28.01.2015 Views

3PL สู่ 4PL - มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

3PL สู่ 4PL - มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

3PL สู่ 4PL - มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

ปจจัยที่มีอิทธิพลตอการพัฒนาการจัดการดานโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong><br />

ของ บริษัทผูใหบริการดานโลจิสติกส ในเขตกรุงเทพมหานคร<br />

ไพบูลย รัตวัตร<br />

วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต<br />

สาขาวิชาบริหารธุรกิจ<br />

มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร<br />

พ.ศ. 2551


w- b<br />

.............................................. ~1~i~unPl~n~ianuiuwu.swan<br />

A B 9 d o *


ปจจัยที่มีอิทธิพลตอการพัฒนาการจัดการดานโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong><br />

ของ บริษัทผูใหบริการดานโลจิสติกส ในเขตกรุงเทพมหานคร<br />

ไพบูลย รัตวัตร<br />

วิทยานิพนธนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต<br />

สาขาวิชาบริหารธุรกิจ<br />

มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร<br />

พ.ศ. 2551<br />

ลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร


บทคัดยอ<br />

หัวขอวิทยานิพนธ ปจจัยที่มีอิทธิพลตอการพัฒนาการจัดการดานโลจิสติกส<br />

แบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong> ของ บริษัทผูใหบริการดานโลจิสติกส<br />

ในเขตกรุงเทพมหานคร<br />

ผูวิจัย ไพบูลย รัตวัตร<br />

ระดับการศึกษา<br />

บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจ<br />

กลุมวิชาการจัดการโลจิสติกส<br />

พ.ศ. 2551<br />

อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธหลัก อาจารย ดร.ชินวงศ ศรีงาม<br />

อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธรวม ผูชวยศาสตราจารย ดร.อังกูร ลาภธเนศ<br />

การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค เพื่อศึกษาปจจัยพื้นฐานของบริษัทผูใหบริการดาน<br />

โลจิสติกส ปจจัยการเปลี่ยนแปลงของ <strong>3PL</strong> และการพัฒนาการจัดการดานโลจิสติกสจากแบบ <strong>3PL</strong><br />

สู <strong>4PL</strong> เพื่อศึกษาความสัมพันธระหวางปจจัยพื้นฐานกับปจจัยการเปลี่ยนแปลงของ <strong>3PL</strong> เพื่อศึกษา<br />

ความสัมพันธระหวางปจจัยการเปลี่ยนแปลงของ <strong>3PL</strong> กับ การพัฒนาการจัดการดานโลจิสติกสจาก<br />

แบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong> เพื่อศึกษาปจจัยพื้นฐานที่มีอิทธิพลตอการพัฒนาการจัดการดานโลจิสติกส จาก<br />

แบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong> และเพื่อศึกษาปจจัยการเปลี่ยนแปลงของ <strong>3PL</strong> ที่มีอิทธิพลตอการพัฒนาการจัดการ<br />

ดานโลจิสติกสจากแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong> กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัยคือ บริษัทผูใหบริการดาน<br />

โลจิสติกสในเขตกรุงเทพมหานคร ระเบียบวิธีการวิจัยเปนการวิจัยเชิงสํารวจ และแบบสอบถามเปน<br />

เครื่องมือในการเก็บรวบรวมขอมูล ทําการวิเคราะหขอมูล โดยวิธีการหาคารอยละ คาเฉลี่ย<br />

คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติทดสอบไคสแควรคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธเพียรสัน และการวิเคราะห<br />

การถดถอยพหุคูณ<br />

ผลการศึกษาวิจัยพบวา<br />

1. ปจจัยพื้นฐานของกลุมตัวอยาง สวนใหญเปนธุรกิจเปนการขนสงสินคารวมลงทุนกับ<br />

ตางชาติ ทุนจดทะเบียนอยูระหวาง 11– 50 ลานบาท และจํานวนพนักงาน ในบริษัทอยูระหวาง<br />

101-500 คน<br />

2. ปจจัยของการเปลี่ยนแปลงของ <strong>3PL</strong> จากความคิดเห็นสวนใหญของกลุมตัวอยาง ใน<br />

ภาพรวมและรายดานอยูในระดับมาก ทั้ง 6 ดาน คือ ดานการเพิ่มมูลคาในการใหบริการ ดานการ<br />

จัดการและการประสานความรวมมือ ดานลีนและความคลองตัว ดานประสิทธิภาพของการสื่อสาร


ขอมูล ดานการลดตนทุน และดานการขจัดปญหาตางๆ ของ <strong>3PL</strong> และการพัฒนาการจัดการดาน<br />

โลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong> ภาพรวมและรายดานอยูในระดับมากทั้ง 5 ดาน คือ ดานเวลานํา ดาน<br />

การพัฒนาเครือขายทั้งแนวตั้งและแนวนอน ดานการบริการ ดานคุณภาพ และดานตนทุน<br />

3.ไมมีความสัมพันธกันระหวางปจจัยพื้นฐาน กับปจจัยของการเปลี่ยนแปลงของ 3P L<br />

4. มีความสัมพันธกันในทางบวกระหวางปจจัยของการเปลี่ยนแปลงของ <strong>3PL</strong> และการ<br />

พัฒนา การจัดการดานโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong> โดยมีคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธอยูในระดับ<br />

ปานกลาง ทั้งในภาพรวมและรายดาน<br />

5. ปจจัยพื้นฐานไมมีอิทธิพลตอการพัฒนาการจัดการดานโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong><br />

ของบริษัทผูใหบริการดานโลจิสติกส<br />

6. การเปลี่ยนแปลงของ <strong>3PL</strong> ที่มีอิทธิพลตอการพัฒนาการจัดการดานโลจิสติกส แบบ<br />

<strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong> ของบริษัทผูใหบริการดานโลจิสติกส คือ ปจจัยดานการขจัดปญหาตางๆ ของ <strong>3PL</strong><br />

และปจจัยดานลีนและความคลองตัว


Abstract<br />

Thesis Title<br />

Factors influencing the logistics management evolution from<br />

<strong>3PL</strong> to <strong>4PL</strong> of logistics service providers in Bangkok<br />

The Researcher<br />

Paiboon Rattawat<br />

Level of Study<br />

Master of Business Administration, in Business Administration<br />

Year 2008<br />

Principal Thesis Advisor Chinawong Sringam, Ph.D.<br />

Associate Thesis Advisor Asst. Prof. Ungul Larpthanat, Ph.D.<br />

This research aimed to study basic factors, <strong>3PL</strong> changing factors and logistics<br />

management evolution from <strong>3PL</strong> to <strong>4PL</strong>, to study the relationship between the basic factors and<br />

logistics management evolution from <strong>3PL</strong> to <strong>4PL</strong>, to study the relationship between <strong>3PL</strong><br />

changing factors and logistics management evolution from <strong>3PL</strong> to <strong>4PL</strong>, to examine basic factors<br />

influencing the logistics management evolution from <strong>3PL</strong> to <strong>4PL</strong>, to examine <strong>3PL</strong> changing<br />

factors influencing the logistics management evolution from <strong>3PL</strong> to <strong>4PL</strong>. The samples were<br />

logistics service provider companies in Bangkok. The research methodology was a survey<br />

research and questionnaires were employed as research tools to collect data. The data were<br />

analyzed by using Percentage, Mean, Standard Deviation, Chi-square, Pearson’s Product-moment<br />

Correlation Coefficient and Regression analysis.<br />

The study revealed the following findings:<br />

1. The majority of samples were transportation, co-investment with foreign<br />

companies, investment between 11-50 million baht and 101-500 employees.<br />

2. The majority of sample’s opinion about the <strong>3PL</strong> changing in overall was in high<br />

level. Once considering by factors, the six revealed factors were also in high level. These were<br />

value adding in servicing, management and collaboration, lean and agility, efficiency of<br />

information flow, cost reduction and removal the key problems of <strong>3PL</strong> and logistics management<br />

evolution from <strong>3PL</strong> to <strong>4PL</strong> in overall and considering by factors were in high level. These were<br />

lead time, vertical and horizontal network development, servicing, quality and cost reduction.


3. There was no significant correlation between basic factors and <strong>3PL</strong> changing.<br />

4. Correlation between changing of <strong>3PL</strong> and logistics management evolution from<br />

<strong>3PL</strong> to <strong>4PL</strong> was positively correlated with moderate level of correlation in overall and by factors.<br />

5. Basic factors did not influence logistics management evolution from <strong>3PL</strong> to <strong>4PL</strong><br />

of logistics service provider companies.<br />

6. Changing <strong>3PL</strong> influenced logistics management evolution from <strong>3PL</strong> to <strong>4PL</strong> of<br />

logistics service provider companies were removal the key problems of <strong>3PL</strong> and lean and agility.


กิตติกรรมประกาศ<br />

วิทยานิพนธฉบับนี้ สําเร็จลงไดดวยความชวยเหลือและแนะนําจาก ดร. ชินวงศ ศรีงาม<br />

อาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธหลัก และ ผูชวยศาสตราจารย ดร. อังกูร ลาภธเนศ อาจารยที่ปรึกษา<br />

วิทยานิพนธรวม ซึ่งคอยใหคําปรึกษาและแกไขปรับปรุงขอบกพรองตางๆ ทุกขั้นตอน ตลอดเวลา<br />

การทําวิทยานิพนธฉบับนี้จนเสร็จสมบูรณ ขอกราบขอบพระคุณทานเปนอยางสูงไว ณ ที่นี้<br />

ผูวิจัยขอกราบขอบพระคุณ รองศาสตราจารย ดร.จิตตินันท ชะเนติยัง และคณะกรรมการบริหาร<br />

หลักสูตร บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต ที ่ไดใหคําแนะนําเพิ่มเติมในการสอบเคาโครงวิทยานิพนธ และ<br />

ขอกราบขอบพระคุณผูชวยศาสตราจารย ดร.เตือนใจ สมบูรณวิวัฒน และ ผูชวยศาสตราจารย<br />

ดร.กฤชนนท บึงไกร ที่ไดใหคําแนะนําแกไขเพิ่มเติมในการสอบวิทยานิพนธ 5 บท<br />

กราบขอบพระคุณ คุณพอสิงห และคุณแมศิริมา รัตวัตร ที่ใหกําเนิด เลี้ยงดูจนเติบใหญ<br />

และอบรมสั่งสอนลูกคนนี้เปนอยางดี กราบขอบพระคุณ ครูอาจารยทุกทานที่ประสิทธิ์ประสาทวิชา<br />

ใหแกขาพเจา ขอขอบพระคุณประธานกรรมการบริษัทผูใหบริการดานโลจิสติกสในเขต<br />

กรุงเทพมหานคร ที่กรุณาตอบแบบสอบถามในการวิจัยครั้งนี้<br />

ขอบคุณ คุณกานตสินี รัตวัตร ภรรยา และลูกๆ ของขาพเจาที่คอยใหกําลังใจ<br />

หากวิทยานิพนธฉบับนี้ เกิดประโยชนตอผูเกี่ยวของทั้งทางตรงและทางออม ผูวิจัยขอ<br />

มอบความดีในครั้งนี้แก มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร มหาวิทยาลัยอันทรงคุณคาแกการเทิดทูน<br />

ไพบูลย รัตวัตร


สารบัญ<br />

หนา<br />

บทคัดยอภาษาไทย ........................................................................................................................ ค<br />

บทคัดยอภาษาอังกฤษ ................................................................................................................... ง<br />

กิตติกรรมประกาศ......................................................................................................................... ฉ<br />

สารบัญ ........................................................................................................................................ . ช<br />

สารบัญตาราง ................................................................................................................................ ฏ<br />

สารบัญภาพ ................................................................................................................................... ฐ<br />

บทที่<br />

1 บทนํา<br />

ความเปนมาและความสําคัญของปญหา ..................................................................... 1<br />

วัตถุประสงคของการวิจัย ........................................................................................... 4<br />

ประโยชนของการวิจัย................................................................................................. 4<br />

ขอบเขตของการวิจัย ................................................................................................... 5<br />

ตัวแปรที่ใชในการวิจัย ................................................................................................ 5<br />

นิยามศัพทเฉพาะ ........................................................................................................ 6<br />

2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ<br />

แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส...................................................... 9<br />

อุตสาหกรรมโลจิสติกสในประเทศไทย...................................................................... 23<br />

ทฤษฎีการสงมอบคุณคาแกลูกคา ................................................................................ 31<br />

ทฤษฎีการสรางคุณคาของเบอรกลุนด......................................................................... 34<br />

งานวิจัยที่เกี่ยวของ....................................................................................................... 35<br />

กรอบแนวคิดของการวิจัย............................................................................................ 45<br />

สมมุติฐานของการวิจัย ................................................................................................ 46<br />

3 วิธีดําเนินการวิจัย<br />

แบบของการวิจัย ........................................................................................................ 47<br />

ประชากรและหนวยวิเคราะห ..................................................................................... 47<br />

การเลือกกลุมตัวอยางและแผนการสุมตัวอยาง ........................................................... 48


บทที่ หนา<br />

เครื่องมือที่ใชในการวิจัย ............................................................................................ 49<br />

การวิเคราะหขอมูล ..................................................................................................... 51<br />

4 ผลการวิเคราะหขอมูล<br />

ตอนที่ 1 ผลการวิเคราะหปจจัยพื้นฐาน .................................................................... 56<br />

ตอนที่ 2 ผลการวิเคราะหปจจัยของการเปลี่ยนแปลงของ <strong>3PL</strong> ................................. 57<br />

ตอนที่ 3 ผลการวิเคราะหความคิดเห็นของบริษัทผูใหบริการดานโลจิสติกส<br />

ตอการพัฒนาการจัดการดานโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong> ........................... 65<br />

ตอนที่ 4 ผลการวิเคราะหหาความสัมพันธระหวางปจจัยการเปลี่ยนแปลงของ <strong>3PL</strong><br />

ตอการพัฒนาการจัดการดานโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong> ........................... 71<br />

ตอนที่ 5 ผลการวิเคราะหหาความสัมพันธระหวางปจจัยการเปลี่ยนแปลงของ <strong>3PL</strong><br />

กับการพัฒนาการจัดการดานโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong>.......................... 75<br />

ตอนที่ 6 ผลการวิเคราะหปจจัยพื้นฐานที่มีอิทธิพลตอการพัฒนาการจัดการ<br />

ดานโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong> ................................................................. 76<br />

ตอนที่ 7 ผลการวิเคราะหการเปลี่ยนแปลงของ <strong>3PL</strong> ที่มีอิทธิพลตอการพัฒนา<br />

การจัดการดานโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong> ................................................ 77<br />

5 สรุปผล อภิปรายผล และขอเสนอแนะ<br />

สรุปผลการวิจัย............................................................................................................. 82<br />

อภิปรายผลการวิจัย....................................................................................................... 86<br />

ขอเสนอแนะ................................................................................................................. 92<br />

บรรณานุกรม ....................................................................................................................... 95<br />

ภาคผนวก<br />

ภาคผนวก ก แบบสอบถามเพื่อการวิจัย .................................................................. 100<br />

ภาคผนวก ข หนังสือขอความอนุเคราะหเปนผูทรงคุณวุฒิตรวจสอบเครื่องมือ<br />

วิจัย .............................................................................................….. 106<br />

ภาคผนวก ค หนังสือขอความอนุเคราะหในการเก็บขอมูลเพื่อการวิจัย..........….. 110<br />

ภาคผนวก ง การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ .................................................….. 112<br />

ประวัติผูวิจัย........................................................................................................................... 117<br />


สารบัญตาราง<br />

ตารางที่ หนา<br />

2.1 ขอบเขตการใหบริการของผูใหบริการดานโลจิสติกสลําดับที่ 3 .................................... 18<br />

2.2 ลักษณะบริการของผูใหบริการดานโลจิสติกส ............................................................. 19<br />

2.3 คาเฉลี่ยและคาเบี่ยงเบนมาตรฐานของกลุมตัวอยางในงานวิจัยของเลี๊ยบ...................... 28<br />

4.1 จํานวนและรอยละ ของกลุมตัวอยาง จําแนกตามลักษณะธุรกิจ ประเภทของธุรกิจ<br />

ทุนจดทะเบียน และ จํานวนพนักงานในบริษัท………………………...…………. 56<br />

4.2 คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความคิดเห็นของบริษัทผูใหบริการ<br />

ดานโลจิสติกส ดานปจจัยของการเปลี่ยนแปลงของ <strong>3PL</strong> ....................................... 58<br />

4.3 คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความคิดเห็นของบริษัทผูใหบริการ<br />

ดานโลจิสติกส ดานการลดตนทุน .......................................................................... 59<br />

4.4 คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความคิดเห็นของบริษัทผูใหบริการ<br />

ดานโลจิสติกส ดานการเพิ่มมูลคาในการใหบริการ............................................... 60<br />

4.5 คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความคิดเห็นของบริษัทผูใหบริการ<br />

ดานโลจิสติกส ดานการขจัดปญหาตางๆ ของ <strong>3PL</strong> ............................................... 61<br />

4.6 คาเฉลี่ยและคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความคิดเห็นของบริษัทผูใหบริการ<br />

ดานโลจิสติกส ดานประสิทธิภาพของการสื่อสารขอมูล ........................................ 62<br />

4.7 คาเฉลี่ยและคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความคิดเห็นของบริษัทผูใหบริการ<br />

ดานโลจิสติกส ดานการจัดการและการประสานความรวมมือ .............................. 63<br />

4.8 คาเฉลี่ยและคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความคิดเห็นของบริษัทผูใหบริการ<br />

ดานโลจิสติกส ดานลีนและความคลองตัว............................................................. 64<br />

4.9 คาเฉลี่ยและคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความคิดเห็นของบริษัทผูใหบริการ<br />

ดานโลจิสติกส ตอการพัฒนาการจัดการดานโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong> ............. 65<br />

4.10 คาเฉลี่ยและคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความคิดเห็นของบริษัทผูใหบริการ<br />

ดานโลจิสติกส ตอการพัฒนาการจัดการดานโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong><br />

ดานคุณภาพ ............................................................................................................ 66<br />

4.11 คาเฉลี่ยและคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความคิดเห็นของบริษัทผูใหบริการ<br />

ดานโลจิสติกส ตอการพัฒนาการจัดการดานโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong><br />

ดานตนทุน .............................................................................................................. 67


4.12 คาเฉลี่ยและคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความคิดเห็นของบริษัทผูใหบริการ<br />

ดานโลจิสติกสตอการพัฒนาการจัดการดานโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong><br />

ดานการบริการ........................................................................................................ 68<br />

4.13 คาเฉลี่ยและคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความคิดเห็นของบริษัทผูใหบริการ<br />

ดานโลจิสติกสตอการพัฒนาการจัดการดานโลจิสติกสแบบ<strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong><br />

ดานเวลานํา............................................................................................................. 69<br />

4.14 คาเฉลี่ยและคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความคิดเห็นของบริษัทผูใหบริการ<br />

ดานโลจิสติกสตอการพัฒนาการจัดการดานโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong><br />

ดานการพัฒนาเครือขายทั้งแนวตั้งและแนวนอน.................................................... 70<br />

4.15 วิเคราะหหาความสัมพันธระหวางปจจัยพื้นฐานกับปจจัยการเปลี่ยนแปลงของ <strong>3PL</strong><br />

จําแนกตามลักษณะธุรกิจ........................................................................................ 71<br />

4.16 วิเคราะหหาความสัมพันธระหวางปจจัยพื้นฐานกับปจจัยการเปลี่ยนแปลงของ <strong>3PL</strong><br />

จําแนกตามประเภทของธุรกิจ................................................................................. 72<br />

4.17 วิเคราะหหาความสัมพันธระหวางปจจัยพื้นฐานกับปจจัยการเปลี่ยนแปลงของ <strong>3PL</strong><br />

จําแนกตามทุนจดทะเบียน ...................................................................................... 73<br />

4.18 วิเคราะหหาความสัมพันธระหวางปจจัยพื้นฐานกับปจจัยการเปลี่ยนแปลงของ <strong>3PL</strong><br />

จําแนกตามจํานวนพนักงานในบริษัท..................................................................... 74<br />

4.19 คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธระหวางปจจัยของการเปลี่ยนแปลงของ <strong>3PL</strong><br />

ตอการพัฒนาการจัดการดานโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong>....................................... 75<br />

4.20 ผลการวิเคราะหคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธระหวางปจจัยของการเปลี่ยนแปลง<br />

ของ <strong>3PL</strong> กับการพัฒนาการจัดการดานโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong> ....................... 76<br />

4.21 คาเฉลี่ยและสวนเบี ่ยงเบนมาตรฐานของตัวแปรที่ใชในการวิเคราะหความสัมพันธ<br />

กับความคิดเห็นของกลุมตัวอยางโดยรวมที่มีตอการพัฒนาการจัดการดาน<br />

โลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong> .................................................................................... 77<br />

4.22 ผลการวิเคราะหการถดถอยของตัวแปร คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธระหวางปจจัย<br />

การเปลี่ยนแปลง ของ <strong>3PL</strong> ตอการพัฒนาการจัดการดานโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong><br />

สู <strong>4PL</strong> ..................................................................................................................... 78<br />

4.23 ผลการวิเคราะหการเปลี่ยนแปลงของ <strong>3PL</strong>ที่มีอิทธิพลตอการพัฒนาการจัดการ<br />

ดานโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong> ของบริษัทผูใหบริการดานโลจิสติกส................. 79


สารบัญภาพ<br />

ภาพที่ หนา<br />

2.1 สัดสวนขนาดของทุนจดทะเบียนจํานวน 215 บริษัทในอุตสาหกรรมโลจิสติกสไทย .. 24<br />

2.2 สัดสวนขนาดทุนจดทะเบียนของบริษัทโลจิสติกสของคนไทยจํานวน 150 ราย .......... 25<br />

2.3 สัดสวนขนาดทุนจดทะเบียนของบริษัทโลจิสติกสตางประเทศในไทยจํานวน 65 ราย 25<br />

2.4 เปรียบเทียบระหวางจํานวนบริษัทไทยกับตางประเทศตามทุนจดทะเบียน................... 26<br />

2.5 จํานวนบริษัทที่จดทะเบียนแตละปเปรียบเทียบระหวางบริษัทไทยกับตางประเทศ...... 26<br />

2.6 กรอบแนวคิดของการวิจัย............................................................................................. 45


บทที่ 1<br />

บทนํา<br />

ความเปนมาและความสําคัญของปญหาการวิจัย<br />

ภายหลังวิกฤติเศรษฐกิจที่ผานมา เศรษฐกิจไทยไดปรับตัวดีขึ้นตามลําดับ ทั้งในดาน<br />

การขยายตัวและความมีเสถียรภาพ โดยเฉพาะในชวงป 2545-2547 เศรษฐกิจไทยขยายตัวไดใน<br />

ระดับสูงขึ้นอยางตอเนื่องในอัตรารอยละ 6.1 ตอป ในขณะที่อัตราเงินเฟออยูในระดับคาเฉลี่ยรอย<br />

ละ 1.7 ตอป ดุลบัญชีเดินสะพัดเกินดุลเฉลี่ยอยูที่รอยละ 5.8 ตอ GDP สําหรับในป 2548 สํานักงาน<br />

คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ระบุวาเศรษฐกิจไทยมีการขยายตัวรอยละ<br />

4.5 และคาดวาในป 2549 จะขยายตัวรอยละ 4.5-5.5 จากปจจัยสนับสนุนทั้งดานอุปสงค<br />

ภายในประเทศและการสงออก ในขณะเดียวกันก็มีปจจัยเสี่ยง/ขอจํากัดทั้งภายนอกและภายใน<br />

ไดแก การชะลอตัวของเศรษฐกิจโลก ราคาน้ํามันที่มีแนวโนมทรงตัวในระดับสูง ภาวะอัตราเงิน<br />

เฟอและอัตราดอกเบี้ยภายในประเทศสูงขึ้น การขาดดุลการคา และความไมแนนอนของ<br />

สถานการณ ดานการเมือง นอกจากนี้ในชวงทศวรรษที่ผานมา สภาพแวดลอมทั้งจากภายในและ<br />

ภายนอกประเทศที่เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมอยางสิ้นเชิง ทําใหเงื่อนไขและปจจัยตาง ๆ ที่เคยเกื้อกูล<br />

และสรางความสามารถในการแขงขันโดยเปรียบเทียบ (Competitive Advantage) และความ<br />

ไดเปรียบเชิงเปรียบเทียบ (Comparative Advantage) ที่ประเทศเคยมีเปลี่ยนไปสินคาบางรายการที่<br />

เคยเปนสินคาสงออกสําคัญและมีอัตราขยายตัวสูง เริ่มประสบปญหาการแขงขันและสูญเสียตลาด<br />

บางสวนไป ทําใหประเทศไทยมี ความจําเปนตองเรงปรับโครงสรางภาคอุตสาหกรรม เพื่อให<br />

ภาคอุตสาหกรรมไทยสามารถ ตอบสนองความตองการของตลาด มีความไดเปรียบโดยเปรียบเทียบ<br />

ในการแขงขันในตลาดโลก และมีการเติบโตอยางยั่งยืน ภายใตเงื่อนไขการบริหารจัดการที่ไม<br />

กอใหเกิดผลกระทบตอสิ่งแวดลอม (สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม. 2549:3)<br />

ในยุคโลกาภิวัฒนและการแขงขันในตลาดที่สูงมากในยุคปจจุบัน ไดเกิดหลักการใหม<br />

ใน การบริหารธุรกิจ ตลาด และอุตสาหกรรม ในยุคนี้จําเปนที่จะตองหันมาจับมือกับธุรกิจรอบตัว<br />

ธุรกิจรอบตัวที่กลาวถึงนี้จะรวมทั้งรอบตัวในแนวดิ่งและแนวราบ ความรวมมือระหวางธุรกิจใน<br />

แนวดิ่งรวมถึง ธุรกิจที่กอใหเกิดผลผลิตจริงในสายการผลิตของตน ตั้งแตผูจัดหาวัตถุดิบ ผูจัดสง<br />

ผูผลิต ผูกระจายสินคาและลูกคา สวนความรวมมือในแนวราบนั้น จะรวมถึงธุรกิจที่มีลักษณะ


สงเสริมสนับสนุนหรือเปนคูคาที่มีประโยชนกอใหเกิดการเพิ่มผลผลิต หรือยกระดับความสามารถ<br />

ของตนได ซึ่งอาจจะเปนธุรกิจที่มีลักษณะใกลเคียงกัน แนวคิดการหันมาจับมือกับธุรกิจรอบตัวนี้<br />

เปนแนวคิดที่เรียกวา หวงโซอุปทาน (Supply Chain) ซึ่งความจริงแลวในปจจุบันและในอนาคต<br />

อาจจะพัฒนาไปถึงการเปนเครือขายอุปทาน (Supply Network) ได กลาวคือ การเชื่อมโยงระหวาง<br />

หวงโซอุปทานกับหวงโซอุปทานซึ่งแนวคิดนี้จะทําใหการดําเนินธุรกิจในยุคนี้เปนไปไดอยางมี<br />

ประสิทธิภาพและราบรื่นมากขึ้น คาใชจายในการดําเนินการในสวนตาง ๆ ลดลง ปริมาณ<br />

ของคงคลังที่ตองสํารองเก็บในอุตสาหกรรมลดลง และ กอใหเกิดประโยชนอีกมากมายกับทุก ๆ<br />

สวนของหวงโซอุปทาน เมื่อแนวคิดนี้ไดเขามาสูประเทศไทย ไมวาดวยการเขามาโดยผานทาง<br />

นโยบายของบริษัทขามชาติ แรงกดดันจากบริษัทตางชาติที่มีคูคาในประเทศไทยหรือ โดยเล็งเห็น<br />

ประโยชนของแนวคิดนี้อยางแทจริง ทําใหธุรกิจและอุตสาหกรรมในประเทศไทยที่ความตื่นตัว<br />

และหันมาสนใจที่นําแนวคิดนี้มาปฏิบัติในองคกร<br />

รางแผนแมบทการพัฒนาโลจิสติกสของประเทศไทย (2548:45-50) ระบุวาปจจุบัน<br />

กระแสการพัฒนาแบบโลกาภิวัตนที่มุงเปดเสรีทางการคาและบริการระหวางกลุมประเทศ ทําใหเกิด<br />

สภาพการแขงขันของธุรกิจเพิ่มสูงขึ้น (Hyper Competition) ในขณะเดียวกันกับการพัฒนา<br />

เทคโนโลยีที่กาวหนาไปมาก ทําใหลักษณะการแขงขันของธุรกิจเปลี่ยนจากการอาศัยความ<br />

ไดเปรียบจากปจจัยการผลิตราคาต่ํา ไปเปนการแขงขันดวยการยกระดับประสิทธิภาพในการผลิต<br />

และเนนการสรางนวัตกรรมเพื่อเสนอมูลคาเพิ่มใหกับลูกคา (Value Proposition) ซึ่งจาก<br />

ปรากฏการณดังกลาวผนวกกับเงื่อนไขทรัพยากรที่จํากัด จึงผลักดันใหภาคธุรกิจเริ่มหันมาให<br />

ความสําคัญ กับการมุงเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตเฉพาะกิจกรรมหลักของธุรกิจสวนของกิจกรรม<br />

(Core Business) และพยายาม Outsource กิจกรรมที่ไมไดเปนแกนหลัก ออกไป (Non-Core<br />

Business)<br />

โดยเฉพาะอยางยิ่งงานดานบริการโลจิสติกสบางอยางที่ควรใหกับผูเชี่ยวชาญนอกบริษัท<br />

ทําแทนให ซึ่งจะสามารถชวยใหสามารถลดตนทุนการดําเนินงานและเพิ่มมูลคาเพิ่มของธุรกิจได<br />

อยางมาก เชนจากรายงานการศึกษา พบวา1 การจางผูใหบริการโลจิสติกสสามารถชวยลดตนทุน<br />

ดานการขนสงและคลังสินคาในภาคธุรกิจไดราวถึงรอยละ 15-20 และยังชวยพัฒนาคุณภาพของ<br />

บริการที่มีใหแกผูบริโภค เชน การโดยยนระยะเวลาการสงสินคาถึงมือผูบริโภคที่ลงไดถึงรอยละ<br />

10-20 ดังนั้น ดวยศักยภาพของการใชบริการโลจิสติกสตอการสรางขีดความสามารถของธุรกิจ<br />

ดังกลาว จึงแสดงใหเห็นอยางชัดเจนวา หากประเทศไทยจะพัฒนาระบบโลจิสติกสใหเปนปจจัย<br />

หลักของการยกระดับขีดความสามารถในการแขงขันแลว จําเปนอยางยิ่งที่จะตองมีการเรงรัดพัฒนา<br />

ธุรกิจใหบริการโลจิสติกส (Logistics Service Providers: LSPs) ในประเทศไทยใหแพรหลาย และมี<br />

2


ความเขมแข็งเชนเดียวกับประเทศพัฒนาแลว อาทิเชน ในยุโรปที่มีการศึกษา พบวา ผูประกอบการ<br />

ธุรกิจมีการใชบริการของธุรกิจใหบริการโลจิสติกส ในระดับที่สูงมาก โดยเฉพาะดานขนสงใช<br />

บริการถึงรอยละ 91<br />

จึงอาจกลาวไดวา ธุรกิจใหบริการโลจิสติกส ในภูมิภาคเอเชียแปซิฟกจะมีบทบาทสําคัญ<br />

และมีศักยภาพที่จะเติบโตขึ้นอยางมากในอนาคต ซึ่งจากการประมาณการเบื้องตน คาดวาจะ<br />

สามารถขยายตัวไดสูงถึง 3-4 เทาของอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจโดยเฉลี่ยของภูมิภาค (รอยละ 4<br />

ตอป) หรือประมาณรอยละ 12-15 ไปตลอดจนถึงป 2553 โดยเฉพาะในอุตสาหกรรมประเภทสินคา<br />

อิเล็กทรอนิกส สินคาอุปโภคบริโภค เคมีภัณฑ ยานยนต และผลิตภัณฑสิ่งทอ ทั้งนี้ เปนผลสืบ<br />

เนื่องมาจากปจจัยขับเคลื่อน 3 ประการทางดานเศรษฐกิจสังคม ไดแก 1) การที่รัฐบาลพัฒนาและ<br />

ลงทุนเพื่อกระจายความมั่งคั่งไปยังเมืองอื่นๆ นอกเหนือจากเมืองหลัก 2) การขยายตัวอยางรวดเร็ว<br />

ของธุรกิจคาปลีกแนวใหม ซึ่งเปนธุรกิจสําคัญที่ตองพึ่งพาบริการโลจิสติกสอยางมาก และ 3) การ<br />

ขยายตัวของความตองการสินคาอุตสาหกรรมจากประเทศตางๆ ทั่วโลก<br />

ผูใหบริการโลจิสติกสลําดับที่ 3 (Third Party Logistics Service Provider: <strong>3PL</strong>) เปน<br />

บริษัทที่ใหบริการดานโลจิสติกสหลายอยาง โดยนําเสนอบริการเหลานี้แบบเบ็ดเสร็จหรือเปนชุด<br />

แพ็คเกจบริการ ไดแก การขนสง, คลังสินคา, Cross-Docking, บริหารสินคาคงคลัง, บรรจุภัณฑ และ<br />

การขนสงระหวางประเทศ (Freight Forwarding)<br />

ผูใหบริการโลจิสติกสลําดับที่ 4 (Fourth Party Logistics Service Provider: <strong>4PL</strong>) เปนผู<br />

ใหบริการโลจิสติกสในระดับที่มีการบูรณาการสูงมาก จะเปนผูรับผิดชอบ บริหารจัดการ ควบคุมผู<br />

ใหบริการ <strong>3PL</strong> ในแตละรายใหสามารถเชื่อมโยงการทํางานเปนผูที่นําเอาทรัพยากร ทักษะ<br />

ความสามารถ และเทคโนโลยี ทั้งของตนเองและของผูใหบริการรายอื่นๆ มาผสมผสานกัน เพื่อให<br />

เกิดการสงมอบบริการในหวงโซอุปทานไดอยางครอบคลุมทั่วถึง (โจฮาน คิตเติลและพอลสัน.<br />

2003: 2-3, อางถึงใน เมทดู รานแจน. 1994 : 9) ความแตกตาง ของ <strong>3PL</strong> และ <strong>4PL</strong> มีดังนี้<br />

1. องคกรของ <strong>4PL</strong> มักจะกอเกิดจากการรวมทุน หรือมีการทําสัญญาระยะยาวระหวาง<br />

ลูกคากับผูใหบริการโลจิสติกส<br />

2. องคกรของ <strong>4PL</strong> เปนเหมือนจุดเชื่อมตอแรกของลูกคากับผูใหบริการโลจิสติกส<br />

3. มุมมองตางๆ ของลูกคาในหวงโซอุปทาน จะถูกจัดการโดยองคกรของ <strong>4PL</strong><br />

4. <strong>3PL</strong> ใหญๆ อาจจะมีรูปแบบเปน องคกรแบบ <strong>4PL</strong><br />

จากแรงกดดันตางๆ ในโลกของการทําธุรกิจ จึงทําใหมีการหันมาจับมือกับธุรกิจรอบตัว<br />

ทั้งในแนวดิ่งและแนวราบ ซึ่งแนวคิดนี้ก็ทําใหผูใหบริการโลจิสติกสลําดับที่ 3 (<strong>3PL</strong>) มีการจับมือ<br />

กันเพื่อใหเกิดมีประสิทธิภาพในการจัดการ ความยืดหยุน และลดภาระความเสี่ยงในการลงทุน จึง<br />

3


4<br />

จําเปนที่จะตองมีการพัฒนาการจัดการของธุรกิจ โดยมีคนกลางที่คอยจัดการและประสานงาน<br />

ระหวางผูใหบริการ <strong>3PL</strong> ลูกคาและผูผลิตวัตถุดิบ นั่นก็คือ ผูใหบริการโลจิสติกสลําดับที่ 4 (<strong>4PL</strong>)<br />

ซึ่ง เปนผูใหบริการโลจิสติกสในระดับที่มีการบูรณาการสูง เปนผูรับผิดชอบบริหารจัดการ ควบคุม<br />

ผูใหบริการ <strong>3PL</strong> ในแตละรายใหสามารถเชื่อมโยงการทํางาน หรือเรียกวา การบริการโดยผานจุด<br />

เดียว (One-Stop-Shopping) เพื่อใหเกิดการสงมอบบริการในหวงโซอุปทานไดอยางครอบคลุม จึง<br />

ทําใหผูวิจัยสนใจที่จะศึกษาเพื่อใหเกิดประโยชนตอการพัฒนาดานการจัดการดานโลจิสติกสตอไป<br />

วัตถุประสงคของการวิจัย<br />

1. เพื่อศึกษา ปจจัยพื้นฐานของบริษัทผูใหบริการดานโลจิสติกส ปจจัยการเปลี่ยนแปลง<br />

ของ <strong>3PL</strong> และการพัฒนาการจัดการดานโลจิสติกสจากแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong><br />

2. เพื่อศึกษา ความสัมพันธระหวางปจจัยพื้นฐานกับปจจัยการเปลี่ยนแปลงของ <strong>3PL</strong><br />

3. เพื่อศึกษา ความสัมพันธระหวางปจจัยการเปลี่ยนแปลงของ <strong>3PL</strong> กับ การพัฒนาการ<br />

จัดการดานโลจิสติกสจากแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong><br />

4. เพื่อศึกษา ปจจัยพื้นฐาน ที่มีอิทธิพลตอ การพัฒนาการจัดการดานโลจิสติกส จากแบบ<br />

<strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong><br />

5. เพื่อศึกษา ปจจัยการเปลี่ยนแปลงของ <strong>3PL</strong> ที่มีอิทธิพลตอ การพัฒนาการจัดการดาน<br />

โลจิสติกสจากแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong><br />

ประโยชนของการวิจัย<br />

1. ทราบถึงศักยภาพ และ ความพรอมของบริษัท ผูใหบริการดานโลจิสติกส ในปจจุบัน<br />

ในเขตกรุงเทพมหานคร ตอการเปลี่ยนแปลงการจัดการดานโลจิสติกสจากแบบ <strong>3PL</strong> เปนแบบ <strong>4PL</strong><br />

2. สามารถนําเสนอ อุปสรรค ขอจํากัด และขอเสนอแนะแนวทางที่เปนประโยชนของ<br />

การใหบริการดานโลจิสติกส แบบ <strong>4PL</strong> แกบริษัทผูใหบริการดานโลจิสติกส<br />

3 . เปนองคความรูสําหรับผูที่สนใจหรือนําไปสูการวิจัยที่เกี่ยวของตอไป


5<br />

ขอบเขตของการวิจัย<br />

การวิจัยในครั้งนี้ มีขอบเขตดังตอไปนี้<br />

1. ประชากรที่ใชในการศึกษาวิจัย คือ บริษัทผูใหบริการดานโลจิสติกส <strong>3PL</strong> ที่จดทะเบียนกับ<br />

กรมพัฒนาธุรกิจการคา ในเขตกรุงเทพมหานครเทานั้น ซึ่งบริษัทเหลานั้นอาจมีการกิจกรรมการใหการ<br />

บริการดานโลจิสติกสหลากหลายกิจกรรม แตผูวิจัยจะถือเอาเฉพาะกิจกรรมหลัก (Core Business) ในการ<br />

จัดกลุมประเภทของธุรกิจ<br />

2. เปนการศึกษาปจจัยที่มีอิทธิพลตอการพัฒนาการจัดการดานโลจิสติกสแบบ<strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong> ของ<br />

บริษัทผูใหบริการดานโลจิสติกส ที่จดทะเบียนกับกรมพัฒนาธุรกิจการคา ในเขตกรุงเทพมหานครเทานั้น<br />

3. แหลงขอมูลที่จะทําการจัดเก็บ คือ กรรมการผูจัดการของบริษัท ผูใหบริการดานโลจิสติกส<br />

<strong>3PL</strong> ที่จดทะเบียนกับกรมพัฒนาธุรกิจการคา ในเขตกรุงเทพมหานคร<br />

4. ระยะเวลาในการเก็บขอมูลเพื่อการศึกษาวิจัยตั้งแต เดือน มีนาคม ถึง มิถุนายน พ.ศ. 2551<br />

ตัวแปรที่ใชในการวิจัย<br />

1. ตัวแปรตน มีดังนี้<br />

1.1 ปจจัยพื้นฐาน ซึ่งประกอบไปดวย ลักษณะของธุรกิจ ประเภทของธุรกิจ ทุนจด<br />

ทะเบียน และจํานวนพนักงานในบริษัท<br />

1.2 ปจจัยการเปลี่ยนแปลงของ <strong>3PL</strong> ซึ่งประกอบไปดวย ดานการลดตนทุน ดานการ<br />

เพิ่มมูลคาในการใหบริการ ดานการขจัดปญหาตางๆ ของ 3P L ดานประสิทธิภาพของการสื่อสาร<br />

