละลายออก ดวยเครื่อง Rotary Vaccuum Evaporator ที่<br />

อุณหภูมิ 40 องศาเซลเซียส เพื่อทําใหสารสกัดเขมขนขึ้น แลวนําไปอบที่อุณหภูมิ 37 องศา<br />

เซลเซียส จะไดสารสกัดที่มีลักษณะยางเหนียวสีน้ําตาล<br />

2. การเหนี่ยวนําหนูขาวใหเปนเบาหวาน


2.1 งดอาหารหนูขาวกอนฉีดสเตรปโตโซโตซิน 24 ชั่วโมง ตรวจวัดระดับน้ําตาล<br />

ในเลือดโดยขลิบปลายหางหนูขาวประมาณ 0.1 มิลลิเมตร ดังแสดงในภาพที่ 3.1 และตรวจวัด<br />

ระดับน้ําตาลในเลือดโดยใช Glucose meter (Advantage ® ) ดังแสดงในภาพที่ 3.2 หลังจากนั้น<br />

เหนี่ยวนําหนูขาวใหเปนเบาหวานโดยการฉีดสเตรปโตโซโตซินขนาด 50 มิลลิกรัม/กิโลกรัม ที่<br />

ละลายใน Citrate buffer ( pH 4.5) เขาทางหลอดเลือดดําบริเวณหางของหนูขาว<br />

2.2 หลังจากฉีดสเตรปโตโซโตซินแลวทําการตรวจวัดระดับน้ําตาลในเลือดของหนู<br />

ขาวทุก 3 วัน เปนเวลา 1 อาทิตย โดยงดอาหารหนูขาว 8 ชั่วโมง และขลิบปลายหางหนูขาว<br />

ประมาณ 0.1 มิลลิเมตร เพื่อวัดระดับน้ําตาลในเลือดโดยใช Glucose meter (Advantage ® ) เพื่อ<br />

คัดเลือกหนูขาวที่มีระดับน้ําตาลในเลือดมากกวา 132 มิลลิกรัม/เดซิลิตร เขาทําการทดลอง และ<br />

ถือเปนหนูขาวเบาหวานที่ใชในการทดลองครั้งนี้<br />

ภาพที่ 3.1 การขลิบปลายหางหนูขาวเพื่อวัดระดับน้ําตาลในเลือด


ภาพที่ 3.2 การตรวจวัดระดับน้ําตาลในเลือดโดยใช Glucose meter (Advantage ® )<br />

3. การทดสอบฤทธิ์ของสารสกัดจากเปลือกผลทับทิมที่มีผลลดระดับน้ําตาลในเลือด<br />

ของหนูขาวเบาหวานที่ถูกเหนี่ยวนําโดยสเตรปโตโซโตซิน<br />

3.1 แบงหนูขาวเบาหวานออกเปน 5 กลุม กลุมละ 5 ตัว ดังนี้<br />

กลุมที่ 1 กลุมควบคุม ปอนน้ํากลั่น 0.5 มิลลิลิตร/ตัว<br />

กลุมที่ 2 ปอน Glibenclamide 5 มิลลิกรัม/กิโลกรัม<br />

กลุมที่ 3 ปอนสารสกัดจากเปลือกผลทับทิมขนาด 200 มิลลิกรัม/กิโลกรัม<br />

กลุมที่ 4 ปอนสารสกัดจากเปลือกผลทับทิมขนาด 400 มิลลิกรัม/กิโลกรัม<br />

กลุมที่ 5 ปอนสารสกัดจากเปลือกผลทับทิมขนาด 600 มิลลิกรัม/กิโลกรัม<br />

3.2 ทําการปอนสารดังกลาวทุกวัน วันละ 1 ครั้ง ในหนูขาวเบาหวานทั้ง 5 กลุม<br />

ติดตอกันนาน 7 วัน และหยุดปอนสารดังกลาวในหนูขาวเบาหวานทั้ง 5 กลุม เปนเวลา 7 วัน<br />

3.3 งดอาหารหนูขาวเบาหวานกอนทําการตรวจวัดระดับน้ําตาลในเลือด 8 ชั่วโมง<br />

และตรวจวัดระดับน้ําตาลในเลือดโดยขลิบปลายหางหนูขาวเบาหวานประมาณ 0.1 มิลลิเมตร<br />

และตรวจวัดระดับน้ําตาลในเลือดโดยใช Glucose meter (Advantage ® ) ในหนูขาวเบาหวานทั้ง 5<br />

กลุม ในวันที่ 1 3 5 7 11 และ 14<br />

4. การศึกษาผลของสารสกัดจากเปลือกผลทับทิมที่มีผลตอระดับเอนไซม AST, ALT<br />

และระดับ BUN, Cr ในเลือดของหนูขาวเบาหวานที่ถูกเหนี่ยวนําโดยสเตรปโตโซโตซิน<br />

4.1 แบงหนูขาวเบาหวานเปน 5 กลุม กลุมละ 5 ตัว ดังนี้<br />

กลุมที่ 1 กลุมควบคุม ปอนน้ํากลั่น 0.5 มิลลิลิตร/ตัว


กลุมที่ 2 ปอน Glibenclamide 5 มิลลิกรัม/กิโลกรัม<br />

กลุมที่ 3 ปอนสารสกัดจากเปลือกผลทับทิมขนาด 200 มิลลิกรัม/กิโลกรัม<br />

กลุมที่ 4 ปอนสารสกัดจากเปลือกผลทับทิมขนาด 400 มิลลิกรัม/กิโลกรัม<br />

กลุมที่ 5 ปอนสารสกัดจากเปลือกผลทับทิมขนาด 600 มิลลิกรัม/กิโลกรัม<br />

4.2 ทําการปอนสารดังกลาวทุกวัน วันละ 1 ครั้ง ในหนูขาวเบาหวานทั้ง 5 กลุม<br />

ติดตอกันนาน 7 วัน และหยุดปอนสารดังกลาวในหนูขาวเบาหวานทั้ง 5 กลุม เปนเวลา 7 วัน<br />

4.3 งดอาหารหนูขาวเบาหวานกอนทําการตรวจวัดระดับเอนไซมในเลือดไดแก<br />

AST, ALT 8 ชั่วโมง และทําการเจาะเลือดบริเวณหัวตาของหนูขาวเบาหวานทั้ง 5 กลุมในวันที่<br />

1 7 และ 14 และตรวจวัดระดับ BUN และ Cr ในวันที่ 1 และ 14<br />

การวิเคราะหขอมูลทางสถิติ<br />

1. เปรียบเทียบคาเฉลี่ยของระดับน้ําตาลในเลือดของหนูขาวเบาหวานที่ถูกเหนี่ยวนํา<br />

โดยสเตรปโตโซโตซิน ในกลุมทดลองทั้ง 5 กลุม ในการทดลองที่ 1 โดยใช ANOVA และ<br />

โปรแกรมทางคอมพิวเตอร Stata กําหดระดับความเชื่อมั่น p


บทที่ 4<br />

ผลการวิเคราะหขอมูล<br />

ผลของสารสกัดจากเปลือกผลทับทิม และ Glibenclamide ที่มีผลลดระดับน้ําตาลในเลือด (FBS)<br />

ของหนูขาวเบาหวานที่ถูกเหนี่ยวนําโดยสเตรปโตโซโตซิน<br />

จากการเหนี่ยวนําใหหนูขาวเปนเบาหวานโดยการฉีด STZ 50 มิลลิกรัม/กิโลกรัม<br />

หลังจากนั้น 3 วัน ตรวจวัดระดับน้ําตาลในเลือดของหนูขาวโดยใช Glucose meter เพื่อคัดเลือก<br />

หนูขาวที่มีระดับน้ําตาลในเลือดมากกวา 132 มิลลิกรัม/เดซิลิตร เขาทําการทดลองและกําหนดเปน<br />

หนูขาวเบาหวานที่ใชในการทดลองครั้งนี้<br />

จากการวัดระดับน้ําตาลในเลือดของหนูขาวเบาหวานกลุม 3 4 5 และ 2 กอนไดรับ<br />

สารสกัดจากเปลือกผลทับทิมขนาด 200 400 และ 600 มิลลิกรัม/กิโลกรัม และ Glibenclamide<br />

5 มิลลิกรัม/กิโลกรัม ตามลําดับ ในวันที่ 1 พบวาระดับน้ําตาลในเลือดกอนไดรับสารดังกลาวไม<br />

มีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p>0.05) เมื่อเทียบกับกลุมควบคุม (กลุม 1 ; ปอนน้ํา<br />