ขอมูล ดานการจัดการและการประสานความรวมมือ ดานลีนและความคลองตัว<br />

2. ตัวแปรตาม คือ การพัฒนาการจัดการดานโลจิสติกสแบบ <strong>4PL</strong> ดานตางๆ ดังตอไปนี้<br />

2.1 คุณภาพ<br />

2.2 ตนทุน<br />

2.3 การบริการ<br />

2.4 เวลานํา<br />

2.5 การพัฒนาเครือขายทั้งแนวตั้งและแนวนอน


6<br />

นิยามศัพทเฉพาะ<br />

โลจิสติกส (Logistics) หมายถึง กิจกรรมหรือการกระทําใด ๆ เพื่อใหไดมาซึ่งสินคา<br />

และบริการรวมถึงการเคลื่อนยาย จัดเก็บ และกระจายสินคา จากแหลงที่ผลิต (Source of origin)<br />

จนสินคาไดมีการสงมอบไปถึงแหลงที่มีความตองการ (Source of consumption) โดยมีกิจกรรม<br />

ดังกลาวจะตองมีลักษณะเปนกระบวนการแบบบูรณาการ โดยเนนประสิทธิภาพและประสิทธิผล<br />

โดยมีเปาหมายในการสงมอบแบบทันเวลา (Just in Time) และเพื่อลดตนทุน โดยมุงใหเกิดความ<br />

พอใจแกลูกคา (Customers Satisfaction) และสงเสริมเพื่อใหเกิดมูลคาเพิ่มแกสินคาและบริการ<br />

ทั้งนี้ กระบวนการตางๆ ของระบบโลจิสติกส จะตองมีลักษณะปฎิสัมพันธที่สอดคลองประสาน<br />

กัน ในอันที่จะบรรลุวัตถุประสงครวมกัน<br />

โลจิสติกสภายนอก (Logistics Outsourcing) หมายถึง การตัดสินใจของบริษัทเกี่ยวกับ<br />

การ “ทํา หรือ ซื้อ” สินคาหรือบริการสําหรับ Logistics Outsourcing ถาบริษัทหรือองคการใดก็ตาม<br />

พิจารณาแลววา สามารถดําเนินงานดานกิจกรรมโลจิสติกส ไดถูกกวาการจางบริษัทภายนอกมา<br />

จัดการใหบริษัทก็ควรที่จะดําเนินการเอง แตอยางไรก็ตามถาบริษัทดําเนินการดานโลจิสติกสแลวมี<br />

ตนทุนแพงกวาการจางบริษัทภายในนอกบริษัทที่ควรจะใชบริษัทภายนอก<br />

หวงโซอุปทาน (Supply Chain) หมายถึง การจัดการกลุมทรัพยากรและกระบวนการ<br />

ตาง ๆ ใหดําเนินการอยางสอดคลองเปนกระบวนการเดียวกัน ตั้งแตการจัดหาวัตถุดิบและจบลงดวย<br />

การจัดสงสินคาใหแกผูบริโภคปลายทาง กระบวนการดังกลาวครอบคลุมถึงผูคา สถานที่ผลิต ผู<br />

ใหบริการดานลอจิสติกส ศูนยกระจายสินคาภายใน ผูกระจายสินคา ผูคาสงและตัวกลางการคาอื่น ๆ<br />

ผูใหบริการโลจิสติกสลําดับที่ 3 (Third Party Logistics Service Provider: <strong>3PL</strong>) หมายถึง<br />

การใชองคการภายนอกในการปฎิบัติงานดานโลจิสติกส ซึ่งอาจจะเปนการจัดหา เพื่อการดําเนิน<br />

การทั้งหมดหรือเลือกใชเฉพาะบางกิจกรรม ซึ่งบริษัทเหลานั้นอาจมีการกิจกรรมการใหการบริการ<br />

ดานโลจิสติกสหลากหลายกิจกรรม แตจะมีกิจกรรมหลัก (Core Business) หรือมีความเชี่ยวชาญหลักของ<br />

ธุรกิจอยางใดอยางหนึ่ง<br />

ผูใหบริการโลจิสติกสลําดับที่ 4 (Fourth Party Logistics Service Provider: <strong>4PL</strong>)<br />

หมายถึงผูใหบริการโลจิสติกสในระดับที่มีการบูรณาการสูงมาก จะเปนผูรับผิดชอบบริหารจัดการ<br />

ควบคุมผูใหบริการ <strong>3PL</strong> ในแตละรายใหสามารถเชื่อมโยงการทํางาน คือทําหนาที่เปนตัวแทนของ<br />

ผูรับบริการในการควบคุมและกํากับ <strong>3PL</strong> ใหปฏิบัติไปตามขอตกลง ซึ่งไดมีสัญญาไวกับผูรับบริการ<br />

ปจจัยการเปลี่ยนแปลงของ 3P L คือ แรงจูงใจซึ่งเปนปจจัยของการเปลี่ยนการจัดการสู<br />

แบบ <strong>4PL</strong> มี 6 ประการซึ่งมีดังตอไปนี้


ดานการลดตนทุน คือ ลดตนทุนดานการปฏิบัติการ ลดตนทุนดําเนินงานและลดตนทุน<br />

คงที่ดวยการทํางานที่มีความสัมพันธกัน มีการวางแผนที่ดี และการปฏิบัติอยางมีประสิทธิภาพ<br />

ดานการเพิ่มมูลคาในการใหบริการ คือ ใหบริการที่มากกวามาตรฐานของกิจกรรมนั้นๆ<br />

ดานการขจัดปญหาตางๆ ของ <strong>3PL</strong> คือ การลงทุนในสินทรพยถาวรเปนหลัก ทําใหขาด<br />

ความยืดหยุน<br />

ดานประสิทธิภาพของการสื่อสารขอมูล คือ การใชประโยชนของการสื่อสารขอมูลใน<br />

การจัดการระหวางผูใหบริการภายนอกตางๆ (Out sources) ในหวงโซอุปทานเดียวกัน ซึ่งจะนําไปสู<br />

ความไดเปรียบในดานการลื่นไหลของสินคาหรือบริการ ชวยใหสามารถขนสงสินคาไดอยาง<br />

รวดเร็วขึ้นและลดคาใชจายในธุรกิจสินคาอุปโภคบริโภค การสื่อสารขอมูลสามารถลดตนทุนดาย<br />

แรงงาน และลดความผิดพลาดตางๆ ที่อาจเกิดโดยคน<br />

ดานการจัดการและการประสานความรวมมือ คือ การประสานความรวมมือและการ<br />

เปลี่ยนแปลงดานการจัดการระหวางผูใหบริการในหวงโซอุปทานเดียวกัน<br />

ดานลีนและความคลองตัว คือ ความคลองตัว (Agility) เปนการใชความรูความสามารถ<br />

ดานการตลาดและการประสานงาน ทําใหเกิดประโยชน และโอกาสในตลาดที่มีความไมแนนอน มี<br />

การเปลี่ยนแปลงสูง และรวดเร็ว องคกรจะตองมีความยืดหยุน (Flexible) และความรวดเร็ว (Speed)<br />

ไปดวยพรอมๆ กัน ขณะที่ลีน (Leanness) เปนการพัฒนาทั้งกระบวนการในการขจัดของเสียตางๆ<br />

รวมทั้งดานเวลา<br />

การพัฒนาการจัดการดานโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong> เปนดัชนีที่ใชวัดความสําเร็จ ของ<br />

การพัฒนาการใหบริการดานโลจิสติกส ประกอบไปดวย<br />

คุณภาพ (Quality) คือ การดําเนินกิจกรรมใดๆ แลวไดผลลัพธตามที่กําหนดเอาไว<br />

ตนทุน (Cost) คือ ตนทุนที่เกิดขึ้นจากการดําเนินกิจกรรม เพื่อตอบสนองตอความ<br />

ตองการของลูกคา<br />

การบริการ (Service) คือ ธุรกิจที่สามารถดําเนินกิจกรรมที่ตอบสนองตอความตองการ<br />

ของลูกคาเพื่อสรางความพึงพอใจแกลูกคา<br />

เวลานํา (Lead time) คือ เวลาที่ใชในการตอบสนองตอความตองการของลูกคาดานการ<br />

พัฒนาเครือขายทั้งแนวตั้งและแนวนอน หมายถึง กระบวนการภายในบริษัทของผูใหบริการที่<br />

สามารถเพิ่มพูนคุณคาของลูกคาไดโดยจัดจางผูใหบริการโลจิสติกสภายนอก มีทักษะในการจัดการ<br />

เครือขาย และการสรางความสัมพันธอันดีในการประสานงาน และพัฒนาทักษะของการดําเนินงาน<br />

7


บทที่ 2<br />

เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ<br />

ในการศึกษาการปจจัยที่มีอิทธิพลตอการพัฒนาการจัดการดานโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู<br />

<strong>4PL</strong> ของบริษัทผูใหบริการดานโลจิสติกส ในเขตกรุงเทพมหานคร ผูวิจัยไดแบงกลุมเนื้อหา ทฤษฎี<br />

และงานวิจัยที่เกี่ยวของออกเปนดังตอไปนี้<br />

1. แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส<br />

1.1 ความหมายของโลจิสติกส<br />

1.2 กิจกรรมดานโลจิสติกส<br />

1.3 การพัฒนาดานโลจิสติกส<br />

1.4 การแบงขอบเขตของการใหบริการของผูใหบริการ<br />

1.5 ขอแตกตางระหวางการจัดการแบบ <strong>3PL</strong> และ <strong>4PL</strong><br />

1.6 ประโยชนของการใชบริการ <strong>3PL</strong> และ <strong>4PL</strong><br />

1.7 ปญหาและอุปสรรคที่เกิดจากการใชบริการของ <strong>3PL</strong> และ <strong>4PL</strong><br />

2. อุตสาหกรรมโลจิสติกสในประเทศไทย<br />

3. ทฤษฎีการสงมอบคุณคาแกลูกคา<br />

4. ทฤษฎีการสรางคุณคาของเบอรกลุนด<br />

5. งานวิจัยที่เกี่ยวของ<br />

6. กรอบแนวคิดของการวิจัย<br />

7. สมมติฐานการวิจัย


9<br />

แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวของการจัดการโลจิสติกส<br />

1. ความหมายของโลจิสติกส<br />

โลจิสติกส (Logistics) หมายถึง กระบวนการในการการวางแผน ดําเนินการ และ<br />

ควบคุมประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการไหลลื่นของการจัดเก็บวัตถุดิบ สินคาคงคลัง สินคา<br />

สําเร็จรูป และสารสนเทศที่เกี่ยวของจากจุดเริ่มตนไปยังจุดที่มีการใชงาน โดยมีเปาหมายเพื่อ<br />

สอดคลองกับเวลาและความตองการของผูบริโภค (ธนิต โสรัตน. 2550 : 7)<br />

การจัดการโลจิสติกส (Logistics Management) คือกระบวนการวางแผน การ<br />

สนับสนุน การควบคุมการไหลอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล และการจัดเก็บสินคา การ<br />

บริการ กับสารสนเทศที่เกี่ยวของจากจุดเริ่มตนไปยังจุดสุดทาย เพื่อใหสอดคลองกับความตองการ<br />

ของลูกคา (คํานาย อภิปรัชญาสกุล. 2546 : 14 )<br />

การจัดการหวงโซอุปทาน (Supply Chain Management) เปนกิจกรรมเกี่ยวกับการ<br />

วางแผน การปฏิบัติการ การติดตาม และประเมินผลของกิจกรรมในโซอุปทาน โดยมีวัตถุประสงค<br />

ในการสรางคุณคาในทุกขั้นตอนการผลิต ปรับอุปทานใหสอดคลองกับอุปสงค ยกระดับงานใหเปน<br />

สากล อาทิ ISO และ GMP ฯลฯ ซึ่งการจัดการโซอุปทานที่มีประสิทธิภาพจะมีผลใหเกิดการ<br />

ไหลเวียนของ สิ่งสําคัญสามสิ่งในการผลิต ไดแก การไหลเวียนของสินคาและบริการ (Physical<br />

Flow) การไหลเวียนของขอมูลสารสนเทศ (Information Flow) และการไหลเวียนของเงินทุน (Fund<br />

Flow) อยางมีประสิทธิภาพ (กฤษฎ ฉันทจิรพร. 2547:5)<br />

การจัดการหวงโซอุปทาน (Supply Chain Management) เปนการบริหารกระบวนการ<br />

ตาง ๆ ในซัพพลายเชน ซึ่งตองอาศัยความรวมมือรวมใจในการทํางานกันอยางใกลชิดในขั้นตอน<br />

ตาง ๆ ที่เชื่อมโยงเกี่ยวของกันทั้งในองคกรและนอกองคกรเปนสําคัญ จึงจะทําใหระบบซัพพลาย<br />

เชนมีประสิทธิภาพ อันจะมีผลตอการสรางความพึงพอใจใหแกลูกคาในที่สุด<br />

2. กิจกรรมดานโลจิสติกส<br />

คํานาย อภิปรัชญาสกุล (2537:10) ไดใหความหมายของกิจกรรมดานโลจิสติกสวา<br />

กิจกรรมเกี่ยวกับการจัดการการไหลของสินคา ซึ่งเริ่มจากแหลงของการจัดหาวัสดุ (Source of<br />

supply) และจบลงที่จุดการบริโภค มูลนิธิลอจิสติกสและการขนสง (2550 : 1-3) ไดจําแนกกิจกรรม<br />

ทางดาน โลจิสติกส ไว 13 กิจกรรมดังนี้<br />

1. การบริการลูกคา (Customer service)<br />

2. การพยากรณอุปสงค (Demand forecasting)


3. การจัดการสินคาคงคลัง (Inventory management)<br />

4. การสื่อสารดานกิจกรรมโลจิสติกส (Logistics communications)<br />

5. การขนถายวัสดุ (Material handling)<br />

6. การดําเนินการกับคําสั่งซื้อ (Order processing)<br />

7. การบรรจุภัณฑ (Packaging)<br />

8. การบริการหลังการขาย ชิ้นสวนอะไหล (Parts and service support)<br />

9. การเลือกที่ตั้งของโรงงานและคลังสินคา (Plant and warehouse site selection)<br />

10. การจัดหาสินคา วัตถุดิบและบริการ (Procurement)<br />

11. กิจกรรมโลจิสติกสยอนกลับ (Reverse logistics) เชน รับคืนสินคา กําจัดของเหลือ<br />

ใชในกระบวนการ<br />

12. การจราจรและขนสง (Traffic and transportation)<br />

13. การบริหารคลังสินคาและการจัดเก็บ (Warehousing and storage)<br />

นอกจากนี้ แตละกิจกรรมยังมีรายละเอียดเฉพาะของการบริหารจัดการกิจกรรมยอย<br />

นั้นๆ ที่แตก ตางกันไปตามพื้นฐานของแตละอุตสาหกรรม แตละลักษณะสินคา เชน กิจกรรมขนสง<br />

ยังมีรายละเอียดขึ้นอยูกับลักษณะของสินคาที่ขนสง เชน อาหาร (อาหารสด อาหารแหง อาหารแช<br />

เย็น อาหารแชแข็ง ฯลฯ อาหารแตละชนิดก็ยังมีมาตรฐานเรื่องการขนสงแตกตางกันมากหลาย<br />

ประเด็น) วัตถุอันตราย (Hazardous Goods) สินคาเทกอง สินคาบรรจุตูคอนเทนเนอร เปนตน<br />

นโยบายของรัฐบาล ที่ไดใหความสําคัญกับการพัฒนาระบบโลจิสติกสของชาติ มีการกําหนด<br />

ยุทธศาสตรเพื่อการพัฒนาระบบโลจิสติกสของไทยหลายดาน อาทิ รางแผนแมบทการพัฒนาโลจิ<br />

สติกสของประเทศไทย ของสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ,<br />

พฤษภาคม 2548 การพัฒนาธุรกิจผูใหบริการโลจิสติกส (Logistics Service Provider หรือ LSP) ถูก<br />

จัดใหเปนประเด็นยุทธศาสตร (Strategic Agenda) ที่สําคัญอีกขอหนึ่งที่จะตองเขาไปดําเนินการ<br />

พัฒนา โดยมีกลยุทธหลัก (Strategic Directions) 3 ขอ ดังนี้<br />

1. สงเสริมธุรกิจผูใหบริการโลจิสติกส มีแนวทางคือ<br />

1.1 มาตรการจูงใจทางการเงิน<br />

1.2 การปรับปรุงกฎหมาย<br />

2. ยกระดับมาตรฐานการใหบริการของผูใหบริการโลจิสติกส มีแนวทางคือ<br />

2.1 พัฒนาศักยภาพผูใหบริการโลจิสติกสทั้งภาครัฐ และเอกชน ใหสามารถขยาย<br />

ขอบเขตการใหบริการในงานที่มีมูลคาเพิ่มสูงขึ้น (High Value-Added)<br />

2.2 สงเสริมใหมีเครือขายธุรกิจระหวางกลุมผูใหบริการโลจิสติกส เพื่อลดตนทุน<br />

10


ดวย การใชทรัพยากรรวมกัน (Cost Sharing) และแลกเปลี่ยนถายทอดองคความรู (Knowledge<br />

Transfer) กัน<br />

3. สนับสนุนใหผูประกอบการธุรกิจ โดยเฉพาะวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม<br />

(SMEs) หันมาใชบริการของผูใหบริการโลจิสติกส มีแนวทางคือ<br />

3.1 สงเสริมใหภาคธุรกิจ โดยเฉพาะวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม (SMEs) มี<br />

ความรูความเขาใจเกี่ยวกับธุรกิจใหบริการโลจิสติกส<br />

3.2 สงเสริมใหมีการรวมกลุมของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม (SMEs)<br />

เพื่อใชบริการดานโลจิสติกสรวมกัน<br />

นอกจากรายละเอียดตามรางแผนแมบทการพัฒนาโลจิสติกสของประเทศไทย ขางตน<br />

แลว เมื่อวันที่ 17 เมษายน 2549 สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติได<br />

ผานความเห็นชอบตอยุทธศาสตรการพัฒนาโลจิสติกสของประเทศไทย พ.ศ. 2549-2553 ซึ่งการ<br />

พัฒนาธุรกิจผูใหบริการโลจิสติกส ก็ยังคงเปนประเด็นยุทธศาสตร เชนเดิม แตไดเนนเรื่องการ<br />

ยกระดับมาตรฐานการใหบริการของผูใหบริการโลจิสติกสไทย ใหสามารถแขงขันไดในระดับ<br />

สากลและในประเภทที่มีมูลคาเพิ่มสูง โดยมีกลยุทธหลัก 2 ขอ ที่ไดกําหนดไวในยุทธศาสตร พ.ศ.<br />

2549-2553 ดังนี้<br />

1. สงเสริมใหเกิดการรวมลงทุนและ ความรวมมือเชิงพันธมิตร (Strategic Alliance)<br />

ระหวางผูใหบริการของไทย และระหวางผูใหบริการของไทยกับ ผูใหบริการขนาดเล็กหรือขนาด<br />

กลางของตางประเทศ มีแนวทางดังนี้<br />

1.1 สนับสนุนบทบาทองคกรภาควิชาการ สมาคมภาคเอกชนและสมาพันธ<br />

โลจิสติกสไทย ในการสรางเครือขายความรวมมือ (Partnership) ในการแลกเปลี่ยนขอมูลความรู<br />

และ การใช ทรัพยากรรวมกัน<br />

2. สงเสริมการพัฒนาธุรกิจใหบริการโลจิสติกสเฉพาะดาน ตามความตองการของ<br />

ธุรกิจในประเทศ มีแนวทางดังนี้<br />

2.1 พัฒนาบุคลากร ทํากิจกรรมสงเสริมธุรกิจในรูปแบบตางๆ<br />

2.2 ปรับปรุงหลักเกณฑเกี่ยวกับการสงเสริมการลงทุน และกฎระเบียบอื่นที่<br />

เกี่ยวของใหเอื้อตอการลงทุนและขยายกิจการของเอกชน<br />

ตัวชี้วัดเหลานี้ ตองการสะทอนถึงเปาหมายสูงสุดของกลยุทธการพัฒนาธุรกิจ<br />

ผูใหบริการโลจิสติกส ซึ่งเปนตัวชี้วัดเชิงมหภาคหรือภาพรวมของทั้งประเทศ ที่แสดงเฉพาะผลลัพธ<br />

ขั้นสุดทาย (Ultimate Results) เทานั้น ยังขาดตัวชี้วัดสนับสนุนที่จะชวยใหทราบถึงผลการ<br />

ปฏิบัติงานในกิจกรรมตางๆ ดานโลจิสติกสของผูใหบริการ เพื่อที่จะนําไปสูการพัฒนากระบวนการ<br />

11


สงมอบบริการใหดียิ่งขึ้น จึงเปนสิ่งสําคัญอยางยิ่งที่จะตองมีตัวชี้วัดการบริหารจัดการที่ดี (Best<br />

Practice) ทางดานโลจิสติกสของผูใหบริการฯ เพื่อสนับสนุนการบรรลุเปาหมายสูงสุดของการ<br />

พัฒนาธุรกิจ ผูใหบริการโลจิสติกส ของไทย โดยเฉพาะการยกระดับมาตรฐานการใหบริการของผู<br />

ใหบริการโลจิสติกส เพื่อตอบสนองความตองการของธุรกิจในประเทศ และการสงเสริมให<br />

ผูประกอบการธุรกิจในประเทศ ใชบริการจากผูใหบริการโลจิสติกส ที่ผูถือหุนสวนใหญเปนคนไทย<br />

กันมากขึ้น<br />

มูลนิธิลอจิสติกสและการขนสง (ประเทศไทย) และกระทรวงการตางประเทศ. (2550:<br />

6) ระบุวาปจจุบันการใชบริการดานโลจิสติกสจากผูเชี่ยวชาญภายนอกองคกร (Logistics<br />

Outsourcing) เปนที่นิยมอยางแพรหลายทั่วโลก การมอบหมายภาระการบริหารจัดการระบบ<br />

โลจิสติกสของสินคาแกผูใหบริการดานโลจิสติกส จะชวยใหผูประกอบการสามารถมุงเนนกับการ<br />

พัฒนากิจกรรมหลักในของธุรกิจตนเอง(Core Competencies) โดยผูใหบริการโลจิสติกส จะใช<br />

ความรูความชํานาญและความไดเปรียบ ทางดานเครื่องมือและเครือขายในการดําเนินกิจกรรม<br />

โลจิสติกสแบงเบาภาระของผูประกอบการ การใชบริการจากผูใหบริการโลจิสติกส ที่มีระดับ<br />

คุณภาพบริการที่ดี มีประสิทธิภาพ จะชวยลดตนทุนโลจิสติกส และสามารถตอบสนองความ<br />

ตองการของลูกคาไดเปนอยางดีอันจะสงผลตอการเพิ่มศักยภาพ ในการแขงขันของตัวสินคาจาก<br />

แรงผลักดันของโลกาภิวัฒน (Globalization) และการเปดเสรีทางการคา (Free Trade) ปจจุบันมีผู<br />

ใหบริการดานโลจิสติกสในระดับสากลที่ใหบริการในหลายประเทศ (Multinational Companies) อยู<br />

เปนจํานวนมาก ผูใหบริการดานโลจิสติกสแตละรายเสนอรูปแบบของการใหบริการที่แตกตางกัน<br />

ไป ขึ้นอยูกับความชํานาญและความพรอมของเครือขายและอุปกรณ โดยอาจดําเนินกิจกรรมใด<br />

กิจกรรมหนึ่งเทานั้นหรือผสมผสานหลากหลายบริการเขาดวยกัน จึงมีรูปแบบธุรกิจ (Business<br />

Model) ที่แตกตางกัน และมีชื่อเรียกตางๆ ไดแก <strong>3PL</strong>, <strong>4PL</strong>, LLP, LSP แตละคํามีความหมายที่<br />

ตางกัน แมแตคําเดียวกันก็มีผูใหความหมายตางกันดวย ขอบเขตของการใหบริการ และรูปแบบของ<br />

การดําเนินธุรกิจ โดยมีรายละเอียดดังนี้<br />

สมาคมวิจัยอัลฟา (Alpha Research Consortium. 2004 : 15-16) ไดกลาววาโลจิสติกส<br />

และหวงโซอุปทานการใหบริการจากภายนอก เปนขอสรุปประการเดียวของธุรกิจที่เกี่ยวของ<br />

โดยตรงกับการพัฒนาของหวงโซอุปทาน ในปจจุบันการใหบริการจากภายนอกมีการเปลี่ยนแปลง<br />

ที่รวดเร็วมาก จากการใหบริการเฉพาะอยางมาเปนการใหบริการที่หลากหลายมากขึ้น มีการทํา<br />

สัญญารวมกันของบริษัทใหบริการในอยางเดียวกัน หรือ หลายๆอยางกลายเปน การรวมผูใหบริการ<br />

ดานโลจิสติกส ณ จุดนี้เปนเหมือนจุดสุดยอดของการพัฒนาการใหบริการจากภายนอกจากการเปน<br />

เพียงรูปแบบธุรกิจดานโลจิสติกสธรรมดา กลายมาเปนตลาดการใหบริการที่ใหญขึ้น (Market<br />

12


13<br />

Place)<br />

ประโยชนที่ไดจากการมีความหลากหลายของผูใหบริการภายนอก คือไมมีการลงทุน<br />

เพิ่มนั่นเอง และทําใหหวงโซอุปทานของบริษัทมีขีดความสามารถดียิ่งขึ้น สรางโอกาส เพิ่มผล<br />

ประกอบการ ระหวางบริษัทเองและคูแขงขัน ขั้นแรกของการปฏิบัติเพื่อชวยใหดีขึ้น และสนับสนุน<br />

ใหเกิดเปน การปฏิบัติงานชั้นยอด (Operational Excellence) ขั้นตอไปบริษัทก็จะสามารถสรางเปน<br />

หวงโซอุปทานแบบบูรณาการ และ การมีสวนรวม (Supply Chain Integration and Collaboration)<br />

ซึ่งเปนผลใหเกิดมูลคาเพิ่มแกลูกคา และ บริษัทคูคา หลังจากที่เกิดความชํานาญในกิจกรรมตางๆ<br />

ของหวงโซอุปทานทั่วทั้งบริษัทแลว หวงโซอุปทานเสมือน (Virtual Supply Chain) และ รูปแบบ<br />

ธุรกิจแนวจะเกิดขึ้น ซึ่งจะเปนการสรางรายได และโอกาสในการสรางผลกําไร<br />

ธนิต โสรัตน (2550 : 40-41) ไดรวบรวมความหมายเอาไว<br />

1. ผูรับเหมาตอชวง (Subcontractor) เปนรูปแบบการใหบริการแบบดั้งเดิมโดยการ<br />

ตัดชวงงาน ซึ่งมีการแบงงานที่ไมซับซอนใหกับผูใหบริการภายนอกรับเหมาไปจัดการ ซึ่งอาจเปน<br />

งานที่เกี่ยวของกับผูประกอบ การในลักษณะที่ไมตองใชแรงงาน ทักษะ หรือเทคโนโลยีมากนัก<br />

หรือเปนงานที่ใชความเสี่ยงที่สูงซึ่งจะเปนการประหยัดกวาใหผูใหบริการภายนอกรับงานไป<br />

2. ผูจัดหาที่มีการลงทุนเอง (Prime Asset Provider) ผูจัดหาที่มีการลงทุนเอง จะมี<br />

การจัดการแบบหนึ่งตอหนึ่ง (One-to-one contract) กับลูกคาอยาง เชน การขนสง คลังสินคา การหีบ<br />

หอ และการควบคุบสินคาคงคลัง ซึ่งเปนกิจกรรมพื้นฐานของ <strong>3PL</strong><br />

3. Logistics Provider เปนลักษณะของการใหบริการจัดการงานในสวนที่เกี่ยวของ<br />

กับ โลจิสติกส โดยงานที่ใหบริการจะเปนกิจกรรมที่สัมพันธเปนกระบวนการ ซึ่งลักษณะงานจะมี<br />

ความซับซอนกวาSubcontract ตองใชทักษะความชํานาญเฉพาะดานและเทคโนโลยี แตการ<br />

มอบหมายงาน ยังมีลักษณะไมเปนเชิงบูรณาการ โดยผูวาจาง (User) อาจใช Provider หลายราย โดย<br />

ผูวาจางยังคงเขาไปมีสวนในการบริหารจัดการ เพื่อใหงานซึ่งมอบหมายใหกับ Logistics Provider<br />

แตละรายมีการเชื่อมโยงกัน<br />

4. ผูใหบริการงานที่เกี่ยวกับโลจิสติกสลําดับที่ 3 (Third Party Logistics :<strong>3PL</strong>) เปน<br />

ซึ่งการใหบริการจะตองอาศัยทักษะและเครือขายธุรกิจในระดับ Global Network โดยมีเครื่องมือ<br />

เครื่องใช เทคโนโลยีและการลงทุน ลักษณะงานที่ใหบริการจะมีขอบเขตความรับผิดชอบที่<br />

กวางขวาง โดยเปนตัวแทนของผูวาจาง (User) กับลูกคาหรือคูคา และมีการเชื่อมโยงมีความเปน<br />

บูรณาการ โดยผูใชบริการจะเปนReal User คอนขางแทจริง ผูใหบริการลักษณะนี้ไดจะตองมีการ<br />

ลงทุนที่สูง โดยเฉพาะจะตองมีเครือขายในระดับโลก Council of Supply Chain Management<br />

Professionals (CSCMP) นิยาม <strong>3PL</strong> วาเปนบริษัทที่ใหบริการดานโลจิสติกสหลายอยาง แตจะมี


กิจกรรมหลัก (Core Business) หรือมีความเชี่ยวชาญหลักของธุรกิจอยางใดอยางหนึ่งโดยนําเสนอบริการ<br />

เหลานี้แบบเบ็ดเสร็จหรือเปนชุดแพ็คเกจบริการ ไดแก การขนสง, คลังสินคา, Cross-Docking,<br />

บริหารสินคาคงคลัง, บรรจุภัณฑ และFreight Forwarding<br />

5. ผูใหบริการงานดานโลจิสติกสลําดับที่ 4 (Fourth Party Logistics :<strong>4PL</strong>) หรือจัด<br />

จางแบบครบวงจร ซึ่งเปนผูใหบริการโลจิสติกสในระดับที่มีการบูรณาการสูงมาก จะเปน<br />

ผูรับผิดชอบบริหารจัดการ ควบคุมผูใหบริการ <strong>3PL</strong> ในแตละรายใหสามารถเชื่อมโยงการทํางาน คือ<br />

ทําหนาที่เปนตัวแทนของผูรับบริการในการควบคุมและกํากับ <strong>3PL</strong> ใหปฏิบัติไปตามขอตกลง ซึ่งได<br />

มีสัญญาไวกับ ผูรับบริการ<br />

สําหรับ <strong>4PL</strong> นั้น ผูใหกําเนิดความคิดนี้คือบริษัทที่ปรึกษาชื่อ Accenture (ตามชื่อเดิม<br />

คือ Andersen Consulting) โดย บอบ อีวานส (โจฮาน คิตเติล. 2003 : 2-3) ซึ่งใหนิยาม <strong>4PL</strong> วาเปนผู<br />

ที่นําเอาทรัพยากร ทักษะความสามารถ และเทคโนโลยี ทั้งของตนเองและของผูใหบริการรายอื่นๆ<br />

มาผสมผสานกัน เพื่อใหเกิดการสงมอบบริการดาน Supply Chain ไดอยางครอบคลุมทั่วถึง<br />

เนื่องจากหลักการพื้นฐานที่โซอุปทานสมัยใหมเปนโครงขายที่สลับซับซอนและกระจายไปทั่วโลก<br />

มากขึ้น ความสามารถในการบริหารทั้งโครงขายเปนเรื่องยากที่จะผูใหบริการดานโลจิสติกสจะ<br />

ดําเนินงานไดเองโดยลําพังเพียงบริษัทเดียว ทั้งนี้รูปแบบองคกรของ <strong>4PL</strong> มักจะจัดตั้งขึ้นในลักษณะ<br />

Joint Venture หรือทําสัญญาระยะยาวระหวางบริษัทผูใหบริการกับผูใชบริการ มีการโอนบุคลกรที่<br />

เคยปฏิบัติงานดานโลจิสติกสในระบบเดิม เขามายัง <strong>4PL</strong> ที่จัดตั้งขึ้นนี้ และการบริหารดาน<br />

กระบวนการการจัดการทางธุรกิจ (Business Process Management) <strong>4PL</strong> จะถูกกําหนดวาเปนจุด<br />

เดียว (Single Point) หรือ ที่มีการเรียกใน สมาคมวิจัยอัลฟา (2004:30) ไดวา การใชบริการโดยผาน<br />

จุดเดียว (One-Stop-Shopping) ซึ่งบริหารและรวบรวม (Integrated) การใชทรัพยากรทุกประเภท<br />

อยางรวมถึงดูแลควบคุมหนาที่ของ <strong>3PL</strong> ตลอดทั้งโซอุปทานโดยคํานึงถึงการตอบสนองตอตลาด<br />

อยางเดียว (Global Market) เกิดขอไดเปรียบเชิงกลยุทธ และสรางความสัมพันธแบบยั่งยืน<br />

(เกททอรนา. 1998 : 76-83, อางถึงใน ตรีทศ เหลาศิริหงษทอง. 2548 : 59)<br />

สวน LLP ยอมาจาก Lead Logistics Provider มีรูปแบบการดําเนินธุรกิจคลายกับ <strong>4PL</strong><br />

กลาวคือ LLPเปนผูเขาไปเสนอใหบริการดานโลจิสติกสโดยตรงตอผูใชบริการ (Lead) จากนั้นก็จะ<br />

ทําการวาจางตอ (Sub-Contract) โดยที่ตัว LLP เองจะเปนเพียงผูควบคุม Sub-Contractors<br />

ยกตัวอยางบริษัทในไทย ไดแกบริษัท Cement Thai Logistics (CTL)<br />

ผูใหบริการโลจิสติกสภายนอก (Logistics Service Provider LSP) หมายถึง ผู<br />

ใหบริการภายนอกบริษัท ที่นําเสนอบริการบางกิจกรรมหรือทุกกิจกรรมของโลจิสติกสแก<br />

ผูรับบริการ (Lieb, R. and Kendrick, S. อางถึงในมูลนิธิลอจิสติกสและการขนสง (ประเทศไทย)<br />

14


และกระทรวงการตางประเทศ. 2550 : 7) ตามความหมายนี้ LSP จะครอบคลุมผูใหบริการดานโลจิ<br />

สติกสทุกประเภทที่ไดกลาวถึงขางตน โดยไมไดเจาะจงวาเปน <strong>3PL</strong>, <strong>4PL</strong> หรือ LLP<br />

6. ผูใหบริการโลจิสติกสลําดับที่ 5 ( Fifth Party Logistics : 5 PL) เปนธุรกิจที่ถูก<br />

พัฒนาเพื่อการ ใหบริการตลาดอิเล็กทรอนิกส (e-Business Market) ซึ่งทั้งผูจัดหา <strong>3PL</strong> และ <strong>4PL</strong><br />

เหลานี้จะทําการบริหารผูมีสวนรวมทุกฝายในโซอุปทานผานทางพาณิชยอิเล็กทรอนิกส (e-<br />

Commerce) โดยกุญแจสําคัญที่จะประสบความสําเร็จในดานนี้คือ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ<br />

(Information Technology) (ตรีทศ เหลาศิริหงษทอง. 2548 : 59)<br />

7. การรวมตัวกันของผูใหบริการทุกฝายที่เกี่ยวของ ที่เรียกวา JSC (Joint Service<br />

Company) JSC เปนรูปแบบใหมที่มีการเปลี่ยนแปลงโครงรางของการจัดการขนานใหญ ในการ<br />

เปลี่ยนแปลงนี้มักจะมีบริษัทที่เขามารวมงานในเชิงกลยุทธ (Strategy partnership) ตั้งแต 2 บริษัทขึ้น<br />

ไป ทําใหสามารถครอบคลุมความตองตางๆไดครบถวน JSC มีการประสานงานที่มีประสิทธิภาพใน<br />

แตละสวนของตนเอง และระหวางบริษัท หลอหลอมไปดวยวัฒนธรรมแหงความคิดสรางสรรค<br />

ลักษณะเดนอีกอยางของ JSC คือ การใหความสําคัญดานวิศวกรรมการเงิน ซึ่ง JSC จะเปนการ<br />

รวมมือและรวมบริหารงานของบริษัทผูใหบริการดานซัพพลายเชนและเปนรูปแบบองคกรที่มี<br />

"นวัตกรรม" ใหมๆ อยูเสมอ โดยองคกรนี้จะใหบริการดานซัพลาย เชนที่เปนแบบ one stop shop<br />

สําหรับลูกคา<br />

"รูปแบบธุรกิจโมเดลใหมนี้จะมาแทนที่ <strong>4PL</strong> ในอนาคต จะเปนการรวมตัวกันของผู<br />

ใหบริการในดานตาง ๆ อาทิเชน ผูใหบริการดานเทคโนโลยี สถาบันการเงิน และผูใหบิรการดาน<br />

โลจิสติกส รวมตัวกันเปนองคการแบบ JSC"<br />

ทวาการปรับระบบดําเนินการในบริษัทใหมนั้น ไมใชเรื่องงายสําหรับผูบริหาร เพราะ<br />

นักลงทุนหรือผูถือหุนของบริษัทนั้นลวนตองการความเชื่อมั่นวา โมเดลการดําเนินงานแบบใหม<br />

จะตองมีประสิทธิภาพและคุมกับเงินที่ตองเสียไป การเปลี่ยนแปลงดังกลาวจึงอาจจะมีความเสี่ยงอยู<br />

บาง แตวาการไมเปลี่ยนแปลงอะไรเลย และบริหารแบบเดิมไปเรื่อย นั้น มีความเสี่ยงมากกวา<br />

8. โครงขายหุนสวนเสมือน (Virtual Network Consortia :VNC) VNC จะเกิดขึ้นจาก<br />

การเตรียมระหวางผูประกอบการตางๆ ที่ตองการจะทําใหเกิดเปนหนึ่งเดียวเพื่อตอบสนองความ<br />

ตองการอุตสาหกรรมนั้นๆ โดยเฉพาะ รูปแบบของธุรกิจแนวใหมในหวงโซอุปทานนี้ แตกตางไป<br />

จากรูปแบบของธุรกิจที่เปนอยูในวันนี้ กลยุทธของธุรกิจแนวใหมนี้คือ กําหนดแนวทางที่เกิด<br />

ประโยชนตอการแขงขัน เนื่องจากการดําเนินธุรกิจในหวงโซอุปทานไมมีความราบเรียบหรือมี<br />

ความไมแนนอนอยูตลอดเวลา และมีการรวมกลุมพันธมิตรกันมากขึ้น VCN สามารถที่จะ<br />

ดําเนินการครอบคลุมพื้นที่ไดทั่วทั้งโลก โดยมีการโครงขายขององคกร และองกรคเหลานั้นสามารถ<br />

15


16<br />

ที่จะพัฒนาและเขาถึงหวงโซอุปทานได รูปแบบของธุรกิจแนวใหมนี้ตองที่จะปรับทัศนคติจากการ<br />

มุงการปฏิบัติเพียงอยางเดียวเปนหลัก (Functional mind-set) มาเปน ระบบการผสมผสานการปฏิบัติ<br />

หลายๆอยาง (Cross-function systemic) ทําใหเกิดเปนการรวม ระบบการบูรณาการเขาดวยกัน<br />

VCNจะมีการใชความสามารถ อันหลากหลายของผูผลิต (Suppliers of product) เทคโนโลยีที่<br />

ทันสมัย และกระบวนการที่มีความเชี่ยวชาญ VNC เปนองคกร ที่มีโครงที่สามารถปรับเปลี่ยน และ<br />

มีความยืดหยุนสูง (สมาคมวิจัยอัลฟา. 2004 : 19)<br />

3. การพัฒนาดานโลจิสติกส<br />

การอธิบายการทํางานและความสัมพันธของ <strong>4PL</strong> กับ <strong>3PL</strong> สามารถแสดงไดดังรูป ซึ่ง<br />

จะเห็นวาลูกคาสามารถติดตอและใชบริการจาก <strong>3PL</strong> หลายๆ <strong>3PL</strong> ไดโดยผานการจัดการของ <strong>4PL</strong><br />

เพียงชองทางเดียว ซึ่งอาจจะเรียกไดวา การใชบริการโดยผานจุดเดียว (One-Stop-Shop) (สมาคม<br />

วิจัยอัลฟา. 2004 : 14)<br />

โชคชัย กิจเกษมทวีสิน (2548:2-3) กลาววา สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการ<br />

เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ไดประมวลการพัฒนาระบบโลจิสติกสจากการศึกษาวิเคราะหระดับ<br />

การพัฒนาระบบโลจิสติกสของประเทศตาง ๆ ไดรวม 4 ขั้นตอน ดังนี้<br />

1. การขนสงสินคา (Physical Distribution) เปนการใหความสําคัญเฉพาะดานของ<br />

การขนสงสินคาจากผูผลิตไปยังผูบริโภค โดยอาจครอบคลุมกิจกรรมตางๆไดแก การขนสง การเก็บ<br />