กลั่น) ในเวลาเดียวกัน<br />

หลังจากปอนสารสกัดจากเปลือกผลทับทิมขนาด 200 400 และ 600 มิลลิกรัม/<br />

กิโลกรัมและ Glibenclamide 5 มิลลิกรัม/กิโลกรัม แกหนูขาวเบาหวานกลุม 3 4 5 และ 2<br />

ตามลําดับ วันละครั้งเปนเวลา 7 วันติดตอกัน ผลการทดลองดังแสดงในตารางที่ 4.1 และภาพที่<br />

4.1 ดังนี้ ในวันที่ 3 หลังจากหนูขาวเบาหวานไดรับสารสกัดจากเปลือกผลทับทิมขนาด 200 400<br />

และ 600 มิลลิกรัม/กิโลกรัม และ Glibenclamide 5 มิลลิกรัม/กิโลกรัม พบวาระดับน้ําตาลใน<br />

เลือดมีแนวโนมลดลงในหนูขาวเบาหวานกลุม 3 4 และ 5 แตไมมีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญ<br />

ทางสถิติ (p>0.05) เมื่อเทียบกับกลุมควบคุมในเวลาเดียวกัน และเทียบกับคาเริ่มตน (วันที่ 1 ; กอน<br />

ปอนสารทดสอบ) ในกลุมเดียวกัน สวนหนูขาวเบาหวานกลุม 2 ระดับน้ําตาลในเลือดมีแนวโนม<br />

ลดลง และมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p


ควบคุมในเวลาเดียวกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p0.05) เมื่อเทียบกับคาเริ่มตนในกลุมเดียวกัน สวนหนูขาวเบาหวานกลุม 2 ระดับ<br />

น้ําตาลในเลือดมีแนวโนมลดลง และมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p


ตารางที่ 4.1 คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับน้ําตาลในเลือด (FBS) หลังไดรับ<br />

สารสกัดจากเปลือกผลทับทิม และ Glibenclamide ของหนูขาวเบาหวานทั้ง 5 กลุม<br />

กลุม<br />

1<br />

2<br />

3<br />

4<br />

5<br />

ระดับน้ําตาลในเลือด (มิลลิกรัม/เดซิลิตร)<br />

วันที่ 1 วันที่ 3 วันที่ 5 วันที่ 7 วันที่ 11 วันที่ 14<br />

218.40±106.50<br />

(99±9.03) d 217.20±103.88 326.40±137.79 232.80±53.59 339.75±103.82 361.75±45.24<br />

227.20±92.80<br />

(105.4±11.08 101.80±4.71 * a 93.20±4.65 *** b 102.80±6.05 *** a 126.40±15.14 *** 305.80±59.73<br />

) d<br />

146.40±14.00<br />

(99.6±8.56) d 120.80±18.03 159.00±12.26 ** 117.80±19.30 *** 157.60±10.13 *** 156.20±17.21 ***<br />

151.40±20.00<br />

(107.8±9.12) d 129.00±10.95 136.20±3.03 ** 108.80±12.55 *** b 151.00±11.00 *** 154.00±14.12 ***<br />

145.00±12.22<br />

(114.6±9.56) d 142.80±10.84 148.00±13.03 ** 121.80±14.49 *** 165.60±21.61 *** 142.00±19.62 ***<br />

กลุม 1 หมายถึง กลุมควบคุม<br />

กลุม 2 หมายถึง กลุมปอน Glibenclamide 5 มิลลิกรัม/กิโลกรัม<br />

กลุม 3 หมายถึง กลุมปอนสารสกัดจากเปลือกผลทับทิมขนาด 200 มิลลิกรัม/กิโลกรัม<br />

กลุม 4 หมายถึง กลุมปอนสารสกัดจากเปลือกผลทับทิมขนาด 400 มิลลิกรัม/กิโลกรัม<br />

กลุม 5 หมายถึง กลุมปอนสารสกัดจากเปลือกผลทับทิมขนาด 600 มิลลิกรัม/กิโลกรัม<br />

* p < 0.05 เมื่อเปรียบเทียบกับกลุมควบคุมในเวลาเดียวกัน<br />

** p < 0.01 เมื่อเปรียบเทียบกับกลุมควบคุมในเวลาเดียวกัน<br />

*** p < 0.001 เมื่อเปรียบเทียบกับกลุมควบคุมในเวลาเดียวกัน<br />

a = p < 0.05 เมื่อเปรียบเทียบกับคาเริ่มตนในกลุมเดียวกัน<br />

b = p < 0.01 เมื่อเปรียบเทียบกับคาเริ่มตนในกลุมเดียวกัน<br />

c = p < 0.001 เมื่อเปรียบเทียบกับคาเริ่มตนในกลุมเดียวกัน<br />

d= คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับน้ําตาลในเลือดกอนฉีด STZ


500<br />

ระดั บ FBS (มก./ดล.)<br />

400<br />

300<br />

200<br />

100<br />

0<br />

1 3 5 7 1 1 1 4<br />

เว ลา (วั นที่ )<br />

กลุ ม 1 กลุ ม 2 กลุ ม 3 กลุ ม 4 กลุ ม 5<br />

ภาพที่ 4.1 ผลของระดับน้ําตาลในเลือด (FBS) ของหนูขาวเบาหวานภายหลังไดรับสารสกัดจาก<br />

เปลือกผลทับทิม และ Glibenclamide วันละครั้งเปนเวลา 7 วัน และหยุดไดรับสาร<br />

ดังกลาวเปนเวลา 7 วัน<br />

กลุม 1 หมายถึง กลุมควบคุม<br />

กลุม 2 หมายถึง กลุมปอน Glibenclamide 5 มิลลิกรัม/กิโลกรัม<br />

กลุม 3 หมายถึง กลุมปอนสารสกัดจากเปลือกผลทับทิมขนาด 200 มิลลิกรัม/กิโลกรัม<br />

กลุม 4 หมายถึง กลุมปอนสารสกัดจากเปลือกผลทับทิมขนาด 400 มิลลิกรัม/กิโลกรัม<br />

กลุม 5 หมายถึง กลุมปอนสารสกัดจากเปลือกผลทับทิมขนาด 600 มิลลิกรัม/กิโลกรัม<br />

* p < 0.05 เมื่อเปรียบเทียบกับกลุมควบคุมในเวลาเดียวกัน<br />

** p < 0.01 เมื่อเปรียบเทียบกับกลุมควบคุมในเวลาเดียวกัน<br />

*** p < 0.001 เมื่อเปรียบเทียบกับกลุมควบคุมในเวลาเดียวกัน<br />

a = p < 0.05 เมื่อเปรียบเทียบกับคาเริ่มตนในกลุมเดียวกัน<br />

b = p < 0.01 เมื่อเปรียบเทียบกับคาเริ่มตนในกลุมเดียวกัน<br />

c = p < 0.001 เมื่อเปรียบเทียบกับคาเริ่มตนในกลุมเดียวกัน<br />

d= คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับน้ําตาลในเลือดกอนฉีด STZ


ผลของสารสกัดจากเปลือกผลทับทิม และ Glibenclamide ที่มีผลตอระดับเอนไซม AST ในเลือด<br />

ของหนูขาวเบาหวานที่ถูกเหนี่ยวนําโดยสเตรปโตโซโตซิน<br />

จากการวัดระดับเอนไซม AST ในเลือดของหนูขาวเบาหวานกลุม 2 3 4 และ 5 ซึ่ง<br />

เปนคาบงชี้การทํางานของตับ กอนไดรับสารสกัดจากเปลือกผลทับทิมขนาด 200 400 และ 600<br />

มิลลิกรัม/กิโลกรัม และ Glibenclamide 5 มิลลิกรัม/กิโลกรัม ตามลําดับ ในวันที่ 1 พบวาระดับ<br />

เอนไซม AST ไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p>0.05) เมื่อเทียบกับกลุมควบคุม<br />

(กลุม 1 ; ปอนน้ํากลั่น) ในเวลาเดียวกัน<br />

หลังจากปอนสารสกัดจากเปลือกผลทับทิมขนาด 200 400 และ 600 มิลลิกรัม/<br />

กิโลกรัมและ Glibenclamide 5 มิลลิกรัม/กิโลกรัม แกหนูขาวเบาหวานกลุม 3 4 5 และ 2<br />

ตามลําดับ วันละครั้งเปนเวลา 7 วันติดตอกัน ผลการทดลองดังแสดงในตารางที่ 4.2 และภาพที่<br />