สินคา การจัดการวัสดุ และการบรรจุหีบหอ เพื่อปองกันการสูญเสียระหวางการขนสง การพัฒนา<br />

ระดับนี้ยังไมมุงเนนการลดตนทุนในสวนที่เปนสินคาคงคลังที่เปนวัตถุดิบและสินคาระหวางผลิต<br />

2. การเชื่อมโยงการจัดการภายในบริษัท (Internally Integrated Logistics) เปนการ<br />

พัฒนาที่รวมกิจกรรมโลจิสติกสที่เกิดขึ้นกอนกระบวนการผลิต มีการเชื่อมโยงการจัดการภายใน<br />

บริษัทตั้งแตการจัดซื้อวัตถุดิบจนถึงการจัดสงถึงผูบริโภค โดยมีจุดมุงหมายในการเปลี่ยนจากการลด<br />

สินคาคงคลังเปนเพิ่มความถี่ในการระบายสินคา การพัฒนาในขั้นตอนนี้จะมีการใช IT/Software<br />

จัดการกิจกรรมทั้งระบบ<br />

3. การเชื่อมโยงการจัดการภายนอกบริษัท (Externally Integrated Logistics) เปนการ<br />

พัฒนาที่มีการเชื่อมโยงใชรูปแบบ (Mode) การขนสงทุกรูปแบบ อยางมีประสิทธิภาพ เชน การมีจุด<br />

ขนถายสินคาที่มีมาตรฐาน มีระบบ IT ที่สามารถเชื่อมโยงขอมูลระหวางบริษัท นอกจากนี้ยังมีการ<br />

ใชผูชํานาญการดานโลจิสติกสที่เปนผูใหบริการโลจิสติกสเฉพาะดาน เชน Third Party Logistics<br />

Provider เปนตน<br />

4. การจัดการโลจิสติกสไรพรหมแดน (Global Logistics Management) เปนการ


17<br />

พัฒนาที่เกิดจากการตื่นตัวของบริษัทขามชาติที่กําลังเผชิญกับปญหากําไรลดลงในประเทศที่ตน<br />

ตั้งอยู ดังนั้นจึงเริ่มหาแหลงจัดซื้อที่ถูกกวาในตางประเทศ ลักษณะของการพัฒนาในขั้นตอนนี้คือ<br />

การจัดซื้อวัตถุดิบและจัดสงสินคาจะครอบคลุมแหลงวัตถุดิบทั่วโลก ดานการขนสง การเชื่อมตอ<br />

การขนสงระหวางประเทศที่มีประสิทธิภาพ เชน การจัดการทาเรือ ขั้นตอนการสงสินคาชายแดน<br />

การใหความสําคัญกับผลกระทบของการขนสงตอสิ่งแวดลอมและความปลอดภัยดานการขนสง<br />

ดาน IT มีการเชื่อมโยงระบบเครือขายภายในและ ระหวางประเทศและมีการพึ่งพาผูใหบริการ<br />

4. การแบงขอบเขตของการใหบริการของผูใหบริการ<br />

พงษชัย อธิคมรัตนกุล (2548:59) ไดจัดประเภทบริการรับเหมาชวง (Sub-Contract)<br />

เชน ผูประกอบการดานโลจิสติกสของไทย ที่ใหเชาสินทรัพยทางโลจิสติกสแก ผูประกอบการดาน<br />

โลจิสติกสของตางชาติ เชนรถบรรทุกเปนเที่ยวๆ หรือ รับฝากสินคาในคลังสินคาเปนครั้งๆ วาเปน<br />

ผูใหบริการดานโลจิสติกส สวนผูประกอบการโลจิสติกสประเภทบริหารจัดการงานโลจิสติกสแบบ<br />

เบ็ดเสร็จ เรียกวา ผูใหบริการดานโลจิสติกสลําดับที่ 3 (<strong>3PL</strong>) ซึ่งจะซื้อขายบริการกันเปนระยะเวลา<br />

ยาวกวา (Long Term Outsourcing) หรือเรียกอีกอยางวาเปน Contract Logistics ตาราง 2.1 แสดง<br />

ตัวอยางการแบงขอบเขตของ การใหบริการของผูใหบริการ <strong>3PL</strong> ในแถวตั้งแรกเปนกลุมบริการแบบ<br />

ดั้งเดิมตั้งแตการจัดการคลังสินคา การขนสง การจัดทําเอกสารศุลกากร เปนตน แถวตั้งที่สองเปน<br />

กลุมบริการเพิ่มเติม ซึ่งเปนบริการที่สรางคุณคาเพิ่ม นอกเหนือจากบริการพื้นฐานตามแบบดั้งเดิม<br />

สวนแถวตั้งสุดทายแสดงบริการที่ครบวงจร ซึ่งมีบริการเสริมที่เนนคุณคาเพิ่มมากขึ้น


18<br />

ตารางที่ 2.1 ขอบเขตการใหบริการของผูใหบริการดานโลจิสติกสลําดับที่ 3<br />

บริการแบบดั้งเดิม บริการเพิ่มเติม บริการครบวงจร<br />

ก า ร จั ด ก า ร ค ลั ง สิ น ค า<br />

(Warehouse Management)<br />

การขนสง (Transportation)<br />

การจัดสง (Dispatch)<br />

การจัดทําเอกสารการขนสง<br />

(Delivery Documentation)<br />

การจัดทํา เอกสารศุลกากร<br />

(Customs Documentation)<br />

เลือกและบรรจุ (Pick and Pack)<br />

ผ ส ม แ ล ะ บ ร ร จุ หี บ ห อ<br />

(Assembly / Packaging)<br />

คืนของ (Returns)<br />

ติดฉลาก (Labeling : price and<br />

bar code)<br />

Stock Account<br />

กระบวนการสั่งซื้อ (Order<br />

Processing)<br />

การวางแผนการสั่งซื้อ (Order<br />

Planning)<br />

ระบบ/สารสนเทศ (System/IT)<br />

การออกใบแจงหนี้ (Invoicing)<br />

การเรียกเก็บเงิน (Payment<br />

Collection)<br />

ที่ปรึ กษาดานโลจิสติ ก ส<br />

( LogisticsConsulting)<br />

การตรวจสอบการขนส ง<br />

( ShipmentTracking)<br />

การวางแผนวัสดุ (Material<br />

Planning)<br />

ที่มา : มูลนิธิลอจิสติกสและการขนสง (ประเทศไทย) และกระทรวงการตางประเทศ. 2550 : 7<br />

ตารางที่ 2.2 เปนอีกตัวอยางของการแจกแจงลักษณะบริการ ในแถวนอนของตารางได<br />

แจกแจงราย ละเอียดของบริการในแตละกลุมบริการ เชน กลุมบริการขนสง (Transportation) แสดง<br />

รายละเอียดตั้งแตบริการ พื้นฐานคือ การขนสงทางเรือ (Shipping), การขนสงระหวางประเทศ<br />

(Forwarding) ไปจนถึงบริการที่ซับซอนขึ้น เชน การขนสงแบบเทียบทา (Cross-Docking) เปนตน


19<br />

ตารางที่ 2.2 : ลักษณะบริการของผูใหบริการดานโลจิสติกส<br />

การขนสง<br />

(Transportation )<br />

ค ลั ง สิ น ค า<br />

(Warehousing)<br />

กลุมบริการ รายละเอียดกิจกรรม<br />

ก า ร จั ด ก า ร สิ น ค าคงค ลั ง<br />

(Inventory Management)<br />

กระบวนการสั่งซื้อ<br />

(Order Processing)<br />

ระบบขอมูลขาวสาร<br />

(Information Systems)<br />

กิจกรรมเพิ่มมูลคา<br />

(Value-Added Activities)<br />

การขนสงทางเรือ (Shipping), การขนสงระหวางประเทศ<br />

(Forwarding), การรวบรวมและกระจายสินคา<br />

(De/consolidation), บริการรับเหมาดานการจัดสง<br />

(Contract Delivery), การออกใบขนสง (Freight Bill)<br />

การจายเงิน/การตรวจสอบ (Payment/Audit), การขนสงแบบ<br />

เทียบทา (Cross-Docking), ตัวแทนจัดซื้อ(Brokering)<br />

การเก็บของ (Storage), การรับสินคา(Receiving), การ<br />

แกไขงาน(Re-Assembly), การรับคืนสินคา(Return Goods)<br />

การคาดการณ(Forecasting), การวิเคราะหสถานที่ตั้ง<br />

(Location Analysis), การใหคําปรึกษา(Consulting)<br />

จัดทํารายการสั่งซื้อ (Order Entry/Fulfillment), การจัดรับ<br />

ของเขา (Consignee Management), ศูนยขอมูลกลาง (Call<br />

Center)<br />

ระบบแลกเปลี่ยนขอมูลอิเลคทรอนิคส (EDI), การจัด<br />

เสนทางและการจัดตารางขนสง(Routing/Scheduling),<br />

ระบบอัจฉริยะ (Artificial Intelligence), ระบบชํานาญการ<br />

(Expert Systems), ระหัสบาร (Bar<br />

Coding), ปายรหัสคลื่นวิทยุ (RFID), Web-Based<br />

Connectivity, การติดตามสถานะการขนสง(Tracking and<br />

Tracing)<br />

การออกแบบบรรจุภัณฑและนํากลับมาใชใหม(Design and<br />

Recycling of Packaging,) การติดฉลาก<br />

(Marking/Labeling), Billing, ศูนยขอมูลขาวสาร (Call<br />

Center Activities).<br />

ที่มา : มูลนิธิลอจิสติกสและการขนสง (ประเทศไทย) และกระทรวง การตางประเทศ. 2550 : 8


5. ขอแตกตางระหวางการจัดการแบบ <strong>3PL</strong> และ <strong>4PL</strong><br />

ตรีทศ เหลาศิริหงษทอง (2548:59-61) ไดกลาววา ในปจจุบันก็ยังไมมีขอกําหนดที่<br />

ชัดเจนวาประเภทของการใหบริการดานโลจิสติกสภายนอก (Outsourcing Logistics Services) มี<br />

ทั้งหมดกี่ประเภท ในอุตสาหกรรมที่ตางกันก็มีการใชระบบการจัดการทาง Logistics ที่ตางกัน<br />

เพื่อใหเหมาะสมกับกิจกรรมของตนในโซอุปทาน มีผูที่ทําการศึกษา เพื่อทําการจัดประเภทของ<br />

การใหบริการดานโลจิสติกสภายนอกอยางมากมายในอดีต เชน (บาสค. 2001:470-486) ไดทําการ<br />

แบงประเภทของการใหบริการดานโลจิสติกสภายนอก ออกเปน 4 ประเภท ไดแก<br />

5.1 การใหบริการทั่วไป (General service)<br />

5.2 การใหบริการโลจิสติกสบุคคลที่ 3 ทั่วไป (Routine <strong>3PL</strong> services)<br />

5.3 การใหบริการโลจิสติกสบุคคลที่ 3 แบบมีมาตรฐาน (Standard <strong>3PL</strong> services)<br />

5.4 การใหบริการโลจิสติกสบุคคลที่ 3 แบบลูกคากําหนด (Customized <strong>3PL</strong> service)<br />

ในขณะที่ <strong>4PL</strong> เชนบริษัท TNT Logistics หรือ UPL Supply Chain Solutions จะถูก<br />

พิจารณาวาเปนสวนหนึ่งของ Customized <strong>3PL</strong> Service ขณะที่ เบอรกลุนดและคนอื่นๆ (1999:59-<br />

68) จะแบงการใหบริการโลจิสติกสภายนอก ออกเปน 2 ประเภทไดแก การเพิ่มคุณคาการใหบริการ<br />

โลจิสติกส (Value-added Logistics Services) และการใหบริการโลจิสติกสแบบพื้นฐาน (Basic<br />

Logistics Services)<br />

<strong>3PL</strong> ทําหนาที่เปนคนกลางไมมีสวนรับผิดชอบความเสี่ยงทางการคา (Commercial<br />

Risk) ที่อาจเกิดขึ้นจากกิจกรรมบางอยางเทานั้น เชน การขนสินคา (Physical Handling of the<br />

Goods) หรือกิจกรรมทุกอยางที่เกี่ยวของกันระหวางผูซื้อและผูขาย จากนิยามที่มีความหมายที่กวาง<br />

ซึ่งดูเหมือนวาจะเปนคําที่ใชทั่วไปเพื่อใหครอบคลุมกิจกรรมทุกอยางในโซอุปทาน ดวยเหตุนี้ความ<br />

ซับซอนในการใชบริการของ <strong>3PL</strong> จึงมีมาก ดังนั้นจึงเปนที่มาของกลุมธุรกิจประเภท <strong>4PL</strong> เพื่อเขา<br />

มาชวยใน การจัดการระบบที่มีความซับซอนยุงยากนั้นตออีกชวงหนึ่ง<br />

<strong>4PL</strong> เขาไปมีบทบาทในระบบโดยรวมของกิจกรรมโลจิสติกส ของบริษัท ลูกคา (โจ<br />

ฮาน คิตเติล. 2003:2-3) แตการยอมรับในคําใหมที่เกิดขึ้นและความจําเปนในการใชคําใหมนี้<br />

นอกเหนือไปจาก <strong>3PL</strong> ซึ่งใชกันอยางแพรหลายอยูในปจจุบันจึงเปนเรื่องที่มีการถกเถียงกันอยาง<br />

มาก ซึ่งจากการศึกษานิยามที่มีอยูในมุมมองทางทฤษฎีจะพบวามีเพียง <strong>3PL</strong> เทานั้นที่ถูกนิยามอยาง<br />

เปนทางการ ไมพบวามีการใหคํานิยามของ <strong>4PL</strong> หรือไมมี Fourth Party Logistics Provider ที่<br />

สามารถเขากับขอกําหนดทฤษฎีไดและ <strong>4PL</strong> บอยครั้งจึงถูกกลาววาเปน Single Interface หรือเปน<br />

First Tier Supplier ของลูกคา แต <strong>4PL</strong> อาจจะถูกใชเปนชื่อที่เรียกในหลักการที่เปนสวนหนึ่งใน<br />

สาขาของ <strong>3PL</strong> คําถามจึงอยูที่วาในอนาคตจะมีการใชคําวา <strong>4PL</strong> อยางแพรหลายในมุมมองของ<br />

20


โลจิสติกสหรือไม โจฮาน คิตเติล (2003:37-43) ผูศึกษาเรื่องนี้มีความเชื่อวาในอนาคต <strong>4PL</strong> จะถูก<br />

แทนที่ดวยการใชคําวา การใหบริการดานโลจิสติกสภายนอก<br />

ดังนั้นเพื่อใหเกิดความเขาใจที่ชัดเจนขึ้นจะขอยกกรณีตัวอยางของบริษัทประเทศจีนที่<br />

ตั้งอยู ในฮองกง เดิมที่เดียวบริษัทนี้เริ่มจากธุรกิจการขนสงทางทะเล (Shipping) และไดพัฒนา<br />

รูปแบบของบริการใหครอบคลุมธุรกิจดานการขนสงทั้งหมด ในป คศ. 1990 บริษัทไดกําหนด<br />

รูปแบบของการดําเนินธุรกิจของตนวาเปนผูนําดาน <strong>3PL</strong> ( Leading <strong>3PL</strong>) ซึ่งไดสรางเครือขายการ<br />

จัดการกิจกรรมทางโลจิสติกสที่มีประสิทธิภาพขึ้นมาดวยวิธีการสรางเครือ ขายพันธมิตร (Joint<br />

Venture) ในธุรกิจตางๆ เชนการขนสงทางทะเล (Shipping), การคิดคาขนสง (Freight Forwarding),<br />

และสถานที่จัดเก็บสินคา (Warehousing) ในฮองกงและจีน ภายใตแนวความคิดที่จะเปน<br />

(Warehousing) ในฮองกงและจีน ภายใตแนวความคิดที่จะเปนผูจัดกิจกรรมทั้งหมดทางโลจิสติกส<br />

(One stop-shop total Logistics Service Provider) ที่สามารถเสนอแนวทางการจัดการทั้งหมดในโซ<br />

อุปทานและสรางมูลคาเพิ่มใหแกลูกคาจากการใชบริการของตน<br />

จากขอมูลขางตนจะสังเกตเห็นวา บริษัทมีการพัฒนารูปแบบโลจิสติกสเปนลําดับขั้น<br />

เริ่มจากการจัดการขนสงทางทะเล ซึ่งจากกรอบความคิดดานการแบงระดับของการจัดจาง<br />

โลจิสติกสภายนอกจะพบวา บริษัทเริ่มจุดนี้จากการเปน 2PL ที่เกิดขึ้นมารองรับความตองการของ<br />

ลูกคาที่ขาดทรัพยากรและความชํานาญดานนี้ ตอมาไดมีการพัฒนารูปแบบเปน <strong>3PL</strong> ที่มีการสราง<br />

เครือขายพันธมิตรกับผูใหบริการในระดับเดียวกันเปน <strong>3PL</strong> ที่มีการสรางเครือขายพันธมิตรกับผู<br />

ใหบริการในระดับเดียวกัน ถามองในมุมของ การจัดจางโลจิสติกสภายนอก จะถือวาเปน <strong>3PL</strong> ซึ่ง<br />

แมแตบริษัทเองก็มองตนเองวาเปน <strong>3PL</strong> แตกําหนดตําแหนงของตนเองเมื่อเทียบกับ <strong>3PL</strong> ระดับ<br />

เดียวกันวาเปนผูนําดาน <strong>3PL</strong> เนื่องมาจากบริษัทมีเครือขายที่ครอบคลุมกิจกรรมทั้งหมดทางโลจิ<br />

สติกส แตในมุมมองของลูกคาเมื่อใชบริการจากบริษัท จะรูสึกวาเปนจุดแรกและจุดเดียวที่ติดตอ<br />

(Single Point contact) บริษัทกําลังจะเปน <strong>4PL</strong><br />

จากกรณีศึกษาขางตนเมื่อนํามาเปรียบเทียบกับกรอบความคิดทฤษฎี (Framework) ที่<br />

อธิบายไวสามารถสรุปความแตกตางระหวาง <strong>3PL</strong> และ <strong>4PL</strong> ไดคือ โดยทั่วไปแลวทั้งสองคํานี้เปน<br />

ธุรกิจประเภท การใหบริการโลจิสติกสภายนอกเหมือนกัน แตตางกันที่มุมมอง ถามองจากมุมมอง<br />

ในแนวระดับเดียวกันตางก็มองวาธุรกิจประเภทนี้หรือมุมมองในแนวระดับเดียวกันตางก็มองวา<br />

ธุรกิจเปน <strong>3PL</strong> เพียงแตใครจะมีเครือขายทางธุรกิจที่ครอบคลุมกิจกรรมดานนี้มากกวากัน ซึ่งเปนที่<br />

แนนอนวาผูที่สามารถสรางเครือขายทางธุรกิจที่ครอบคลุมกิจกรรมนี้มากกวากัน ซึ่งเปนที่แนนอน<br />

วาผูที่สามารถสรางเครือขายที่ครอบคลุมในทุกกิจกรรมทางโลจิสติกสจะเปนผูที่เปนทางเลือกแรก<br />

21


22<br />

ใหกับลูกคา และในอนาคตนาจะเปนทางเลือกเดียว ซึ่งสอดคลองกับแนวโนมการเจริญเติบโตอยาง<br />

มีนัยสําคัญของธุรกิจประเภทนี้<br />

สวนในมุมมองของลูกคาจะมองวา การใหบริการดานโลจิสติกสภายนอก ที่บริษัท<br />

ติดตอมีเครือขายในการจัดการกิจกรรมทาง Logistics เชนการขนสง บริการดานแรงงาน การบรรจุ<br />

คลังสินคา เปน <strong>3PL</strong> แตถาบริษัท ใดสามารถเปนจุดแรกและจุดเดียวที่ติดตอ (Single Point contact)<br />

แลวสามารถบริหารจัดการกิจกรรมในโซอุปทานทั้งหมดใหแกลูกคาได ลูกคาจะพิจารณาวาเปน<br />

<strong>4PL</strong><br />

6. ประโยชนของการใชบริการ <strong>3PL</strong> และ <strong>4PL</strong><br />

เพื่อเพิ่มความไดเปรียบเชิงการแขงขันหลายบริษัท จึงหันมาพิจารณาความสามารถ<br />

หลัก (Core competence) ของตนเองรวมถึงวางกลยุทธและปรับเปลี่ยนรูปแบบของบริษัท ให<br />

สอดคลองกับขีดความ สามารถหลักและจัดจางบริษัท ใหสอดคลองกับขีดความสามารถหลักที่<br />

สอดคลองและสนับสนุนกับความตองการของบริษัทในกิจกรรมดานโลจิสติกส ดังนั้นการบริการ<br />

ประเภท <strong>3PL</strong> และ <strong>4PL</strong> จึงมีแนวโนมเพิ่มขึ้นอยางมีนัยสําคัญโดยเหตุผลที่เลือกใชบริการเหลานี้<br />

ไดแก (เบอรกลุนดและคนอื่นๆ. 1999: 59 – 68)<br />

6.1 สามารถชวยใหการทํางานของบริษัทฯ ทําไดสะดวกและลดความยุงยากของ<br />

ระบบ<br />

6.2 ตนทุนทางดานโลจิสติกส ลดลงเนื่องจากไมตองรับภาระเรื่องคาใชจาย อันเกิด<br />

จากการลงทุนในทรัพยสินถาวร หรือคาใชจายการดําเนินงานที่ตองเสียอยูเปนประจํา เชน คาแรง<br />

ของพนักงานที่รับผิดชอบในสวนนั้น ๆ เปนตน<br />

6.3 ความพึงพอใจของลูกคาเพิ่มขึ้นซึ่งผลการศึกษาที่ผานมาแสดงใหเห็นวาบริษัท จะ<br />

สามารถตอบสนองความตองการของลูกคาไดตรงตอความตองการในกิจกรรมที่หลากหลายและ<br />

รวดเร็วขึ้น<br />

7. ปญหาและอุปสรรคที่เกิดจากการใชบริการของ <strong>3PL</strong> และ <strong>4PL</strong><br />

7.1 ขาดการสนับสนุนจากผูบริหาร ผูบริหารระดับสูงจะเปนจุดเริ่มตน ในการ<br />

พิจารณาถึง ประโยชนของการประยุกตใช <strong>3PL</strong> และ <strong>4PL</strong> ในบริษัท รวมไปถึงการอนุมัติให<br />

โครงการตางๆเกิดขึ้น ความเอาใจใสของผูบริหารระดับสูงจะนําพามาซึ่งความมุงมั่นของพนักงาน<br />

ทุกระดับในบริษัท ที่จะผลักดันในการประยุกตใช <strong>3PL</strong> และ <strong>4PL</strong> ในบริษัท ใหประสบความสําเร็จ<br />

โดยการจัดโครงสรางทางการทํางานที่ชัดเจนรวมถึงชองทางการติดตอสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ


23<br />

ปราศจากรอยตอระหวางบริษัทกับ <strong>3PL</strong> และ <strong>4PL</strong> รวมถึงใหความรูความเขาใจในการมอบหมายงาน<br />

ภายในบริษัทใหกับ <strong>3PL</strong> และ <strong>4PL</strong>เพื่อลดแรงตอตานจากพนักงานซึ่งมักจะคิดวาการลดงานเปนการ<br />

เตรียมลดจํานวนพนักงาน<br />

7.2 ขาดการปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมการทํางานในบริษัท เพื่อปรับตัวตอการที่จะรับ<br />

ความเปลี่ยนแปลงระบบการทํางานใหมยอมตองเกิดขึ้น ดังนั้นการเตรียมความพรอมตอการ<br />

ประยุกตใช <strong>3PL</strong>และ <strong>4PL</strong> เพื่อลดแรงตอตานในการจางงานจากภายนอกในกิจกรรมที่เคยปฎิบัติ<br />

7.3 ความเชื่อมั่นในความสามารถของ <strong>3PL</strong> และ <strong>4PL</strong> การจางงานจากหนวยงาน<br />

ภายนอกมักเกิดแรงตานจากพนักงานที่มีความรูความชํานาญในกิจกรรมที่บริษัท วาจางบริษัท<br />

ภายนอกแรงตานทานดังกลาวจะทําใหเกิดรอยตอของการประสานงาน ซึ่งมีผลทําใหประสิทธิภาพ<br />

ในการวาจางงานจากภายนอกลดลงบริษัท จึงควรมีบทบาทเพื่อลดแรงตานดังกลาว<br />

อุตสาหกรรมโลจิสติกสในประเทศไทย<br />

พงษชัย อธิคมรัตนกุล (2548 : 18-22) กลาววาผูใหบริการงานโลจิสติกสภายนอก เพื่อ<br />

ดําเนิน การแทนหรือที่เรียกวา “Logistics Outsourcing” ในประเทศไทย ณ ปจจุบันมีอยูดวยกัน<br />

ทั้งหมด 4 กลุมงานหลัก ซึ่งไดแก<br />

1. การขนสงสินคา (Freight Transportation and Forwarding)<br />

2. การจัดเก็บ ดูแลและบริหารคลังสินคาและการติดสลากหรือบรรจุภัณฑ<br />

(Warehousing/Inventory Management and Packaging)<br />

3. การใหบริการพิธีการตางๆ ที่เกี่ยวกับงานโลจิสติกส (Non-Asset Based Logistics<br />

Services)<br />

4. การใหบริการงานดานเทคโนโลยีสารสนเทศและงานที่ปรึกษาดานโลจิสติกส<br />

(Information and Communication Technology/ Consulting)<br />

โดยในกลุมแรก จะครอบคลุมงานโลจิสติกสที่เกี่ยวของกับการใหบริการดานการขนสง<br />

สินคาทั้งภายในและสงออกภายนอกประเทศ ผานชองทาง หรือแผนภาพแบบในการขนสงตางๆ ทั้ง<br />

ทางถนน ทางทะเล และทางอากาศเปนสําคัญ ในกลุมที่สองจะหมายถึงงานโลจิสติกสที่เกี่ยวของกับ<br />

การใหบริการดานการจัดเก็บ การบริหารสินคาคงคลัง การกระจายสินคาและการติดสลากหรือบรรจุ<br />

ภัณฑ ในคลังสินคาเปนสําคัญ ในกลุมที่สามหมายถึงงานโลจิสติกสที่จะครอบคลุมงานพิธีการ หรือ<br />

งานเอกสารตางๆ ที่เกี่ยวของกับการนําเขาหรือสงออกสินคา พิธีการศุลกากร หรือ สรรพากร และ<br />

ในกลุมที่สี่จะหมายรวมถึง งานโลจิสติกสที่เกี่ยวของกับการใหบริการเสริม เชน ดานเทคโนโลยี


24<br />

สารสนเทศ และการใหคําปรึกษาดานโลจิสติกส โดยจากฐานขอมูลที่ไดตรวจคนจากแหลงขอมูล<br />

ตางๆ<br />

ขอมูลเกี่ยวกับจํานวนผูใหบริการงานโลจิสติกสในประเทศไทย จํานวนผูใหบริการงาน<br />

โลจิสติกสของประเทศไทย ตามที่ไดเก็บรวบรวมขอมูลจนถึงปจจุบัน และเปนที่รูจักในแวดวง<br />

อุตสาหกรรมโลจิสติกส เทาที่รวบรวมมาไดมีจํานวนทั้งสิ้นประมาณ 300 บริษัท ในจํานวนนี้มี 215<br />

ราย ที่แจงขอมูลเกี่ยวกับทุนจดทะเบียน และรายละเอียดในการใหบริการ และการดําเนินการที่<br />

สมบูรณ และสามารถนํามาเปนขอมูลหลักในการสะทอนถึงสถานภาพของอุตสาหกรรมโลจิสติกส<br />

ไทย โดยจากจํานวนบริษัทขางตนทั้ง 215 รายมีทุนจดทะเบียนรวม 7,586 ลานบาท แยกเปนทุนจด<br />

ทะเบียนต่ํากวา 1 ลานบาท จํานวน 42 ราย ทุนจดทะเบียนมากกวา 1 ลานแตไมเกิน 5 ลานบาท<br />

จํานวน 89 ราย ทุนจดทะเบียนมากกวา 5 ลานบาท แตไมเกิน 10 ลานบาท จํานวน 26 ราย ทุนจด<br />

ทะเบียนมากกวา 10 ลานแตไมเกิน 20 ลานบาท จํานวน 27 ราย ทุนจดทะเบียนมากกวา 20 ลานบาท<br />

แตไมเกิน 50 ลานบาท จํานวน 12 ราย ทุนจดทะเบียนมากกวา 50 ลานแตไมเกิน 100 ลานบาท<br />

จํานวน 7 ราย ทุนจดทะเบียนมากกวา 100 ลานบาท แตไมเกิน 200 ลานบาท 4 ราย และทุนจด<br />

ทะเบียนมากกวา 200 ลานบาทขึ้นไป 8 ราย ในจํานวนทั้งหมดนี้แบงออกเปนบริษัทของคนไทย<br />

จํานวน150 รายและบริษัทตางประเทศจํานวน 65 ราย<br />

ภาพที่ 2.1 สัดสวนขนาดของทุนจดทะเบียนจํานวน 215 บริษัทในอุตสาหกรรมโลจิสติกสไทย<br />

ที่มา: พงษชัย อธิคมรัตนกุล. 2548:19


25<br />

ภาพที่ 2.2 สัดสวนขนาดทุนจดทะเบียนของบริษัทโลจิสติกสของคนไทยจํานวน 150 ราย<br />

ที่มา : พงษชัย อธิคมรัตนกุล. 2548:20<br />

ภาพที่ 2.3 สัดสวนขนาดทุนจดทะเบียนของบริษัทโลจิสติกสตางประเทศในไทยจํานวน 65 ราย<br />

ที่มา : พงษชัย อธิคมรัตนกุล. 2548:20


26<br />

ภาพที่ 2.4 เปรียบเทียบระหวางจํานวนบริษัทไทยกับตางประเทศตามทุนจดทะเบียน<br />

ที่มา : พงษชัย อธิคมรัตนกุล. 2548:21<br />

ในภาพรวมจะพบวาผูใหบริการดานโลจิสติกสในประเทศไทย ถาคิดจากจํานวนบริษัท<br />

ที่ดําเนิน การในงานดานนี้จะพบวามีจํานวนผูประกอบการไทยอยูประมาณรอยละ 70 ของ<br />

ผูประกอบการทั้งหมด แตเปนที่นาสังเกตวาในจํานวนรอยละ 70 นี้เปนบริษัทขนาดเล็กที่มีทุนจด<br />

ทะเบียนต่ํากวา 5 ลานบาทถึงรอยละ 72 และเปนบริษัทขนาดใหญที่มีทุนจดทะเบียนตั้งแต 100 ลาน<br />

บาทขึ้นไปเพียงรอยละ 3 เทานั้นในขณะที่บริษัทตางประเทศมีสัดสวนของบริษัทขนาดใหญนี้ถึง<br />

รอยละ 11 ในแงของมูลคาทุนจดทะเบียนของบริษัททั้งหมดในอุตสาหกรรมประเภทนี้ที่มีทุนจด<br />

ทะเบียน ดังกลาวขางตนจํานวน 7,586 ลานบาท พบวาเปนทุนจดทะเบียนของบริษัทตางชาติถึง<br />

ประมาณ 3,996 ลานบาท คิดเปนสัดสวนถึงรอยละ 52.6 ของมูลคาทุนจดทะเบียนทั้งหมด คงเหลือ<br />

เพียง 3,593 ลานบาท ที่เปนทุนจดทะเบียนของบริษัทคนไทย<br />

ภาพที่ 2.5 จํานวนบริษัทที่จดทะเบียนแตละปเปรียบเทียบระหวางบริษัทไทยกับตางประเทศ<br />

ที่มา : พงษชัย อธิคมรัตนกุล. 2548:22


ในแงของแนวโนมในการจดทะเบียนทําธุรกิจของบริษัทที่ใหบริการงานโลจิสติกส ใน<br />

ประเทศไทยพบวามีการขยายตัวอยางมากในชวงป 2530 ถึง 2540 โดยมีจํานวนบริษัทที่จดทะเบียน<br />

ในชวงนี้ถึง 118 บริษัทคิดเปนสัดสวนถึงรอยละ 54.8 ของบริษัททั้งหมดที่ยังดําเนินการอยูใน<br />

ปจจุบัน ทั้งนี้เปนการจดทะเบียน บริษัทคนไทยจํานวน 73 บริษัท และบริษัทตางประเทศจํานวน 45<br />

บริษัท เปนที่นาสังเกตวาในชวงดังกลาวนี้มีมูลคาทุนจดทะเบียนราว 6, 270 ลานบาท คิดเปน<br />

สัดสวนถึงรอยละ 82.6 ของทุนจดทะเบียนทั้งหมดในปจจุบัน จะพบวาภายหลังจากชวงดังกลาว<br />

ตอมาจนถึงปจจุบันมีการขยายตัวเพิ่มขึ้นในแงของจํานวนบริษัทผูใหบริการงานทางดานโลจิสติกส<br />

โดยเฉพาะในชวงป 2543 ถึง 2545 แตอยางไรก็ตามจะพบวามีมูลคาทุนจดทะเบียนนอยมากเมื่อ<br />

เทียบกับชวงยุคขยายตัวกอนหนานี้<br />

ผูวิจัยไดทําการคนควาและหาขอมูลของบริษัท <strong>3PL</strong> จาก 4 กลุมงานหลัก ที่จดทะเบียน<br />

กับกรมพัฒนาธุรกิจการคา กระ ทรวงพานิชย ที่ตั้งอยูในเขตกรุงเทพมหานคร จํานวนทั้ง 82 บริษัท<br />

(Logistics Transportation& Distribution 2006 directory. 2006: 76-84)<br />

ในป 2004 ไดสํารวจผูใชบริการของ <strong>3PL</strong> ผาน Chief Logistics Executives ของ<br />

บริษัทผูผลิตรายใหญในอเมริกาจํานวน 500 ราย ตามขนาดของรายไดซึ่งอางอิงจาก Fortune<br />

Magazine ไดรับผลตอบกลับสุทธิจํานวน 60 ราย (รอยละ 12) เกี่ยวกับปจจัยที่มีผลตอการตัดสินใจ<br />

ใชบริการ <strong>3PL</strong> รายเดิม (Renewal) หรือไม พบวาปจจัยสําคัญสุด 4 อันดับแรกคือ<br />

1. คุณภาพของบริการ (Service Considerations)<br />

2. ตนทุน (Cost Considerations)<br />

3. ความสามารถในดานเทคโนโลยี (Technology Capability)<br />

4. ความเชื่อถือไดในดานเวลารับ-สงสินคา (Reliability)<br />

นอกจาก 4 ปจจัยขางตนแลว ปจจัยอื่นๆรองลงมาไดแก ผูใหบริการมีความรับผิดตอ<br />

ความตองการลูกคา ความตองการที่จะเปนสวนหนึ่งของลูกคา การเปนผูเชี่ยวชาญในอุตสาหกรรม<br />

หลักของตน การมีทางเลือกในการใหบริการที่หลากหลายแกลูกคา และการมีทัศนคติที่ดี<br />

กระตือรือรนของผูใหบริการ (มูลนิธิลอจิสติกสและการขนสง (ประเทศไทย) และกระทรวงการ<br />

ตางประเทศ. 2550:12)<br />

ไดมีการสํารวจผูใหบริการดานโลจิสติกส 3 ประเภทในฮองกงคือ บริษัทขนสงสินคา<br />

ทางทะเลและอากาศ, Freight Forwarder และ <strong>3PL</strong> เพื่อประเมินสมรรถนะการใหบริการดาน หวงโซ<br />

อุปทาน และทดสอบความแตกตางระหวางกลุมตัวอยางทั้งสาม โดยใชแบบสอบถามสงไปยัง<br />

ผูจัดการทั่วไปหรือผูจัดการดานโลจิสติกส จํานวน 924 ราย จาก Schednet - Asian Logistics<br />

27


28<br />

Directory (2001), ผลตอบกลับสุทธิจํานวน 134 ราย คิดเปนรอยละ14.5 (มูลนิธิลอจิสติกสและการ<br />

ขนสง(ประเทศไทย) และกระทรวงการตางประเทศ. 2550:12)<br />

ตารางที่ 2.3 : คาเฉลี่ยและคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน ของกลุมตัวอยางในงานวิจัยของเลี๊ยบ<br />

ตัวชี้วัด<br />

การขนสงทางอากาศ<br />

และทางทะเล<br />

ผูใหบริการขนสง<br />

ระหวางประเทศ<br />

<strong>3PL</strong><br />

คาเฉลี่ย (n=32) คาเฉลี่ย (n=49) คาเฉลี่ย (n=53)<br />

ความนาเชื่อถือไดในการ<br />

ใหบริการ 3.94 4.05 4.31<br />

การตอบวนองลูกคาที่รวดเร็ว 3.84 3.88 4.08<br />

ประสิทธิภาพดานตนทุน 3.52 3.56 3.85<br />

ประสิทธิภาพดานการใช<br />

สินทรัพย 3.48 3.71 3.93<br />

ที่มา : มูลนิธิลอจิสติกสและการขนสง (ประเทศไทย) และกระทรวงการตางประเทศ (2550:13)<br />

จากตารางที่ 2.3 ยังไดมีการตั้งขอสังเกตุในประเด็นของตนทุนวา ในการตัดสินใจ<br />

เลือกใชบริการจาก <strong>3PL</strong>รายใดรายหนึ่งเปนครั้งแรกนั้น กลุมตัวอยางสวนใหญพิจารณาเรื่องตนทุน<br />

เปนปจจัยสําคัญอันดับหนึ่ง แตจากผลสํารวจการตัดสินใจเลือกตอสัญญากับ <strong>3PL</strong> รายเดิมอีกหรือไม<br />

กลุมตัวอยางสวนใหญจะใหความสําคัญกับคุณภาพบริการมาเปนอันดับหนึ่ง อยางไรก็ตาม ในการ<br />

ตัดสินใจจริง ยอมพิจารณาจากหลายปจจัยพรอมกันและแตละปจจัยมีน้ําหนักความสําคัญที่แตกตาง<br />

กันได<br />

แนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาตัวชี้วัดการบริหารจัดการที่ดีนั้น มีความสัมพันธกับแนวคิด<br />

เกี่ยวกับ Benchmark, Benchmarking และ Best Practices ความหมายของทั้งสามคํามีดังนี้ วิธีปฏิบัติ<br />

ที่ดีที่สุด (Best Practices) คือการปฏิบัติทั้งหลายที่สามารถกอใหเกิดผลที่เปนเลิศ หรืออาจกลาวได<br />

วาเปนวิธีการปฏิบัติที่ทําใหองคกรประสบความสําเร็จ สวน Benchmarking คือวิธีการในการวัดและ<br />

เปรียบเทียบผลิตภัณฑ บริการ และวิธีการปฏิบัติกับองคกรที่สามารถทําไดดีกวา เพื่อนําผลของการ


เปรียบเทียบมาใชในการปรับปรุงองคกรของตนเอง เพื่อมุงสูความเปนเลิศในธุรกิจ หรืออีกนัยหนึ่ง<br />

คือ เปนกระบวนการของการวัดหรือการคนหา Benchmark เพื่อนําไปสูการไดมาซึ่ง Best Practices<br />

ที่จะนํากลับมาประยุกตใชในการปรับปรุงองคกรของตนเอง ผลที่ไดรับจากการทํา Benchmarking<br />

จะทําใหรูวาใครที่เปนผูปฏิบัติไดดีที่สุดและเขามีวิธีการปฏิบัติอยางไร สุดทายคือคําวา Benchmark<br />

หมายถึง Best-in-Class คือผลการปฏิบัติหรือสมรรถนะของผูที่ทําไดดีที่สุดของกลุมที่เราพิจารณา<br />

เปรียบเทียบ โดยในทางปฏิบัติ ไมจําเปนตองเปนผูที่ดีที่สุดในโลก อาจจะแคดีที่สุดในประเทศ หรือ<br />

ในธุรกิจใดธุรกิจหนึ่งเทานั้น ขึ้นอยูกับเปาหมายวาตองการจะวัดเปรียบเทียบตนเองในระดับไหน<br />

นอกจากนี้ Benchmark ยังเปนสิ่งที่ไมอยูกับที่ตลอดเวลา สามารถขยับขึ้นไดเรื่อยๆ ขึ้นอยูกับวามี<br />

ผูทําไดดีกวาหรือยัง ดังนั้น จึงตองมีการวัดเปรียบเทียบอยูเสมอประเภทของ Benchmarking แบง<br />

ตามวัตถุประสงคไดดังนี้<br />

1. การเปรียบเทียบผลปฏิบัติงานหรือตัวชี้วัดความสามารถในการปฏิบัติของกิจกรรม<br />

(Performance Benchmarking) หรือผลลัพธการทํางานของกระบวนการตางๆ เปนวิธีที่เหมาะสมกับ<br />

การเริ่มทํา Benchmarking ใหมๆ เพราะจะทําใหทราบวาเราดีหรือดอยกวาผูที่เราเปรียบเทียบดวย<br />

มากนอยเพียงไร<br />

2. การเปรียบเทียบกระบวนการทํางานหรือวิธีการปฏิบัติงานระหวางองคกร (Process<br />

Benchmarking) โดยเนนการเรียนรูวิธีการปฏิบัติที่ดีจากองคกรอื่น เพื่อมาปรับปรุงองคกรของ<br />