4.2 ดังนี้ ในวันที่ 7 หลังจากหนูขาวเบาหวานไดรับสารสกัดจากเปลือกผลทับทิมขนาด 200 400<br />

และ 600มิลลิกรัม/กิโลกรัม และ Glibenclamide 5 มิลลิกรัม/กิโลกรัม ในหนูขาวเบาหวานกลุม<br />

3 4 5 และ 2 ตามลําดับ พบวาระดับเอนไซม AST มีแนวโนมเพิ่มขึ้นในหนูขาวเบาหวานกลุม<br />

3 4 และ 5 แตไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p>0.05) เมื่อเทียบกับกลุมควบคุม<br />

ในเวลาเดียวกัน และเทียบกับคาเริ่มตน (วันที่ 1 ; กอนปอนสารทดสอบ) ในกลุมเดียวกัน สวนหนู<br />

ขาวเบาหวานกลุม 2 ระดับเอนไซม AST มีแนวโนมเพิ่มขึ้น และมีความแตกตางกันอยางมี<br />

นัยสําคัญทางสถิติ (p0.05)<br />

เมื่อเทียบกับกลุมควบคุมในเวลาเดียวกัน และเทียบกับคาเริ่มตนในกลุมเดียวกัน สวนหนูขาว<br />

เบาหวานกลุม 2 ระดับเอนไซม AST มีแนวโนมเพิ่มขึ้น และมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญ<br />

ทางสถิติ (p0.05) เมื่อเทียบกับกลุมควบคุมในเวลาเดียวกัน และหนูขาวเบาหวานกลุม 3<br />

ระดับเอนไซม AST มีแนวโนมเพิ่มขึ้น และมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ<br />

(p0.05) เมื่อเทียบกับกลุมควบคุมในเวลาเดียวกัน


ตารางที่ 4.2 คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับเอนไซม AST ในเลือดหลังไดรับสาร<br />

สารสกัดจากเปลือกผลทับทิม และ Glibenclamide ของหนูขาวเบาหวานทั้ง 5 กลุม<br />

กลุม<br />

1<br />

2<br />

3<br />

4<br />

5<br />

ระดับเอนไซม Asparate aminotransferase (ยูนิต/ลิตร)<br />

วันที่ 1 วันที่ 7 วันที่ 14<br />

166.40±35.21<br />

(78.4±7.70) e 221.80±43.45 426.50±217.90 a<br />

174.80±13.66<br />

(83.4±4.56) e 349.80±72.94 ** b 441.00±73.24 c<br />

197.80±11.73<br />

(84.8±5.26) e 240.80±18.55 265.60±49.36 a<br />

185.20±37.83<br />

(87.8±3.56) e 221.40±31.07 260.00±60.30<br />

152.00±24.05<br />

(83.6±7.30) e 192.40±31.38 240.80±79.62<br />

กลุม 1 หมายถึง กลุมควบคุม<br />

กลุม 2 หมายถึง กลุมปอน Glibenclamide 5 มิลลิกรัม/กิโลกรัม<br />

กลุม 3 หมายถึง กลุมปอนสารสกัดจากเปลือกผลทับทิมขนาด 200 มิลลิกรัม/กิโลกรัม<br />

กลุม 4 หมายถึง กลุมปอนสารสกัดจากเปลือกผลทับทิมขนาด 400 มิลลิกรัม/กิโลกรัม<br />

กลุม 5 หมายถึง กลุมปอนสารสกัดจากเปลือกผลทับทิมขนาด 600 มิลลิกรัม/กิโลกรัม<br />

* p < 0.05 เมื่อเปรียบเทียบกับกลุมควบคุมในเวลาเดียวกัน<br />

** p < 0.01 เมื่อเปรียบเทียบกับกลุมควบคุมในเวลาเดียวกัน<br />

*** p < 0.001 เมื่อเปรียบเทียบกับกลุมควบคุมในเวลาเดียวกัน<br />

a = p < 0.05 เมื่อเปรียบเทียบกับคาเริ่มตนในกลุมเดียวกัน<br />

b = p < 0.01 เมื่อเปรียบเทียบกับคาเริ่มตนในกลุมเดียวกัน<br />

c = p < 0.001 เมื่อเปรียบเทียบกับคาเริ่มตนในกลุมเดียวกัน<br />

e= คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับเอนไซม AST กอนฉีด STZ


ระดั บ AST (ยู นิ ต /ลิ ตร)<br />

700<br />

600<br />

500<br />

400<br />

300<br />

200<br />

100<br />

0<br />

1 7 1 4<br />

เว ล า (วั นที่ )<br />

กลุ ม 1 กลุ ม 2 กลุ ม 3 กลุ ม 4 กลุ ม 5<br />

ภาพที่ 4.2 ผลของระดับเอนไซม AST ในเลือดของหนูขาวเบาหวานภายหลังไดรับสารสกัดจาก<br />

เปลือกผลทับทิม และ Glibenclamide วันละครั้งเปนเวลา 7 วัน และหยุดไดรับสาร<br />

ดังกลาวเปนเวลา 7 วัน<br />

กลุม 1 หมายถึง กลุมควบคุม<br />

กลุม 2 หมายถึง กลุมปอน Glibenclamide 5 มิลลิกรัม/กิโลกรัม<br />

กลุม 3 หมายถึง กลุมปอนสารสกัดจากเปลือกผลทับทิมขนาด 200 มิลลิกรัม/กิโลกรัม<br />

กลุม 4 หมายถึง กลุมปอนสารสกัดจากเปลือกผลทับทิมขนาด 400 มิลลิกรัม/กิโลกรัม<br />

กลุม 5 หมายถึง กลุมปอนสารสกัดจากเปลือกผลทับทิมขนาด 600 มิลลิกรัม/กิโลกรัม<br />

* p < 0.05 เมื่อเปรียบเทียบกับกลุมควบคุมในเวลาเดียวกัน<br />

** p < 0.01 เมื่อเปรียบเทียบกับกลุมควบคุมในเวลาเดียวกัน<br />

*** p < 0.001 เมื่อเปรียบเทียบกับกลุมควบคุมในเวลาเดียวกัน<br />

a = p < 0.05 เมื่อเปรียบเทียบกับคาเริ่มตนในกลุมเดียวกัน<br />

b = p < 0.01 เมื่อเปรียบเทียบกับคาเริ่มตนในกลุมเดียวกัน<br />

c = p < 0.001 เมื่อเปรียบเทียบกับคาเริ่มตนในกลุมเดียวกัน<br />

e= คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับเอนไซม AST กอนฉีด STZ


ผลของสารสกัดจากเปลือกผลทับทิม และ Glibenclamide ที่มีผลตอระดับเอนไซม ALT ในเลือด<br />

ของหนูขาวเบาหวานที่ถูกเหนี่ยวนําโดยสเตรปโตโซโตซิน<br />

จากการวัดระดับเอนไซม ALT ในเลือดของหนูขาวเบาหวานกลุม 3 4 5 และ 2<br />

กอนไดรับสารสกัดจากเปลือกผลทับทิมขนาด 200 400 และ 600 มิลลิกรัม/กิโลกรัม และ<br />

Glibenclamide 5 มิลลิกรัม/กิโลกรัม ตามลําดับ ในวันที่ 1 พบวาระดับเอนไซม ALT ไมมีความ<br />

แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p>0.05) เมื่อเทียบกับกลุมควบคุม (กลุม 1 ; ปอนน้ํากลั่น) ใน<br />

เวลาเดียวกัน<br />

หลังจากปอนสารสกัดจากเปลือกผลทับทิมขนาด 200 400 และ 600 มิลลิกรัม/<br />

กิโลกรัม และ Glibenclamide 5 มิลลิกรัม/กิโลกรัม แกหนูขาวเบาหวานกลุม 3 4 5 และ 2<br />

ตามลําดับ วันละครั้งเปนเวลา 7 วันติดตอกัน ผลการทดลองดังแสดงในตารางที่ 4.3 และภาพที่<br />

4.3 ดังนี้ ในวันที่ 7 หลังจากหนูขาวเบาหวานไดรับสารดังกลาว พบวา ระดับเอนไซม ALT มี<br />

แนวโนมเพิ่มขึ้นในหนูขาวเบาหวานกลุม 2 3 และ 4 แตไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญ<br />

ทางสถิติ (p>0.05) เมื่อเทียบกับกลุมควบคุมในเวลาเดียวกัน และเทียบกับคาเริ่มตน (วันที่ 1 ; กอน<br />