ตนเอง<br />

3. การเปรียบเทียบความพึงพอใจของลูกคา ตอคุณลักษณะของสินคาหรือบริการ<br />

(Product Benchmarking) นิยมทําในสินคากลุมที่เปนเทคโนโลยีหรือสินคาบริการที่ตองตามแฟชั่น<br />

4. การเปรียบเทียบกลยุทธระหวางองคกรเรากับองคกรที่ประสบความสําเร็จในดานการ<br />

วางกลยุทธ (Strategy Benchmarking) ซึ่งสวนใหญเปนองคกรที่มีประวัติความอยูรอดมายาวนาน<br />

หรือประสบความสําเร็จดานธุรกิจอยางตอเนื่อง<br />

มาตรฐานการจัดการโซอุปทานที่รูจักกันแพรหลายในระดับสากลรวมทั้งในประเทศ<br />

ไทย ไดแก Supply Chain Operations Reference Model (ตัวแบบอางอิงการดําเนินงานในโซอุปทาน<br />

มักเรียกยอๆ วา SCOR Model) ซึ่งพัฒนาและไดรับการสนับสนุนจากสภาหวงโซอุปทาน (Supply-<br />

Chain Council) เพื่อใหเปนมาตรฐานเชื่อมโยงการจัดการโซอุปทานระหวางอุตสาหกรรมตางๆ<br />

ภายในโซอุปทาน โดยพิจารณากิจกรรมตางๆของแตละองคกรภายในโซอุปทานเปนกระบวนการ<br />

มาตรฐาน 5 ชนิดเชื่อมโยงกันคือ การวางแผน (Plan) การจัดหา (Source) การผลิต (Make) การสง<br />

มอบ (Deliver) และการสงคืน (Return) กิจกรรมในแตละองคกรจะถูกจัดกลุมอยูในกระบวนการ<br />

29


30<br />

เหลานี้ แลวนํากระบวนการเหลานี้มาเชื่อมโยงกันระหวางองคกร มีเกณฑประเมินสมรรถนะระดับ<br />

ปฏิบัติการ และสมรรถนะในระดับภาพรวมของทั้งโซอุปทาน<br />

ถึงแมตัวแบบ SCOR จะเนนที่อุตสาหกรรมผลิต (Manufacturing Organization) มากกวา<br />

จะใชกับธุรกิจบริการดานโลจิสติกสโดยตรง (Services Organization) แตก็สามารถนําวิธีการดังเชน<br />

ที่แสดงในตารางที่ 2.5 มาใชในธุรกิจผูใหบริการดานโลจิสติกสไดเชนกัน โดยพิจารณาใหผู<br />

ใหบริการดานโลจิสติกส เปนธุรกิจหลักหรือ Focal Company และใชวิธีพัฒนามาตรวัดสมรรถนะ<br />

(Performance Attributes) ที่มีทั้งมุมมองจากลูกคา (Customer-Facing) และมุมมองจากผูใหบริการ<br />

(Internal-Facing)<br />

มูลนิธิลอจิสติกสและการขนสง (ประเทศไทย) และกระทรวงการตางประเทศ. (2550:<br />

15) ไดพัฒนามาตรวัดการใหบริการลูกคาของ Bernard J. La Londe และ Paul H. Zinszer (1976)<br />

โดยแบงองคประกอบการใหบริการดานโลจิสติกสเปน 3 กลุมคือ กอนดําเนินการ (Pre-transaction<br />

elements) ระหวางดําเนินการ (Transaction elements) และหลังดําเนินการ (Post-transaction<br />

elements) รายละเอียดของมาตรวัดแตละกลุม มีดังนี้<br />

1. กอนดําเนินการ (Pre-transaction elements)<br />

1.1 ความรูความสามารถของตัวแทนขาย (Quality of sales representatives)<br />

1.2 การเอาใจใสอยางสม่ําเสมอของตัวแทนขาย (Regular calls by sales reps)<br />

1.3 การแจงวันสงมอบสินคาใหทราบ (Communicates target delivery dates)<br />

2. ระหวางดําเนินการ (Transaction elements)<br />

2.1 ความสะดวกงายดายในการติดตอใชบริการ (Ordering convenience)<br />

2.2 วิธียืนยันการตกลงรับคําสั่งซื้อจากลูกคา (Acknowledgement of orders)<br />

2.3 รูปแบบของเงื่อนไขการชําระเงิน (Credit term offered)<br />

2.4 ดําเนินการไดอยางถูกตอง ตั้งแตครั้งแรกที่ปฏิบัติการตามคําสั่งซื้อของลูกคา<br />

(Perform services right the first time)<br />

2.5 การดําเนินการใหกับคําถาม/ขอสงสัยตางๆจากลูกคา (Handling of queries)<br />

2.6 ระยะเวลาตอบสนองคําสั่งซื้อจากลูกคา (Order cycle time)<br />

2.7 ความแนนอนเชื่อถือไดของระยะเวลาตอบสนองดานบริการ (Order cycle time<br />

reliability)<br />

2.8 การสงมอบบริการไดตรงเวลา (On time deliveries)<br />

2.9 การสงมอบสินคาไมครบถวนตามจํานวนที่ลูกคาสั่ง (Shipment shortages)<br />

2.10 การสงมอบสินคาลาชา (Shipment delays)


31<br />

2.11 ความสามารถในการใหบริการในกรณีเรงดวน (Ability to handle emergency<br />

orders)<br />

2.12 ตอบสนองตอความตองการของลูกคาไดรวดเร็ว (Timely response to customers’<br />

requests)<br />

2.13 ชวยลูกคาแกไขปญหาอุปสรรคตางๆในบริการดานโลจิสติกส (Solve customers’<br />

problems)<br />

2.14 ความสามารถในการติดตามสถานะของสินคา (Order tracing capability (Product<br />

Trackig or tracing))<br />

2.15 คุณภาพของขอมูลสถานะสินคา (Order status information)<br />

3. หลังดําเนินการ (Post-transaction elements)<br />

3.1 การดําเนินการตอขอรองเรียนของลูกคา (Customer claims, complaints, returns)<br />

3.2 ความถูกตองของเอกสารใบแจงหนี้และเอกสารอื่นๆ (Accuracy of invoices and<br />

other documents) :<br />

3.3 การรับผิดชอบตอความเสียหาย (Conceal & visible damaged)<br />

เนื่องจากผูใหบริการดานโลจิสติกส จัดเปนธุรกิจใหบริการ การพัฒนามาตรฐานชี้วัดการ<br />

บริหารจัดการที่ดีของผูใหบริการดานโลจิสติกส จึงนําแนวทางของแกรนท สําหรับประเมิน<br />

ความสามารถในการใหบริการของผูใหบริการดานโลจิสติกสมาใชเปนเครื่องมือเริ่มตนของการ<br />

พัฒนา การที่แนวทางของแกรนท เนนพิจารณาในมุมมองของลูกคา (Customers’ Perspective) เปน<br />

หลักนั้น มีความสะดวกในการเชื่อมโยงระหวางสิ่งที่ลูกคาผูใชบริการตองการ (เพราะแนวทางของ<br />

แกรนท เริ่มตนที่ความตองการของลูกคานั่นเอง) กับสิ่งที่ทางผูใหบริการดานโลจิสติกสสามารถทํา<br />

ได (วัดผลงานหลักผาน KPI) ดังนั้นนอกจากจะสามารถนําผลลัพธที่ไดไปพัฒนาเปน<br />

Benchmarking ระหวางกลุมผูใหบริการดานโลจิสติกสตางๆแลว ยังสามารถตอยอดไปสูการสํารวจ<br />

วิจัยตลาดผูใชบริการถึงความตองการในกิจกรรมบริการตางๆของผูใหบริการดานโลจิสติกส รวมถึง<br />

ผูใหบริการดานโลจิสติกสแตละรายยังสามารถประเมินความสามารถในบริการของตนเองเทียบกับ<br />

ความคาดหวัง ของกลุมลูกคาของตนเอง (Gap Analysis) ไดอีกดวย<br />

ทฤษฎีการสงมอบคุณคาแกลูกคา<br />

มารติน คริสโตเฟอร (2005:46-47) กลาวไววาการประสบความสําเร็จหรือลมเหลวใน<br />

ธุรกิจ พิจารณาไดจากระดับของการใหคุณคาของลูกคา (Customer Value) นั่นเอง คุณคาของลูกคา


32<br />

เปนเครื่องชี้วัดการดําเนินการของธุรกิจเพื่อการตอบสนองความตองการลูกคา สามารถกําหนดเปน<br />

หลักเกณฑได ซึ่งจะเปนความแตกตางระหวางการสรางการรับรูแกลูกคา (Perceived Benefits) และ<br />

ตนทุนรวมที่เกิดขึ้นของกิจกรรม (Total Costs incurred) ซึ่งสามารถเขียนเปนสมการไดดังนี้<br />

การสรางการรับรูแกลูกคา<br />

คุณคาของลูกคา = ---------------------------------------------<br />

ตนทุนรวมที่เกิดขึ้นของกิจกรรม<br />

ในการจัดการโลจิสติกสไมเพียงแตสงผลตอการปฏิบัติงานดานการเงินของธุรกิจเทานั้น<br />

แตยังมีผลตอคุณคาที่เสนอใหลูกคาอีกดวย หลักเกณฑที่สําคัญของคุณคามี 4 ประการคือ คุณภาพ<br />

การบริการ ตนทุนและเวลานํา ซึ่งสามารถเขียนความสัมพันธในรูปสมการไดดังนี้<br />

คุณภาพ X การบริการ<br />

คุณคาของลูกคา = ----------------------------------------<br />

ตนทุน X เวลานํา<br />

คุณภาพ (Quality) คือ การดําเนินกิจกรรมใดๆ แลวไดผลลัพธตามที่กําหนดเอาไว<br />

การบริการ (Service) คือ ธุรกิจที่สามารถดําเนินกิจกรรมที่ตอบสนองตอความตองการ<br />

ของลูกคาเพื่อสรางความพึงพอใจแกลูกคา<br />

ตนทุน (Cost) คือ ตนทุนที่เกิดขึ้นจากการดําเนินกิจกรรมเพื่อตอบสนองตอความ<br />

ตองการของลูกคา<br />

เวลานํา (Lead time) คือ เวลาที่ใชในการตอบสนองตอความตองการของลูกคา<br />

มาตรวัด “คุณคา” เพื่อลูกคา (คํานาย อภิปรัชญาสกุล. 2537:23-24) ไดรวบรวมมาตรวัด<br />

“คุณคา” เพื่อลูกคา ในการจัดการโลจิสติกส ประกอบดวยสิ่งตางๆ มีดังตอไปนี้<br />

1. คุณภาพ (Quality)<br />

1.1 ตรงตามความตองการของลูกคา<br />

2.2 ความเหมาะสมในการใชประโยชน<br />

2.3 กระบวนที่มีคุณความเชื่อมโยงตอเนื่อง มีความแปรผันนอย<br />

2.4 กําจัดการสิ้นเปลือง<br />

2.5 การปรับเปลี่ยนใหดีขึ้นอยางตอเนื่อง<br />

2. การบริการ (Service)<br />

2.1 การใหความสนับสนุนลูกคา


2.2 การใหบริการดานผลิตภัณฑ<br />

2.3 ความยืดหยุนเพื่อตอบสนองความตองการของลูกคา<br />

2.4 ความยืดหยุนเพื่อตอบสนองความเปลี่ยนแปลงของตลาด<br />

3. ตนทุน (Cost)<br />

3.1 การออกแบบและวิศวกรรม<br />

3.2 การแปลงสภาพ<br />

3.3 การประกันคุณภาพ (QA)<br />

3.4 การกระจายสินคา<br />

3.5 การจัดการ<br />

3.6 สินคาคงคลัง<br />

3.7 วัสดุ (Materials)<br />

4. เวลานํา (Lead time)<br />

4.1 ระยะเวลาเขาสูตลาด<br />

4.2 จากแนวคิดสูการสงมอบสินคา<br />

4.3 จากการรับคําสั่งสินคาถึงการสงมอบ<br />

4.4 เวลานําเพื่อดําเนินการ (Lead time) เพื่อการออกแบบ การแปลงสภาพ<br />

วิศวกรรมศาสตร และการสงมอบ<br />

4.5วัสดุ (Materials)<br />

4.6 สินคาคงคลัง<br />

เพื่อใหความทราบเปนไปไดที่จะเพิ่มคุณคาเพื่อลูกคาใหเพิ่มสูงขึ้น ถาการบริการมี<br />

ลักษณะดังนี้ คือ ลดตนทุน และ ลดเวลานําหรือรอบเวลา<br />

คุณคาเพื่อลูกคาจะเพิ่มสูงขึ้นถาการบริการมีการดําเนินการตอไปนี้<br />

1. ปรับปรุงคุณภาพใหดีขึ้น เนื่องจากเปนเครื่องมือที่เปนการประเมินวากิจกรรมตางๆ<br />

ปฏิบัติไดอยางถูกตองตั้งแตครั้งแรก ขจัดความจําเปนที่จะตองทํางานเดิมซ้ําซอนหรือการสงสินคา<br />

ฉุกเฉิน<br />

2. รักษาระดับการใหบริการ เพื่อตอบสนองความตองการลูกคาในขณะที่ตลาด<br />

เปลี่ยนแปลงไป<br />

3. ลดตนทุน โดยการคนหาแนวทางลดตนทุนที่เกี่ยวของกับการทํากิจกรรมดาน<br />

โลจิสติกสลดเวลานําหรือรอบเวลา<br />

33


34<br />

4. เปนการคาหาวิธีที่จําลดระยะเวลาในการนําผลิตภัณฑสูตลาด และสรางความพึงพอใจ<br />

ใหลูกคาซึ่งสามารถศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับวิธีซึ่งสามารถทําใหหลักเกณฑคุณคาทั้ง 4 ประการ<br />

บรรลุผลสําเร็จได<br />

ทฤษฎีการสรางคุณคาของเบอรกลุนด<br />

โจฮาน คิทเติล (2003 : 17-19) ไดใชรูปแบบของการสรางคุณคาของผูใหบริการ<br />

โลจิสติกสของเบอรกลุนด ในการวัดความสามารถในการสรางคุณคาของผูใหบริการโลจิสติกสที่มี<br />

ความแตกตางกัน ซึ่งจะขึ้นอยูกับความสามารถและกลยุทธการวางตําแหนงของผูใหบริการ<br />

โลจิสติกสแตละราย ที่สรางคุณคาในการใหบริการลูกคา เพื่อใหตนทุนต่ําที่สุด การบริการที่ดีขึ้น<br />

และสามารถเติบโตไดดีในอนาคต รูปแบบการสราง<br />

คุณคาของเบอรกลุนดมีดังนี้<br />

1. การดําเนินกิจกรรมไดอยางมีประสิทธิภาพ (Operational efficiency) เปนหลักพื้นฐาน<br />

ของการประกอบธุรกิจของผูใหบริการโลจิสติกสใหดํารงอยูได เชน การดําเนินการที่ดีกวาเมื่อ<br />

เปรียบเทียบกับการที่ลูกคาทําเอง สิ่งที่ใชในการขับเคลื่อนจะเปนเรื่องของตนทุนที่ถูกลงในการ<br />

ใหบริการแกลูกคา และประสบการณที่เกิดขึ้นมีการเรียนรูภายในองคกร<br />

2. การรวมการดําเนินกิจกรรมของลูกคาอยางบูรณาการ (Integration of customer<br />

operations) เปนการทําใหเกิดไดโดยการสรางคุณคาแกลูกคาของการประหยัดขนาด (Economy of<br />

scale) ทั้งดานการลงทุนที่จะเกิดขึ้นกับการใหบริการแกลูกคาตางๆ การใหบริการที่มีปริมาณงาน<br />

มากๆ (Increased dimension) และการซื้อวัตถุดิบครั้งละมากๆ (Massed resources) จะทําใหตนทุน<br />

ของลูกคาถูกลง ในการรวมการดําเนินกิจกรรมของลูกคาอยางบูรณาการนั้น ตองการระบบ<br />

เทคโนโลยีสารสนเทศที่มีศักยภาพในการเชื่อมตอและประสานงาน<br />

3. การพัฒนาเครือขายทั้งแนวตั้งและแนวนอน (Vertical or horizontal network<br />

development) เปนกระบวนการภายในบริษัทของผูใหบริการที่สามารถเพิ่มพูนคุณคาของลูกคาได<br />

โดยอาศัยผูใหบริการเหมาชวงตอ(Sub-contractors) บริษัทคูคา (Partners) หรือจัดจางผูใหบริการ<br />

โลจิสติกสภายนอกลําดับที่ 2 หรือลําดับที่ 3 ที่มีความชํานาญในงานเฉพาะอยาง ซึ่งสามารถบริการ<br />

ที่จะตอบสนองความตองการของลูกคาไดอยางสูงสุด และลูกคาก็สามารถลดปจจัยดานเงินลงทุน<br />

โดยการเปลี่ยนจากวาจางผูใหบริการโลจิสติกสหลายๆเจา มาเปนเจาเดียว อีกทั้งผูใหบริการ<br />

โลจิสติกสนั้นสามารถดําเนินงานอยางมีประสิทธิภาพโดยไมตองลงทุนในสินทรัพยถาวรใดๆ สิ่งที่<br />

ตองการจะมีเพียงแต ทักษะในการจัดการเครือขาย และการสรางความสัมพันธอันดีในการ


35<br />

ประสานงาน และพัฒนาทักษะของการดําเนินงาน นั่นหมายความถึงทักษะดานเทคโนโลยี<br />

สารสนเทศ และทักษะดานการจัดการ การพัฒนาเครือขายทั้งแนวตั้งและแนวนอนสามารถสราง<br />

คุณคาดวยการทํางานรวมกับบริษัทคูคา ทั้งในแนวตั้งและแนวนอน อีกทั้งมีการกระจายในการตั้ง<br />

เปาเพื่อความสําเร็จไปในแตละสวนงาน<br />

4. การจัดการหวงโซอุปทานไดอยางบูรณาการ (Supply chain management and<br />

integration) เปนการจัดการอยางบูรณาการของผูใหบริการโลจิสติกสไดมีการปรับปรุงทั้ง<br />

กระบวนการของทางดานลูกคา จนกระทั่งสามารถในการวิเคราะหและพัฒนากระบวนการดาน<br />

โลจิสติกส ตอความตองการของลูกคาแตละราย<br />

5. การเชื่อมตอกับลูกคาไดอยางมีประสิทธิภาพ (Client Interface) เปนความารถในการ<br />

สรางความสัมพันธระหวางผูใหบริการโลจิสติกสกับลูกคาหรือผูบริโภค ซึ่งอาจจะมีความตองการที่<br />

แตกตางกันไปในแตละราย<br />

กลาวโดยสรุปการจัดการโลจิสติกส และการจัดการหวงโซอุปทานจะตองมีการสราง<br />

คุณคาแกลูกคา และตัวธุรกิจผูใหบริการโลจิสติกสเอง โดยการสรางปจจัยคุณคาของลูกคามีเรื่อง<br />

ของคุณภาพ การบริการ ตนทุน และเวลานํา สวนการสรางคุณคาตัวธุรกิจผูใหบริการโลจิสติกสนั้น<br />

ผูวิจัยไดนํารูปแบบของ การสรางคุณคามาเปนตัวบอกถึงการพัฒนาการจัดการดานโลจิสติกสแบบ<br />

<strong>4PL</strong> ดังนี้<br />

1. ดานคุณภาพ<br />

2. ดานตนทุน<br />

3. ดานการบริการ<br />

4. ดานเวลานํา<br />

5. ดานการพัฒนาเครือขายทั้งแนวตั้งและแนวนอน<br />

งานวิจัยที่เกี่ยวของ<br />

โจฮาน คิตเติล (Johan Kittel. 2003) วิจัยเรื่อง <strong>4PL</strong> เปนเพียงแคชื่อใหมของ <strong>3PL</strong> เทานั้น<br />

หรือ (<strong>4PL</strong>, JUST A NEW NAME FOR <strong>3PL</strong>) พบวา ความหมายรูปแบบการจัดการใหบริการของ<br />

<strong>3PL</strong> และ <strong>4PL</strong> ทั้งดานทฤษฎีและการปฏิบัติจริง โดยบริษัทผูใหบริการดานโลจิสติกส สามารถสรุป<br />

ได 2 ประการ คือ


1. การเปรียบเทียบ <strong>4PL</strong> กับ <strong>3PL</strong> ดวยความหมายนั้นคอนขางจะใหความแตกตางกันไม<br />

ชัดเจนเนื่องจากผูใหบริการมักจะเปน <strong>3PL</strong> นั่นเอง แตสิ่งที่พิเศษของ <strong>4PL</strong> คือสามารถเปนจุดแรก<br />

และจุดเดียวที่ติดตอระหวางผูใหบริการดานโลจิสติกสกับลูกคา<br />

2. การบัญญัติชื่อ <strong>4PL</strong> เปนชื่อที่ถูกตองตามหลักการของโลจิสติกส ที่มีการจัดการ<br />

ทางดานจัดการตลาดทั้งกระบวนการ เพื่อตอบสนองความตองการของลูกคา<br />

เซราเฟทติน คุทลู (Sarafettin Kutlu. 2007) วิจัยเรื่อง <strong>4PL</strong> อนาคตของหวงโซอุปทาน<br />

(Fourth Party Logistics: The Future of Supply Chain Outsourcing) พบวา มีแรงจูงใจซึ่งเปนปจจัย<br />

ของการเปลี่ยนการจัดการสูแบบ <strong>4PL</strong> มี 7 ประการซึ่งมีดังตอไปนี้<br />

1. การลดตนทุน (Cost reduction) ผูใหบริการภายนอกมักมุงเพียงแตการลดตนทุนดาน<br />

การปฏิบัติการและพยายามใชงานในสินทรพยถาวรใหคุมคาที่สุดเทานั้น แต <strong>4PL</strong> มีความรับผิดชอบ<br />

ตอผลการปฏิบัติงานของหวงโซอุปทาน โดยเปนตัวกลางของการติดตอลูกคาและหวงโซอุปทาน<br />

แบบครบวงจร ทําใหสามารถเพิ่มรายได ลดตนทุนดานการปฏิบัติการ ลดตนทุนดําเนินงานและลด<br />

ตนทุนคงที่ดวยการทํางานที่มีความสัมพันธกัน มีการวางแผนที่ดี และการปฏิบัติอยางมี<br />

ประสิทธิภาพ<br />

2. การเพิ่มมูลคา (Adding value) <strong>3PL</strong> ทั่วๆ ไป จะใหบริการที่เปนมาตรฐานเฉพาะดาน<br />

ซึ่งเปนการสรางขอจํากัดในการใหบริการเฉพาะที่เปนพื้นฐานของกิจกรรมเทานั้น แต <strong>4PL</strong> พบวามี<br />

มาตรฐานการบริการในระดับสูง ลดความเสี่ยงของความผิดพลาด มีการกระจายการจัดการที่มีความ<br />

ซับซอนมากกวา และสามารถใหทางเลือกที่เหมาะสมแกลูกคาแตละรายได <strong>4PL</strong>มีการเพิ่มมูลคา<br />

ใหกับการบริการพื้นฐานนั้นๆ<br />

3. การขจัดปญหาตางๆ ของ <strong>3PL</strong> (Removal of the key problems of <strong>3PL</strong>) โดยปกติแลว<br />

<strong>3PL</strong> จะเปนการลงทุนในสินทรัพยถาวรเปนหลัก ซึ่งเปนจุดที่แตกตางจาก <strong>4PL</strong> ที่จะเปนการจัดการ<br />

ควบคุมเครือขายของ <strong>3PL</strong> เปนหลัก ไมมีการลงทุนสินทรพยถาวรเลย ในขณะที่ <strong>3PL</strong> พยายามที่จะ<br />

ขนสงอยางเต็มคัน (Truck full loading) ทุกครั้ง แต <strong>4PL</strong> จะใชวิธีเลือกใชศักยภาพของกลุม <strong>3PL</strong> เปน<br />

การลดขอจํากัดดานศักยภาพของกลุม <strong>3PL</strong>ไดมาก และการมีความยืดหยุนสูงมาก สามารถใช<br />

สินทรัพยถาวรไดคุมคามากยิ่งขึ้น เมื่อลูกคามีการตอรองมากขึ้น และมีความตองการที่หลากหลาย<br />

มากยิ่งขึ้น ทั้งยังตองการผลลัพธที่ดีที่สุดดวย จึงทําให <strong>3PL</strong>ไมสามารถตอบสนองความตองของ<br />

ลูกคาไดครบถวน<br />

4. ประสิทธิภาพของการสื่อสารขอมูล (Efficient information flow) ขอมูลขาวสารเปน<br />

สิ่งที่สําคัญมากที่สุดของการกระจายสินคาและการจัดการ <strong>4PL</strong> จะใชประโยชนของการสื่อสาร<br />

ขอมูลในการจัดการระหวางผูใหบริการภายนอกตางๆ (out sources) ที่เปนหุนสวนในหวงโซ<br />

36


อุปทานเดียวกัน หรือในเครือขายเดียวกัน การประยุกตใชเทคโนโลยีสารสนเทศที่แพรหลายมาก<br />

ที่สุดก็คือ EDI ( Electronic Data Interchange) เปนระบบแลกเปลี่ยนขอมูลอิเลคทรอนิคส ซึ่งจะ<br />

นําไปสูความไดเปรียบในดานการลื่นไหลของสินคาหรือบริการ จะเห็นไดจากความสําเร็จของการ<br />

ประยุกตใชในระบบทันเวลาพอดี (JIT: Just In Time) และ ระบบเพื่อชวยใหสามารถขนสงสินคาได<br />

อยางรวดเร็วขึ้นและลดคาใชจายในธุรกิจสินคาอุปโภคบริโภค (ECR: Efficient Customer<br />

Response) การสื่อสารขอมูลสามารถลดตนทุนดานแรงงาน และลดความผิดพลาดตางๆ ที่อาจเกิด<br />

โดยคน<br />

5. การเปลี่ยนแปลงดานการจัดการและการประสานความรวมมือ (Change management<br />

and collaboration) การประสานความรวมมือและการเปลี่ยนแปลงดานการจัดการอยางมี<br />

ประสิทธิภาพในหวงโซอุปทานความจําเปนอยางยิ่ง ที่จะตองปฏิบัติอยางดีในแตละเรื่องและอยาง<br />

ตอเนื่อง เพื่อใหบรรลุเปาหมายที่ตั้งไว สิ่งสําคัญมากตอการประสานความรวมมือ คือ ความโปรงใส<br />

และความชัดเจนวาอะไรที่จะเปลี่ยนแปลง เปลี่ยนแปลงอยางไร และทําอยางไรจึงจะทําไดสําเร็จ<br />

จากการสํารวจ พบวารอยละ 44 ขององคกรมีการทํางานรวมกันระหวางผูผลิตและลูกคาเปนอยางดี<br />

และรอยละ 35 ลมเหลวดานความรวมมือเนื่องจากการขาดการใสใจอยางแทจริง<br />

6. ลีนและความคลองตัว (Leanness and agility) ความคลองตัว (Agility) เปนการใช<br />

ความรูความสามารถดานการตลาดและการประสานงาน ทําใหเกิดประโยชน และโอกาสในตลาดที่<br />

มีความไมแนนอน มีการเปลี่ยนแปลงสูง และรวดเร็ว องคกรจะตองมีความยืดหยุน (Flexible) และ<br />

ความรวดเร็ว(Speed) ไปดวยพรอมๆ กัน ขณะที่ลีน (Leanness) เปนการพัฒนาทั้งกระบวนการใน<br />

การขจัดของเสียตางๆ รวมทั้งดานเวลา เพื่อใหมั่นใจวาการทํางานยังสามารถทําไดตามเวลาที่<br />

กําหนดไว ลีน สามารถใชไดดีกับความตองการ (Demand) ที่คอนขางคงที่ สามารถคาดการณได<br />

และชนิดของสินคามีความหลากหลายนอย แตความเปนจริงในตลาดนั้น หลักการทั้งสองตองมีการ<br />

ใชรวมกันและเหมาะสมจึงจะใหประสิทธิภาพสูงสุด<br />

7. หวงโซอุปทานอิเลคทรอนิคส (e-Supply chain) หรือ หวงโซอุปทานที่มีเทคโนโลยี<br />

สื่อสารผานเครือขายหรืออินเตอรเน็ตเขาชวยในการบริหารจัดการหวงโซอุปทานอยางสมบูรณแบบ<br />

การพัฒนาระบบขอมูลและเทคโนโลยีการสื่อสารขอมูล ทําใหการดําเนินธุรกิจเปลี่ยนไปสูธุรกิจทาง<br />

อิเล็กทรอนิกส (e-business) ซึ่งจะเปนสิ่งที่สําคัญที่สุดของการจัดการหวงโซอุปทานในปจจุบัน การ<br />

สรางเครือขายที่สมบูรณแบบเปนทางออกของการสรางขีดความสามารถในโลกการคาในยุคตอไป<br />

นิคลาส เบรียส (Niklas Braese. 2005). วิจัยเรื่อง พลวัตของหวงโซอุปทานใน<br />

อุตสาหกรรมยานยนต (The Dynamics of Supply Chains in the Automotive Industry) พบวา การ<br />

จัดการของบริษัทเยนเนอรรัลมอเตอรส มุงเนนในเรื่องการลดเวลานํา (Lead time reduction) และ<br />

37


การผันแปรของเวลานําเพื่อการลดตนทุนในหวงโซอุปทาน ซึ่งเปนรูปแบบของการปฏิบัติงานที่ทํา<br />

ใหเกิดผลลัพธที่ดีอยางมากตอองคกร การจัดการแบบทันเวลาพอดี ( Just In Time) เปนวิธีหนึ่งที่ทํา<br />

ใหบรรลุวัตถุประสงค โดยจะตองมีการสื่อสารขอมูลที่ดีระหวางผูสงมอบวัตถุดิบทั้งหลาย จึงทําให<br />

เวลานําลดลง อีกวิธีหนึ่งคือ การผลิตตามคําสั่งซื้อ (Assembly to Order) ก็เปนการลดเวลานําไดมาก<br />

และมีความยืดหยุนสูงในหวงโซอุปทาน ซึ่งสามารถปรับใชตามความตองการของลูกคาอยาง<br />

รวดเร็ว การลดตนทุนหวงโซอุปทานยังสามารถทําไดโดยการใชบริการจากผูใหบริการดานโลจิ<br />

สติกสบุคคลที่ 3 ไดอีกทางหนึ่งที่ทําใหการลดตนทุนไดอยางมีประสิทธิผล อีกทั้งยังมีประสิทธิภาพ<br />

ดานการชี้ความสําเร็จการใหบริการดวย<br />

ปแอร ลินฟอรด (Pierre Linford. 2003). วิจัยเรื่อง อิทธิพลของความรวมมือในหวงโซ<br />

อุปทานตอการเพิ่มคุณคาแกลูกคา (The Influence of Supply Chain Collaboration on Customer<br />

Value) พบวา การเพิ่มคุณคาใหกับลูกคา มีอยู 2 มิติ คือ การทําใหสินคาหรือบริการมีความแตกตาง<br />

และการลดตนทุน โดยกลยุทธดานราคาเปนโปรแกรมการจัดการที่กําลังกลายเปนปจจัยความ<br />

แตกตางที่สําคัญ ในการวิจัยนี้ยังพบวา การมุงเนนความสําเร็จเฉพาะในหนาที่ของแผนกหรือฝาย<br />

อยางเดียว จะทําใหการลดตนทุนไดรอยละ 10 ถาหากกําหนดขอบเขตครอบคลุมกวางขึ้นทั้ง<br />

กระบวนการจะลดตนทุนไดรอยละ 25 และหากมีการสรางความสัมพันธในการทํางานสอดคลอง<br />

ประสานกันเปนอยางดีทั้งองคกรจะทําใหลดตนทุนไดรอยละ 30-40 ในเรื่องความแตกตางของ<br />

สินคาหรือบริการ มีความสําคัญไมนอยไปกวาการลดตนทุน ซึ่งก็เปนการตอลสนองความตองการ<br />

ของลูกคาและเพิ่มมูลคาแกลูกคาสูงขึ้น<br />

โธมัส เครจ (Thomas Craig. 2003). วิจัยเรือง การจัดการหวงโซอุปทานดวยการจัดจาง<br />

ภายนอก ระหวาง <strong>3PL</strong> กับ <strong>4PL</strong> (Outsourcing Supply Chain Management-<strong>3PL</strong> versus <strong>4PL</strong>) พบวา<br />

บริษัท <strong>3PL</strong> บางรายไมสามารถตอบสนองความตองการของลูกคาได และบางรายมุงงานดานจัดการ<br />

อื่นๆเปนหลัก โดยไมกระทําใหผลลัพธที่ตรงกับกิจกรรมหลักของธุรกิจเลย ทําใหไมสามารถสราง<br />

โอกาสของตนได จึงทําให <strong>4PL</strong> เขามาแทนที่เนื่อง <strong>4PL</strong> รูจักที่จะทําใหเกิดประโยชนสูงสุดแกลูกคา<br />

<strong>4PL</strong> จึงเปนทางเลือกสําหรับธุรกิจการจัดจางภายนอก โดยสามารถเปนตัวกระตุนใหเกิดการจัดการ<br />

ในจุดที่ยากของระบบหวงโซอุปทาน โดยทําใหประจักษ และบูรณาการในกลุมบริษัทเหลานั้น ดวย<br />

การจัดการ 3 ปจจัยหลักคือ แยกแยะกระบวนการใหชัดเจน ระบุกลุมบุคลากร และเทคโนโลยี<br />

เมดูย รานแจนและริชารด โทนุย (Madhu Ranjan and Richard Tonui. 2004). วิจัยเรื่อง<br />

การวิเคราะหความเปนไปไดและกลยุทธที่มีความสัมพันธกับผูใหบริการดานโลจิสติกสลําดับที่ 3<br />

(Third party logistics : an analysis of the feasibility and contexts of strategic relationships) พบวา<br />

ความสําคัญของคุณสมบัติและปจจัยที่สงเสริมกลยุทธความสัมพันธกับลูกคา มีความสําคัญระดับ<br />

38


39<br />

มาก 4 ประการ คือ การมีสัญญาวาจางระยะยาว มีแผนในการชดเชยและบรรลุผลสําเร็จรวมกัน การ<br />

เพิ่มมูลคาในการใหบริการ และสามารถแกปญหาที่ซับซอนในระบบหวงโซอุปทานได สวน<br />

ความสําคัญระดับปานกลางมี 2 ประการ คือ การมุงเนนผลกําไร และการวางแผนงานรวมกับ ลูกคา<br />

ซึ่งคุณสมบัติและปจจัยเหลานี้จะเปนขอพิจารณาในการที่ลูกคาจะเกิดความมั่นใจ ในการวาจาง<br />

บริษัท <strong>3PL</strong><br />

มิเชล ลี ฟอง ชอง (Michelle L.F. Cheong. 2003). วิจัยเรื่อง การจัดจางโลจิสติกส<br />

ภายนอก และความทาทายของบริษัท <strong>3PL</strong> (Logistics Outsourcing and <strong>3PL</strong> Challenges) พบวา การ<br />

แบงแยกระดับชั้นของความทาทายของบริษัท <strong>3PL</strong> และการระบุสิ่งที่ควรทําการปรับปรุงในแตละ<br />

ระดับดังตอไปนี้<br />

1. ระดับของลักษณะโครงขายโลจิสติกส (Logistics Network Configuration) โดยสิ่งที่<br />

ควรปรับปรุง คือ สามารถปรับเปลี่ยนลักษณะและเสนทางของการขนสงไดตามความตองการ การ<br />

ระบุตําแหนงคลังสินคาที่ตองทําการสงสินคา หรือการระบุการสงสินคาจากโรงงานผลิต ไปยัง<br />

คลังสินคาที่ตั้งอยูในหลายพื้นที่ไดอยางมีประสิทธิภาพ<br />

2. ระดับของการไหลของสินคา (Material Flow) โดยสิ่งที่ควรปรับปรุง คือ การประสาน<br />

ความรวมมือเปนอยางดีทั้งตนน้ํา (Upstream) และปลายน้ํา (Downstream)<br />

3. ระดับของการไหลของขอมูล (Information Flow) โดยสิ่งที่ควรปรับปรุง คือ<br />

การศึกษาการใชขอมูลรวมกัน เพื่อการคาดการณและวางจุดยืนในอนาคตของบริษัท <strong>3PL</strong> รวมทั้ง<br />

ควรมีการแลกเปลี่ยนความรู ขอมูลขาวสารและเทคโนโลยีระหวางบริษัท <strong>3PL</strong> ดวยกัน หรืออาจรวม<br />

สิ่งเหลานี้มาอยูในระบบฐานขอมูลเดียวกัน เพื่อใหมีการใชประโยชนสูงสุดรวมกัน<br />

4. ระดับของความสัพันธของการจัดการ (Relationship management) โดยสิ่งที่ควร<br />

ปรับปรุง คือ ตองสามารถแปลงผลการปฏิบัติงานออกมาเปนผลงานดานการเงิน ทั้งทางดานผลัพธที่<br />

ได และเงินที่สูณเสียไป เพื่อใชเปนตัวชี้วัดในการพัฒนาและปรับปรุง<br />

เรมโก ไอ วาน ฮูค (Remko I. van Hoek. 2000) วิจัยเรื่อง บริษัท UPS โลจิสติกส จะกาว<br />

ไปสูการเปนบริษัทที่มีการบริหารแบบ <strong>4PL</strong> หรือไม (UPS LOGISTICS AND TO MOVE<br />

TOWARDS <strong>4PL</strong> – OR NOT) พบวา การบริหารแบบ <strong>4PL</strong> ซึ่งลักษณะรูปแบบ Single point of<br />

Contact เนื่องรูปแบบการบริหารแบบนี้มีการประสานงานที่ดี ทําใหมีการพัฒนาการตอบสนอง<br />

ความตองการของลูกคาไดอยางรวดเร็ว <strong>4PL</strong> เปนรูปแบบการจัดการขอมูลขาวสารเปนหลัก<br />

(Information based) ไมไดเนนการลงทุนในสินทรัพย เปนตัวเชื่อมโยงตลอดทั้งหวงโซอุปทาน<br />

(Supply chain) และทําใหบริษัท <strong>3PL</strong> มีการใชประโยชนจากสินทรัพยของตนที่ลงไปอยางเต็มที่<br />

และทําใหเกิดการเพิ่มมูลคาที่ดีที่สุดของการบริการแกลูกคา (Best value services) มีการเชื่อมโยงผู


จัดหาวัตถุดิบเขามาดวย ทําใหการสั่งซื้อวัตถุดิบเฉพาะที่ตองโดยไมตองมีการสั่งมาเก็บเพื่อรอผลิต<br />

อีกทั้งการบริหารแบบ <strong>4PL</strong> ยังมีการเชื่อมโยงไปยังลูกคาของลูกคาอีกชั้นหนึ่ง เพื่อใหเกิดตอบสนอง<br />

ความตองการตลอดหวงโซอุปทานจึงมีการผนวกโรงงานเพื่อทําการผลิตเขามาดวย จะเห็นวา <strong>4PL</strong> มี<br />

บทบาทอยางมากและความสามารถหลากหลายกับการจัดการกับกระบวนตางๆ ที่มีความแตกตาง<br />

กัน รูปแบบการจัดการนี้อาจเรียกอีกอยางหนึ่งวา One-Stop-Shop ซึ่งผลลัพธของโครงสรางนี้ ทําให<br />

ลูกคากับโรงงานผลิตสามารถเชื่อโยงกันไดดวยกลยุทธของหวงโซอุปทาน ดวยรูปแบบการจัดการ<br />

แบบ <strong>4PL</strong> ทําให บริษัท UPS โลจิสติกสระบบเครือขายการของสงที่มีประสิทธิภาพ และเพิ่มขีด<br />

ความสามารถในการแขงขันมากขึ้น จากงานวิจัยนี้พบวาประโยชนในดานตางๆ ที่ไดจากการ<br />

เปลี่ยนแปลงการจัดการจาก <strong>3PL</strong> เปน <strong>4PL</strong> หลังจากที่ไดพัฒนาการบริหารแบบ <strong>4PL</strong> เต็มรูปแบบ<br />

นั้นคือ<br />

1. การมีสวนรวมของผูใหบริการโลจิสติกสมากขึ้น<br />

2. การใชสินทรัพย และทรัพยากรมีอัตราสูงขึ้น<br />

3. ความรูเกี่ยวกับการบริการโลจิสติกสมีสูงขึ้น<br />

4. มีความเปนอิสระในการใหการบริการ เพื่อตอบสนองตอความคาดหวังของลูกคา<br />

สูงขึ้น<br />

5. มีจุดของการติดตอที่ชัดเจนมากขึ้น โดยผานการจัดการที่ทีความเชี่ยวชาญ<br />

6. การวัดผลการปฏิบัติงานของการบริการโลจิสติกสมีสูงขึ้น<br />

โรมาลา ราวิ (Romala Ravi. 2000) วิจัยเรื่อง แนวโนมหลักในตลาดของการใหการ<br />

บริการโลจิสติกส (Key Trends in the logistics Outsourcing Marketplace) พบวา ปจจัยที่ทําให <strong>3PL</strong><br />

และ <strong>4PL</strong> มีบทบาทที่เพิ่มขึ้นในปจจุบันและอนาคตสามารถสรุปได ดังนี้<br />

1. รักษาสวนแบงตลาดในปจจุบันและขยายสวนแบงทางการตลาด โดยการจัดจาง <strong>3PL</strong><br />

และ <strong>4PL</strong> ทําใหองคกรมีเวลาในการมุงเนนที่จะพัฒนาขีดความสามารถหลักขององคกรทําใหเกิด<br />

การสรางมูลคาเพิ่มในกิจกรรมหลักขององคกรซึ่งมีผลตอตําแหนงทางการตลาด เชนการผลิต,<br />

การตลาด และลูกคาสัมพันธ<br />

2. พัฒนาขีดความสามารถดานเทคโนโลยีขององคกรใหเทาทันกับเทคโนโลยี<br />

สารสนเทศที่มีความเจริญกาวหนาอยางรวดเร็ว ทําใหองคกรไมตองลงทุนในทรัพยากรภายในแต<br />

อาศัยทรัพยากรของ <strong>3PL</strong> และ <strong>4PL</strong> จากการจัดการงานทางดานโลจิสติกส ทําใหองคกรไดรับ<br />

เทคโนโลยีที่ใหมอยูเสมอ (State–of–the-Art)<br />

3. การลดคาใชจายที่เกิดจากการลงทุนในกิจกรรมที่ไมใชขีดความสามารถหลัก โดย<br />

อาศัยความเชี่ยวชาญในการจัดการของ <strong>3PL</strong> และ <strong>4PL</strong> ซึ่งลูกคาจะไดรับประโยชนดังตอไปนี้คือ<br />

40


ผลประโยชนจากการประหยัดดานขนาด, การไดรับเทคโนโลยีใหม ๆ เขามาจัดการกิจกรรมที่วา<br />

จาง, สามารถเปรียบเทียบความสามารถขององคกรกับมาตรฐานการที่ดีที่สุดในการแขงขันทาง<br />

โลจิสติกสกับคูแขง<br />

4. เพิ่มอัตราการคืนทุน (IRR) เนื่องจากการ Outsourcing องคกรสามารถลดการลงทุนใน<br />

สินทรัพยถาวรบางประเภท เชน รถบรรทุก, โรงจัดเก็บสินคา ฯลฯ การลดคาใชจายดังกลาวทําให<br />

เกิดการประหยัดดานขนาด เพิ่มประสิทธิภาพการจัดการและนําไปสูการลดคาใชจายทางโลจิสกติส<br />

เยอรลาน เยอรกาลีอีวิช มานาทาเยฟ (2004). วิจัยเรื่อง ขอมูลพื้นฐานของผูใหบริการ<br />

ดานโลจิสติกสลําดับที่ 3 (Commoditization of the third party logistics industry: <strong>3PL</strong>) พบวา บริษัท<br />

<strong>3PL</strong> ทั้งหลาย มีความยากที่แตกตางกันของแตบริษัท ประการแรกคือ สภาพแวดลอมของการ<br />

แขงขัน ประการที่สอง ความภักดีของลูกคาต่ําลง และประการสุดทายคือ การแขงขันดานราคา<br />

บริษัท <strong>3PL</strong> ตางๆ จึงถูกกําหนดใหตองเปลี่ยนแปลงจากผูใหบริการดานโลจิสติกสภายนอกที่มุงผล<br />

กําไรสูง มาเปนกลุมผูใหบริการธรรมดาที่แขงขันกันดวยการลดกําไร แตเพิ่มลักษณะการใหบริการ<br />

หลากหลายขึ้น และเพิ่มทางเลือกแกผูซื้อมากขึ้นดวย<br />

เอช ซี ลอ และ ลอ ยุค ติง (H.C. Lau & Lo Yuk Ting. 2001). วิจัยเรื่องกรอบการทํางาน<br />

แบบหลายฝายเพื่อสนับสนุน Web-based อัฉริยะของผูใหบริการดานโลจิสติกสลําดับที่ 4 (A Multiagent<br />

framework for supporting web-based intelligent fourth party logistics) งานวิจัยนี้ไดพบวา<br />

ระบบการกระจายเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารระหวางวัตถุประสงคหลายวัตถุประสงค<br />

เปนระบบการประสานการทํางานระหวาง <strong>3PL</strong> ดวย <strong>4PL</strong>อัจฉริยะ ดวยการทํางานระบบนี้มีความ<br />

เปนไปไดสูงที่จะกลายเปนเครื่องมือทางธุรกิจที่จะนําไปสูการวางแผนแบบ Real-time One-stop<br />

integrated และการหาทางเลือกอัฉริยะ เพื่อใหเหมาะกับความตองการในการขนสง โดยที่ระบบจะ<br />

เริ่มตนและจบลงดวยความสามารถของเทคโนโลยีเปนตัวกลางที่มีลักษณะการจัดการแบบ <strong>4PL</strong><br />

สมาคมวิจัยอัลฟา (ALPHA Research Consortium. 2004). วิจัยเรื่อง คุณสมบัติ กลยุทธ<br />

และแนวโนมของการจัดการแบบ <strong>3PL</strong>/<strong>4PL</strong> ในออสเตรเลีย (CHARACTERISTICS, STRATEGIES<br />

AND TRENDS FOR <strong>3PL</strong>/<strong>4PL</strong> IN AUSTRALIA ) : โดยทําการสํารวจผูใหบริการดานโลจิสติกส<br />

การจัดการแบบ <strong>3PL</strong> ในดานตางๆ ดังนี้<br />

1. เหตุผลของผูใหบริการดานโลจิสติกสเขาสูการจัดการแบบ <strong>3PL</strong> และ <strong>4PL</strong> พบวา ความ<br />

พึงพอใจของลูกคา มีความสําคัญมาก ที่สุด ความยืดหยุน การปรับปรุงการใหบริการ การลดตนทุน<br />

และการมุงในธุรกิจหลัก มีความสําคัญมาก สวนการถายทอดองคความรูและ ความพึงพอใจของ<br />

พนักงานมีความสําคัญระดับนอย<br />

41


2. การระบุความตองการของลูกคา และการประเมินกลยุทธในการจัดจางผูใหบริการ<br />

ดานโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> และ <strong>4PL</strong> พบวา การขนสงขาเขา มีความสําคัญมากที่สุด การขนสงขาออก<br />

มีความสําคัญมาก คลังสินคา การกระจายสินคา สวนการจัดซื้อ การคืนสินคา ระบบขอมูลดาน<br />

โลจิสติกส มีความสําคัญระดับปานกลาง การ ประกอบและผลิต สินคาคงคลัง มีความสําคัญนอย<br />

3. การใหบริการดานโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> และ <strong>4PL</strong> ที่ตรงตอความตองการของลูกคา<br />

พบวา การประสานความรวมมือ การตอรองเพื่อประโยชนของลูกคา ความชัดเจนของชองทางการ<br />

ติดตอ การจัดการทางเลือกที่ใหประโยชนสูงสุด มีความสําคัญมาก สวนนโยบายที่ชัดเจนในการ<br />

ปฏิบัติงานรวมของของผูใหบริการดานโลจิสติกส มีความสําคัญระดับปานกลาง และการหาผูนํา<br />

ดานใหบริการดานโลจิสติกสมาเปนตัวกลาง มีความสําคัญนอย<br />

4. การพิจารณาผลกระทบของ พาณิชยอิเลคทรอนิคส อินเตอรเนท และเทคโนโลยีอื่นที่<br />

ทําใหการบริการดานโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> และ <strong>4PL</strong> มีประสิทธิภาพมากขึ้น พบวา การใชการ<br />

แลกเปลี่ยนขอมูลอิเลคทรอนิคสในการเชื่อมตอ มีความสําคัญมาก สวนการใชระบบเทคโนโลยี<br />

สารสนเทศรวมกัน การใชอินเตอรเนทในการเชื่อมตอ การใชซอฟทแวรประยุกตในการเชื่อมตอ มี<br />

ความสําคัญระดับปานกลาง<br />

5. ประเมินประสิทธิภาพดานการเงินของผูใหบริการดานโลจิสติกสเขาสูการจัดการแบบ<br />

<strong>3PL</strong> และ <strong>4PL</strong> พบวา ความพึงพอใจของลูกคา ความยืดหยุน การปรับปรุงการใหบริการ การลด<br />

ตนทุน และการมุงในธุรกิจหลัก มีความสําคัญมาก สวนการถายทอดองคความรูและความพึงพอใจ<br />

ของพนักงานมีความสําคัญระดับนอย<br />

เอ. กูนาเซคาราน และอี ดับลิว ไง (A.Gunasekaran and E.W.T. Ngai. 2004). วิจัยเรื่อง<br />

<strong>3PL</strong> ประสบการณโลจิสติกสกับแหลงวัตถุดิบในจีน-ฮองกง (<strong>3PL</strong>; Experiences from China<br />

resources logistics-Hongkong) พบวา ผูบริหารระดับสูงจะเปนจุดเริ่มตน ในการพิจารณาถึง<br />

ประโยชนของการประยุกตใช <strong>3PL</strong> และ <strong>4PL</strong> ในบริษัท รวมไปถึงการอนุมัติใหโครงการตางๆ<br />

เกิดขึ้น ความเอาใจใสของผูบริหารระดับสูงจะนําพามาซึ่งความมุงมั่นของพนักงานทุกระดับใน<br />

บริษัท ที่จะผลักดันในการประยุกตใช <strong>3PL</strong> และ <strong>4PL</strong> ในบริษัทใหประสบความสําเร็จ บทบาทของ<br />

ผูบริหารระดับสูงที่สําคัญก็คือ การสรางสภาพแวดลอมในการทํางานของบริษัท ใหพรอมในการที่<br />

จะประยุกตใช <strong>3PL</strong> และ <strong>4PL</strong> ในบริษัท โดยการจัดโครงสรางทางการทํางานที่ชัดเจนรวมถึงชอง<br />

ทางการติดตอสื่อสารที่มีประสิทธิภาพปราศจากรอยตอระหวางบริษัท กับ <strong>3PL</strong> และ <strong>4PL</strong> รวมถึงให<br />

ความรูความเขาใจในการมอบหมายงานภายในบริษัท ใหกับ <strong>3PL</strong> และ <strong>4PL</strong>เพื่อลดแรงตอตานจาก<br />

พนักงานซึ่งมักจะคิดวาการลดงานเปนการเตรียมลดจํานวนพนักงาน<br />

42


43<br />

อี-บิสซิเนซ สแตรททีจิทส (E-Business Strategies, Inc. (2004). วิจัยเรื่อง เคนเดียน กับ<br />

การใหบริการดานโลจิสติสภายนอกแบบ <strong>4PL</strong> สําหรับเคมีภัณฑ (Cendian : A 4pl Service Platform<br />

For Chemical Logistics Outsourcing) พบวา ลูกคามีความตองการมากที่สุดคือการมีเพียงบริษัท<br />

เดียว ที่เปนจุดในการติดตอในทุกเรื่อง (One-stop mind-set of supply chain) และมีศักยภาพในดาน<br />

ตางๆดังนี้<br />

1. ความสามารถในการจัดการผูใหบริการที่เปน <strong>3PL</strong> ตางๆไดดีมากขึ้น ทั้งทางดาน<br />

กระบวนการและกลยุทธ<br />

2. มีความเชี่ยวชาญในการจัดการองคความรูตางๆ เกี่ยวกับโลจิสติกส เพื่อใหเกิดการลื่น<br />

ไหลของขอมูล เกิดการใชงานไดจริง และใชงานไดอยางเต็มที่มากขึ้น<br />

3. มีความเขาใจอยางลึกซึ้งเกี่ยวกับ เทคโนโลยีสารสนเทศในปจจุบัน และมีการ<br />

เปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว ฉะนั้น <strong>4PL</strong> จะตองรูวาในระบบเปนอยางไร และควรจะใชงานอยางไรให<br />

เต็มความ สามารถ ของระบบ<br />

4. การจัดการประสานความรวมมือเปนสิ่งที่สําคัญมากในการจัดการและควบคุม <strong>3PL</strong>s<br />

ที่มีกิจกรรมหลักที่หลากหลายและแตกตางกัน<br />

ไอดาส เวสซิลลีส เวสซิลลีอัสคัส และ เกรซวีดาส เจคูบาอัสคัส (Aidas Vasilis<br />

Vasiliauskas and Grazvydas Jakubauskas. 2007). วิจัยเรื่อง หลักการและขอดีของการใชบริการโลจิ<br />

สติกสลําดับที่ 3 ในการจัดการหวงโซอุปทานโลจิสติกส (Principle and Benefits of Third Party<br />

Logistics Approach when management logistics supply chain) พบวา บริษัทตางๆ กําลังพยายาม<br />

เสนอการใหบริการดานโลจิสติกสอยางสมบูรณแบบที่สุดแกลูกคา เพื่อที่จะใหลูกคาสามารถมุงให<br />

ความสําคัญไปยังธุรกิจหลักของตนเปนสําคัญ ขอดีของการใชบริการโลจิสติกสลําดับที่ 3 มีดังนี้<br />

1. สามารถลดเวลาในการจัดการกับงานบางอยางโดยใชบริการโลจิสติกสลําดับที่ 3 ทํา<br />

ใหมีเวลามุงเนนไปที่ธุรกิจหลักของตน<br />

2. ผูใหบริการโลจิสติกสลําดับที่ 3 มีความชํานาญเฉพาะดาน มีอุปกรณและเครื่องครบ<br />

ครัน จึงควรวาจางใหทําแทนจะดีกวาทําเอง<br />

3. ผูใหบริการโลจิสติกสลําดับที่ 3 มีเครือขายที่ครอบคลุมทั้งระบบหวงโซอุปทาน ทํา<br />

ใหสามารถปฏิบัติงานใหบรรลุเปาไดอยางรวดเร็ว<br />

4. ผูใหบริการโลจิสติกสลําดับที่ 3 ยังเปนองคประกอบในการปรับเปลี่ยนโครงสรางการ<br />

จัดการ (Re-Engineering) ไดงายขึ้น เพื่อเพิ่มความสามารถในการแขงขัน และตอบสนองความ<br />

ตองการของลูกคา


5. กิจกรรมของผูใหบริการโลจิสติกสลําดับที่ 3 มีมากมายใหเลือกใชบริการ โดยเราไม<br />

จําเปนตองลงทุนในสินทรัพยเอง เพียงแตทําสัญญาวาจาง หรือ เชาเทานั้น<br />

ฮีชาง ซิวลี่ เวนฮวงลิว บิงลี่ และชิงฮองชาง (He Zhang, Xiu Li, Wenhuang Liu, Bing Li<br />

& Zhihong Zhang. 2004). วิจัยเรื่อง การประยุกตใช AHP ในการเลือกใช <strong>3PL</strong> ของระบบการจัดการ<br />

แบบ <strong>4PL</strong> (An application of the AHP in <strong>3PL</strong> Vendors selection of a <strong>4PL</strong> system) การวิจัยพบวา<br />

แบบวิเคราะหกระบวนการเปนลําดับชั้น AHP (Analytic Hierarchy Process) สามารถใชในการ<br />

ตัดสินใจเลือกใช <strong>3PL</strong> ในระบบการจัดการแบบ <strong>4PL</strong> ซึ่งเปนวิธีการประเมินความสามารถของ <strong>3PL</strong><br />

เปนลําดับชั้น โดยการกําหนดปจจัยตางๆที่เกี่ยวกับ ความสามารถดานโลจิสติกส (Logistics<br />

capability) คุณภาพของการใหบริการ (Service Quality) ความสามารถการบริการดานขอมูลขาวสาร<br />

(Information Service Capability) และมีแนวโนมของพัฒนาการ (Development Potential) จากนั้น<br />

ใหน้ําหนักสําหรับการประเมินใหคะแนน และทําการตัดสินใจจากผลคะแนนที่ได จากผลการ<br />

ทดลองใชงานจริงปรากฏวาไดผลเปนที่นาเชื่อถือได<br />

จากการศึกษาผลงานวิจัยตางๆ จะเห็นไดวาการจัดการแบบ <strong>4PL</strong> นั้นเปนการ การ<br />

ประสานการทํางานระหวาง <strong>3PL</strong> ซึ่ง <strong>3PL</strong> แตละบริษัทจะมีความศักยภาพในการใหบริการที่อาจ<br />

ตางกัน จึงตองอาศัยการจัดการแบบ <strong>4PL</strong> มาเพื่อใหสามารถบริหารจัดการใหบรรลุสูความสําเร็จของ<br />

หวงโซอุปทาน ทําใหบริษัท <strong>3PL</strong> มีการใชประโยชนจากสินทรัพยของตนที่ลงไปอยางเต็มที่ และทํา<br />

ใหเกิดการเพิ่มมูลที่ดีที่สุดของการบริการแกลูกคา (Best value services) จากการศึกษาผลงานวิจัย<br />

ตางๆ ขางตน สามารถสรุปเปนมูลเหตุและแรงจูงใจใหมีการพัฒนาการจัดการของ <strong>3PL</strong> ซึ่งมักจะไม<br />

มีความสัมพันธในแตละบริษัท เนื่องจากความถนัด และศักยภาพที่อาจตางกัน ทําใหเกิดไมสามารถ<br />

ใหบริการไดตามความตองการของลูกคา ปจจัยตางๆ เหลานั้น คือ<br />

1. ดานการลดตนทุน<br />

2. ดานการเพิ่มมูลคาในการใหบริการ<br />

3. ดานการขจัดปญหาตางๆ ของ <strong>3PL</strong><br />

4. ดานประสิทธิภาพของการสื่อสารขอมูล<br />

5. ดานการจัดการและการประสานความรวมมือ<br />

6. ดานลีนและความคลองตัว<br />

ปจจุบันเกิดการแขงขันในโลกการคายุคดิจิตอล ทําใหการดําเนินธุรกิจเปลี่ยนไปสูธุรกิจ<br />

ทางอิเล็กทรอนิกส (e-business) เกิดแนวคิดนําเทคโนโลยีสื่อสารผานเครือขายหรืออินเตอรเน็ตเขา<br />

ชวยในการบริหารจัดการหวงโซอุปทาน เรียกวา e-supply chain โดยผูเกี่ยวของทั้งระบบตองมี<br />

เปาหมายเดียวกันเปนทีมประสิทธิภาพเดียวกันอยูภายใตระบบและฐานขอมูลเดียวกันในเวลาที่<br />

44


45<br />

รวดเร็ว และนาเชื่อถือจึงจะสามารถสรางโอกาสทางธุรกิจ สรางความไดเปรียบคูแขง และสรางพลัง<br />

ตอรองได<br />

กรอบแนวคิดของการวิจัย<br />

ปจจัยที่มีอิทธิพลตอการพัฒนาการจัดการดานโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong> ของบริษัทผู<br />

ใหบริการดานโลจิสติกส ในเขตกรุงเทพมหานคร<br />

ตัวแปรตน<br />

ตัวแปรตาม<br />

ปจจัยพื้นฐาน<br />

• ลักษณะของธุรกิจ<br />

• ประเภทของธุรกิจ<br />

• ทุนจดทะเบียน<br />

• จํานวนพนักงานในบริษัท<br />

การพัฒนาการจัดการดานโลจิสติกส<br />

แบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong><br />

ปจจัยการเปลี่ยนแปลงของ <strong>3PL</strong><br />

• ดานการลดตนทุน<br />

• ดานการเพิ่มมูลคาในการใหบริการ<br />

• ดานการขจัดปญหาตางๆ ของ <strong>3PL</strong><br />

• ดานประสิทธิภาพของการสื่อสารขอมูล<br />

• ดานการจัดการและการประสานความรวมมือ<br />

• ดานลีนและความคลองตัว<br />

ภาพที่ 2.6 กรอบแนวคิดของการวิจัย


46<br />

สมมติฐานของการวิจัย<br />

1. ปจจัยพื้นฐานมีความสัมพันธกับปจจัยการเปลี่ยนแปลงของ <strong>3PL</strong><br />

2. ปจจัยการเปลี่ยนแปลงของ <strong>3PL</strong> มีความสัมพันธกับการพัฒนาการจัดการดาน<br />

โลจิสติกส จากแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong><br />

3. ปจจัยการเปลี่ยนแปลงของ <strong>3PL</strong>มีอิทธิพลตอการพัฒนาการจัดการดานโลจิสติกสจาก<br />

แบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong>


บทที่ 3<br />

วิธีดําเนินการวิจัย<br />

การวิจัยเรื่อง ปจจัยที่มีอิทธิพลตอการพัฒนาการจัดการดานโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong> ของ<br />

บริษัทผูใหบริการดานโลจิสติกส ในเขตกรุงเทพมหานคร ซึ่งผูวิจัยไดดําเนินการตามขั้นตอนดังตอไปนี้<br />

1. แบบของการวิจัย<br />

2. ประชากรและหนวยวิเคราะห<br />

3. การเลือกกลุมตัวอยางและแผนการสุมตัวอยาง<br />

4. เครื่องมือที่ใชในการวิจัย<br />

5. การเก็บรวบรวมขอมูล<br />

6. การวิเคราะหขอมูล<br />

แบบของการวิจัย<br />

การวิจัยเรื่องนี้ ผูวิจัยจะทําการศึกษาวิจัยแบบเชิงสํารวจ (Survey Research) บริษัทผู<br />

ใหบริการดานโลจิสติกส <strong>3PL</strong> ในเขตกรุงเทพมหานคร โดยจะศึกษาขอมูลจากกลุมตัวอยาง เพื่อ<br />

อางอิงไปยังประชากรดวยการใชแบบสอบถาม (Questionnaire)<br />

ประชากรและหนวยวิเคราะห<br />

ประชากรที่ใชศึกษาในครั้งนี้ คือ บริษัทผูใหบริการดานโลจิสติกส <strong>3PL</strong> ในเขต<br />

กรุงเทพมหานคร ที่จดทะเบียนกับกรมพัฒนาธุรกิจการคาเทานั้น จํานวน 82 บริษัท (Logistics<br />

Transportation&Distribution. 2006 : 76-84 )<br />

หนวยวิเคราะห คือ หนวยบริษัท โดยผูใหขอมูลเปนกรรมการผูจัดการผูใหบริการ<br />

ดานโลจิสติกส <strong>3PL</strong> ในเขต กรุงเทพมหานคร ที่ไดจากการสุมตัวอยาง


48<br />

การเลือกกลุมตัวอยางและแผนการสุมตัวอยาง<br />

จากการศึกษาครั้งนี้ ผูวิจัยไดทํา การเลือกสุมประชากร จากผูใหบริการดานโลจิสติกส<br />

<strong>3PL</strong> ในเขตกรุงเทพมหานคร ที่มีจดทะเบียนกับกรมพัฒนาธุรกิจการคา กระทรวงพานิชย ซึ่งไดทํา<br />

การกําหนดขนาดของกลุมตัวอยางไดจากการคํานวณจากสูตร ทาโร ยามาเน (Yamane. 1973: 887)<br />

ซึ่งไดทําการกําหนดขนาดของกลุมตัวอยางที่สามารถใชเปนตัวแทนของกลุมตัวอยางไดโดยใชสูตร<br />

ในการคํานวณดังนี้<br />

สูตรคํานวณหาจํานวนกลมตัวอยาง<br />

n =<br />

N<br />

(1 + Ne 2 )<br />

เมื่อ n = ขนาดของกลุมตัวอยาง<br />

N = จํานวนหนวยประชากร<br />

e = ความคลาดเคลื่อนที่ยอมรับได<br />

ขอมูลเกี่ยวกับการจดทะเบียนกับกรมพัฒนาธุรกิจการคาของผูใหบริการดานโลจิสติกส<br />

<strong>3PL</strong> ในเขตกรุงเทพมหานคร ในปจจุบันมีจํานวนสมาชิกทั้งสิ้น 82 บริษัท ดังนั้นจํานวนของ<br />

ประชากรมี 82 บริษัท เมื่อแทนคาในสูตร โดยกําหนดระดับความคลาดเคลื่อนที่ยอมรับไดที่<br />

e = 0.05 หรือระดับความเชื่อมั่นที่ 95 % จะไดดังนี้<br />

n =<br />

82<br />

(1 + (82 x 0.05 2 ))<br />

= 68.05<br />

จะไดขนาดกลุมตัวอยางจากคํานวณคือ 68.05 บริษัท ฉะนั้นทางผูวิจัยจําทําการปดเศษจะ<br />

ไดจํานวนของกลุมตัวอยางทั้งหมด 68 บริษัท เพื่อตอบแบบสอบถาม แผนการสุมตัวอยางๆ งาย<br />

(Sampling Technique) โดยวิธีการจับฉลาก แบบไมคืนที่ จนครบตามจํานวนของกลุมตัวอยางเพื่อ<br />

ตอบแบบสอบถาม


49<br />

เครื่องมือที่ใชในการวิจัย<br />

เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูลในการวิจัยนี้คือ แบบสอบถาม ซึ่งเปนคําถาม<br />

แบบปลายปด และขอเสนอแนะที่เปนคําถามปลายเปด ซึ่งมีขั้นตอนการดําเนินการในการจัดสราง<br />

ตามลําดับดังนี้<br />

1. ศึกษาขอมูลเกี่ยวกับแนวคิดดานโลจิสติกส และการจัดการดานโลจิสติกส แบบ <strong>3PL</strong><br />

และ <strong>4PL</strong> จากตําราตางๆ ทั้งในและตางประเทศ รวมทั้งงานวิจัยตางๆที่เกี่ยวของเพื่อนํามาใชในการ<br />

สรางแบบสอบถาม<br />

2. กําหนดขอบเขตของแบบสอบถามที่จะเกี่ยวของกับตัวแปรที่มีอิทธิพลตอการ<br />

พัฒนาการจัดการดานโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong> ของบริษัทผูใหบริการดานโลจิสติกส ในเขต<br />

กรุงเทพมหานคร<br />

3. แบบสอบถามที่สรางขึ้นนี้จะเปนแบบปลายปด โดยแบงออกเปน 3 สวน ซึ่งมี<br />

รายละเอียดดังนี้<br />

สวนที่ 1 เปนคําถามเกี่ยวกับปจจัยพื้นของกลุมตัวอยาง เปนคําถามแบบตรวจสอบ<br />

รายการ (Check-list)<br />

สวนที่ 2 เปนคําถามที่เกี่ยวกับปจจัยของการเปลี่ยนแปลงของ <strong>3PL</strong> ที่มีอิทธิพลตอการ<br />

พัฒนาการจัดการดานโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong> ของบริษัทผูใหบริการดานโลจิสติกสจากความ<br />

คิดเห็นของกลุมตัวอยาง การสรางแบบสอบถามเปนคําถามแบบ มาตราสวนประมาณคา (Rating<br />

scale) โดยมีคําตอบใหเลือก 5 ตัวเลือก เปนการเรียงลําดับความสําคัญจากความสําคัญมากไปนอย<br />

คือ มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย และนอยที่สุด<br />

สวนที่ 3 เปนคําถามเกี่ยวกับการพัฒนาการจัดการดานโลจิสติกสแบบ <strong>4PL</strong> ของ<br />

บริษัทผูใหบริการดานโลจิสติกสดานตางๆ ซึ่งแบบสอบถามเปนคําถามแบบมาตราสวนประมาณคา<br />

(Rating scale) โดยมีคําตอบใหเลือก 5 ตัวเลือก เปนการเรียงลําดับความสําคัญจากความสําคัญมาก<br />

ไปนอย คือ มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย และนอยที่สุด<br />

วิธีการหาคุณภาพของเครื่องมือที่จัดทําขึ้นนี้ ประกอบดวย การหาความเที่ยงตรงและคาความ<br />

เชื่อถือได (Validity) และคาความเชื่อถือได (Reliability) โดยใชวิธีการดังนี้<br />

1. การทดสอบความเที่ยงตรง (Validity) ผูวิจัยไดนําแบบสอบถาม (Questionnaire) ที่ราง<br />

ขึ้นใหอาจารยที่ปรึกษาพิจารณาตรวจสอบเนื้อหา และโครงสรางแบบสอบถาม จากนั้นนํา<br />

แบบสอบถามที่แกไขแลวเสนอตอผูทรงคุณวุฒิที่มีความเชี่ยวชาญดานการสรางเครื่องมือและดาน<br />

การศึกษา เพื่อตรวจสอบความเที่ยงตรง ของเนื้อหาพรอมทั้งพิจารณาความถูกตองชัดเจนของภาษา


50<br />

ที่ใชแลวนําแบบสอบถามมาปรับปรุงสํานวนภาษาที่ใชใหชัดจนเหมาะสมใหมอีกครั้งกอนนําไปใช<br />

จริง เพื่อใหมีความสมบูรณยิ่งขึ้นพรอมทั้งตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา แลวนําแบบสอบถาม<br />

มาปรับปรุงสํานวนภาษาที่ใช จํานวน 3 ทาน ดังนี้<br />

1.1 ดร. พงษธนา วานิชกอบจินดา มหาวิทยาลัยหอการคาไทย<br />

1.2 ดร. มณิสรา บารมีชัย มหาวิทยาลัยหอการคาไทย<br />

1.3 คุณ ศรีโรจน สุขโข ผูจัดการฝายวิศวกรรม บริษัทเอ็นเอกพี แมนูแฟค<br />

เจอรริ่ง (ประเทศไทย) จํากัด<br />

จากนั้นไดทําการหาคาดัชนีความสอดคลอง (Index of Congruence: IOC) และไดคาดัชนี<br />

ความสอดคลองมากกวาคาที่ยอมรับไดที่ 0.5 ในทุกขอ<br />

2. การวิเคราะหคาความเชื่อถือได ของเครื่องมือวัด จะทําโดยนําแบบสอบถามที่ใชใน<br />

การศึกษาวิจัยไปทําการทดลองใช (Try-out) เปนจํานวน 30 ชุด โดยนําไปทดสอบกับกลุมตัวอยาง<br />

เพื่อนํากลับมาทดสอบหาคาความเชื่อถือได (Reliability) โดยใชสัมประสิทธิ์ (Cronbach’s Alpha<br />

Coefficient) ซึ่งตองมีคาความเชื่อมั่นสูงถึง 0.977 และทําการแกไขขอบกพรองใหเหมาะสมแลวจึง<br />

ทําการสง แบบทดสอบที่แกไขแลวใหกลุมตัวอยางจริงเพื่อเก็บรวบรวมขอมูล<br />

การเก็บรวบรวมขอมูล<br />

ในการศึกษาครั้งนี้จะทําการเก็บรวบรวมขอมูลตามขั้นตอนดังตอไปนี้<br />

1. ดําเนินการขอหนังสือแนะนําจากบัณฑิตมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร<br />

เพื่อใชในประกอบการจัดสงแบบสอบถามไปยังบริษัทผูใหบริการดานโลจิสติกส เพื่อขอความ<br />

รวมมือในการตอบแบบสอบถาม<br />

2. การเก็บรวบรวมขอมูลจะใชเวลาทั้งสิ้น 4 เดือน จากเดือน มีนาคม ถึง มิถุนายน 2551<br />

3. การไดมาซึ่งขอมูล ผูวิจัยจะดําเนินการจัดสงแบบสอบถามทางไปรษณีย และติดตาม<br />

ทางโทรศัพท เพื่อรวบรวมแบบสอบถามที่ไดรับการกรอกขอมูลเรียบรอยแลวกลับมาทําการ<br />

วิเคราะห<br />

4. นําขอมูลที่ไดมาลงรหัสและวิเคราะหขอมูลทางสถิติ โดยใชโปรแกรมสําเร็จรูป


51<br />

การวิเคราะหขอมูล<br />

การวิเคราะหขอมูลของผูวิจัย มีดังตอไปนี้<br />

1. การแจกแจงความถี่ (Frequency) และ คารอยละ (Percentage) ใชในการวิเคราะห<br />

ปจจัยพื้นฐาน<br />

2. คาเฉลี่ยเลขคณิต (Mean) และคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ในการ<br />

วิเคราะห ปจจัยของการเปลี่ยนแปลงของ <strong>3PL</strong> และพัฒนาการจัดการดานโลจิสติกสแบบ <strong>4PL</strong> ของ<br />

บริษัทผูใหบริการดานโลจิสติกส<br />

การกําหนดชวงคะแนนเฉลี่ยของระดับความสําคัญของความคิดเห็นในเรื่องปจจัยคุณคา<br />

ของลูกคา ปจจัยของการเปลี่ยนแปลงของ <strong>3PL</strong> และพัฒนาการจัดการดานโลจิสติกสแบบ <strong>4PL</strong> ของ<br />

บริษัทผูใหบริการดานโลจิสติกส โดยนําคะแนน (Likert Scale) จัดเปนอันตรภาคชั้นเพื่อใชในการ<br />

แปลความระดับการยอมรับดังนี้ (ชูใจ คูหารัตนไชย. 2538: 7 – 10)<br />

สูตรอันตรภาคชั้น = (คะแนนสูงสุด – คะแนนต่ําสุด) / จํานวนชั้น<br />

แทนคา = (5-1) / 5<br />

= 0.80<br />

คะแนนเฉลี่ย 1.00–1.80 หมายถึง มีความสําคัญนอยมาก<br />

คะแนนเฉลี่ย 1.81-2.60 หมายถึง มีความสําคัญนอย<br />

คะแนนเฉลี่ย 2.60-3.40 หมายถึง มีความสําคัญปานกลาง<br />

คะแนนเฉลี่ย 3.40-4.20 หมายถึง มีความสําคัญมาก<br />

คะแนนเฉลี่ย 4.20-5.00 หมายถึง มีความสําคัญมากที่สุด<br />

3. หาความสัมพันธระหวางปจจัยพื้นฐานกับปจจัยของการเปลี่ยนแปลงของ <strong>3PL</strong> โดยใช<br />

สถิติทดสอบ ไคสแควร (Chi-square)<br />

4. หาความสัมพันธระหวางปจจัยของการเปลี่ยนแปลงของ <strong>3PL</strong> กับการพัฒนาการ<br />

จัดการดานโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong> ของบริษัทผูใหบริการดานโลจิสติกส โดยใชสถิติทดสอบ<br />

คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธเพียรสัน (Pearson’s Product-moment Correlation Coefficient)<br />

โดยการแปลความหมายคาสหสัมพันธตามเกณฑ ดังตอไปนี้ ซึ่งใชไดกับทิศทางบวก<br />

และทิศทางลบ (ประคอง กรรณสูตร. 2538 :76-77)<br />

คาสหสัมพันธตั้งแต 0.00–0.20 หมายถึง มีความสัมพันธกันในระดับนอยมาก


คาสหสัมพันธตั้งแต 0.21-0.40 หมายถึง มีความสัมพันธกันในระดับนอย<br />

คาสหสัมพันธตั้งแต 0.41-0.60 หมายถึง มีความสัมพันธกันในระดับปานกลาง<br />

คาสหสัมพันธตั้งแต 0.61-0.80 หมายถึง มีความสัมพันธกันในระดับมาก<br />

คาสหสัมพันธตั้งแต 0.81-1.00 หมายถึง มีความสัมพันธกันในระดับมากที่สุด<br />

4. วิเคราะหปจจัยของการเปลี่ยนแปลงของ <strong>3PL</strong> ที่มีอิทธิพลตอการพัฒนาการจัดการ<br />

ดานโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong> ของบริษัทผูใหบริการดานโลจิสติกสโดยการวิเคราะหการถดถอย<br />

พหุคูณ (Multiple Regression Analysis)<br />

5. วิเคราะหปจจัยพื้นฐาน ที่มีอิทธิพลตอการพัฒนาการจัดการดานโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong><br />

สู <strong>4PL</strong> ของบริษัทผูใหบริการดานโลจิสติกส โดยการวิเคราะหการถดถอยพหุคูณ (Multiple<br />

Regression Analysis)<br />

6. การเสนอผลการวิเคราะหขอมูลใหนําเสนอดวยตารางประกอบคําบรรยายตามลําดับ<br />

ดังนี้<br />

ตอนที่ 1 การวิเคราะหปจจัยพื้นฐานของกลุมตัวอยาง โดยการแจกแจงความถี่<br />

(Frequency) และ คารอยละ (Percentage)<br />

ตอนที่ 2 การวิเคราะหปจจัยของการเปลี่ยนแปลงของ <strong>3PL</strong> โดยใชคาเฉลี่ยเลขคณิต<br />

(Mean) และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)<br />

ตอนที่ 3 วิเคราะหการพัฒนาการจัดการดานโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong> โดยใช<br />

คาเฉลี่ยเลขคณิต (Mean) และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)<br />

ตอนที่ 4 การวิเคราะหหาความสัมพันธระหวางปจจัยพื้นฐานกับการพัฒนาการจัดการ<br />

ดานโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong> ของบริษัทผูใหบริการดานโลจิสติกส โดยใชสถิติทดสอบไคส<br />

แควร (Chi-square)<br />

ตอนที่ 5 การวิเคราะหหาความสัมพันธระหวางปจจัยของการเปลี่ยนแปลงของ <strong>3PL</strong><br />

กับการพัฒนาการจัดการดานโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong> ของบริษัทผูใหบริการดานโลจิสติกส โดย<br />

ใชสถิติทดสอบ คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธเพียรสัน (Pearson’s Product-moment Correlation<br />

Coefficient)<br />

ตอนที่ 6 ปจจัยพื้นฐานที่มีอิทธิพลตอการพัฒนาการจัดการดานโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู<br />

<strong>4PL</strong> ของบริษัทผูใหบริการดานโลจิสติกส โดยใช การวิเคราะหการถดถอยพหุคูณ (Multiple<br />

Regression Analysis)<br />

52


ตอนที่ 7 ปจจัยการเปลี่ยนแปลงของ <strong>3PL</strong>ที่มีอิทธิพลตอการพัฒนาการจัดการดาน<br />

โลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong> ของบริษัทผูใหบริการดานโลจิสติกส โดยใช การวิเคราะหการถดถอย<br />

พหุคูณ (Multiple Regression Analysis)<br />

53


บทที่ 4<br />

ผลการวิเคราะหขอมูล<br />

การศึกษาวิจัยเรื่อง ปจจัยที่มีอิทธิพลตอการพัฒนาการจัดการดานโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong><br />

ของบริษัทผูใหบริการดานโลจิสติกส ในเขตกรุงเทพมหานคร เปนการศึกษาเชิงสํารวจ (Survey Research)<br />

ทําการรวบรวมขอมูลที่ไดรับจากการตอบแบบสอบถาม (Questionnaire) ของกลุมตัวอยาง โดยผูตอบ<br />

แบบสอบถามเปนผูบริหารระดับกรรมการผูจัดการของบริษัทผูใหบริการดานโลจิสติกสในเขต<br />

กรุงเทพมหานคร ผูวิจัยทําการแจกแบบสอบถามทั้งสิ้น 68 ชุด ปรากฏวากลุมตัวอยางไดตอบ<br />

แบบสอบถามสงกลับคืนมา จํานวน 48 ชุด คิดเปนรอยละ 70.58 ผูวิจัยแบงการนําเสนอผลการวิเคราะห<br />

ขอมูลออกเปน 7 ตอน ดังนี้<br />

ตอนที่ 1 ผลการวิเคราะหปจจัยพื้นฐานของกลุมตัวอยาง โดยการแจกแจงความถี่<br />

(Frequency) และ คารอยละ (Percentage)<br />

ตอนที่ 2 ผลการวิเคราะห ปจจัยของการเปลี่ยนแปลงของ <strong>3PL</strong> โดยใชคาเฉลี่ยเลขคณิต<br />

(Mean) และคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)<br />

ตอนที่ 3 ผลการวิเคราะห ความคิดเห็นของบริษัทผูใหบริการดาน โลจิสติกส ตอการ<br />

พัฒนาการจัดการดานโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong> โดยใชคาเฉลี่ยเลขคณิต (Mean) และคาเบี่ยงเบน<br />

มาตรฐาน (Standard Deviation)<br />

ตอนที่ 4 ผลการวิเคราะห หาความสัมพันธระหวางปจจัยพื้นฐานกับปจจัยการ<br />

เปลี่ยนแปลงของ <strong>3PL</strong> โดยใชสถิติทดสอบ ไคสแควร (Chi-square)<br />

ตอนที่ 5 ผลการวิเคราะห หาความสัมพันธระหวาง ปจจัยของการเปลี่ยนแปลงของ<br />

<strong>3PL</strong> ตอการพัฒนาการจัดการดานโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong> โดยใชสถิติทดสอบ คาสัมประสิทธิ์<br />

สหสัมพันธเพียรสัน (Pearson’s Product-moment Correlation Coefficient)<br />

ตอนที่ 6 ผลการวิเคราะห ปจจัยพื้นฐาน ที่มีอิทธิพลตอการพัฒนาการจัดการดาน<br />

โลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong> ของบริษัทผูใหบริการดานโลจิสติกส โดยใช การวิเคราะหการถดถอย<br />

พหุคูณ (Multiple Regression Analysis)<br />

ตอนที่ 7 ผลการวิเคราะห การเปลี่ยนแปลงของ <strong>3PL</strong>ที่มีอิทธิพลตอการพัฒนาการ<br />

จัดการดานโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong> ของบริษัทผูใหบริการดานโลจิสติกส โดยใช การวิเคราะห<br />

การถดถอยพหุคูณ (Multiple Regression Analysis)


55<br />

สัญลักษณที่ใชในการวิเคราะหขอมูล เพื่อใหเกิดความเขาใจที่ตรงกันในการแปล<br />

ความหมายในการวิเคราะหขอมูล ผูวิจัยไดกําหนดสัญลักษณสําหรับการวิเคราะหขอมูล ดังนี้<br />

n หมายถึง จํานวนกลุมตัวอยาง<br />

หมายถึง คาเฉลี่ย<br />

SD. หมายถึง คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน<br />

หมายถึง คาสถิติที่ใชพิจารณาใน Chi-square<br />

df.<br />

หมายถึง องศาอิสระ<br />

R หมายถึง คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ<br />

R 2 หมายถึง คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธยกกําลังสอง<br />

R 2 Change หมายถึง คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธยกกําลังสองที่เปลี่ยนไป<br />

Beta หมายถึง คาสัมประสิทธิ์ถดถอย<br />

B หมายถึง คาคงที่และคาสัมประสิทธิ์ถดถอย<br />

t หมายถึง คาที่ใชพิจารณา t –Distribution<br />

Sig. หมายถึง ความนาจะเปนสําหรับบอกนัยสําคัญทางสถิติ<br />

P<br />

หมายถึง ระดับนัยสําคัญของคาวิกฤต P<br />

* หมายถึง คาความแตกตางอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ 0.05<br />

** หมายถึง คาความแตกตางอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ 0.01


56<br />

ตอนที่ 1 ผลการวิเคราะหปจจัยพื้นฐานของกลุมตัวอยาง<br />

ผูวิจัยไดทําการวิเคราะหปจจัยพื้นฐานของกลุมตัวอยาง ที่เปนบริษัทผูใหบริการดาน<br />

โลจิสติกส ในเขตกรุงเทพมหานคร จํานวน 48 ตัวอยาง ซึ่งประกอบดวย ลักษณะธุรกิจ ประเภท<br />

ของธุรกิจ ทุนจดทะเบียน จํานวนพนักงานในบริษัท โดยการหาคารอยละ ซึ่งผลการวิเคราะหขอมูล<br />

ปรากฎดังตารางที่ 4.1<br />

ตารางที่ 4.1 จํานวนและรอยละ ของกลุมตัวอยาง จําแนกตามลักษณะธุรกิจ ประเภทของธุรกิจ<br />

ทุนจดทะเบียน และ จํานวนพนักงานในบริษัท<br />

รายการ จํานวน รอยละ<br />

ลักษณะธุรกิจ<br />

เจาของคนเดียว 8 16.7<br />

บริษัทมหาชน จํากัด 6 12.5<br />

บริษัทรวมลงทุนกับตางชาติ 34 70.8<br />

ประเภทของธุรกิจ<br />

การขนสงสินคา 28 58.3<br />

การจัดเก็บ ดูแลและบริหารคลังสินคาและการติด<br />

สลากหรือบรรจุภัณฑ 2 4.2<br />

การใหบริการพิธีการตางๆ ที่เกี่ยวกับงานโลจิสติกส 16 33.2<br />

การใหบริการงานดานเทคโนโลยีสารสนเทศและ<br />

งานที่ปรึกษาดานโลจิสติกส 2 4.2<br />

ทุนจดทะเบียน<br />

ต่ํากวา10 ลานบาท 13 27.1<br />

มากกวา 10 – 50 ลานบาท 14 29.2<br />

มากกวา 50 – 100 ลานบาท 11 22.9<br />

มากกวา 100 ลานบาท 10 20.8


57<br />

ตารางที่ 4.1 (ตอ)<br />

รายการ จํานวน รอยละ<br />

จํานวนพนักงานในบริษัท<br />

1-50 คน 9 18.8<br />

51-100 คน 8 16.7<br />

101-500 คน 20 41.7<br />

501-1,000 คน 6 12.5<br />

มากกวา 1,000 5 10.4<br />

จากตารางที่ 4.1 พบวากลุมตัวอยางสวนใหญเปน บริษัทรวมลงทุนกับตางชาติ (รอยละ<br />

70.8) และเมื่อจําแนกตามประเภทของธุรกิจสวนใหญ เปนการขนสงสินคา (รอยละ 58.3) รองลง<br />

เปนการใหบริการพิธีการตางๆ ที่เกี่ยวกับงานโลจิสติกส (รอยละ 22.9) เมื่อจําแนกตามทุนจด<br />

ทะเบียน พบวากลุมตัวอยางสวนใหญเปนมีทุนจดทะเบียน มากกวา 10 – 50 ลานบาท (รอยละ 29.2)<br />

รองลงเปนทุนจดทะเบียน มากกวา 50 – 100 ลานบาท (รอยละ 29.2) และเมื่อจําแนกตามจํานวน<br />

พนักงานในบริษัท สวนใหญเปนบริษัทที่มีจํานวนพนักงาน 101-500 คน (รอยละ 41.7) รองลงมา<br />

เปนบริษัทที่มีจํานวนพนักงาน 1-50 คน (รอยละ 18.8)<br />

ตอนที่ 2 ผลการวิเคราะห ปจจัยการเปลี่ยนแปลงของ <strong>3PL</strong> ของบริษัทผูใหบริการดาน<br />

โลจิสติกส<br />

การศึกษาวิจัยครั้งนี้ผูวิจัยไดศึกษา ความคิดเห็นของบริษัทผูใหบริการดานโลจิสติกส ใน<br />

เขตกรุงเทพมหานคร ดานปจจัยการเปลี่ยนแปลงของ <strong>3PL</strong> โดยการวิเคราะหคาเฉลี่ย (Mean) และ<br />

สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ซึ่งผลการวิเคราะหขอมูลปรากฏดังตารางที่ 4.2-4.8


58<br />

ตารางที่ 4.2 คาเฉลี่ย ( ) และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ความคิดเห็นของบริษัทผูใหบริการ<br />

ดานโลจิสติกส ดานปจจัยของการเปลี่ยนแปลงของ <strong>3PL</strong><br />

ปจจัยของการเปลี่ยนแปลงของ <strong>3PL</strong><br />

ระดับความคิดเห็น<br />

S.D.<br />

แปลผล<br />

ดานการลดตนทุน 3.88 0.475 มาก<br />

ดานการเพิ่มมูลคาในการใหบริการ 4.39 0.587 มากที่สุด<br />

ดานการขจัดปญหาตางๆ ของ <strong>3PL</strong> 3.85 0.548 มาก<br />

ดานประสิทธิภาพของการสื่อสารขอมูล 3.94 0.664 มาก<br />

ดานการจัดการและการประสานความรวมมือ 4.11 0.621 มาก<br />

ดานลีนและความคลองตัว 4.05 0.619 มาก<br />

ภาพรวม 4.04 0.467 มาก<br />

จากตารางที่ 4.2 พบวา ความคิดเห็นของบริษัทผูใหบริการดานโลจิสติกส ดานปจจัยของ<br />

การเปลี่ยนแปลงของ <strong>3PL</strong> โดยภาพรวม อยูในระดับมาก ( = 4.04) เมื่อพิจารณารายดานพบวา อยูใน<br />

ระดับมากที่สุด 1 ดาน คือ ดานการเพิ่มมูลคาในการใหบริการ ( = 4.39) อยูในระดับมาก 5 ดาน มี<br />

คาเฉลี่ยสูงสุด คือ ดานการจัดการและการประสานความรวมมือ ( = 4.11) รองลงมา ดานลีน และ<br />

ความคลองตัว ( = 4.05) และ ดานประสิทธิภาพของการสื่อสารขอมูล ( = 3.94) ตามลําดับ


59<br />

ตารางที่ 4.3 คาเฉลี่ย ( ) และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ความคิดเห็นของบริษัทผูใหบริการ<br />

ดานโลจิสติกส ดานการลดตนทุน<br />

ดานการลดตนทุน<br />

ระดับความคิดเห็น<br />

S.D.<br />

แปลผล<br />

การลดตนทุนในการจัดการ 4.08 0.794 มาก<br />

การกระจายความเสี่ยงดานการลงทุน 3.88 0.789 มาก<br />

ความไดเปรียบทางดานภาษี 3.54 0.849 มาก<br />

ความผันผวนของราคาทรัพยากร 3.83 0.808 มาก<br />

การใชสินทรัพยอยางเต็มประสิทธิภาพ 4.04 0.849 มาก<br />

ภาพรวม 3.88 0.475 มาก<br />

จากตารางที่ 4.3 พบวา ความคิดเห็นของบริษัทผูใหบริการดานโลจิสติกส ดานการลด<br />

ตนทุน ในภาพรวมอยูในระดับมาก ( = 3.88) และเมื่อพิจารณารายขอพบวา อยูในระดับมากทั้ง 5<br />

ขอ โดยขอที่มีคาเฉลี่ยสูงสุดคือ การลดตนทุนในการจัดการ ( = 4.08) รองลงมาคือการใช<br />

สินทรัพยอยางเต็มประสิทธิภาพ ( = 4.04) และการกระจายความเสี่ยงดานการลงทุน ( = 3.88)<br />

ตามลําดับ


60<br />

ตารางที่ 4.4 คาเฉลี่ย ( ) และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ความคิดเห็นของบริษัทผูใหบริการ<br />

ดานโลจิสติกส ดานการเพิ่มมูลคาในการใหบริการ<br />

ดานการเพิ่มมูลคาในการใหบริการ<br />

ระดับความคิดเห็น<br />

S.D. แปลผล<br />

มาตรฐานการใหบริการโดยเพิ่มความชํานาญทางเทคโนโลยี 4.25 0.786 มากที่สุด<br />

การพัฒนาสินคาและบริการความตองการของลูกคา 4.40 0.765 มากที่สุด<br />

การบริการหลังการขาย 4.33 0.724 มากที่สุด<br />

การสรางภาพพจนที่ดีในสายตาลูกคา 4.40 0.818 มากที่สุด<br />

การสรางความประทับใจในการใหบริการ 4.56 0.616 มากที่สุด<br />

รวม 4.39 0.587 มากที่สุด<br />

จากตารางที่ 4.4 พบวา ความคิดเห็นของบริษัทผูใหบริการดานโลจิสติกส ดานการเพิ่ม<br />

มูลคาในการใหบริการ ในภาพรวมอยูในระดับมากที่สุด ( = 4.39) และเมื่อพิจารณารายขอพบวา<br />

อยูในระดับมากที่สุดทั้ง 5 ขอ โดยขอที่มีคาเฉลี่ยสูงสุดคือ การสรางความประทับใจในการ<br />

ใหบริการ ( = 4.56) รองลงมาคือการพัฒนาสินคาและบริการความตองการของลูกคา ( = 4.40)<br />

และการสรางภาพพจนที่ดีในสายตาลูกคา ( = 4.40) การบริการหลังการขาย ( = 4.33) ตามลําดับ


61<br />

ตารางที่ 4.5 คาเฉลี่ย ( ) และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ความคิดเห็นของบริษัทผูใหบริการ<br />

ดานโลจิสติกส ดานการขจัดปญหาตางๆ ของ <strong>3PL</strong><br />

ดานการขจัดปญหาตางๆ ของ <strong>3PL</strong><br />

ระดับความคิดเห็น<br />

S.D. แปลผล<br />

ขอจํากัดดานความสามารถของ <strong>3PL</strong> 3.81 0.734 มาก<br />

การติดตอสื่อสารแตละ<strong>3PL</strong> 3.94 0.81 มาก<br />

ความยืดหยุนในการใหบริการของ <strong>3PL</strong> 3.79 0.713 มาก<br />

ขอจํากัดดานการลงทุนเพิ่มของ <strong>3PL</strong> 3.56 0.769 มาก<br />

การใชสินทรัพยอยางเต็มประสิทธิภาพ 4.15 0.772 มาก<br />

ภาพรวม 3.85 0.548 มาก<br />

จากตารางที่ 4.5 พบวา ความคิดเห็นของบริษัทผูใหบริการดานโลจิสติกส ดานการขจัด<br />

ปญหาตางๆ ของ <strong>3PL</strong> ในภาพรวมอยูในระดับมาก ( = 3.85) และเมื่อพิจารณารายขอพบวา อยูใน<br />

ระดับมากทั้ง 5 ขอ โดยขอที่มีคาเฉลี่ยสูงสุดคือ การใชสินทรัพยอยางเต็มประสิทธิภาพ ( = 4.15)<br />

รองลงมาคือการติดตอสื่อสารแตละ <strong>3PL</strong> ( = 3.94) และขอจํากัดดานความสามารถของ <strong>3PL</strong> ( =<br />

3.81) ตามลําดับ


62<br />

ตารางที่ 4.6 คาเฉลี่ย ( ) และคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ความคิดเห็นของบริษัทผูใหบริการ<br />

ดานโลจิสติกส ดานประสิทธิภาพของการสื่อสารขอมูล<br />

ดานประสิทธิภาพของการสื่อสารขอมูล<br />

ระดับความคิดเห็น<br />

S.D.<br />

แปลผล<br />

การเขาถึงขอมูลขาวสารของลูกคา 4.13 0.815 มาก<br />

การใชระบบฐานขอมูลเดียวกันของ <strong>3PL</strong> 3.77 0.805 มาก<br />

สามารถประมวลผลใหผลลัพธไดหลายรูปแบบ 3.71 0.713 มาก<br />

ความเร็วของการเปลี่ยนแปลงขอมูล (Updating Data) 4.02 0.911 มาก<br />

ความมีเสถียรภาพของระบบสื่อสารขอมูล 4.08 0.794 มาก<br />

ภาพรวม 3.94 0.664 มาก<br />

จากตารางที่ 4.6 พบวา ความคิดเห็นของบริษัทผูใหบริการดานโลจิสติกส ดาน<br />

ประสิทธิภาพของการสื่อสารขอมูลในภาพรวมอยูในระดับมาก ( = 3.94) และเมื่อพิจารณารายขอ<br />

พบวา อยูในระดับมาก 5 ขอ โดยขอที่มีคาเฉลี่ยสูงสุดคือ การเขาถึงขอมูลขาวสารของลูกคา ( =<br />

4.13) รองลงมาคือความมีเสถียรภาพของระบบสื่อสารขอมูล ( = 4.08) และความเร็วของการ<br />

เปลี่ยนแปลงขอมูล ( = 4.02) ตามลําดับ


63<br />

ตารางที่ 4.7 คาเฉลี่ย ( ) และคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ความคิดเห็นของบริษัทผูใหบริการ<br />

ดานโลจิสติกส ดานการจัดการและการประสานความรวมมือ<br />

ดานการจัดการและการประสานความรวมมือ<br />

ระดับความคิดเห็น<br />

S.D. แปลผล<br />

การมีนโยบายมุงการประสานความรวมมือ 4.08 0.964 มาก<br />

การวางแผนงานที่ดี 4.27 0.765 มากที่สุด<br />

การปฏิบัติตามกฏระเบียบอยางเครงครัด 4.06 0.932 มาก<br />

ความโปรงใสของการจัดการ 4.17 0.859 มาก<br />

มีหนวยงานกลางในการประสานงานอยางมีระบบ 3.98 0.729 มาก<br />

ภาพรวม 4.11 0.621 มาก<br />

จากตารางที่ 4.7 พบวา ความคิดเห็นของบริษัทผูใหบริการดานโลจิสติกส ดานการจัดการ<br />

และการประสานความรวมมือ ในภาพรวมอยูในระดับมาก ( = 4.11) และเมื่อพิจารณารายขอ<br />

พบวา อยูในระดับมากที่สุด 1 ขอ คือ การวางแผนงานที่ดี ( = 4.27) อยูในระดับมาก 4 ขอ โดยขอ<br />

ที่มีคาเฉลี่ยสูงสุดคือ ความโปรงใสของการจัดการ ( = 4.17) รองลงมาคือการมีนโยบายมุงการ<br />

ประสานความรวมมือ ( = 4.08) และการปฏิบัติตามกฏระเบียบอยางเครงครัด ( = 4.06)<br />

ตามลําดับ


64<br />

ตารางที่ 4.8 คาเฉลี่ย ( ) และคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ความคิดเห็นของบริษัทผูใหบริการ<br />

ดานโลจิสติกส ดานลีนและความคลองตัว<br />

ดานลีนและความคลองตัว<br />

ระดับความคิดเห็น<br />

S.D. แปลผล<br />

การลดความสูญเสียตลอดทั้งกระบวนการ 4.21 0.743 มากที่สุด<br />

ความสามารถคาดการณอุปสงค เพื่อการวางแผน 3.88 0.64 มาก<br />

ความสามารถในการตอบสนองความตองการของตลาด 4.06 0.836 มาก<br />

ภาพรวม 4.05 0.619 มาก<br />

จากตารางที่ 4.8 พบวา ความคิดเห็นของบริษัทผูใหบริการดานโลจิสติกส ดานลีนและ<br />

ความคลองตัว ในภาพรวมอยูในระดับมาก ( = 4.05) และเมื่อพิจารณารายขอพบวา อยูในระดับ<br />

มากที่สุด 1 ขอ คือ การลดความสูญเสียตลอดทั้งกระบวนการ ( = 4.21) อยูในระดับมาก 2 ขอ โดย<br />

ขอที่มีคาเฉลี่ยสูงสุด รองลงมาคือความสามารถในการตอบสนองความตองการของตลาด ( =<br />

4.06) และความสามารถคาดการณอุปสงค เพื่อการวางแผน ( = 3.88) ตามลําดับ


65<br />

ตอนที่ 3 ผลการวิเคราะห ความคิดเห็นของบริษัทผูใหบริการดานโลจิสติกส ตอ การ<br />

พัฒนาการจัดการดานโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong><br />

จากการศึกษาวิจัยครั้งนี้ผูวิจัย ไดศึกษาความคิดเห็นของบริษัทผูใหบริการดาน<br />

โลจิสติกส ในเขตกรุงเทพมหานคร ตอการพัฒนาการจัดการดานโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong> โดย<br />

การวิเคราะหคาเฉลี่ย (Mean) และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ซึ่งผลการวิเคราะห<br />

ขอมูลปรากฏดังตารางที่ 4.9 – 4.14<br />

ตารางที่ 4.9 คาเฉลี่ย ( ) และคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ความคิดเห็นของบริษัทผูใหบริการ<br />

ดานโลจิสติกส ตอการพัฒนาการจัดการดานโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong><br />

การพัฒนาการจัดการดานโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong><br />

ระดับความคิดเห็น<br />

S.D. แปลผล<br />

ดานคุณภาพ 4.05 0.526 มาก<br />

ดานตนทุน 3.85 0.617 มาก<br />

ดานการบริการ 4.24 0.565 มากที่สุด<br />

ดานเวลานํา 4.26 0.583 มากที่สุด<br />

ดานการพัฒนาเครือขายทั้งแนวตั้งและแนวนอน 4.26 0.486 มากที่สุด<br />

ภาพรวม 4.13 0.438 มาก<br />

จากตารางที่ 4.9 พบวา ความคิดเห็นของบริษัทผูใหบริการดานโลจิสติกส ตอการพัฒนาการ<br />

จัดการดานโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong> ในภาพรวมอยูในระดับมาก ( = 4.13) และเมื่อพิจารณาราย<br />

ดานพบวา อยูในระดับมากที่สุด 3 ดาน โดยดานที่มีคาเฉลี่ยสูงสุดคือ ดานเวลานําและดานการ<br />

พัฒนาเครือขายทั้งแนวตั้งและแนวนอน ( = 4.26) รองลงมาคือดานการบริการ ( = 4.24) และ<br />

ดานคุณภาพ ( = 4.05) ตามลําดับ


66<br />

ตารางที่ 4.10 คาเฉลี่ย ( ) และ คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ความคิดเห็นของบริษัทผูให<br />

บริการดานโลจิสติกส ตอการพัฒนาการจัดการดานโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong> ดาน<br />

คุณภาพ<br />

ดานคุณภาพ<br />

ระดับความคิดเห็น<br />

S.D. แปลผล<br />

ความเหมาะสมในการใชประโยชน 4.33 0.63 มากที่สุด<br />

ความปลอดภัยตอสินคาจากการดําเนินกิจกรรม 4.29 0.713 มากที่สุด<br />

มาตรฐานในการดําเนินกิจกรรม ผานการรับรองจากระบบ ISO 4.02 0.729 มาก<br />

กระบวนการเชื่อมโยงอยางตอเนื่องมีความผันผวนนอย 3.77 0.973 มาก<br />

การมีตัวชี้วัดการดําเนินกิจกรรม 3.83 0.724 มาก<br />

ภาพรวม 4.05 0.526 มาก<br />

จากตารางที่ 4.10 พบวา ความคิดเห็นของบริษัทผูใหบริการดานโลจิสติกส ตอการพัฒนาการ<br />

จัดการดานโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong> ดานคุณภาพ ในภาพรวมอยูในระดับมาก ( = 4.05) และเมื่อ<br />

พิจารณารายขอพบวา อยูในระดับมากที่สุด 2 ขอ โดยขอที่มีคาเฉลี่ยสูงสุดคือ ความเหมาะสมในการ<br />

ใชประโยชน ( = 4.33) รองลงมาคือความปลอดภัยตอสินคาจากการดําเนินกิจกรรม ( = 4.29)<br />

ตามลําดับ


67<br />

ตารางที่4.11 คาเฉลี่ย ( ) และ คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ความคิดเห็นของบริษัทผูให<br />

บริการดานโลจิสติกส ตอการพัฒนาการจัดการดานโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong><br />

ดานตนทุน<br />

ดานตนทุน<br />

ระดับความคิดเห็น<br />

S.D. แปลผล<br />

ความเหมาะสมของราคาในการดําเนินกิจกรรม 4.02 0.911 มาก<br />

การจัดการในการดําเนินกิจกรรมเพื่อลดตนทุน 4.02 0.978 มาก<br />

การมีสินคาคงคลัง 3.48 0.967 มาก<br />

การเลือกใชวัสดุ และอุปกรณ 3.77 0.751 มาก<br />

การมีสวนรวมของลูกคาในการลดตนทุน 3.96 0.988 มาก<br />

ภาพรวม 3.85 0.617 มาก<br />

จากตารางที่ 4.11 พบวา ความคิดเห็นของบริษัทผูใหบริการดานโลจิสติกส ตอการ<br />

พัฒนาการจัดการดานโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong> ดานตนทุน ในภาพรวมอยูในระดับมาก ( = 4.05)<br />

และเมื่อพิจารณารายขอพบวา อยูในระดับมากทั้ง 5 ขอ โดยขอที่มีคาเฉลี่ยสูงสุดคือ ความเหมาะสม<br />

ของราคาในการดําเนินกิจกรรม และการจัดการในการดําเนินกิจกรรมเพื่อลดตนทุน ( = 4.02)<br />

รองลงมาคือการมีสวนรวมของลูกคาในการลดตนทุน ( = 3.96) และการเลือกใชวัสดุ และอุปกรณ<br />

( = 3.77) ตามลําดับ


68<br />

ตารางที่ 4.12 คาเฉลี่ย ( ) และคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ความคิดเห็นของบริษัทผูใหบริการ<br />

ดานโลจิสติกสตอการพัฒนาการจัดการดานโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong><br />

ดานการบริการ<br />

ดานการบริการ<br />

ระดับความคิดเห็น<br />

S.D. แปลผล<br />

ความรูและความชํานาญของบริษัทผูใหบริการ 4.40 0.676 มากที่สุด<br />

ความยืดหยุนในการใหบริการ 4.13 0.761 มาก<br />

ความพรอมและความสามารถในการใหบริการ 4.27 0.736 มากที่สุด<br />

ความสะดวกสบายของลูกคาที่มารับบริการ 4.19 0.734 มาก<br />

เทคโนโลยีที่ทันสมัยในการใหบริการ 4.21 0.683 มากที่สุด<br />

ภาพรวม 4.24 0.565 มากที่สุด<br />

จากตารางที่ 4.12 พบวา ความคิดเห็นของบริษัทผูใหบริการดานโลจิสติกส ตอการ<br />

พัฒนาการจัดการดานโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong> ดานการบริการ ในภาพรวมอยูในระดับมากที่สุด (<br />

= 4.24) และเมื่อพิจารณารายขอพบวา อยูในระดับมากที่สุด 3 ขอ โดยขอที่มีคาเฉลี่ยสูงสุดคือ<br />

ความรูและความชํานาญของบริษัทผูใหบริการ ( = 4.40) รองลงมาคือความพรอมและ<br />

ความสามารถในการใหบริการ ( = 4.27) และเทคโนโลยีที่ทันสมัยในการใหบริการ ( = 4.21)<br />

ตามลําดับ


69<br />

ตารางที่ 4.13 คาเฉลี่ย ( ) และคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ความคิดเห็นของบริษัทผูใหบริการ<br />

ดานโลจิสติกสตอการพัฒนาการจัดการดานโลจิสติกสแบบ 3 P L สู 4 P L<br />

ดานเวลานํา<br />

ดานเวลานํา<br />

ระดับความคิดเห็น<br />

S.D. แปลผล<br />

การตรงตอเวลาในการใหบริการ 4.56 0.649 มากที่สุด<br />

การพัฒนาการใหบริการอยางรวดเร็วและประหยัดเวลา 4.50 0.715 มากที่สุด<br />

ความรวดเร็วในการจัดการโดยรวม 4.27 0.765 มากที่สุด<br />

การมีสินคาคงคลังหรืออุปกรณสํารอง 3.71 0.849 มาก<br />

ภาพรวม 4.26 0.583 มากที่สุด<br />

จากตารางที่ 4.13 พบวา ความคิดเห็นของบริษัทผูใหบริการดานโลจิสติกส ตอการ<br />

พัฒนาการจัดการดานโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong> ดานเวลานํา ในภาพรวมอยูในระดับมากที่สุด ( =<br />

4.26) และเมื่อพิจารณารายขอพบวา อยูในระดับมากที่สุด 3 ขอ โดยขอที่มีคาเฉลี่ยสูงสุดคือ การตรง<br />

ตอเวลาในการใหบริการ ( = 4.56) รองลงมาคือการพัฒนาการใหบริการอยางรวดเร็วและ<br />

ประหยัดเวลา ( = 4.50) และ ความรวดเร็วในการจัดการโดยรวม ( = 4.27) ตามลําดับ


70<br />

ตารางที่ 4.14 คาเฉลี่ย ( ) และคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ความคิดเห็นของบริษัทผูให<br />

บริการดานโลจิสติกสตอการพัฒนาการจัดการดานโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong> ดาน<br />

การพัฒนาเครือขายทั้งแนวตั้งและแนวนอน<br />

ดานการพัฒนาเครือขายทั้งแนวตั้งและแนวนอน<br />

ระดับความคิดเห็น<br />

S.D. แปลผล<br />

ทักษะในการจัดการเครือขาย 4.13 0.606 มาก<br />

การสรางความสัมพันธอันดีในการประสานงาน 4.35 0.668 มากที่สุด<br />

การสรางคุณคาดวยการทํางานรวมกับบริษัทคูคา 4.38 0.672 มากที่สุด<br />

การกระจายการตั้งเปาหมายเพื่อความสําเร็จในแตละสวนงาน 4.19 0.673 มาก<br />

ภาพรวม 4.26 0.486 มากที่สุด<br />

จากตารางที่ 4.14 พบวา ความคิดเห็นของบริษัทผูใหบริการดานโลจิสติกส ตอการพัฒนาการ<br />

จัดการดานโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong> ดานการพัฒนาเครือขายทั้งแนวตั้งและแนวนอน ในภาพรวมอยู<br />

ในระดับมากที่สุด ( = 4.26) และเมื่อพิจารณารายขอพบวา อยูในระดับมากทั้ง 2 ขอ โดยขอที่มี<br />

คาเฉลี่ยสูงสุดคือ การสรางคุณคาดวยการทํางานรวมกับบริษัทคูคา ( = 4.38) รองลงมาคือการ<br />

สรางความสัมพันธอันดีในการประสานงาน ( = 4.35) ตามลําดับ


71<br />

ตอนที่ 4 ผลการวิเคราะห หาความสัมพันธระหวางปจจัยพื้นฐาน กับปจจัยการ<br />

เปลี่ยนแปลงของ <strong>3PL</strong><br />

ผูวิจัย ไดศึกษาหาความสัมพันธระหวางปจจัยพื้นฐาน กับ ปจจัยการเปลี่ยนแปลงของ<br />

<strong>3PL</strong>โดยใชสถิติทดสอบ ไคสแควร (Chi-square) ซึ่งผลการวิเคราะหขอมูลปรากฏดังตารางที่ 4.15 –<br />

4.18<br />

ตารางที่ 4.15 วิเคราะห หาความสัมพันธระหวาง ปจจัยพื้นฐานกับปจจัยการเปลี่ยนแปลงของ <strong>3PL</strong><br />

จําแนกตามลักษณะธุรกิจ<br />

ลักษณะธุรกิจ<br />

ภาพรวมความคิดเห็น<br />

ปานกลาง มาก มากที่สุด รวม df Sig.<br />

เจาของคนเดียว 1 4 3 8 5.377 4 0.251<br />

บริษัทมหาชนจํากัด 2 2 2 6<br />

บริษัทรวมลงทุนกับตางชาติ 4 25 5 34<br />

รวม 7 31 10 48<br />

* P < 0.05<br />

จากตารางที่ 4.15 ผลทดสอบความสัมพันธระหวางปจจัยพื้นฐานกับปจจัยการเปลี่ยนแปลง<br />

ของ <strong>3PL</strong> จําแนกตามลักษณะธุรกิจ พบวา ความคิดเห็นบริษัทผูใหบริการดานโลจิสติกส ที่มีลักษณะธุรกิจ<br />

ตางกัน มีความคิดเห็นดานการพัฒนาการจัดการดานโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong> ไมสัมพันธกันอยางมี<br />

นัยสําคัญทางสถิติที่ 0.05


72<br />

ตารางที่ 4.16 วิเคราะหหาความสัมพันธระหวางปจจัยพื้นฐานกับปจจัยการเปลี่ยนแปลงของ<br />

<strong>3PL</strong> จําแนกตามประเภทของธุรกิจ<br />

ประเภทของธุรกิจ<br />

ภาพรวมความคิดเห็น<br />

ปานกลาง มาก มากที่สุด รวม df Sig.<br />

การขนสงสินคา 2 20 6 28 7.592 6 0.27<br />

การจัดเก็บ ดูแลและบริหาร<br />

คลังสินคาและการติดสลาก<br />

หรือบรรจุภัณฑ 0 2 0 2<br />

การใหบริการพิธีการตางๆ ที่<br />

เกี่ยวกับงานโลจิสติกส 4 9 3 16<br />

การใหบริการงานดาน<br />

เทคโนโลยีสารสนเทศและ<br />

งานที่ปรึกษาดานโลจิสติกส 1 0 1 2<br />

รวม 7 31 10 48<br />

* P < 0.05<br />

จากตารางที่ 4.16 ผลทดสอบความสัมพันธระหวางปจจัยพื้นฐานกับปจจัยการเปลี่ยนแปลง<br />

ของ <strong>3PL</strong> จําแนกตามประเภทของธุรกิจ พบวา ความคิดเห็นของบริษัทผูใหบริการดานโลจิสติกส ที่มี<br />

ประเภทของธุรกิจ ตางกัน มีความคิดเห็น ดานการพัฒนาการจัดการดานโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong> ไม<br />

สัมพันธกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ 0.05


73<br />

ตารางที่ 4.17 วิเคราะห หาความสัมพันธ ระหวางปจจัยพื้นฐานกับปจจัยการเปลี่ยนแปลงของ <strong>3PL</strong><br />

จําแนกตามทุนจดทะเบียน<br />

ทุนจดทะเบียน<br />

ภาพรวมความคิดเห็น<br />

ปานกลาง มาก มากที่สุด รวม df Sig.<br />

ต่ํากวา10 ลาน<br />

บาท 2 8 3 13 11.767 6 0.067<br />

มากกวา 10 – 50<br />

ลานบาท 2 6 6 14<br />

มากกวา 50 – 100<br />

ลานบาท 3 7 1 11<br />

มากกวา 100 ลาน<br />

บาท 0 10 0 10<br />

รวม 7 31 10 48<br />

* P < 0.05<br />

จากตารางที่ 4.17 ผลทดสอบความสัมพันธระหวางปจจัยพื้นฐานกับปจจัยการเปลี่ยนแปลง<br />

ของ <strong>3PL</strong> จําแนกตามทุนจดทะเบียนพบวา ความคิดเห็นของบริษัทผูใหบริการดานโลจิสติกส ที่มีทุนจด<br />

ทะเบียนตางกัน มีความคิดเห็น ดานการพัฒนาการจัดการดานโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong> ไมสัมพันธกัน<br />

อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ 0.05


74<br />

ตารางที่ 4.18 วิเคราะห หาความสัมพันธ ระหวางปจจัยพื้นฐานกับปจจัยการเปลี่ยนแปลงของ <strong>3PL</strong><br />

จําแนกตามจํานวนพนักงานในบริษัท<br />

จํานวนพนักงาน<br />

ภาพรวมความคิดเห็น<br />

ในบริษัท ปานกลาง มาก มากที่สุด รวม df Sig.<br />

1-50 คน 1 5 3 9 11.242 8 0.188<br />

51-100 คน 0 8 0 8<br />

101-500 คน 5 9 6 20<br />

501-1000 คน 1 5 0 6<br />

มากกวา 1,000 คน 0 4 1 5<br />

รวม 7 31 10 48<br />

* P < 0.05<br />

จากตารางที่ 4.18 ผลทดสอบความสัมพันธระหวางปจจัยพื้นฐานกับปจจัยการเปลี่ยนแปลง<br />

ของ <strong>3PL</strong> จําแนกตามจํานวนพนักงานในบริษัทพบวา ความคิดเห็นของบริษัทผูใหบริการดานโลจิสติกส<br />

ที่มีจํานวนพนักงานในบริษัทตางกัน มีความคิดเห็น ดานการพัฒนาการจัดการดานโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู<br />

<strong>4PL</strong> ไมสัมพันธกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ 0.05


75<br />

ตอนที่ 5 ผลการวิเคราะห หาความสัมพันธระหวางปจจัยการเปลี่ยนแปลงของ <strong>3PL</strong> กับ<br />

การพัฒนาการจัดการดานโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong><br />

ผูวิจัย ไดศึกษาหาความสัมพันธระหวางปจจัยของการเปลี่ยนแปลง ของ <strong>3PL</strong> ตอการ<br />

พัฒนาการจัดการดานโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong> โดยใชสถิติทดสอบ คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ<br />

เพียรสัน (Pearson’s Product-moment Correlation Coefficient) ซึ่งผลการวิเคราะหขอมูลปรากฏดัง<br />

ตารางที่ 4.19<br />

ตารางที่ 4.19 คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ (Correlation Coefficient) ระหวางปจจัยของการเปลี่ยน<br />

แปลง ของ <strong>3PL</strong> ตอการพัฒนาการจัดการดานโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong><br />

ตัวแปร<br />

การพัฒนาการจัดการดานโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong><br />

คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ (r) Sig. แปลผล<br />

ดานการลดตนทุน .421(**) 0.003 ปานกลาง<br />

ดานการเพิ่มมูลคาในการให บริการ .345(*) 0.016 นอย<br />

ดานการขจัดปญหาตางๆ ของ <strong>3PL</strong> .459(**) 0.001 ปานกลาง<br />

ดานประสิทธิภาพของการสื่อสารขอมูล .475(**) 0.001 ปานกลาง<br />

ดานการจัดการและการประสานความ<br />

รวมมือ .497(**) 0.000 ปานกลาง<br />

ดานลีนและความคลองตัว .578(**) 0.000 ปานกลาง<br />

** P < 0.01<br />

* P < 0.05<br />

รวม .584(**) 0.000 ปานกลาง<br />

จากตารางที่ 4.19 พบวา ความสัมพันธโดยภาพรวมระหวางปจจัยการเปลี่ยนแปลง ของ<br />

<strong>3PL</strong> ตอการพัฒนาการจัดการดานโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong> มีความสัมพันธกันในทางบวกอยางมี<br />

นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 โดยมีคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ อยูในระดับปานกลาง (r= .584)<br />

และเมื่อพิจารณาเปนรายดานพบวา มีความสัมพันธอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 อยูใน<br />

ระดับปานกลาง 5 ดาน โดยเรียงคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธจากสูงสุด จนถึงนอยที่สุดดังนี้ ปจจัย


76<br />

ดานลีนและความคลองตัว (r= .578) ปจจัยดานการจัดการและการประสานความรวมมือ (r= .497)<br />

ปจจัยดานประสิทธิภาพของการสื่อสารขอมูล (r= .475) ปจจัยดานการขจัดปญหาตางๆ ของ <strong>3PL</strong><br />

(r= .459) ปจจัยดานการลดตนทุน (r= .421) และมีความสัมพันธอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ<br />

0.05 อยูในระดับนอย 1 ดาน คือ ปจจัยดานการเพิ่มมูลคาในการให บริการ (r= .345)<br />

ตอนที่ 6 ผลการวิเคราะห ปจจัยพื้นฐาน ที่มีอิทธิพลตอการพัฒนาการจัดการดาน<br />

โลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong> ของบริษัทผูใหบริการดานโลจิสติกส โดยใชการวิเคราะหการ<br />

ถดถอยพหุคูณ (Multiple Regression Analysis)<br />

ตารางที่ 4.20 ผลการวิเคราะห คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ (Correlation Coefficient) ระหวาง<br />

ปจจัยของการเปลี่ยนแปลง ของ 3P L กับการพัฒนาการจัดการดานโลจิสติกสแบบ<br />

<strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong><br />

ตัวแปร TYPE KIND INVEST EMPLOYEE AAY<br />

TYPE 1<br />

KIND 0.248 1<br />

INVEST 0.256 0 1<br />

EMPLOYEE 0.4** 0.176 0.686** 1<br />

AAY 0.408 0.488 0.461 0.45 1<br />

ความหมายของตัวแปรตางๆ ที่ใชในการวิเคราะหปจจัยที่มีความสัมพันธ กับการ<br />

พัฒนาการจัดการดานโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong> กอนทําการวิเคราะหการถดถอยพหุคูณ มีดังนี้<br />

ตัวแปร ความหมาย<br />

TYPE ลักษณะธุรกิจ<br />

KIND ประเภทของธุรกิจ<br />

INVEST ทุนจดทะเบียน<br />

EMPLOYEE จํานวนพนักงานในบริษัท<br />

AAY การพัฒนาการจัดการโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong>


77<br />

จากตารางที่ 4.20 พบวาตัวแปรทุกตัวไมมีความสัมพันธกับการพัฒนาการจัดการดาน<br />

โลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong> จึงไมตองวิเคราะหหาตัวแปรตัวที่มีอิทธิพลตอการพัฒนาการจัดการ<br />

ดานโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong> ตอไป<br />

ตอนที่ 7 ผลการวิเคราะห ของการเปลี่ยนแปลงของ <strong>3PL</strong>ที่มีอิทธิพลตอการพัฒนาการ<br />

จัดการดานโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong> ของบริษัทผูใหบริการดานโลจิสติกส โดยใช การ<br />

วิเคราะหการถดถอยพหุคูณ (Multiple Regression Analysis)<br />

ตารางที่ 4.21 คาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานของตัวแปรที่ใชในการวิเคราะหความสัมพันธกับ<br />

ความคิดเห็นของกลุมตัวอยางโดยรวมที่มีตอการพัฒนาการจัดการดานโลจิสติกส<br />

แบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong><br />

ตัวแปรอิสระ Mean S.D. n<br />

ปจจัยดานการลดตนทุน 3.88 0.475 48<br />

ปจจัยดานการเพิ่มมูล คาในการให บริการ 4.39 0.587 48<br />

ปจจัยดานการขจัดปญหาตางๆ ของ <strong>3PL</strong> 3.85 0.548 48<br />

ปจจัยดานประสิทธิ ภาพของการสื่อสารขอมูล 3.94 0.664 48<br />

ปจจัยดานการจัดการและการประสานความรวมมือ 4.11 0.621 48<br />

ปจจัยดานการลดตนทุน 4.05 0.619 48<br />

จากตารางที่ 4.21 พบวา คาสถิติของตัวแปรตนมีคุณบัติอยูในเกณฑดีและเหมาะสม โดย<br />

มีคาเฉลี่ยอยูในเกณฑสูง (คาที่ควรจะเปนคือ 5) สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานกระจายคอนขางสูง ซึ่ง<br />

แสดงวาความแปรปรวนของตัวแปรทุกตัวอยูในเกณฑที่ดีมีการกระจายปกติ คาสถิติดังกลาวจึง<br />

เหมาะที่จะทดสอบการวิเคราะหถดถอยพหุคูณตอไป<br />

ความหมายของตัวแปรตางๆ ที่ใชในการวิเคราะหปจจัยที่มีความสัมพันธ และสงผลตอ<br />

การพัฒนาการจัดการดานโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong> มีดังนี้<br />

ตัวแปร ความหมาย<br />

AX1 ปจจัยดานการลดตนทุน


78<br />

AX2 ปจจัยดานการเพิ่มมูลคาในการใหบริการ<br />

AX3 ปจจัยดานการขจัดปญหาตางๆ ของ <strong>3PL</strong><br />

AX4 ปจจัยดานประสิทธิภาพของการสื่อสารขอมูล<br />

AX5 ปจจัยดานการจัดการและการประสานความรวมมือ<br />

AX6 ปจจัยดานลีนและความคลองตัว<br />

AAY การพัฒนาการจัดการโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong><br />

ตารางที่ 4.22 ผลการวิเคราะหการถดถอยของตัวแปร คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ (Correlation<br />

Coefficient) ระหวางปจจัยของการเปลี่ยนแปลง ของ <strong>3PL</strong> ตอการพัฒนาการจัดการ<br />

ดานโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong><br />

ตัวแปร AX1 AX2 AX3 AX4 AX5 AX6 AAY<br />

AX1 1<br />

AX2 .387(**) 1<br />

AX3 .399(**) .341(**) 1<br />

AX4 .369(**) .427(**) .460(**) 1<br />

AX5 .354(**) .456(**) .387(**) .620(**) 1<br />

AX6 .444(**) .354(**) .376(**) .656(**) .596(**) 1<br />

AAY .305(**) .315(**) .388(**) .411(**) .450(**) .508(**) 1<br />

จากตารางที่ 4.22 พบวาตัวแปรทุกตัวที่มีความสัมพันธกับความเห็นที่มีตอการพัฒนาการ<br />

จัดการดานโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong> แตตองวิเคราะหตอไปวาตัวแปรตัวใดบางที่มีอิทธิพลหรือ<br />

สามารถพยากรณเกี่ยวกับการพัฒนาการจัดการดานโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong> จึงตองทดสอบการ<br />

วิเคราะหถดถอยพหุคูณตอไป


79<br />

ตารางที่ 4.23 ผลการวิเคราะห การเปลี่ยนแปลงของ <strong>3PL</strong>ที่มีอิทธิพลตอการพัฒนาการจัดการดาน<br />

โลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong> ของบริษัทผูใหบริการดานโลจิสติกส<br />

ชุดตัวแปรที่เขา คาสัมประสิทธิ์<br />

สมการ B Beta<br />

F Sig. F R 2 R 2<br />

Change<br />

คาคงที (Constant) 2.009 - - - - - 4.872 0.000<br />

ปจจัยดานการขจัด<br />

ปญหาตางๆ ของ<br />

<strong>3PL</strong> 0.204 0.256 12.29 0.001 0.211 0.211 1.972 0.049<br />

ปจจัยดานลีนและ<br />

ความคลองตัว 0.33 0.467 14.225 0.000 0.387 0.177 3.601 0.001<br />

S.E.E. = 0.35 Adjusted R2 = 0.36<br />

ตัวแปรนอกสมการ B Beta F Sig. F R 2 R 2<br />

Change<br />

t Sig.<br />

ปจจัยดานการลด<br />

ตนทุน 0.19 0.206 1.333 0.19<br />

ปจจัยดานการเพิ่มมูล<br />

คาในการให บริการ 0.011 0.014 0.088 0.93<br />

ปจจัยดานประสิทธิ<br />

ภาพของการสื่อสาร<br />

ขอมูล 0.105 0.159 0.787 0.436<br />

ปจจัยดานการจัดการ<br />

และการประสาน<br />

ความรวมมือ 0.195 0.278 1.440 0.157<br />

จากตารางที่ 4.23 พบวา ตัวแปรอิสระทั้ง 6 ตัวแปร สามารถอธิบายการมีอิทธิพลตอตัว<br />

แปรตามอยางมีนัยสําคัญทางสถิติระดับ .05 ไดเพียง 2 ตัวแปรเทานั้นคือปจจัยดานการขจัดปญหา<br />

ตางๆ ของ <strong>3PL</strong> และปจจัยดานลีนและความคลองตัว มีประสิทธิภาพในการพยากรณโดยรวมได<br />

รอยละ 38.7<br />

t<br />

Sig.