ปอนสารทดสอบ) ในกลุมเดียวกัน สวนหนูขาวเบาหวานกลุม 5 ระดับเอนไซม ALT มีแนวโนม<br />

เพิ่มขึ้น และมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p0.05) เมื่อเทียบกับกลุมควบคุมใน<br />

เวลาเดียวกัน<br />

เมื่อหยุดใหสารดังกลาวแกหนูขาวเบาหวานกลุม 2 3 4 และ 5 เปนเวลา 7 วัน<br />

(วันที่ 8-14) พบวา ในวันที่ 14 ระดับเอนไซม ALT มีแนวโนมเพิ่มขึ้น ในหนูขาวเบาหวาน<br />

กลุม 3 แตไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p>0.05) เมื่อเทียบกับกลุมควบคุมใน<br />

เวลาเดียวกัน และเทียบกับคาเริ่มตนในกลุมเดียวกัน สวนหนูขาวเบาหวานกลุม 2 ระดับเอนไซม<br />

ALT มีแนวโนมเพิ่มขึ้น แตไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p>0.05) เมื่อเทียบกับ<br />

กลุมควบคุมในเวลาเดียวกัน แตมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p0.05) เมื่อเทียบกับกลุมควบคุมในเวลา<br />

เดียวกัน และเทียบกับคาเริ่มตนในกลุมเดียวกัน และหนูขาวเบาหวานกลุม 5 ระดับเอนไซม ALT<br />

มีแนวโนมเพิ่มขึ้น แตไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p>0.05) เมื่อเทียบกับกลุม<br />

ควบคุมในเวลาเดียวกัน และมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p


ตารางที่ 4.3 คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับเอนไซม ALT ในเลือดหลังไดรับ<br />

สารสกัดจากเปลือกผลทับทิม และ Glibenclamide ของหนูขาวเบาหวานทั้ง 5 กลุม<br />

กลุม<br />

1<br />

2<br />

3<br />

4<br />

5<br />

ระดับเอนไซม Alanine aminotransferase (ยูนิต/ลิตร)<br />

วันที่ 1 วันที่ 7 วันที่ 14<br />

50.80±7.66<br />

(36.8±2.95) f 59.40±8.11 120.00±103.15<br />

43.00±5.65<br />

(35.2±2.39) f 74.00±22.44 101.40±28.57 b<br />

50.80±4.86<br />

(35.8±3.56) f 58.00±4.30 60.80±8.43<br />

51.60±8.44<br />

(35.6±3.05) f 61.00±8.45 44.60±11.56<br />

44.00±2.82<br />

(34.4±2.30) f 55.00±3.16 a 56.60±9.07 a<br />

กลุม 1 หมายถึง กลุมควบคุม<br />

กลุม 2 หมายถึง กลุมปอน Glibenclamide 5 มิลลิกรัม/กิโลกรัม<br />

กลุม 3 หมายถึง กลุมปอนสารสกัดจากเปลือกผลทับทิมขนาด 200 มิลลิกรัม/กิโลกรัม<br />

กลุม 4 หมายถึง กลุมปอนสารสกัดจากเปลือกผลทับทิมขนาด 400 มิลลิกรัม/กิโลกรัม<br />

กลุม 5 หมายถึง กลุมปอนสารสกัดจากเปลือกผลทับทิมขนาด 600 มิลลิกรัม/กิโลกรัม<br />

* p < 0.05 เมื่อเปรียบเทียบกับกลุมควบคุมในเวลาเดียวกัน<br />

** p < 0.01 เมื่อเปรียบเทียบกับกลุมควบคุมในเวลาเดียวกัน<br />

*** p < 0.001 เมื่อเปรียบเทียบกับกลุมควบคุมในเวลาเดียวกัน<br />

a = p < 0.05 เมื่อเปรียบเทียบกับคาเริ่มตนในกลุมเดียวกัน<br />

b = p < 0.01 เมื่อเปรียบเทียบกับคาเริ่มตนในกลุมเดียวกัน<br />

c = p < 0.001 เมื่อเปรียบเทียบกับคาเริ่มตนในกลุมเดียวกัน<br />

f = คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับเอนไซม ALT กอนฉีด STZ


250<br />

ระดั บ ALT (ยู นิ ต /ลิ ตร)<br />

200<br />

150<br />

100<br />

50<br />

0<br />

1 7 1 4<br />

เว ลา (วั นที่ )<br />

กลุ ม 1 กลุ ม 2 กลุ ม 3 กลุ ม 4 กลุ ม 5<br />

ภาพที่ 4.3 ผลของระดับเอนไซม ALT ในเลือดของหนูขาวเบาหวานภายหลังไดรับ<br />

สารสกัดจากเปลือกผลทับทิม และ Glibenclamide วันละครั้งเปน<br />

เวลา 7 วัน และหยุดไดรับสารดังกลาวเปนเวลา 7 วัน<br />

กลุม 1 หมายถึง กลุมควบคุม<br />

กลุม 2 หมายถึง กลุมปอน Glibenclamide 5 มิลลิกรัม/กิโลกรัม<br />

กลุม 3 หมายถึง กลุมปอนสารสกัดจากเปลือกผลทับทิมขนาด 200 มิลลิกรัม/กิโลกรัม<br />

กลุม 4 หมายถึง กลุมปอนสารสกัดจากเปลือกผลทับทิมขนาด 400 มิลลิกรัม/กิโลกรัม<br />

กลุม 5 หมายถึง กลุมปอนสารสกัดจากเปลือกผลทับทิมขนาด 600 มิลลิกรัม/กิโลกรัม<br />

* p < 0.05 เมื่อเปรียบเทียบกับกลุมควบคุมในเวลาเดียวกัน<br />

** p < 0.01 เมื่อเปรียบเทียบกับกลุมควบคุมในเวลาเดียวกัน<br />

*** p < 0.001 เมื่อเปรียบเทียบกับกลุมควบคุมในเวลาเดียวกัน<br />

a = p < 0.05 เมื่อเปรียบเทียบกับคาเริ่มตนในกลุมเดียวกัน<br />

b = p < 0.01 เมื่อเปรียบเทียบกับคาเริ่มตนในกลุมเดียวกัน<br />

c = p < 0.001 เมื่อเปรียบเทียบกับคาเริ่มตนในกลุมเดียวกัน<br />

f = คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับเอนไซม ALT กอนฉีด STZ


ผลของสารสกัดจากเปลือกผลทับทิม และ Glibenclamide ที่มีผลตอระดับ BUN ในเลือดของ<br />

หนูขาวเบาหวานที่ถูกเหนี่ยวนําโดยสเตรปโตโซโตซิน<br />

จากการวัดระดับ BUN ในเลือดของหนูขาวเบาหวานกลุม 3 4 5 และ 2 ซึ่งเปนคา<br />

บงชี้การทํางานของไต กอนไดรับสารสกัดจากเปลือกผลทับทิมขนาด 200 400 และ 600<br />

มิลลิกรัม/กิโลกรัม และ Glibenclamide 5 มิลลิกรัม/กิโลกรัม ตามลําดับ ในวันที่ 1 พบวาระดับ<br />

BUN ไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p>0.05) เมื่อเทียบกับกลุมควบคุม (กลุม 1 ;<br />

ปอนน้ํากลั่น) ในเวลาเดียวกัน<br />

หลังจากปอนสารสกัดจากเปลือกผลทับทิมขนาด 200 400 และ 600 มิลลิกรัม/<br />

กิโลกรัมและ Glibenclamide 5 มิลลิกรัม/กิโลกรัม แกหนูขาวเบาหวานกลุม 3 4 5 และ 2<br />

ตามลําดับ วันละครั้งเปนเวลา 7 วันติดตอกัน และหยุดปอนสารดังกลาวแกหนูขาวเบาหวานทุก<br />

กลุมเปนเวลา 7 วัน (วันที่8-14) ผลการทดลองดังแสดงในตารางที่ 4.4 และภาพที่ 4.4 ดังนี้ ใน<br />

วันที่ 14 ของการทดลอง พบวาระดับ BUN มีแนวโนมเพิ่มขึ้นในหนูขาวเบาหวานกลุม 4 และ<br />

5 แตไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p>0.05) เมื่อเทียบกับกลุมควบคุมในเวลา<br />

เดียวกัน และเทียบกับคาเริ่มตน (วันที่ 1; กอนปอนสารทดสอบ) ในกลุมเดียวกัน สวนหนูขาว<br />

เบาหวานกลุม 2 ระดับ BUN มีแนวโนมเพิ่มขึ้น และมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ<br />

(p0.05) เมื่อเทียบกับกลุมควบคุมในเวลาเดียวกัน และหนูขาวเบาหวานกลุม 3 ระดับ BUN มี<br />

แนวโนมเพิ่มขึ้น และมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p0.05) เมื่อเทียบกับกลุม<br />

ควบคุมในเวลาเดียวกัน


ตารางที่ 4.4 คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับ BUN ในเลือดหลังไดรับสารสกัดจาก<br />

เปลือกผลทับทิม และ Glibenclamide ของหนูขาวเบาหวานทั้ง 5 กลุม<br />

กลุม<br />

1<br />

2<br />

3<br />

4<br />

5<br />

ระดับ Blood urea nitrogen (มิลลิกรัม/เดซิลิตร)<br />

วันที่ 1 วันที่ 14<br />

19.25±0.95<br />

(17.6±1.14) g 28.00±10.86<br />

18.00±1.00<br />

(15.4±1.14) g 22.40±2.07 b<br />

21.00±2.00<br />

(17.4±1.34) g 24.80±2.77 a<br />

21.20±1.78<br />

(16±1.87) g 21.20±3.03<br />

21.40±1.94<br />

(17.2±0.84) g 22.80±4.38<br />

กลุม 1 หมายถึง กลุมควบคุม<br />

กลุม 2 หมายถึง กลุมปอน Glibenclamide 5 มิลลิกรัม/กิโลกรัม<br />

กลุม 3 หมายถึง กลุมปอนสารสกัดจากเปลือกผลทับทิมขนาด 200 มิลลิกรัม/กิโลกรัม<br />

กลุม 4 หมายถึง กลุมปอนสารสกัดจากเปลือกผลทับทิมขนาด 400 มิลลิกรัม/กิโลกรัม<br />

กลุม 5 หมายถึง กลุมปอนสารสกัดจากเปลือกผลทับทิมขนาด 600 มิลลิกรัม/กิโลกรัม<br />

* p < 0.05 เมื่อเปรียบเทียบกับกลุมควบคุมในเวลาเดียวกัน<br />

** p < 0.01 เมื่อเปรียบเทียบกับกลุมควบคุมในเวลาเดียวกัน<br />

*** p < 0.001 เมื่อเปรียบเทียบกับกลุมควบคุมในเวลาเดียวกัน<br />

a = p < 0.05 เมื่อเปรียบเทียบกับคาเริ่มตนในกลุมเดียวกัน<br />

b = p < 0.01 เมื่อเปรียบเทียบกับคาเริ่มตนในกลุมเดียวกัน<br />

c = p < 0.001 เมื่อเปรียบเทียบกับคาเริ่มตนในกลุมเดียวกัน<br />

g = คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับ BUN กอนฉีด STZ


50<br />

ระดั บ BUN (มก./ดล.)<br />

40<br />

30<br />

20<br />

10<br />

0<br />

1 1 4<br />

เว ลา (วั นที่ )<br />

กลุ ม 1 กลุ ม 2 กลุ ม 3 กลุ ม 4 กลุ ม 5<br />

ภาพที่ 4.4 ผลของระดับ BUN ในเลือดของหนูขาวเบาหวานภายหลังไดรับสารสกัดจากเปลือกผล<br />

ทับทิม และ Glibenclamide วันละครั้งเปนเวลา 7 วัน และหยุดไดรับสารดังกลาวเปน<br />

เปนเวลา 7 วัน<br />

กลุม 1 หมายถึง กลุมควบคุม<br />

กลุม 2 หมายถึง กลุมปอน Glibenclamide 5 มิลลิกรัม/กิโลกรัม<br />

กลุม 3 หมายถึง กลุมปอนสารสกัดจากเปลือกผลทับทิมขนาด 200 มิลลิกรัม/กิโลกรัม<br />

กลุม 4 หมายถึง กลุมปอนสารสกัดจากเปลือกผลทับทิมขนาด 400 มิลลิกรัม/กิโลกรัม<br />

กลุม 5 หมายถึง กลุมปอนสารสกัดจากเปลือกผลทับทิมขนาด 600 มิลลิกรัม/กิโลกรัม<br />

* p < 0.05 เมื่อเปรียบเทียบกับกลุมควบคุมในเวลาเดียวกัน<br />

** p < 0.01 เมื่อเปรียบเทียบกับกลุมควบคุมในเวลาเดียวกัน<br />

*** p < 0.001 เมื่อเปรียบเทียบกับกลุมควบคุมในเวลาเดียวกัน<br />

a = p < 0.05 เมื่อเปรียบเทียบกับคาเริ่มตนในกลุมเดียวกัน<br />

b = p < 0.01 เมื่อเปรียบเทียบกับคาเริ่มตนในกลุมเดียวกัน<br />

c = p < 0.001 เมื่อเปรียบเทียบกับคาเริ่มตนในกลุมเดียวกัน<br />

g = คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับ BUN กอนฉีด STZ


ผลของสารสกัดจากเปลือกผลทับทิม และ Glibenclamide ที่มีผลตอระดับ Cr ในเลือดของหนู<br />

ขาวเบาหวานที่ถูกเหนี่ยวนําโดยสเตรปโตโซโตซิน<br />

จากการวัดระดับ Cr ในเลือดของหนูขาวเบาหวานกลุม 3 4 5 และ 2 กอนไดรับ<br />

สารสกัดจากเปลือกผลทับทิมขนาด 200 400 และ 600 มิลลิกรัม/กิโลกรัม และ Glibenclamide<br />

5 มิลลิกรัม/กิโลกรัม ตามลําดับ ในวันที่ 1 พบวาระดับ Cr ไมมีความแตกตางกันอยางมี<br />

นัยสําคัญทางสถิติ (p>0.05) ในหนูขาวเบาหวานกลุม 2 3 และ 4 เมื่อเทียบกับกลุมควบคุม (กลุม<br />

1 ; ปอนน้ํากลั่น) ในเวลาเดียวกัน สวนหนูขาวเบาหวานกลุม 5 ระดับ Cr มีความแตกตางกันอยาง<br />

มีนัยสําคัญทางสถิติ (p0.05) เมื่อเทียบกับกลุมควบคุมในเวลาเดียวกัน และเทียบกับคาเริ่มตนในกลุมเดียวกัน<br />

และหนูขาวเบาหวานกลุม 4 ระดับ Cr มีแนวโนมลดลง และไมมีความแตกตางกันอยางมี<br />

นัยสําคัญทางสถิติ (p>0.05) เมื่อเทียบกับกลุมควบคุมในเวลาเดียวกัน และเทียบกับคาเริ่มตนใน<br />

กลุมเดียวกัน สวนหนูขาวเบาหวานกลุม 5 ระดับ Cr มีแนวโนมลดลง และไมมีความแตกตาง<br />

กันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p>0.05) เมื่อเทียบกับกลุมควบคุมในเวลาเดียวกัน แตมีความแตกตาง<br />

กันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p


ตารางที่ 4.5 คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับ Cr ในเลือดหลังไดรับสารสกัด<br />

จากเปลือกผลทับทิม และ Glibenclamide ของหนูขาวเบาหวานทั้ง 5 กลุม<br />

กลุม<br />

1<br />

2<br />

3<br />

4<br />

5<br />

ระดับ Creatinine (มิลลิกรัม/เดซิลิตร)<br />

วันที่ 1 วันที่ 14<br />

0.55±0.06<br />

(0.66±0.05) h 0.70±1.41<br />

0.64±0.05<br />

(0.7±0.1) h 0.82±0.08 b<br />

0.64±0.05<br />

(0.68±0.15) h 0.72±0.08<br />

0.66±0.05<br />

(0.62±0.16) h 0.62±0.04<br />

0.72±0.08 *<br />

(0.7±0.12) h 0.58±0.04 a<br />

กลุม 1 หมายถึง กลุมควบคุม<br />

กลุม 2 หมายถึง กลุมปอน Glibenclamide 5 มิลลิกรัม/กิโลกรัม<br />

กลุม 3 หมายถึง กลุมปอนสารสกัดจากเปลือกผลทับทิมขนาด 200 มิลลิกรัม/กิโลกรัม<br />

กลุม 4 หมายถึง กลุมปอนสารสกัดจากเปลือกผลทับทิมขนาด 400 มิลลิกรัม/กิโลกรัม<br />

กลุม 5 หมายถึง กลุมปอนสารสกัดจากเปลือกผลทับทิมขนาด 600 มิลลิกรัม/กิโลกรัม<br />

* p < 0.05 เมื่อเปรียบเทียบกับกลุมควบคุมในเวลาเดียวกัน<br />

** p < 0.01 เมื่อเปรียบเทียบกับกลุมควบคุมในเวลาเดียวกัน<br />

*** p < 0.001 เมื่อเปรียบเทียบกับกลุมควบคุมในเวลาเดียวกัน<br />

a = p < 0.05 เมื่อเปรียบเทียบกับคาเริ่มตนในกลุมเดียวกัน<br />

b = p < 0.01 เมื่อเปรียบเทียบกับคาเริ่มตนในกลุมเดียวกัน<br />

c = p < 0.001 เมื่อเปรียบเทียบกับคาเริ่มตนในกลุมเดียวกัน<br />

h = คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับ Cr กอนฉีด STZ


1<br />

0.8<br />

ระดั บ Cr (มก./ดล.)<br />

0.6<br />

0.4<br />

0.2<br />

0<br />

1 1 4<br />

เว ลา (วั นที่ )<br />

กลุ ม 1 กลุ ม 2 กลุ ม 3 กลุ ม 4 กลุ ม 5<br />

ภาพที่ 4.5 ผลของระดับ Cr ในเลือดของหนูขาวเบาหวานภายหลังไดรับสารสกัดจากเปลือกผล<br />