80<br />

จากผลการวิเคราะหการถดถอยไดสมการพยากรณการมีอิทธิพล ดังนี้<br />

กําหนด X1 = ปจจัยดานการลดตนทุน<br />

X2 = ปจจัยดานการเพิ่มมูล คาในการให บริการ<br />

X3 = ปจจัยดานการขจัดปญหาตางๆ ของ <strong>3PL</strong><br />

X4 = ปจจัยดานประสิทธิ ภาพของการสื่อสารขอมูล<br />

X5 = ปจจัยดานการจัดการและการประสานความรวมมือ<br />

X6 = ปจจัยดานลีนและความคลองตัว<br />

Y = ระดับความมีอิทธิพลตอการพัฒนาการจัดการดานโลจิสติกสแบบ<br />

<strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong><br />

สมการ<br />

Y = a + b3X3 + b6 X6<br />

Y = 2.009 + 0.204X3 + 0.330X6<br />

ซึ่งตัวแปรอิสระ ปจจัยดานการขจัดปญหาตางๆ ของ <strong>3PL</strong> และปจจัยดานลีนและความ<br />

คลอง ทั้งสองตัวนี้มีประสิทธิภาพในการพยากรณความมีอิทธิพลตอการพัฒนาการจัดการดาน<br />

โลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong> ไดรอยละ 38.7


บทที่ 5<br />

สรุปผล อภิปรายผล และขอเสนอแนะ<br />

การศึกษาวิจัยเรื่อง ปจจัยที่มีอิทธิพลตอการพัฒนาการจัดการดานโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู<br />

<strong>4PL</strong> ของบริษัทผูใหบริการดานโลจิสติกส ในเขตกรุงเทพมหานคร เปนการศึกษาเชิงสํารวจ<br />

(Survey research) ทําการรวบรวมขอมูลที่ไดรับจากการตอบแบบสอบถาม (Questionnaire) ของ<br />

กลุมตัวอยาง โดยมีวัตถุประสงคของการวิจัย<br />

1. เพื่อศึกษา ปจจัยพื้นฐานของบริษัทผูใหบริการดานโลจิสติกส ปจจัยการเปลี่ยนแปลง<br />

ของ <strong>3PL</strong> และการพัฒนาการจัดการดานโลจิสติกสจากแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong><br />

2. เพื่อศึกษา ความสัมพันธระหวางปจจัยพื้นฐานกับปจจัยการเปลี่ยนแปลงของ <strong>3PL</strong><br />

3. เพื่อศึกษา ความสัมพันธระหวางปจจัยการเปลี่ยนแปลงของ <strong>3PL</strong> กับ การพัฒนาการ<br />

จัดการดานโลจิสติกสจากแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong><br />

4. เพื่อศึกษา ปจจัยพื้นฐาน ที่มีอิทธิพลตอ การพัฒนาการจัดการดานโลจิสติกส จากแบบ<br />

<strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong><br />

5. เพื่อศึกษา ปจจัยการเปลี่ยนแปลงของ <strong>3PL</strong> ที่มีอิทธิพลตอ การพัฒนาการจัดการดาน<br />

โลจิสติกสจากแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong><br />

กลุมตัวอยางไดแก บริษัทผูใหบริการดานโลจิสติกส ในเขตกรุงเทพมหานคร จํานวน 82<br />

บริษัท โดยไดทําการกําหนดขนาดของกลุมตัวอยาง ไดจากการคํานวณจากสูตร ทาโร ยามาเน<br />

(Yamane. 1973 : 887) ซึ่งไดขนาดของกลุมตัวอยางจํานวน 68 บริษัท และการสุมตัวอยางวิจัยใช<br />

วิธีการสุมอยางงาย (Simple Random Sampling) โดยผูวิจัยทําการแจกแบบสอบถามทั้งสิ้น 68 ชุด<br />

ปรากฏวากลุมตัวอยางไดตอบแบบสอบถามสงคืนกลับมา จํานวน 48 ชุด คิดเปนรอยละ 70.58<br />

การศึกษาวิจัยครั้งนี้ ผูวิจัยใชการวิเคราะหดวยโปรแกรมสําเร็จรูปทางสถิติที่ใชในการ<br />

วิเคราะหปจจัยพื้นฐานของกลุมตัวอยาง โดยการแจกแจงความถี่ (Frequency) และ คารอยละ<br />

(Percentage) การวิเคราะหปจจัยการเปลี่ยนแปลงของ <strong>3PL</strong> และการพัฒนาการจัดการดานโลจิสติกส<br />

แบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong> โดยใชคาเฉลี่ยเลขคณิต (Mean) และคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)<br />

การวิเคราะหหาความสัมพันธระหวางปจจัยพื้นฐาน กับปจจัยของการเปลี่ยนแปลงของ <strong>3PL</strong> โดยใช<br />

สถิติทดสอบไคสแควร (Chi-square) การวิเคราะหหาความสัมพันธระหวาง ปจจัยของการ<br />

เปลี่ยนแปลงของ <strong>3PL</strong> กับการพัฒนาการจัดการดานโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong> โดยใชสถิติทดสอบ


82<br />

คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธเพียรสัน (Pearson’s Product-moment Correlation Coefficient) การ<br />

วิเคราะหปจจัยพื้นฐาน ที่มีอิทธิพลตอการพัฒนาการจัดการดานโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong> และการ<br />

วิเคราะห ของการเปลี่ยนแปลงของ <strong>3PL</strong>ที่มีอิทธิพลตอการพัฒนาการจัดการดานโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong><br />

สู <strong>4PL</strong> ของบริษัทผูใหบริการดานโลจิสติกส โดยใช การวิเคราะหการถดถอยพหุคูณ (Multiple<br />

Regression Analysis)<br />

สรุปผลการวิจัย<br />

การศึกษาวิจัยเรื่อง ปจจัยที่มีอิทธิพลตอการพัฒนาการจัดการดานโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู<br />

<strong>4PL</strong> ของบริษัทผูใหบริการดานโลจิสติกส ในเขตกรุงเทพมหานคร ผูวิจัยสรุปผลการวิจัยดังตอไปนี้<br />

1. สรุปปจจัยพื้นฐานของกลุมตัวอยาง พบวาโดยสวนใหญ ลักษณะธุรกิจเปนบริษัทรวม<br />

ลงทุนกับตางชาติ คิดเปนรอยละ 70.8 โดยประเภทของธุรกิจเปนการขนสงสินคา คิดเปนรอยละ<br />

58.3 ทุนจดทะเบียนอยูระหวาง 11 – 50 ลานบาท คิดเปนรอยละ 29.2 จํานวนพนักงานในบริษัทอยู<br />

ระหวาง 101-500 คน คิดเปนรอยละ 41.7<br />

2.สรุปผลการวิเคราะหปจจัยของการเปลี่ยนแปลงของ <strong>3PL</strong> จากความคิดเห็นของบริษัทผู<br />

ใหบริการดานโลจิสติกส พบวา ในภาพรวมอยูในระดับมาก มีคาเฉลี่ยเทา กับ 4.04 และเมื่อพิจารณา<br />

รายดานพบวา อยูในระดับมากที่สุด 1 ดาน คือ ดานการเพิ่มมูลคาในการใหบริการ และอยูในระดับ<br />

มาก 5 ดาน มีคาเฉลี่ยเรียงจากมากไปหานอย คือ ดานการจัดการและการประสานความรวมมือ ดาน<br />

ลีนและความคลองตัว ดานประสิทธิภาพของการสื่อสารขอมูล ดานการลดตนทุน และดานการขจัด<br />

ปญหาตางๆ ของ <strong>3PL</strong> ซึ่งผลการวิจัยในแตละดานสรุปไดดังนี้<br />

2.1 ดานการลดตนทุน โดยภาพรวมอยูในระดับมาก มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.88 และเมื่อ<br />

พิจารณารายขอพบวา อยูในระดับมากทุกขอ โดยขอที่มีคาเฉลี่ยสูงสุดคือ การลดตนทุนในการ<br />

จัดการ มีคาเฉลี่ยเทากับ 4.08 รองลงมาคือการใชสินทรัพยอยางเต็มประสิทธิภาพ มีคาเฉลี่ยเทากับ<br />

4.04 และการกระจายความเสี่ยงดานการลงทุน มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.88 ตามลําดับ<br />

2.2 ดานการเพิ่มมูลคาในการใหบริการ โดยภาพรวมอยูในระดับมากมีคาเฉลี่ยเทากับ<br />

4.39 และเมื่อพิจารณาในรายขอพบวาอยูในระดับมากที่สุดทั้ง 5 ขอ โดยขอที่มีคาเฉลี่ยสูงสุดคือ การ<br />

สรางความประทับใจในการใหบริการ มีคาเฉลี่ยเทากับ 4.56 รองลงมาคือ การพัฒนาสินคาและ<br />

บริการความตองการของลูกคา มีคาเฉลี่ยเทากับ 4.40 และการสรางภาพพจนที่ดีในสายตาลูกคา มี<br />

คาเฉลี่ยเทากับ 4.40 การบริการหลังการขาย มีคาเฉลี่ยเทากับ 4.33 และมาตรฐานการใหบริการโดย<br />

เพิ่มความชํานาญทางเทคโนโลยี มีคาเฉลี่ยเทากับ 4.25 ตามลําดับ


2.3 ดานการขจัดปญหาตางๆ ของ <strong>3PL</strong> โดยภาพรวมอยูในระดับมากมีคาเฉลี่ยเทากับ<br />

3.85 และเมื่อพิจารณาเปนรายขอพบวา อยูในระดับมากทั้ง 5 ขอ โดยขอที่มีคาเฉลี่ยสูงสุดคือ การใช<br />

สินทรัพยอยางเต็มประสิทธิภาพ มีคาเฉลี่ยเทากับ 4.15 รองลงมาคือการติดตอสื่อสารแตละ<strong>3PL</strong> มี<br />

คาเฉลี่ยเทากับ 3.94 และขอจํากัดดานความสามารถของ <strong>3PL</strong> มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.81 ตามลําดับ<br />

2.4 ดานประสิทธิภาพของการสื่อสารขอมูล โดยภาพรวมอยูในระดับมากมีคาเฉลี่ย<br />

เทากับ 3.94 และเมื่อพิจารณาในรายขอพบวา อยูในระดับมากทั้ง 5 ขอ โดยขอที่มีคาเฉลี่ยสูงสุดคือ<br />

การเขาถึงขอมูลขาวสารของลูกคา มีคาเฉลี่ยเทากับ 4.13 รองลงมาคือความมีเสถียรภาพของ<br />

ระบบสื่อสารขอมูล มีคาเฉลี่ยเทากับ 4.08 และความเร็วของการเปลี่ยนแปลงขอมูล มีคาเฉลี่ยเทากับ<br />

4.02 ตามลําดับ<br />

2.5 ดานการจัดการและการประสานความรวมมือโดยภาพรวมอยูในระดับมากมี<br />

คาเฉลี่ยเทากับ 4.11 และเมื่อพิจารณาในรายขอพบวา อยูในระดับมากที่สุด 1 ขอ คือ การวางแผน<br />

งานที่ดี มีคาเฉลี่ยเทากับ 4.27 และอยูในระดับมาก 4 ขอ โดยขอที่มีคาเฉลี่ยสูงสุดคือ ความโปรงใส<br />

ของการจัดการ มีคาเฉลี่ยเทากับ 4.17 และการมีนโยบายมุงการประสานความรวมมือ มีคาเฉลี่ย<br />

เทากับ 4.08 การปฏิบัติตามกฏระเบียบอยางเครงครัด มีคาเฉลี่ยเทากับ 4.06 และมีหนวยงานกลางใน<br />

การประสานงานอยางมีระบบ มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.98 ตามลําดับ<br />

2.6 ดานลีนและความคลองตัวโดยภาพรวมอยูในระดับมากมีคาเฉลี่ยเทากับ 4.05 และ<br />

เมื่อพิจารณาในรายขอพบวา อยูในระดับมากที่สุด 1 ขอ คือ การลดความสูญเสียตลอดทั้ง<br />

กระบวนการ มีคาเฉลี่ยเทากับ 4.21 อยูในระดับมาก 2 ขอ คือความสามารถในการตอบสนองความ<br />

ตองการของตลาด มีคาเฉลี่ยเทากับ 4.06 และความสามารถคาดการณอุปสงค เพื่อการวางแผน มี<br />

คาเฉลี่ยเทากับ 3.88 ตามลําดับ<br />

3. ผลการวิเคราะห ความคิดเห็นของบริษัทผูใหบริการดานโลจิสติกส ตอการพัฒนาการ<br />

จัดการดานโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong> พบวา ภาพรวมอยูในระดับมาก มีคาเฉลี่ย 4.13 และเมื่อ<br />

พิจารณารายดานพบวา อยูในระดับมากที่สุด 3 ดาน โดยเรียงลําดับคาเฉลี่ยจากมากไปหานอยคือ<br />

ดานเวลานํา ดานการพัฒนาเครือขายทั้งแนวตั้งและแนวนอน ดานการบริการ ดานคุณภาพ และดาน<br />

ตนทุนตามลําดับ อยูในระดับมาก 2 ดานคือดานการบริการและดานคุณภาพ ซึ่งผลการวิจัยในแตละ<br />

ดานสรุปไดดังนี้<br />

3.1 ดานคุณภาพ โดยภาพรวมอยูในระดับมากมีคาเฉลี่ย 4.05 และเมื่อพิจารณาในราย<br />

ขอพบวา อยูในระดับมากที่สุด 2 ขอ คือ ความเหมาะสมในการใชประโยชน มีคาเฉลี่ยเทากับ 4.33<br />

และความปลอดภัยตอสินคาจากการดําเนินกิจกรรม มีคาเฉลี่ยเทากับ 4.29 และอยูในระดับมากที่สุด<br />

3 ขอ คือมาตรฐานในการดําเนินกิจกรรม ผานการรับรองจากระบบ ISO มีคาเฉลี่ยเทากับ 4.02 การมี<br />

83


ตัวชี้วัดการดําเนินกิจกรรม มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.83 กระบวนการเชื่อมโยงอยางตอเนื่องมีความผันผวน<br />

นอย มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.77 ตามลําดับ<br />

3.2 ดานตนทุน โดยภาพรวมอยูในระดับมาก มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.85 และเมื่อพิจารณา<br />

ในรายขอพบวา อยูในระดับมากทั้ง 5 ขอ โดยขอที่มีคาเฉลี่ยสูงสุดคือ ความเหมาะสมของราคาในการ<br />

ดําเนินกิจกรรม และการจัดการในการดําเนินกิจกรรมเพื่อลดตนทุน มีคาเฉลี่ยเทากับ 4.02 รองลงมาคือการ<br />

มีสวนรวมของลูกคาในการลดตนทุน มีคาเฉลี่ยเทากับ 3.96 และการเลือกใชวัสดุ และอุปกรณ มีคาเฉลี่ย<br />

เทากับ 3.77 ตามลําดับ<br />

3.3 ดานการบริการ โดยภาพรวมอยูในระดับมากที่สุด มีคาเฉลี่ยเทากับ 4.24 และเมื่อ<br />

พิจารณาในรายขอพบวา อยูในระดับมากที่สุด 3 ขอ โดยขอที่มีคาเฉลี่ยสูงสุดคือ ความรูและความ<br />

ชํานาญของบริษัทผูใหบริการ มีคาเฉลี่ยเทากับ 4.40 รองลงมาคือ ความพรอมและความสามารถในการ<br />

ใหบริการ มีคาเฉลี่ยเทากับ 4.27 และเทคโนโลยีที่ทันสมัยในการใหบริการ มีคาเฉลี่ยเทากับ 4.21<br />

ตามลําดับ<br />

3.4 ดานเวลานํา โดยภาพรวมอยูในระดับมากที่สุด มีคาเฉลี่ยเทากับ 4.26 และเมื่อ<br />

พิจารณาในรายขอพบวา อยูในระดับมากที่สุด 3 ขอ โดยขอที่มีคาเฉลี่ยสูงสุดคือ การตรงตอเวลาในการ<br />

ใหบริการ มีคาเฉลี่ยเทากับ 4.56 รองลงมาคือการพัฒนาการใหบริการอยางรวดเร็วและประหยัดเวลา มี<br />

คาเฉลี่ยเทากับ4.50 และ ความรวดเร็วในการจัดการโดยรวม มีคาเฉลี่ยเทากับ 4.27 ตามลําดับ<br />

3.5 ดานการพัฒนาเครือขายทั้งแนวตั้งและแนวนอนโดยภาพรวมอยูในระดับมาก<br />

ที่สุด มีคาเฉลี่ยเทากับ 4.26 และเมื่อพิจารณาในรายขอพบวา อยูในระดับมากที่สุด 2 ขอ คือ การ<br />

สรางคุณคาดวยการทํางานรวมกับบริษัทคูคา มีคาเฉลี่ยเทากับ 4.38 และการสรางความสัมพันธอันดี<br />

ในการประสานงาน มีคาเฉลี่ยเทากับ 4.35 และอยูในระดับมาก 2 ขอ คือ การกระจายการ<br />

ตั้งเปาหมายเพื่อความสําเร็จในแตละสวนงาน มีคาเฉลี่ยเทากับ 4.19 และ ทักษะในการจัดการ<br />

เครือขาย มีคาเฉลี่ยเทากับ 4.13<br />

4. ผลการทดสอบสมมุติฐาน หาความสัมพันธระหวางปจจัยพื้นฐานกับปจจัยการ<br />

เปลี่ยนแปลงของ <strong>3PL</strong> จําแนกตามดานตางๆ ดังนี้<br />

4.1 ลักษณะธุรกิจ พบวา ความคิดเห็นของบริษัทผูใหบริการดานโลจิสติกส ที่มี<br />

ลักษณะธุรกิจตางกัน มีความคิดเห็น ดานปจจัยการเปลี่ยนแปลงของ <strong>3PL</strong>ไมสัมพันธกันอยางมี<br />

นัยสําคัญทางสถิติที่ 0.05 ซึ่งปฏิเสธสมมุติฐาน<br />

4.2 ประเภทของธุรกิจ พบวา ความคิดเห็นของบริษัทผูใหบริการดานโลจิสติกส ที่มี<br />

ประเภทของธุรกิจ ตางกัน มีความคิดเห็น ดานปจจัยการเปลี่ยนแปลงของ <strong>3PL</strong> ไมสัมพันธกันอยางมี<br />

นัยสําคัญทางสถิติที่ 0.05 ซึ่งปฏิเสธสมมุติฐาน<br />

84


4.3 ทุนจดทะเบียนพบวา ความคิดเห็นของบริษัทผูใหบริการดานโลจิสติกส ที่มีทุน<br />

จดทะเบียนตางกัน มีความคิดเห็น ดานปจจัยการเปลี่ยนแปลงของ <strong>3PL</strong>ไมสัมพันธกันอยางมี<br />

นัยสําคัญทางสถิติที่ 0.05 ซึ่งปฏิเสธสมมุติฐาน<br />

4.4 จํานวนพนักงานในบริษัทพบวา ความคิดเห็นของบริษัทผูใหบริการดานโลจิ<br />

สติกส ที่มีจํานวนพนักงานในบริษัทตางกัน มีความคิดเห็น ดานปจจัยการเปลี่ยนแปลงของ <strong>3PL</strong>ไม<br />

สัมพันธกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ 0.05 ซึ่งปฏิเสธสมมุติฐาน<br />

5. ผลการทดสอบสมมุติฐาน หาความสัมพันธระหวาง ปจจัยการเปลี่ยนแปลงของ <strong>3PL</strong><br />

ตอการพัฒนาการจัดการดานโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong> พบวา มีความสัมพันธกันในทางบวกอยาง<br />

มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 โดยมีคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ อยูในระดับปานกลาง (r= .584)<br />

และเมื่อพิจารณาเปนรายดานพบวา มีความสัมพันธอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 อยูใน<br />

ระดับปานกลาง 5 ดาน คือปจจัยดานลีนและความคลองตัว (r= .578) ปจจัยดานการจัดการและการ<br />

ประสานความรวมมือ (r= .497) ปจจัยดานประสิทธิภาพของการสื่อสารขอมูล (r= .475) ปจจัยดาน<br />

การขจัดปญหาตางๆ ของ <strong>3PL</strong> (r= .459) ปจจัยดานการลดตนทุน (r= .421) และมีความสัมพันธอยาง<br />

มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 อยูในระดับนอย 1 ดาน คือ ปจจัยดานการเพิ่มมูลคาในการ<br />

ใหบริการ (r= .345) ซึ่งยอมรับสมมุติฐาน<br />

6. ผลการทดสอบสมมุติฐาน หาปจจัยการพื้นฐาน ที่มีอิทธิพลตอการพัฒนาการจัดการ<br />

ดานโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong> ของบริษัทผูใหบริการดานโลจิสติกส พบวา ไมมีตัวแปรตัวใดของ<br />

ปจจัยการพื้นฐาน มีอิทธิพลตอการพัฒนาการจัดการดานโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong> เนื่องการหา<br />

ความสัมพันธระหวางปจจัยการพื้นฐานกับการพัฒนาการจัดการดานโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong> ไม<br />

มีตัวแปรตัวใดของปจจัยการพื้นฐานความสัมพันธกับการพัฒนาการจัดการดานโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong><br />

สู <strong>4PL</strong> อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ซึ่งปฏิเสธสมมุติฐาน<br />

7. ผลการทดสอบสมมุติฐาน หาปจจัยการเปลี่ยนแปลงของ <strong>3PL</strong>ที่มีอิทธิพลตอการ<br />

พัฒนาการจัดการดานโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong> ของบริษัทผูใหบริการดานโลจิสติกส โดย<br />

วิเคราะหการถดถอย ของตัวแปรอิสระทั้ง 6 ตัวแปร พบวา มีเพียง2 ตัวแปรเทานั้นคือปจจัยดานการ<br />

ขจัดปญหาตางๆ ของ <strong>3PL</strong> และ ปจจัยดานลีนและความคลองตัว ซึ่งยอมรับสมมุติฐาน<br />

85


86<br />

อภิปรายผลการวิจัย<br />

การศึกษาวิจัยเรื่อง ปจจัยที่มีอิทธิพลตอการพัฒนาการจัดการดานโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong><br />

ของบริษัทผูใหบริการดานโลจิสติกส ในเขตกรุงเทพมหานคร ผูวิจัยมีขอคนพบและประเด็นที่นาสนใจ<br />

นํามาอภิปรายดังนี้<br />

1.ผลการวิเคราะห ระดับความคิดเห็นของบริษัทผูใหบริการดานโลจิสติกส ดานปจจัย<br />

ของการเปลี่ยนแปลงของ <strong>3PL</strong> โดยภาพรวมอยูในระดับมาก และเมื่อพิจารณารายขอพบวา อยูใน<br />

ระดับมากที่สุด คือ ดานการเพิ่มมูลคาในการใหบริการ และอยูในระดับมาก โดยมีคาเฉลี่ยสูงสุด ดาน<br />

การจัดการและการประสานความรวมมือ รองลงมาดานลีนและความคลองตัว และดานประสิทธิภาพ<br />

ของการสื่อสารขอมูล ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยของ สมาคมวิจัยอัลฟา (2004:78) เรื่อง คุณสมบัติ กล<br />

ยุทธ และแนวโนมของการจัดการแบบ <strong>3PL</strong>/<strong>4PL</strong> ในออสเตรเลีย พบวา ความพึงพอใจของลูกคา มี<br />

ความสําคัญมากที่สุด ความยืดหยุน การปรับปรุงการใหบริการ การลดตนทุน และการมุงในธุรกิจ<br />

หลัก มีความสําคัญมาก และยังสอดคลองกับงานวิจัยของ เรมโก ไอ วาน ฮูค (2000) เรื่อง บริษัท<br />

UPS โลจิสติกส จะกาวไปสูการเปนบริษัทที่มีการบริหารแบบ <strong>4PL</strong> หรือไม พบวารูปแบบการบริหาร<br />

จัดการที่ดี มีการประสานงานที่ดี การจัดการขอมูลขาวสารตัวเชื่อมโยงตลอดทั้งหวงโซอุปทาน การ<br />

เพิ่มมูลคาที่ดีที่สุดของการบริการแกลูกคา ทําใหมีการพัฒนาการตอบสนองความตองการของลูกคา<br />

ไดอยางรวดเร็ว และเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันมากขึ้น จากงานวิจัยนี้พบวาประโยชนใน<br />

ดานตางๆ ที่ไดจากการเปลี่ยนแปลงการจัดการจาก <strong>3PL</strong> เปน <strong>4PL</strong> หลังจากที่ไดพัฒนาการบริหาร<br />

แบบ <strong>4PL</strong> เต็มรูปแบบและเมื่อพิจารณารายดานพบวา<br />

1.1 ระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับปจจัยของการเปลี่ยนแปลงของ <strong>3PL</strong> ของบริษัทผู<br />

ใหบริการดานโลจิสติกส ดานการลดตนทุนอยูในระดับมาก และเมื่อพิจารณารายขอพบวา อยูใน<br />

ระดับมากทุกขอ โดยขอที่มีคาเฉลี่ยสูงสุดคือ การลดตนทุนในการจัดการ รองลงมาคือการใช<br />

สินทรัพยอยางเต็มประสิทธิภาพ และการกระจายความเสี่ยงดานการลงทุน ตามลําดับ ซึ่งสอดคลอง<br />

กับงานวิจัยของ สมาคมวิจัยอัลฟา (2004 :78) เรื่อง คุณสมบัติ กลยุทธ และแนวโนมของการจัดการ<br />

แบบ <strong>3PL</strong>/<strong>4PL</strong> ในออสเตรเลีย พบวา การลดตนทุนในการในการใหบริการ การพัฒนาเพื่อการเพิ่ม<br />

ผลผลิต ความยืดหยุนในการจัดการ และการทําใหลูกคาเกิดความพึงพอใจ มีความสําคัญในระดับ<br />

มาก<br />

1.2 ระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับปจจัยของการเปลี่ยนแปลงของ <strong>3PL</strong> ของบริษัทผู<br />

ใหบริการดานโลจิสติกส ดานการเพิ่มมูลคาในการใหบริการ อยูในระดับมาก และเมื่อพิจารณาราย<br />

ขอพบวา อยูในระดับมากที่สุดทั้งหมด 5 ขอ โดยขอที่มีคาเฉลี่ยสูงสุดคือ การสรางความประทับใจ


ในการใหบริการ รองลงมาคือการพัฒนาสินคาและบริการความตองการของลูกคา การสราง<br />

ภาพพจนที่ดีในสายตาลูกคา การบริการหลังการขาย และมาตรฐานการใหบริการโดยเพิ่มความ<br />

ชํานาญทางเทคโนโลยี ตามลําดับ ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยของ เซราเฟทติน คุทลู (2007:82) เรื่อง<br />

<strong>4PL</strong> อนาคตของหวงโซอุปทาน ดานการเพิ่มมูลคาการบริการ พบวา มาตรฐานการบริการใน<br />

ระดับสูง ลดความเสี่ยงของความผิดพลาด มีการกระจายการจัดการที่มีความซับซอนมากกวา และ<br />

สามารถใหทางเลือกที่เหมาะสมแกลูกคาแตละรายได<br />

1.3 ระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับปจจัยของการเปลี่ยนแปลงของ <strong>3PL</strong> ของบริษัทผู<br />

ใหบริการดานโลจิสติกส ดานการขจัดปญหาตางๆ ของ <strong>3PL</strong> อยูในระดับมาก เมื่อพิจารณารายขอ<br />

พบวา อยูในระดับมากทุกขอ โดยขอที่มีคาเฉลี่ยสูงสุดคือ การใชสินทรัพยอยางเต็มประสิทธิภาพ<br />

รองลงมาคือการติดตอสื่อสารแตละ<strong>3PL</strong> และขอจํากัดดานความสามารถของ <strong>3PL</strong> ตามลําดับ ซึ่ง<br />

สอดคลองกับงานวิจัยของไอ วาน ฮูค (2000) เรื่อง บริษัท UPS โลจิสติกส จะกาวไปสูการเปน<br />

บริษัทที่มีการบริหารแบบ <strong>4PL</strong> หรือไม พบวา การมีสวนรวมของผูใหบริการโลจิสติกส การใช<br />

สินทรัพย และทรัพยากร ความรูเกี่ยวกับการบริการโลจิสติกส มีความเปนอิสระในการใหการ<br />

บริการ เพื่อตอบสนองตอความคาดหวังของลูกคาสูงขึ้น และยังสอดคลองกับงานวิจัยของ เซราเฟ<br />

ทติน คุทลู (2007:79-80) เรื่อง <strong>4PL</strong> อนาคตของหวงโซอุปทาน ดานการเพิ่มมูลคาการบริการ พบวา<br />

การจัดการแบบ<strong>4PL</strong> จะใชวิธีเลือกใชศักยภาพของกลุม <strong>3PL</strong>s เปนการลดขอจํากัดดานศักยภาพของ<br />

กลุม <strong>3PL</strong>sไดมาก และการมีความยืดหยุนสูงมาก สามารถใชสินทรัพยถาวรไดคุมคามากยิ่งขึ้น<br />

1.4 ระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับปจจัยการเปลี่ยนแปลงของ <strong>3PL</strong> ของบริษัทผูใหบริการ<br />

ดานโลจิสติกส ดานประสิทธิภาพของการสื่อสารขอมูล อยูในระดับมาก เมื่อพิจารณารายขอพบวา<br />

อยูในระดับมากทุกขอ โดยขอที่มีคาเฉลี่ยสูงสุดคือ การเขาถึงขอมูลขาว สารของลูกคา รองลงมาคือ<br />

ความมีเสถียรภาพของระบบสื่อสาร และความเร็วของการเปลี่ยนแปลงขอมูล ตามลําดับ ซึ่ง<br />

สอดคลองกับงานวิจัยของ เซราเฟทติน คุทลู (2007:34-36) เรื่อง <strong>4PL</strong> อนาคตของหวงโซอุปทาน<br />

ดานประสิทธิภาพของการสื่อสารขอมูล พบวา ขอมูลขาวสารเปนสิ่งที่สําคัญมากที่สุดของการ<br />

กระจายสินคาและการจัดการ <strong>4PL</strong> จะใชประโยชนของการสื่อสารขอมูลในการจัดการระหวางผู<br />

ใหบริการดานโลจิสติกสตางๆในหวงโซอุปทานเดียวกัน หรือในเครือขายเดียวกัน การประยุกตใช<br />

เทคโนโลยีสารสนเทศที่แพรหลายมากที่สุดก็คือ EDI ( Electronic Data Interchange) เปนระบบแลก<br />

เปลี่ยนขอมูลอิเลคทรอนิคส ซึ่งจะนําไปสูความไดเปรียบในดานการลื่นไหลของสินคาหรือบริการ<br />

จะเห็นไดจากความสําเร็จของการประยุกตใชในระบบทันเวลาพอดี (JIT: Just In Time) และ ระบบ<br />

เพื่อชวยใหสามารถขนสงสินคาไดอยางรวดเร็วมากขึ้นและลดคาใชจายในธุรกิจสินคาอุปโภค การ<br />

สื่อสาร ขอมูลสามารถลดตนทุนดานแรงงาน และลดความผิดพลาดตางๆ ที่อาจเกิดโดยคน<br />

87


1.5 ระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับปจจัยการเปลี่ยนแปลงของ <strong>3PL</strong> ของบริษัทผูใหบริการ<br />

ดานโลจิสติกส ดานการจัดการและการประสานความรวมมืออยูในระดับมาก เมื่อพิจารณารายขอ<br />

พบวา อยูในระดับมากที่สุดคือ การวางแผนงานที่ดี และอยูในระดับมากอีก 4 ขอ โดยขอที่มีคาเฉลี่ย<br />

สูงสุดคือ ความโปรงใสของการจัดการ รองลงมาคือ การมีนโยบายมุงการประสานความรวมมือ การ<br />

ปฏิบัติตามกฏระเบียบอยางเครงครัด และมีหนวยงานกลางในการประสานงานอยางมีระบบ<br />

ตามลําดับ ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยของ เซราเฟทติน คุทลู (2007:34-36) เรื่อง <strong>4PL</strong> อนาคตของหวง<br />

โซอุปทาน ดานดานการจัดการและการประสานความรวมมือ พบวา รอยละ 44 ขององคกรมีการ<br />

ทํางานรวมกันระหวางผูผลิตและลูกคาเปนอยางดีและรอยละ 35 ลมเหลว ดานความรวมมือเนื่องจาก<br />

การขาดการใสใจอยางแทจริง<br />

1.6 ระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับปจจัยของการเปลี่ยนแปลงของ <strong>3PL</strong> ของบริษัทผู<br />

ใหบริการดานโลจิสติกส ดานลีนและความคลองตัว อยูในระดับมาก เมื่อพิจารณารายขอพบวา อยู<br />

ในระดับมากที่สุด 1 ขอ คือ การลดความสูญเสียตลอดทั้งกระบวนการ อยูในระดับมาก 2 ขอ โดย<br />

ขอที่มีคาเฉลี่ยสูงสุดคือ ความสามารถในการตอบสนองความตองการของตลาด และความสามารถ<br />

คาดการณอุปสงคเพื่อการวางแผน ตามลําดับ ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยของ เซราเฟทติน คุทลู<br />

(2007:89) เรื่อง <strong>4PL</strong> อนาคตของหวงโซอุปทาน ดานลีนและความคลองตัว พบวา ความสามารถใน<br />

การตอบสนองความตองการของตลาด เปนสิ่งที่สําคัญที่สุดและการรักษาระดับคุณภาพการ<br />

ใหบริการ เพิ่มความหลากหลายของทาง เลือก มีความสําคัญระดับปานกลาง<br />

2. ผลการวิเคราะห ความคิดเห็นของบริษัทผูใหบริการดานโลจิสติกส ตอการพัฒนาการ<br />

จัดการดานโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong> ในภาพรวมอยูในระดับมาก และเมื่อพิจารณารายดานพบวา<br />

อยูในระดับมากที่สุด 3 ดาน โดยดานที่มีคาเฉลี่ยสูงสุดคือ ดานเวลานําและดานการพัฒนาเครือขาย<br />

ทั้งแนวตั้งและแนวนอน รองลงมาคือดานการบริการ ตามลําดับ ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยของ<br />

สมาคมวิจัยอัลฟา (2004:78) เรื่อง คุณสมบัติ กลยุทธ และแนวโนมของการจัดการแบบ <strong>3PL</strong>/<strong>4PL</strong> ใน<br />

ออสเตรเลีย พบวา ความพึงพอใจของลูกคา มีความสําคัญมากที่สุด ความยืดหยุน การปรับปรุงการ<br />

ใหบริการ การลดตนทุน และการมุงในธุรกิจหลัก มีความสําคัญมาก และเมื่อพิจารณารายดานพบวา<br />

2.1 ระดับความคิดเห็นของบริษัทผูใหบริการดานโลจิสติกส ตอการพัฒนาการจัดการดาน<br />

โลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong> ดานคุณภาพ อยูในระดับมาก เมื่อพิจารณารายขอพบวา อยูในระดับมาก<br />

ที่สุด 2 ขอ คือ ความเหมาะสมในการใชประโยชน และความปลอดภัยตอสินคาจากการดําเนิน<br />

กิจกรรม และอยูในระดับมาก 3 ขอ คือ มาตรฐานในการดําเนินกิจกรรม ผานการรับรองจากระบบ<br />

ISO และกระบวนการเชื่อมโยงอยางตอเนื่องมีความผันผวนนอย ตามลําดับ ซึ่งสอดคลองกับแนวคิด<br />

ของ มารติน คริสโตเฟอร (2005:46-47) กลาวไววาการประสบความสําเร็จหรือลมเหลวในธุรกิจ<br />

88


พิจารณาไดจากระดับของการใหคุณคาของลูกคานั่นเอง คุณคาของลูกคาเปนเครื่องชี้วัดการดําเนิน<br />

การของธุรกิจเพื่อการตอบสนองความตองการลูกคา สามารถกําหนดเปนหลักเกณฑได ซึ่งจะเปน<br />

ความแตกตางระหวาง การสรางการรับรูแกลูกคา และตนทุนรวมที่เกิดขึ้นของกิจกรรม<br />

2.2 ระดับความคิดเห็นของบริษัทผูใหบริการดานโลจิสติกส ตอการพัฒนาการจัดการดาน<br />

โลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong> ดานตนทุน อยูในระดับมาก เมื่อพิจารณารายขอพบวา อยูในระดับมากทุก<br />

ขอ โดยขอที่มีคาเฉลี่ยสูงสุดคือ ความเหมาะสมของราคาในการดําเนินกิจกรรม และการจัดการใน<br />

การดําเนินกิจกรรมเพื่อลดตนทุน รองลงมาคือการมีสวนรวมของลูกคาในการลดตนทุน และการ<br />

เลือกใชวัสดุ และอุปกรณ ตามลําดับ ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยของ สมาคมวิจัยอัลฟา (2004:78)<br />