ทับทิม และ Glibenclamide วันละครั้งเปนเวลา 7 วัน และหยุดไดรับสารดังกลาว<br />

เปนเวลา 7 วัน<br />

กลุม 1 หมายถึง กลุมควบคุม<br />

กลุม 2 หมายถึง กลุมปอน Glibenclamide 5 มิลลิกรัม/กิโลกรัม<br />

กลุม 3 หมายถึง กลุมปอนสารสกัดจากเปลือกผลทับทิมขนาด 200 มิลลิกรัม/กิโลกรัม<br />

กลุม 4 หมายถึง กลุมปอนสารสกัดจากเปลือกผลทับทิมขนาด 400 มิลลิกรัม/กิโลกรัม<br />

กลุม 5 หมายถึง กลุมปอนสารสกัดจากเปลือกผลทับทิมขนาด 600 มิลลิกรัม/กิโลกรัม<br />

* p < 0.05 เมื่อเปรียบเทียบกับกลุมควบคุมในเวลาเดียวกัน<br />

** p < 0.01 เมื่อเปรียบเทียบกับกลุมควบคุมในเวลาเดียวกัน<br />

*** p < 0.001 เมื่อเปรียบเทียบกับกลุมควบคุมในเวลาเดียวกัน<br />

a = p < 0.05 เมื่อเปรียบเทียบกับคาเริ่มตนในกลุมเดียวกัน<br />

b = p < 0.01 เมื่อเปรียบเทียบกับคาเริ่มตนในกลุมเดียวกัน<br />

c = p < 0.001 เมื่อเปรียบเทียบกับคาเริ่มตนในกลุมเดียวกัน<br />

h = คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับ Cr กอนฉีด STZ


บทที่ 5<br />

สรุปผลการวิจัย อภิปรายผล และขอเสนอแนะ<br />

สรุปผลการทดลอง<br />

หนูขาวเบาหวานกลุมที่ปอนดวยสารสกัดจากเปลือกผลทับทิมขนาด 200 400 และ<br />

600 มิลลิกรัม/กิโลกรัม สามารถลดระดับน้ําตาลในเลือดไดใกลเคียงกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ<br />

สวนหนูขาวเบาหวานกลุมที่ปอนดวย Glibenclamide 5 มิลลิกรัม/กิโลกรัม สามารถลดระดับ<br />

น้ําตาลในเลือดของหนูขาวเบาหวานไดดีที่สุด และผลตอระดับเอนไซม Asparate aminotransferase<br />

(AST) Alanine aminotransferase (ALT) และระดับ Blood urea nitrogen (BUN) Creatinine (Cr)<br />

ไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p>0.05) ในหนูขาวเบาหวานกลุมที่ปอนดวยสาร<br />

สกัดจากเปลือกผลทับทิมขนาด 200 400 และ 600 มิลลิกรัม/กิโลกรัม และหนูขาวเบาหวานกลุม<br />

ที่ปอนดวย Glibenclamide 5 มิลลิกรัม/กิโลกรัม ยกเวนระดับเอนไซม Asparate<br />

aminotransferase (AST) มีแนวโนมเพิ่มขึ้นอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p0.05) เมื่อเทียบกับกลุม


ควบคุมในเวลาเดียวกัน และสารสกัดดังกลาวสามารถลดระดับน้ําตาลในเลือดไดอยางมีนัยสําคัญ<br />

ทางสถิติ (p


สถิติ (p0.05) เมื่อเทียบกับกลุมควบคุมในเวลาเดียวกัน ซึ่งสอดคลองกับการศึกษาของ Anon ที่พบวา<br />

เมื่อฉีดสารสกัดจากเปลือกผลทับทิมสวนที่มี Gallotannin ความเขมขน 0.5% เขาชองทองหนูถีบ<br />

จักร วันละ 20 มิลลิลิตร/กิโลกรัม เปนเวลา 2 วัน เมื่อตรวจตับของหนูถีบจักรวันที่ 3 5 และ 9<br />

หลังจากใหสารสกัด พบวาตับถูกทําลายอยางรุนแรง (Anon. 1978: 388) และจากการศึกษาของ<br />

Tri Budhi Murdiati. ถึงการปองกันพิษของ Hydrolyzable tannin ในสารสกัดจากใบ Climedia<br />

hirta โดยแคลเซียมไฮดรอกไซม พบวาในใบ Climedia hirta (harendong) มี Hydrolyzable<br />

tannin อยู 19% และเมื่อปอนสารสกัด 50% harendong เปนเวลา 28 วัน และตรวจวัดระดับ<br />

เอนไซม AST และ ALT พบวาระดับเอนไซมทั้งสองสูงขึ้นอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ จาก 50.20<br />

ยูนิต/ลิตร เปน 219.60 ยูนิต/ลิตร และ 20.6 ยูนิต/ลิตร เปน 63.3 ยูนิต/ลิตร ตามลําดับ และ<br />

เซลลตับมีขนาดใหญขึ้น (Murdiati, et al. 2006 : 325-331) สวนหนูขาวเบาหวานกลุมที่ปอนดวย<br />

Glibenclamide 5 มิลลิกรัม/กิโลกรัม มีผลทําใหระดับเอนไซม AST เพิ่มขึ้น และมีความแตกตาง<br />

กันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p0.05) เมื่อเทียบ<br />

กับกลุมควบคุมในเวลาเดียวกัน ซึ่งสอดคลองกับการศึกษาถึงผลของ Glibenclamide ที่มีผลตอการ<br />

ทํางานของตับ โดยให Glibenclamide 5 มิลลิกรัม/กิโลกรัม วันละครั้งเปนเวลา 14 วัน ในหนู<br />

ขาวเบาหวานที่ถูกเหนี่ยวนําโดยสเตรปโตโซโตซิน พบวาระดับเอนไซม AST และ ALT มี<br />

แนวโนมเพิ่มขึ้นอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ เมื่อเทียบกับกลุมควบคุมในเวลาเดียวกัน (กมลวรรณ


ศรีปลั่ง. 2546 : 68)จากผลการทดลองดังกลาวจะเห็นไดวาจากการศึกษาผลของสารสกัดจากเปลือก<br />

ผลทับทิม และ Glibenclamide ที่มีผลตอระดับเอนไซม AST ในเลือดของหนูขาวเบาหวาน<br />

พบวาหนูขาวเบาหวานกลุม 1 ในวันที่ 1 กอนปอนน้ํากลั่น ระดับเอนไซม AST มีคามากกวา<br />

ปกติ (166.4±35.21 ยูนิต/ลิตร) ของหนูขาวเพศผูสายพันธุ Spraque Dawley (คาปกติเทากับ<br />

95±31.7 ยูนิต/ลิตร) สวนในวันที่ 7 ระดับเอนไซม AST มีแนวโนมเพิ่มขึ้น (221.80±43.45 ยู<br />

นิต/ลิตร) แตไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p >0.05) เมื่อเทียบกับคาเริ่มตนใน<br />

กลุมเดียวกัน แสดงใหเห็นวา STZ มีผลทําลายตับและทําใหระดับเอนไซม AST มีคาเพิ่มขึ้น<br />

ตลอดการทดลอง ซึ่งสอดคลองกับการศึกษาของ Daniela M. Mori พบวาหนูขาวเบาหวานที่ถูก<br />

เหนี่ยวนําโดย STZ มีผลทําใหเนื้อเยื่อตับและไตถูกทําลาย และทําใหระดับเอนไซม AST และ<br />

ALT สูงขึ้น (Mori, et al. 2003 : 183-191) และผลการศึกษาของ Imeda, A. พบวา DNA ในเซลล<br />

ตับถูกทําลายในหนู mice ที่เหนี่ยวนําใหเปนเบาหวานโดยการฉีด STZ 50 มิลลิกรัม/กิโลกรัม<br />

ทาง Intraperitoneal (i.p) และสงผลใหระดับเอนไซม AST และ ALT เพิ่มขึ้น (Imeda, et al.<br />

2002 : 1415-1422) ดังนั้นการที่ระดับเอนไซม AST มีแนวโนมเพิ่มขึ้นในหนูขาวเบาหวานกลุม 2<br />

3 4 และ 5 นั้น อาจเกิดจากการออกฤทธิ์ของ STZ ที่มีผลทําลายตับสวนหนึ่งและการออกฤทธิ์<br />

ของสารทดสอบที่ปอนแกหนูขาวเบาหวานในการทดลองครั้งนี้<br />

3. ผลของสารสกัดจากเปลือกผลทับทิม และ Glibenclamide ที่มีผลตอระดับ BUN<br />

และ Cr ในเลือดของหนูขาวเบาหวานที่ถูกเหนี่ยวนําโดยสเตรปโตโซโตซิน<br />

สารสกัดจากเปลือกผลทับทิมขนาด 200 400 และ 600 มิลลิกรัม/กิโลกรัม และ<br />

Glibenclamide 5 มิลลิกรัม/กิโลกรัม มีผลทําใหระดับ BUN และ Cr เพิ่มขึ้น แตไมมีความ<br />

แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ (p>0.05) เมื่อเทียบกับกลุมควบคุมในเวลาเดียวกัน อาจเกิด<br />

จากภาวะขาดน้ําซึ่งพบไดในผูปวยโรคเบาหวานเนื่องจากมีอาการปสสาวะบอย จึงทําใหความ<br />

เขมขนของระดับ BUN และ Cr ในรางกายสูง ซึ่งสอดคลองกับการศึกษาของ กมลวรรณ พบวา<br />

ระดับ BUN และ Cr มีคาเพิ่มขึ้นอยางมีนัยสําคัญทางสถิติในหนูขาวเบาหวานที่ถูกเหนี่ยวนํา<br />

โดยสเตรปโตโซโตซิน 50 มิลลิกรัม/กิโลกรัม ที่ไดรับสารสกัดจากใบหญาหนวดแมวเปนเวลา<br />

14 วัน (กมลวรรณ ศรีปลั่ง. 2546 : 68) และอาจเกิดจากกลไกการออกฤทธิ์ของสเตรปโตโซโตซิน<br />

ซึ่งมีผลทําใหเนื้อเยื่อตับและไตถูกทําลายจึงทําใหระดับ BUN และ Cr เพิ่มขึ้น (Mori, et al. 2003:<br />

183-191) และสวนหนึ่งอาจเกิดจากการออกฤทธิ์ของสารทดสอบที่หนูขาวเบาหวานไดรับในการ<br />

ทดลองครั้งนี้


ขอเสนอแนะ<br />

1. ควรมีการศึกษาองคประกอบและโครงสรางทางเคมี (Chemical composition and<br />

Chemical structure) ของสารสกัดจากเปลือกผลทับทิมเพื่อแยกและจําแนกสารที่ออกฤทธิ์ลดระดับ<br />

น้ําตาลในเลือดเพื่อพัฒนาในเชิงพาณิชยตอไป<br />

2. ควรทําการปอนสารสกัดจากเปลือกผลทับทิมเพิ่มขึ้นจากวันละ 1 ครั้ง หรือเพิ่ม<br />

ปริมาณของสารสกัดจากเปลือกผลทับทิมที่ปอนแกหนูขาวเบาหวาน ซึ่งอาจมีผลลดระดับน้ําตาล<br />

ในเลือดไดเพิ่มขึ้น และเห็นผลเร็วขึ้น<br />

3. การเหนี่ยวนําหนูขาวกลุม 1 (กลุมควบคุม ; ปอนน้ํากลั่น) ใหเปนเบาหวานโดย<br />

ฉีดสเตรปโซโตซิน 50 มิลลิกรัม/กิโลกรัม บริเวณหลอดเลือดดําที่หางของหนูขาวและตรวจวัด<br />

ระดับน้ําตาลในเลือดทุก 3 วันเปนเวลา 1 สัปดาห พบวาระดับน้ําตาลในเลือดของหนูขาวนอย<br />

กวา 132 มิลลิกรัม/เดซิลิตร เปนจํานวน 2 ครั้งติดตอกันจํานวน 3 ตัว จึงไดทําการเหนี่ยวนําอีก<br />

ครั้ง และตรวจวัดระดับน้ําตาลในเลือดพบวามากกวา 132 มิลลิกรัม/เดซิลิตร จึงนําหนูขาว<br />

เบาหวานเขาสูการทดลองตอ ซึ่งอาจมีผลทําใหคาระดับน้ําตาลในเลือดของหนูขาวเบาหวานกลุม<br />

1 (กลุมควบคุม ; ปอนน้ํากลั่น) มีคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานสูงกวาหนูขาวเบาหวานกลุม<br />

อื่นๆ เพราะฉะนั้นควรคัดเลือกหนูขาวเบาหวานที่ถูกเหนี่ยวนําโดยสเตรปโซโตซิน 50 มิลลิกรัม/<br />

กิโลกรัม เพียงครั้งเดียวและมีคาระดับน้ําตาลในเลือดมากกวา 132 มิลลิกรัม/เดซิลิตร เปนจํานวน<br />

2 ครั้งติดตอกัน เขาทําการทดลอง


บรรณานุกรม<br />

กนกอร ริ้วเหลือง. (2537). อนุกรมวิธานพรรณไม. กรุงเทพฯ : สถาบันราชภัฏจันทรเกษม.<br />

กมลวรรณ ศรีปลั่ง. (2546). ฤทธิ์ลดน้ําตาลในเลือดและผลตอการกระตุนการหลั่งอินสุลินของสาร<br />

สกัดจากใบหญาหนวดแมวในหนูขาวปกติและหนูขาวเบาหวานที่ถูกเหนี่ยวนําโดย<br />

สเตรปโตโซโตซิน. วิทยานิพนธวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาเภสัชวิทยา (สหสาขา)<br />

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.<br />

จารุวรรณ สุมมาตย. (2541). องคประกอบทางเคมีและฤทธิ์ของสารสกัดจากเปลือกผลทับทิมตอเชื้อ<br />

แบคทีเรียที่กอใหเกิดโรคในระบบทางเดินอาหาร. รายงานการวิจัยมหาวิทยาลัย-<br />

มหาสารคาม.<br />

เภสัชศาสตร, คณะ. (2533). กาวไปกับสมุนไพร. กรุงเทพฯ : ศูนยขอมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร<br />

มหาวิทยาลัยมหิดล.<br />

มาลี บรรจบ, และสุธิดา ไชยราช. (2541). การศึกษาสรรพคุณลดน้ําตาลในเลือดของพันธุไมไทย.<br />

นนทบุรี : เอส. อาร. พริ้นติ้ง แมสโปรดักส.<br />

วิทยา ศรีมาดา. (2540). โรคตอมไรทอ และเมตาบอลิสม. กรุงเทพฯ : 21 เซ็นจุรี.<br />

วิทยา ศรีมาดา. (2541). การดูแลรักษาผูปวยเบาหวาน. กรุงเทพฯ : ยูนิตี้ พับลิเคชั่น.<br />

วีกูล วีรานุวัตต, และกนกนาถ ชูปญญา. (2520). เคมีคลินิค. กรุงเทพฯ : อมรินทรการพิมพ.<br />

สุเขตร ศรีบุญเรือง. (2548). องคประกอบทางเคมีและการออกฤทธิ์ตานอนุมูลอิสระของน้ํามัน<br />

หอมระเหยและสารสกัดจากใบหนาดใหญและใบสาบแรงกา. วิทยานิพนธวิทยาศาสตร<br />

มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.<br />

สุนทรา หองแซง. (2542). ผลของสารสกัดจากเปลือกผลทับทิม (Punica granatum Linn. ) ตอการ<br />

ยับยั้งการเจริญของ Shigella บางชนิดซึ่งเปนสาเหตุของโรคบิด. วิทยานิพนธ<br />

ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.<br />

สุวรรณา หังสพฤกษ. (2532). สรีรวิทยา 2. (พิมพครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ : เรือนแกวการพิมพ.<br />

สุวัฒน วิมลวัฒนาภัณฑ. (2543). ตําราเภสัช เลมที่ 1. (พิมพครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ : ภาควิชาเภสัช<br />

ศาสตร คณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล.<br />

อภิชาติ วิชญาณรัตน, สาธิต วรรณแสง, และวรรณี นิธิยานันท. (2527). Endocrinology<br />

ทางอายุรศาสตร. (พิมพครั้งที่ 6). กรุงเทพฯ : เรือนแกวการพิมพ.


อภิชาติ วิชญาณรัตน, กอบชัย พัววิไล, วรรณี นิธิยานันท, และสาธิต วรรณแสง. (2546)<br />

ตําราโรคเบาหวาน. กรุงเทพฯ : เรือนแกวการพิมพ.<br />

อธิกา จารุโชติกมล. (2543). ฤทธิ์ตานออกซิแดนซของผักแพว. วิทยานิพนธวิทยาศาสตร<br />

มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยขอนแกน.<br />

Beck-Nielsen, H., Hother-Neilsen, O., & Pedersen, O. (1998, October). Mechanism of action of<br />

Sulfonylureas with special reference to the extrapancreatic effect : an overview.<br />

Diabetic Med, 5, 613-620.<br />

Chen, H. S. (2002). A Comparison of fructosamine and HbA 1C for home self-monitoring<br />

Blood glucose levels in type 2 diabetes. Zhonghua Yi Xue Za Zhi (Taipei),<br />

65, 151-155..<br />

Das, A.K. (2001, November). Studies on the hypoglycemic activity of Punica granatum Seed in<br />

Streptozotocin induced diabetic rats. Phytother Res, 15(7), 628-9.<br />

Federic, M. (2001). High glucose caused Apoptosis in cultured human pancreatics<br />

Islets of langerhans : A potential role for regulation of specific Bcl family gene<br />

toward an apoptotic cell death pogram. Diabetes, 50, 1290-301.<br />

Herr, R. R., Jahnke, J. K., & Argoudelis, A. D. (1967, Augus). The Structure of Streptozotocin.<br />

J. Am. Chem. Soc, 87, 4808-4809.<br />

Hertzel, C. G. (2001). Evidence-Based Diabetes Care. Ontario : Decker Inc.<br />

Jafri, M. A. (2000). Effect of punica granatum Linn. (Flowers) blood glucose level in<br />

Normal and alloxan-induced diabetic rats. Journal of Ethnopharmacology,<br />

70, 309-314.<br />

James, G. F., Lynn, C. A., Franklin, M. L., & Fred, W. Q. (2002). Laboratory animal medicine.<br />

(2nd ed). USA : Elsevier Science.<br />

Michael, T. M. (1995). Endocrine Secrets. Singapore : Hanley & Belfus Inc.<br />

Murthy, K.N. (2004). Study on wound healing activity of Punica granatum Peels. Journal<br />

of Med Food, 7, 256-9.<br />

Ragavan, B. & Krishnakumari, S. (2006). Antidiabetic effect of T. Arjura bark extract in<br />

alloxan induced diabetic rats. Journal of Clinical Biochemistry, 21(2),<br />

123-128.


Reginald, H., David, E., & Raymond, G. (1979). A Colour Atlas of Endocrinology.<br />

Holland : Wolfe Medical Publications Ltd.<br />

Richard, M. C. (1995). Diabetes. New York : Nestec & Raven Press Ltd.<br />

Vidal, A. (2003). Studies on the toxicity of Punica granatum L. (Punicaceae) Whole Fruit<br />

Extracts. Journal of Ethnopharmacol, 89, 295-300.


ภาคผนวก


ภาคผนวก ก


การเตรียม Citrate buffer pH 4.5<br />

โดยเตรียม 10 มิลลิลิตร ประกอบดวย 0.1 M Citric acid 4.5 มิลลิลิตร และ 0.1 M Trisodium<br />

citrate 5.5 มิลลิลิตร การเตรียม 0.1 M Citric acid 100 มิลลิลิตร โดยชั่งสาร Citric acid<br />

(MW 210.14) 2.1014 กรัม ละลายในน้ํากลั่น 100 มิลลิลิตร และเตรียม 0.1 M Tri-sodium<br />

citrate 100 มิลลิลิตร โดยชั่งสาร Tri-sodium citrate (MW 294.1) 2.941 กรัม ละลายในน้ํากลั่น<br />

100 มิลลิลิตร หลังจากนั้นปเปต 0.1 M Citric acid 4.5 มิลลิลิตร และปเปต 0.1 M Tri-sodium<br />

citrate 5.5 มิลลิลิตร ในบีกเกอรและทําการตรวจวัดคา pH ถา pH4.5 หยด Citric acid ลงจน pH 4.5<br />

การเตรียม Streptozotocin (STZ)<br />

การเตรียม Streptozotocin (STZ) เพื่อฉีดเหนี่ยวนําหนูขาวใหเปนเบาหวาน โดยใช<br />

STZ ขนาด 50 มิลลิกรัม/กิโลกรัม เตรียมใน Citrate buffer pH 4.5 โดยใช STZ 0.050 กรัม<br />

ละลายใน Citrate buffer pH 4.5 1 มิลลิลิตร โดยฉีดเขาหลอดเลือดดําบริเวณหางของหนูขาว<br />

ขนาด 0.1 มิลลิลิตร ตอน้ําหนักหนู 100 กรัม ภายใน 30 นาที<br />

การเตรียมสารสกัดจากเปลือกผลทับทิม<br />

นํา Crude ทับทิมที่สกัดได 14.6632 กรัม ละลายในน้ํากลั่น 20 มิลลิลิตร ใชแทง<br />

แกวคนใหละลายเขากันเพื่อปอนแกหนูขาวเบาหวานขนาด 200 400 และ 600 มิลลิกรัม/กิโลกรัม<br />

การเตรียม Glibenclamide<br />

นํา Glibenclamide 5 มิลลิกรัม มาบดใหละเอียดละลายในน้ํากลั่น 3 มิลลิลิตร ใช<br />

แทงแกวคนใหละลายเขากันเพื่อปอนแกหนูขาวเบาหวานขนาด 5 มิลลิกรัม/กิโลกรัม


ภาคผนวก ข


ตารางผนวกที่ ข -1 Clinical Chemistry Reference Ranges for Adult Spraque<br />

Dawley Rats<br />

Analyte Units Male Female<br />

Glucose mg/dl 115±16.9 111±17.2<br />

Blood urea nitrogen mg/dl 19±2.2 21±3.4<br />

Creatinine mg/dl 0.70±0.11 0.70±0.13<br />

Asparate<br />

aminotransferase<br />

Alanine<br />

aminotransferase<br />

U/L 95±31.7 99±54.5<br />

U/L 49±24.1 69±44.9<br />

ที่มา : Jame, G. F.2002 : 128


ภาคผนวก ค


ภาพผนวกที่ ค-1 ทับทิมที่ใชในการศึกษา


ภาพผนวกที่ ค-2 หนูขาว Spraque Dawley ที่ใชในการศึกษา


ภาคผนวก ง


ประวัติผูวิจัย<br />

ชื่อ-สกุล นางสาวสุมิตรา เมืองขวา<br />

เกิดวันที่ 5 กรกฏาคม 2521<br />

สถานที่เกิด อําเภอเลิงนกทา จังหวัดยโสธร<br />

ที่อยู 681 วิทยาลัยแพทยศาสตรกรุงเทพมหานครและวชิรพยาบาล ถนนสามเสน<br />

แขวงวชิรพยาบาล เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร 10300<br />

ตําแหนง พยาบาลวิชาชีพ 5<br />

สถานที่ทํางาน วิทยาลัยแพทยศาสตรกรุงเทพมหานครและวชิรพยาบาล ถนนสามเสน<br />

แขวงวชิรพยาบาล เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร 10300<br />

ประวัติการศึกษา<br />

พ.ศ. 2538 มัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนเบ็ญจะมะมหาราช อําเภอเมือง<br />

จังหวัดอุบลราชธานี<br />

พ.ศ. 2542 พยาบาลศาสตรบัณฑิต วิทยาลัยพยาบาลเกื้อการุณย<br />

กรุงเทพมหานคร<br />

พ.ศ. 2550 วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร กรุงเทพมหานคร

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!