เรื่อง คุณสมบัติ กลยุทธ และแนวโนมของการจัดการแบบ <strong>3PL</strong>/<strong>4PL</strong> ในออสเตรเลีย พบวา การลด<br />

ตนทุน การพัฒนาเพื่อเพิ่มผลิต มีความยืดหยุน มีความสําคัญในระดับมาก<br />

2.3 ระดับความคิดเห็นของบริษัทผูใหบริการดานโลจิสติกส ตอการพัฒนาการจัดการดาน<br />

โลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong> ดานการบริการ อยูในระดับมาก เมื่อพิจารณารายขอพบวา อยูในระดับ<br />

มากที่สุด 3 ขอ โดยขอที่มีคาเฉลี่ยสูงสุดคือ ความรูและความชํานาญของบริษัทผูใหบริการ<br />

รองลงมาคือความพรอมและความสามารถในการใหบริการ และเทคโนโลยีที่ทันสมัยในการให<br />

บริการ ตามลําดับ ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยของ สมาคมวิจัยอัลฟา (2004:66) เรื่อง คุณสมบัติ กล<br />

ยุทธ และแนวโนมของการจัดการแบบ <strong>3PL</strong>/<strong>4PL</strong> ในออสเตรเลีย พบวา การประสานความรวมมือ<br />

การตอรองเพื่อประโยชนของลูกคา ความชัดเจนของชองทางการติดตอ การจัดการทางเลือกที่ให<br />

ประโยชนสูงสุด มีความสําคัญมาก สวนนโยบายที่ชัดเจนในการปฏิบัติงานรวมของของผูใหบริการ<br />

ดานโลจิสติกส มีความสําคัญระดับปานกลาง<br />

2.4 ระดับความคิดเห็นของบริษัทผูใหบริการดานโลจิสติกส ตอการพัฒนาการจัดการดาน<br />

โลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong> ดานเวลานํา อยูในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณารายขอพบวา อยูในระดับ<br />

มากที่สุด 3 ขอ โดยขอที่มีคาเฉลี่ยสูงสุดคือ การตรงตอเวลาในการใหบริการ รองลงมาคือการ<br />

พัฒนาการใหบริการอยางรวดเร็วและประหยัดเวลา และความรวดเร็วในการจัดการโดยรวม ตาม<br />

ลําดับ ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยของ ลู เอช ซี และ ลอ ยุค ติง (2001) เรื่องกรอบการทํางานแบบหลาย<br />

ฝาย เพื่อสนับสนุนโครงขายฐานขอมูลอัจฉริยะของผูใหบริการดานโลจิสติกสบุคคลที่ 4 พบวาระบบ<br />

การกระจายเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร ระหวางวัตถุประสงคหลายวัตถุประสงค เปน<br />

ระบบการประสานการทํางานระหวาง <strong>3PL</strong>s ดวย <strong>4PL</strong> อัจฉริยะดวยการทํางานระบบนี้มีความเปนไป<br />

ไดสูง ที่จะกลายเปนเครื่องมือทางธุรกิจที่จะนําไปสูการวาง แผนแบบจุดรวมกิจกรรมเวลาเสมือน<br />

จริง (Real-time One-stop integrated) และการหาทางเลือกอัฉริยะ เพื่อใหเหมาะกับความตองการใน<br />

89


การขนสง โดยที่ระบบจะเริ่มตนและ จบลงดวยความสามารถของเทคโนโลยีเปนตัวกลาง ที่มี<br />

ลักษณะการจัดการแบบ <strong>4PL</strong><br />

2.5 ระดับความคิดเห็นของบริษัทผูใหบริการดานโลจิสติกส ตอการพัฒนาการจัดการดาน<br />

โลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong> ดานการพัฒนาเครือขายทั้งแนวตั้งและแนวนอน อยูในระดับมากที่สุด<br />

และเมื่อพิจารณารายขอพบวา อยูในระดับมากที่สุด 2 ขอ คือ การสรางคุณคาดวยการทํางานรวมกับ<br />

บริษัทคูคา และการสรางความสัมพันธอันดีในการประสานงาน และอยูในระดับมากที่สุด 2 ขอ คือ<br />

การกระจายการตั้งเปาหมายเพื่อความสําเร็จในแตละสวนงาน และทักษะในการจัดการเครือขาย ซึ่ง<br />

สอดคลองกับงานวิจัยของ ฮีชาง ซิวลี่ เวนฮวงลิว บิงลี่ และชิงฮองชาง (2004) เรื่อง การประยุกตใช<br />

การวิเคราะหกระบวนการเปนลําดับชั้น ในการเลือกใช <strong>3PL</strong>s ของระบบการจัดการแบบ <strong>4PL</strong> การวิจัย<br />

พบวาแบบวิเคราะหกระบวนการเปนลําดับชั้น สามารถใชในการตัดสินใจเลือกใช <strong>3PL</strong>s ในระบบ<br />

การจัดการแบบ <strong>4PL</strong> ซึ่งเปนวิธีการประเมินความสามารถของ <strong>3PL</strong> เปนลําดับชั้น โดยการกําหนด<br />

ปจจัยตางๆที่เกี่ยวกับ ความสามารถดานโลจิสติกส คุณภาพของการใหบริการ ความสามารถการ<br />

บริการดานขอมูลขาวสาร และมีแนวโนมของพัฒนาการ ใหน้ําหนักสําหรับการประเมินใหคะแนน<br />

และทําการตัดสินใจจากผลคะแนนที่ได จากผลการทดลองใชงานจริงปรากฏวาไดผลเปนที่นาเชื่อถือ<br />

ได และ ยังสอดคลองกับงานวิจัยของโจฮาน คิตเติล (2003:53) เรื่อง <strong>4PL</strong> เปนเพียงแคชื่อใหมของ<br />

<strong>3PL</strong> เทานั้นหรือ พบวา การพัฒนาเครือขายทั้งแนวตั้งและแนวนอน เปนกระบวนการภายในบริษัท<br />

ของผูใหบริการที่สามารถเพิ่มพูนคุณคาของลูกคาไดโดยอาศัยผูใหบริการเหมาชวงตอ บริษัทคูคา<br />

หรือจัดจางผูใหบริการโลจิสติกสภายนอกลําดับที่ 2 หรือลําดับที่ 3 ที่มีความชํานาญในงานเฉพาะ<br />

อยาง ซึ่งสามารถบริการที่จะตอบสนองความตองการของลูกคาไดอยางสูงสุด และลูกคาก็สามารถ<br />

ลดปจจัยดานเงินลงทุนโดยการเปลี่ยนจากวาจางผูใหบริการโลจิสติกสหลายๆเจา มาเปนเจาเดียว อีก<br />

ทั้งผูใหบริการโลจิสติกสนั้นสามารถดําเนินงานอยางมีประสิทธิภาพโดยไมตองลงทุนในสินทรัพย<br />

ถาวรใดๆ สิ่งที่ตองการจะมีเพียงแต ทักษะในการจัดการเครือขาย และการสรางความสัมพันธอันดี<br />

ในการประสานงาน และพัฒนาทักษะของการดําเนินงาน นั่นหมายความถึงทักษะดานเทคโนโลยี<br />

สารสนเทศ และทักษะดานการจัดการ การพัฒนาเครือขายทั้งแนวตั้งและแนวนอนสามารถสราง<br />

คุณคาดวยการทํางานรวมกับบริษัทคูคา ทั้งในแนวตั้งและแนวนอน อีกทั้งมีการกระจาย ในการตั้ง<br />

เปาเพื่อความสําเร็จไปในแตละสวนงาน<br />

3. ผลการวิเคราะห ไมพบวามีตัวแปรตัวใด ของปจจัยพื้นฐานมีสัมพันธกัน อยางมีนัย<br />

สําคัญทางสถิติที่ 0.05 กับปจจัยการเปลี่ยนแปลงของ <strong>3PL</strong> ซึ่งสอดคลองกับกับงานวิจัยของ โจฮาน<br />

คิตเติล (2003:58) เรื่อง <strong>4PL</strong> เปนเพียงแคชื่อใหมของ <strong>3PL</strong> เทานั้นหรือ พบวา ปจจัยพื้นฐานไม<br />

สัมพันธกับการพัฒนาการจัดการดานโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong> แตกลยุทธการวางตําแหนงของ<br />

90


91<br />

ธุรกิจการใหบริการตางหากเปนสิ่งสําคัญซึ่งบริษัทนั้นๆ จะสามารถที่จะตอบสนองความตองการ<br />

ของลูกคาไดอยางครบถวน และ กลยุทธการวางตําแหนงของธุรกิจการใหบริการนั้น ก็คือ การ<br />

จัดการดานโลจิสติกส แบบ <strong>4PL</strong><br />

4. ผลการวิเคราะห หาความสัมพันธระหวางปจจัยของการเปลี่ยนแปลงของ <strong>3PL</strong> ตอการ<br />

พัฒนาการจัดการดานโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong> มีความสัมพันธกันในทางบวกอยางมีนัยสําคัญ<br />

ทางสถิติที่ระดับ 0.01 โดยมีคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ อยูในระดับปานกลาง และเมื่อพิจารณาเปน<br />

รายดานพบวา มีความสัมพันธอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 อยูในระดับปานกลาง 5 ดาน<br />

โดยเรียงคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธจากสูงสุด จนถึงนอยที่สุดดังนี้ ปจจัยดานลีนและความคลองตัว<br />

ปจจัยดานการจัดการและการประสานความรวมมือ ปจจัยดานประสิทธิภาพของการสื่อสารขอมูล<br />

ปจจัยดานการขจัดปญหาตางๆ ของ <strong>3PL</strong> ปจจัยดานการลดตนทุน และมีความสัมพันธอยางมี<br />

นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 อยูในระดับนอย 1 ดาน คือ ปจจัยดานการเพิ่มมูลคาในการให<br />

บริการ ซึ่งสอดคลองกับกับงานวิจัยของโจฮาน คิตเติล (2003:53) เรื่อง <strong>4PL</strong> เปนเพียงแคชื่อใหมของ<br />

<strong>3PL</strong> เทานั้นหรือ พบวา การเปลี่ยนแปลงการบริหารงานของบริษัทดานโลจิสติกสมีความสัมพันธ<br />

โดยตรงกับการพัฒนาการอยางตอเนื่องในการบริหารในหวงโซอุปทานดวยการพัฒนาและปรับปรุง<br />

การใหบริการดานโลจิสติกสแกลูกคา<br />

5. ผลการวิเคราะห ปจจัยพื้นฐานที่มีอิทธิพล ตอ การพัฒนาการจัดการดานโลจิสติกส<br />

แบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong> ของบริษัทผูใหบริการดานโลจิสติกส พบวา ไมมีตัวแปรตัวใดของปจจัยการ<br />

พื้นฐาน มีอิทธิพลตอการพัฒนาการจัดการดานโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong> ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัย<br />

ของ กับโจฮาน คิตเติล (2003:58) วิจัยเรื่อง <strong>4PL</strong> เปนเพียงแคชื่อใหมของ <strong>3PL</strong> เทานั้นหรือ พบวา<br />

ปจจัยพื้นฐานไมสัมพันธกับการพัฒนาการจัดการดานโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong> จึงไมมีอิทธิพลตอ<br />

การพัฒนาการจัดการดานโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong> แตกลยุทธการวางตําแหนงของธุรกิจการ<br />

ใหบริการตางหากเปนสิ่งสําคัญซึ่งบริษัทนั้นๆ จะสามารถที่จะตอบสนองความตองการของลูกคาได<br />

อยางครบถวน และ กลยุทธการวางตําแหนงของธุรกิจการใหบริการนั้น ก็คือ การจัดการดานโล<br />

จิสติกส แบบ <strong>4PL</strong><br />

6. ผลการวิเคราะห ของการเปลี่ยนแปลงของ <strong>3PL</strong>ที่มีอิทธิพลตอการพัฒนาการจัดการ<br />

ดานโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong> ของบริษัทผูใหบริการดานโลจิสติกส พบวา ปจจัยดานการขจัด<br />

ปญหาตางๆ ของ <strong>3PL</strong> และ ปจจัยดานลีนและความคลองตัว ที่มีอิทธิพลตอการพัฒนาการจัดการ<br />

ดานโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong> สอดคลองกับงานวิจัยของเซราเฟทติน คุทลู (2007: 33) เรื่อง <strong>4PL</strong><br />

อนาคตของหวงโซอุปทาน พบวา ดานการขจัดปญหาตางๆ ของ <strong>3PL</strong> จะทําใหสามารถตอบสนอง


92<br />

ตอความคาดหวังและตรงกับอุปสงคของตลาดไดมาก สวนดานลีนและความคลองตัว เปน<br />

ความสามารถในการตอบสนองความตองการของตลาด เปนสิ่งที่สําคัญที่สุด<br />

ขอเสนอแนะ<br />

จากการศึกษาวิจัยเรื่อง ปจจัยที่มีอิทธิพลตอการพัฒนาการจัดการดานโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู<br />

<strong>4PL</strong> ของบริษัทผูใหบริการดานโลจิสติกส ในเขตกรุงเทพมหานคร ผูวิจัยมีขอเสนอแนะในการศึกษา<br />

ครั้งนี้ดังนี้<br />

1. ขอเสนอแนะในการนําผลการวิจัยไปใช<br />

1.1 การเปลี่ยนแปลงของ <strong>3PL</strong> โดยภาพรวมอยูในระดับมาก โดยมีดานการเพิ่มมูลคา<br />

ในการใหบริการ มีคาเฉลี่ยสูงสุด รองลงมา ดานการจัดการและการประสานความรวมมือ และ ดาน<br />

ลีนและความคลองตัว ดังนั้นบริษัทผูใหบริการดานโลจิสติกส จึงควรเนนการจัดการการบริหารดาน<br />

การเพิ่มมูลคาในการใหบริการ ดานการจัดการและการประสานความรวมมือ และ ดานลีนและความ<br />

คลองตัว โดยมีรายละดังนี้<br />

1.1.1 ดานการเพิ่มมูลคาในการใหบริการ ควรเนนในดานการสรางความ<br />

ประทับใจในการใหบริการ มากที่สุด และรองลงมาดานการพัฒนาสินคาและบริการความตองการ<br />

ของลูกคา การสรางภาพพจนที่ดีในสายตาลูกคา การบริการหลังการขาย และมาตรฐานการ<br />

ใหบริการโดยเพิ่มความชํานาญทางเทคโนโลยี<br />

1.1.2 ดานการจัดการและการประสานความรวมมือ ควรเนนในดานการวางแผน<br />

งานที่ดี ความโปรงใสของการจัดการ และการมีนโยบายมุงการประสานความรวมมือ<br />

1.1.3 ดานลีนและความคลองตัว ควรเนนในดานการลดความสูญเสียตลอดทั้ง<br />

กระบวนการ ความ สามารถในการตอบสนองความตองการของตลาด และความสามารถคาดการณ<br />

อุปสงค เพื่อการวางแผน แตอยางไรก็ตามบริษัทผูใหบริการดานโลจิสติกส ไมควรที่จะละเลยดาน<br />

ลดตนทุน ดานประสิทธิภาพของการสื่อสารขอมูล และดานการขจัดขอจํากัดตางๆ ของ <strong>3PL</strong><br />

1.2 การพัฒนาการจัดการดานโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong> ในภาพรวมอยูในระดับมาก<br />

และรายดานมี 3 ดานอยูในระดับมาก ที่สุด ดังนั้นบริษัทผูใหบริการดานโลจิสติกส จึงควรเนนการ<br />

พัฒนาการจัดการดานโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong> ดานตางๆ ตามลําดับดังนี้<br />

1.2.1 ดานเวลานํา ควรเนนใน การตรงตอเวลาในการใหบริการ และการ<br />

พัฒนาการใหบริการอยางรวดเร็วและประหยัดเวลา


1.2.2 ดานการพัฒนาเครือขายทั้งแนวตั้งและแนวนอน ควรเนนใน การสราง<br />

คุณคาดวยการทํางานรวมกับบริษัทคูคา<br />

1.2.3 ดานการบริการ ควรเนนใน ความรูและความชํานาญของบริษัทผูใหบริการ<br />

ความพรอมและความสามารถในการใหบริการ และเทคโนโลยีที่ทันสมัยในการใหบริการ แตใน<br />

การพัฒนาการจัดการในการใหบริการ ก็ควรจะคํานึงถึงดานคุณภาพ เชนความเหมาะสมในการใช<br />

ประโยชนจากเครื่องจักร อุปกรณอยางถูกตองเหมาะ คํานึงถึงความปลอดภัยตอสินคาจากการ<br />

ดําเนินกิจกรรม และการไดรับรองมาตรฐานในการดําเนินกิจกรรม จากระบบมาตรฐาน ISO เปนตน<br />

ดานตนทุน ควรเนนใน ความเหมาะสมของราคาในการดําเนินกิจกรรม และการจัดการในการ<br />

ดําเนินกิจกรรมเพื่อลดตนทุน สวนดานการบริการ ควรเนนใน ความรูและความชํานาญของบริษัทผู<br />

ใหบริการ<br />

1.3 ความสัมพันธระหวางปจจัยพื้นฐานกับปจจัยการเปลี่ยนแปลงของ <strong>3PL</strong> ไมมี<br />

ความสัมพันธกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 บริษัทผูใหบริการดานโลจิสติกสจึงไมควร<br />

เนนเรื่องเกี่ยวกับปจจัยพื้นฐาน ในการเปลี่ยนแปลงของ <strong>3PL</strong><br />

1.4 ความสัมพันธระหวางปจจัยของการเปลี่ยนแปลงของ <strong>3PL</strong> ตอการพัฒนาการ<br />

จัดการดานโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong> มีความสัมพันธกันในทางบวกอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่<br />

ระดับ 0.01 โดยมีคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ อยูในระดับปานกลาง โดยที่ตัวแปรที่มีความสัมพันธ<br />

คือปจจัยดานลีนและความคลองตัว ปจจัยดานการจัดการและการประสานความรวมมือ ปจจัยดาน<br />

ประสิทธิภาพของการสื่อสารขอมูล ปจจัยดานการขจัดปญหาตางๆ ของ <strong>3PL</strong> และปจจัยดานการลด<br />

ตนทุน ฉะนั้นบริษัทผูใหบริการดานโลจิสติกสที่ตองการประสบความสําเร็จในการเปลี่ยนแปลง<br />

การบริหารจากแบบ <strong>3PL</strong> ไปแบบ <strong>4PL</strong>ควรเนนการพัฒนาและปรับปรุงปจจัยดังกลาวใหมากขึ้น<br />

1.5 ปจจัยพื้นฐานไมมีอิทธิพลตอการพัฒนาการจัดการดานโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู<br />

<strong>4PL</strong> บริษัทผูใหบริการดานโลจิสติกสจึงไมควรเนนเรื่องเกี่ยวกับปจจัยพื้นฐาน ในการการ<br />

พัฒนาการจัดการดานโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong><br />

1.6 ปจจัยการเปลี่ยนแปลงของ <strong>3PL</strong> ที่สามารถพยากรณ หรือ มีอิทธิพลตอการ<br />

พัฒนาการจัดการดานโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong> คือ ปจจัยดานการขจัดปญหาตางๆ ของ <strong>3PL</strong> และ<br />

ปจจัยดานลีนและความคลองตัวโดยมีประสิทธิภาพในการพยากรณรอยละ 38.7 ดังนั้นหากบริษัท<br />

ผูใหบริการดานโลจิสติกสตองเปลี่ยนแปลงการจัดการจากแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong> ควรใหความสําคัญตอ<br />

ปจจัยทั้งสองมากขึ้น<br />

93


2. ขอเสนอแนะในการทําวิจัยครั้งตอไป<br />

2.1 ควรจะศึกษา และวิจัยเรื่อง ปจจัยที่มีอิทธิพลตอการพัฒนาการจัดการดานโลจิสติกส<br />

แบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong> ของบริษัทผูใหบริการดานโลจิสติกส กับกลุมตัวอยางที่อยูภายนอกเขต<br />

กรุงเทพมหานครดวย โดยอาจจะสํารวจแยกตามภูมิภาค เชน ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ<br />

ภาคตะวันออก ภาคใต หรือภาคกลางภายนอกเขตกรุงเทพมหานคร เพื่อเปนการขยายผลการสํารวจ<br />

ใหครอบคลุมใหมากขึ้น และเปนเปรียบเทียบกับผลของการวิจัยในครั้งนี้<br />

2.2 ควรจะศึกษาปจจัยที่สนับสนุนการจัดการดานโลจิสติกสแบบ <strong>4PL</strong> ใหประสบ<br />

ความสําเร็จ ของกลุมบริษัทผูใหบริการดานโลจิสติกส เพื่อเปนการพัฒนาความสามารถในการ<br />

ใหบริการดานโลจิสติกส ในระบบหวงโซอุปทานของประเทศไทย<br />

94


บรรณานุกรม<br />

กรุงเทพธุรกิจ. (2548). โมเดลใหมธุรกิจ "โลจิสติกส" ผนึกพันธมิตรทั้งหวงโซตั้งบริษัทรวมทุน.<br />

(Online). Available: http://www.bangkokbiznews.com/2006/02/12/e004_63716<br />

.phpnews _id=63716.<br />

กฤษฎ ฉันทจิรพร. (2547). การจัดการโลจิสติกสเชิงโซอุปทาน และการบริหารสินคาคงคลัง.<br />

Engineering Today, 2(23). (Online). Available : http://www.engineeringtoday.net/<br />

magazine/articledetail.asparid=1384&pid=135.<br />

คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ, สํานักงาน (2548). รางแผนแมบทการพัฒนา<br />

โลจิสติกสของประเทศไทย ภายใตแผนการบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. 2548-2551.<br />

(Online). Available: http://www.nesdb.go.th/Portals/0/tasks/dev_logis/policy/<br />

MasterPlan-Draft.pdf.<br />

………….. (2549). ยุทธศาสตรการพัฒนาโลจิสติกสของ ประเทศไทย พ.ศ. 2549-2553, (Online).<br />

Available:http://www.nesdb. go.th/Portals/0/tasks /dev_logis/ docu/final_2.pdf.<br />

คํานาย อภิปรัชญาสกุล . (2537). การจัดการโลจิสติกส แบบมีประสิทธิผล. กรุงเทพฯ: ซี วาย ซิซเทิม<br />

พริ้นติ้ง.<br />

…………... (2546). โลจิสติกสและการจัดการซัพพลายเชน “กลยุทธทําใหรวยชวยใหประหยัด”.<br />

กรุงเทพฯ: นัฏพร.<br />

ชูใจ คูหารัตนไชย. (2538). สถิติเบื้องตน. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาเทคโนโลยีมหานคร.<br />

โชคชัย กิจเกษมทวีสิน. (2548).โลจิสติกส: ยุทธศาสตรเพิ่มขีดความสามารถการแขงขันทางการคา.<br />

หองสมุดธนาคารไทยพาณิชย. (Online). Available : http://www.scb.co.th /LIB/th/article<br />

/ktb/data/k9-21.html.<br />

ตรีทศ เหลาศิริหงษทอง. (2548). <strong>3PL</strong> และ <strong>4PL</strong> ทางเลือกที่นาสนใจสําหรับระบบโลจิสติกส และ<br />

การบริหารโซอุปทาน. Engineering Today. 3(34). (Online). Available : http://grad.<br />

fibo.kmutt.ac.th//download/Semester2@48/<strong>3PL</strong><strong>4PL</strong>.pdf.<br />

ธนิต โสรัตน. (2550). การประยุกตโลจิสติกสและโซอุปทาน. กรุงเทพฯ : วี-เซิรฟ โลจิสติกส.<br />

ประคอง กรรณสูตร. (2538). สถิติเพื่อการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ<br />

มหาวิทยาลัย.


พงษชัย อธิคมรัตนกุล. (2548). สถานภาพและศักยภาพของอุตสาหกรรมโลจิสติกสในประเทศไทย.<br />

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี. (Online). Available: http://library.dip.go.th/<br />

multim4/eb/ EB%201%20%E0%B8%A548%E0%B8%8110.pdf.<br />

เพ็ญแข ศิริวรรณ. (2546). สถิติเพื่อการวิจัยโดยใชคอมพิวเตอร (พิมพครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: คณะ<br />

วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.<br />

เพิ่มผลผลิตแหงชาติ, สถาบัน (2545). Benchmarking ทางลัดสูความเปนเลิศทางธุรกิจ. กรุงเทพฯ :<br />

กระทรวงอุตสาหกรรม.<br />

ลอจิสติกสและการขนสง (ประเทศไทย), มูลนิธิ และกระทรวงการตางประเทศ. (2550). รายงาน<br />

ผลการวิจัยโครงการพัฒนามาตรฐานโลจิสติกสไทย. (Online). Available : http://www.<br />

uswatch.in.th/filemanage/news/ files/1075.pdf.<br />

หนังสือพิมพประชาชาติธุรกิจ. (2550, กรกฎาคม 12). ประเมินโลจิสติกสรายบริษัท. 31(3913).<br />

(Online). Available: http://www.matichon.co.th/prachachat/ prachachat _detail.phps_<br />

tag=02lsc03120750&day=2007/07/12.<br />

อนุรักษ โชติดิลก. (2549). สถิติเพื่อการวิจัย:มุงสูการปฏิบัติ. กรุงเทพฯ : วิรัตน เอ็ดดูเคชั่น.<br />

อมรรัตน แมกไมรักษา. (2549). เทคนิคการชักตัวอยาง. สงขลา : คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี.<br />

มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา.<br />

A.Gunasekaran and E.W.T. Ngai. (2004). <strong>3PL</strong>; Experiences from China resources logistics-<br />

Hongkong. Int.J.Logistics Systems and Management, Vol.1, No.1.<br />

Aidas Vasilis Vasiliauskas and Grazvydas Jakubauskas. (2007). Principle and Benefits of Third<br />

Party Logistics Approach when managing logistics supply chain. Transport<br />

Research Institue, Vilnius Gediminas Technology University. Lithuania.<br />

ALPHA Research Consortium. (2004). Characteristics Strategies and Trends for <strong>3PL</strong>/<strong>4PL</strong> in<br />

Australia. (Online). Available:http://www.laa.asn.au/__data/page/419/<strong>3PL</strong><strong>4PL</strong><br />

Report.PDF.<br />

Delfmann W., Albers S. & Gehring M. (2002). The Impact of Electronic Commerce on<br />

Logistics Service Providers. International Journal of Physical Distribution and<br />

Logistics Management, Vol. 32, No. 3, pp. 203-222.<br />

96


He Zhang, Xiu Li, Wenhuang Liu, Bing Li and Zhihong Zhang. (2004). An application of the<br />

AHP in <strong>3PL</strong> Vendors selection of a <strong>4PL</strong> system.2004 IEEE International Coference<br />

on System,Man and Cybernetics. (Online). Available: http://ieeexplore.ieee.org/iel5<br />

/9622/30422 /01399797.pdfarnumber=1399797.<br />

Johan Kittel. (2003). <strong>4PL</strong>,Just a new name for <strong>3PL</strong>. Department of Industrial Management and<br />

Logistics, Lund Institute of Technology.<br />

Kee-Hung Lai, E.W.T.Ngai, & T.C.E. Cheng. (2004). An Empirical Study of Supply Chain<br />

Performance in Transport Logistics. International Journal of Production Economics,<br />

Vol.87, pp. 321–331.<br />

Lau, H.C.Lau and Lo Yuk Ting,G. (2001). A Multi-agent framework for supporting web-based<br />

intelligent fourth party logistics, School of Computing, National University of<br />

Singapore.(Online). Available: http://www.comp.nus.edu.sg/~lauhc/Logistics2001.pdf.<br />

Manatayev, Yerlan Yergalievich. (2004). Commoditization of the third party logistics industry.<br />

(Online). Available: http://hdl.handle.net/1721.1/28508.<br />

Madhu Ranjan and Richard Tonui. (2004). Third party logistics : an analysis of the feasibility<br />

and contexts of strategic relationships. Master of engineering in logistics,<br />

Massachusetts Institute of Technology.<br />

Michelle L.F. Cheong. (2003). Logistics Outsourcing and <strong>3PL</strong> Challenges. Innovations in<br />

Manufacturing System and Technology, Nanyang Technology University, Singapore.<br />

Niklas Braese. (2005). The Dynamics of Supply Chains in the Automotive Industry. Master of<br />

Engineering in Logistics, Massachusetts Institute of Technology.<br />

Pierre Linford. (2003). The Influence of Supply Chain Collaboration on Customer Value.<br />

Master of commerce in logistics management, Rand Afrikaans University.<br />

Providers, International Journal of Physical Distribution & Logistics Management, Vol.32,<br />

pp.203-222.<br />

Romala Ravi. (2001). Key Trends in the Logistics Outsourcing Marketplace, IDE,pp.1-13.<br />

Remko I. van Hoek. (2000). UPS Logistics and to move towards <strong>4PL</strong>-or not . Cranfield School<br />

of Management. UK. (Online). Available: http://www.cscmp.org/ Downloads/Public/<br />

Education/04LECREMKO.pdf.<br />

97


98<br />

Robert Lieb and Brooks A. Bentz. (2005). The Use of Third Party Logistics Services by Large<br />

American Manufacturers. The 2004 Survey, Northeastern University.<br />

Serafettin Kutlu.(2007). Fourth Party Logistics: The Future of Supply Chain Outsourcing.<br />

United Kingdom: Best Global Publishing.<br />

Sink, HL. Langley, CJ. and Gibson, BJ. (1996). Buyer Observations of the US Third-Party<br />

Logistics Market, International Journal of Physical Distribution & Logistics<br />

Management,Vol.26, No.3, pp. 38-46.<br />

Stock, James R. and Lambert, Douglas M. (2001). Strategic Logistics Management. (4 th ed). :<br />

McGraw-Hill.<br />

The State of Logistics Outsourcing. (2007). 2007 Third-Party Logistics. (Online). Available:<br />

www.3plstudy.com.<br />

Thomas Craig. (2003). Outsourcing Supply Chain Management—<strong>3PL</strong> Versus <strong>4PL</strong>. LTD<br />

Management. (Online). Available: http://hosteddocs.ittoolbox.com/<br />

TC011604.pdf.<br />

TTIS Co., Ltd. (2006). Logistics Transportation&Distribution 2006 directory, Bangkok :<br />

Phongwarin Printing.<br />

Warren H. Hausman; Hau L. Lee; & Uma Subramanian. (2005). Global Logistics Indicators,<br />

Supply Chain Metrics, and Bilateral Trade Patterns , Fifth Draft - October 10, 2005.<br />

Yamane, Taro.(1973). An Introductory Analysis. (3 th ed). Tokyo : Harper International<br />

Education.


ภาคผนวก<br />

แบบสอบถามเพื่อการวิจัย


แบบสอบถาม<br />

เรื่อง : ปจจัยที่มีอิทธิพลตอการพัฒนาการจัดการดานโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong> ของบริษัทผูให<br />

บริการดานโลจิสติกส ในเขตกรุงเทพมหานคร แบบสอบถาม ชุดนี้ จะประกอบดวย 3 สวน<br />

หลัก ๆ ดังนี้<br />

สวนที่ 1 ปจจัยขอมูลพื้นฐานทั่วไป<br />

สวนที่ 2 การสํารวจเกี่ยวกับปจจัยของการเปลี่ยนแปลงของ <strong>3PL</strong><br />

สวนที่ 3 การสํารวจเกี่ยวกับการพัฒนาการจัดการโลจิสติกสแบบ <strong>4PL</strong><br />

สวนที่ 1 ปจจัยขอมูลพื้นฐานทั่วไป<br />

กรุณาเขียนเครื่องหมาย X หรือ √ ในชองสี่เหลี่ยม<br />

1 ลักษณะธุรกิจของบริษัททาน<br />

เจาของคนเดียว<br />

บริษัทรวมลงทุนกับตางชาติ<br />

2 ประเภทของธุรกิจ<br />

บริษัทมหาชน จํากัด<br />

เพียงชองเดียวเทานั้น<br />

การขนสงสินคา (Freight Transportation and Forwarding)<br />

การจัดเก็บ ดูแลและบริหารคลังสินคาและการติดสลากหรือบรรจุภัณฑ<br />

การใหบริการพิธีการตางๆ ที่เกี่ยวกับงานโลจิสติกส<br />

การใหบริการงานดานเทคโนโลยีสารสนเทศและงานที่ปรึกษาดานโลจิสติกส<br />

3 ทุนจดทะเบียน<br />

10 ลานบาท หรือ ต่ํากวา มากกวา 10 – 50 ลานบาท<br />

มากกวา 50 – 100 ลานบาท<br />

4 จํานวนพนักงานในบริษัท<br />

มากกวา 100 ลานบาท<br />

1-50 คน 51-100 คน<br />

101-500 คน 501-1,000 คน<br />

มากกวา 1,000


สวนที่ 2 การสํารวจเกี่ยวกับปจจัยการเปลี่ยนแปลงของ <strong>3PL</strong><br />

คําชี้แจง : โปรดทําเครื่องหมาย / ลงในชองทางขวามือของแบบสอบถามแตละขอเพียงขอเดียว<br />

ตาม ที่ทานตองการจะใหระดับความสําคัญ<br />

5 หมายถึง มากที่สุด , 4 หมายถึง มาก , 3 หมายถึง ปานกลาง ,<br />

2 หมายถึง นอย , 1 หมายถึง นอยที่สุด<br />

ปจจัยการเปลี่ยนแปลงของ <strong>3PL</strong><br />

ปจจัยดานการลดตนทุน<br />

1. การลดตนทุนในการจัดการ<br />

2. การกระจายความเสี่ยงดานการลงทุน<br />

3. ความไดเปรียบทางดานภาษี<br />

4. ความผันผวนของราคาทรัพยากร<br />

5. การใชสินทรัพยอยางเต็มประสิทธิภาพ<br />

ปจจัยดานการเพิ่มมูลคาในการใหบริการ<br />

1. มาตรฐานการใหบริการโดยเพิ่มความชํานาญทาง<br />

เทคโนโลยี<br />

2. การพัฒนาสินคาและบริการความตองการของลูกคา<br />

3. การบริการหลังการขาย<br />

4. การสรางภาพพจนที่ดีในสายตาลูกคา<br />

5. การสรางความประทับใจในการใหบริการ<br />

ระดับความสําคัญ<br />

5 4 3 2 1


ปจจัยการเปลี่ยนแปลงของ <strong>3PL</strong><br />

ปจจัยดานการขจัดปญหาตางๆ ของ <strong>3PL</strong><br />

1. ขอจํากัดดานความสามารถของ <strong>3PL</strong><br />

2. การติดตอสื่อสารแตละ<strong>3PL</strong><br />

3. ความยืดหยุนในการใหบริการของ <strong>3PL</strong><br />

4. ขอจํากัดดานการลงทุนเพิ่มของ <strong>3PL</strong><br />

5. การใชสินทรัพยอยางเต็มประสิทธิภาพ<br />

ปจจัยดานประสิทธิภาพของการสื่อสารขอมูล<br />

1. การเขาถึงขอมูลขาวสารของลูกคา<br />

2. การใชระบบฐานขอมูลเดียวกันของ <strong>3PL</strong><br />

3. สามารถประมวลผลใหผลลัพธไดหลายรูปแบบ<br />

4. ความเร็วของการเปลี่ยนแปลงขอมูล (Updating Data)<br />

5. ความมีเสถียรภาพของระบบสื่อสารขอมูล<br />

ปจจัยดานการจัดการและการประสานความรวมมือ<br />

1. การมีนโยบายมุงการประสานความรวมมือ<br />

2. การวางแผนงานที่ดี<br />

3. การปฏิบัติตามกฏระเบียบอยางเครงครัด<br />

4. ความโปรงใสของการจัดการ<br />

5. มีหนวยงานกลางในการประสานงานอยางมีระบบ<br />

ปจจัยดานลีนและความคลองตัว<br />

1. การลดความสูญเสียตลอดทั้งกระบวนการ<br />

2. ความสามารถคาดการณอุปสงค เพื่อการวางแผน<br />

3. ความสามารถในการตอบสนองความตองการของ<br />

ตลาด<br />

ระดับความสําคัญ<br />

5 4 3 2 1


สวนที่ 3 การสํารวจเกี่ยวกับการพัฒนาการจัดการโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong> สู <strong>4PL</strong><br />

คําชี้แจง : โปรดทําเครื่องหมาย / ลงในชองทางขวามือของแบบสอบถามแตละขอเพียงขอเดียว<br />

ตาม ที่ทานตองการจะใหระดับความสําคัญ<br />

5 หมายถึง มากที่สุด , 4 หมายถึง มาก , 3 หมายถึง ปานกลาง ,<br />

2 หมายถึง นอย , 1 หมายถึง นอยที่สุด<br />

การพัฒนาการจัดการโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong>สู <strong>4PL</strong><br />

ดานคุณภาพ<br />

1. ความเหมาะสมในการใชประโยชน<br />

2. ความปลอดภัยตอสินคาจากการดําเนินกิจกรรม<br />

3. มาตรฐานในการดําเนินกิจกรรม ผานการรับรองจาก<br />

ระบบ ISO<br />

4. กระบวนการเชื่อมโยงอยางตอเนื่อง มีความผันผวน<br />

นอย<br />

5. การมีตัวชี้วัดการดําเนินกิจกรรม<br />

ดานตนทุน<br />

1. ความเหมาะสมของราคาในการดําเนินกิจกรรม<br />

2. การจัดการในการดําเนินกิจกรรมเพื่อลดตนทุน<br />

3. การมีสินคาคงคลัง<br />

4. การเลือกใชวัสดุ และอุปกรณ<br />

5. การมีสวนรวมของลูกคาในการลดตนทุน<br />

ดานการบริการ<br />

1. ความรูและความชํานาญของบริษัทผูใหบริการ<br />

2. ความยืดหยุนในการใหบริการ<br />

3. ความพรอมและความสามารถในการใหบริการ<br />

4. ความสะดวกสบายของลูกคาที่มารับบริการ<br />

5. เทคโนโลยีที่ทันสมัยในการใหบริการ<br />

ระดับความสําคัญ<br />

5 4 3 2 1


การพัฒนาการจัดการโลจิสติกสแบบ <strong>3PL</strong>สู <strong>4PL</strong><br />

ดานเวลานํา<br />

1. การตรงตอเวลาในการใหบริการ<br />

2. การพัฒนาการใหบริการอยางรวดเร็วและ<br />

ประหยัดเวลา<br />

3. ความรวดเร็วในการจัดการโดยรวม<br />

4. การมีสินคาคงคลังหรืออุปกรณสํารอง<br />

การพัฒนาเครือขายทั้งแนวตั้งและแนวนอน<br />

1. ทักษะในการจัดการเครือขาย<br />

2. การสรางความสัมพันธอันดีในการประสานงาน<br />

3. การสรางคุณคาดวยการทํางานรวมกับบริษัทคูคา<br />

4. การกระจายการตั้งเปาหมายเพื่อความสําเร็จในแตละ<br />

สวนงาน<br />

ระดับความสําคัญ<br />

5 4 3 2 1<br />

ขอขอบคุณอยางสูง ที่ทานไดสละเวลาอันมีคาเพื่อตอบแบบสอบถาม


ภาคผนวก<br />

การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ


คุณภาพของเครื่องที่ใชในการวิจัย<br />

คาดัชนีความสอดคลอง (Index of Congruence: IOC)<br />

ปจจัยของการเปลี่ยนแปลงของ <strong>3PL</strong> ผูเชี่ยวชาญ 1 ผูเชี่ยวชาญ 2 ผูเชี่ยวชาญ 3 IOC<br />

ปจจัยดานการลดตนทุน<br />

1. การลดตนทุนในการจัดการ 1 1 1<br />

2. การกระจายความเสี่ยงดานการลงทุน 1 1 1<br />

3. ความไดเปรียบทางดานภาษี 1 1 1<br />

4. ความผันผวนของราคาทรัพยากร 1 1 1<br />

5. การใชสินทรัพยอยางเต็มประสิทธิภาพ 1 1 1<br />

ปจจัยดานการเพิ่มมูลคาในการใหบริการ<br />

1. มาตรฐานการใหบริการโดยเพิ่มความชํานาญทางเทคโนโลยี 1 0 1 0.67<br />

2. การพัฒนาสินคาและบริการความตองการของลูกคา 1 1 1<br />

3. การบริการหลังการขาย 1 1 1<br />

4. การสรางภาพพจนที่ดีในสายตาลูกคา 1 0 1 0.67<br />

5. การสรางความประทับใจในการใหบริการ 1 1 1 1<br />

ปจจัยดานการขจัดปญหาตางๆ ของ <strong>3PL</strong><br />

1. ขอจํากัดดานความสามารถของ <strong>3PL</strong> 1 1 1 1<br />

2. การติดตอสื่อสารแตละ<strong>3PL</strong> 1 1 1 1<br />

3. ความยืดหยุนในการใหบริการของ <strong>3PL</strong> 1 1 1 1<br />

4. ขอจํากัดดานการลงทุนเพิ่มของ <strong>3PL</strong> 1 1 1 1<br />

ปจจัยดานประสิทธิภาพของการสื่อสารขอมูล<br />

1. การเขาถึงขอมูลขาวสารของลูกคา 1 1 1 1<br />

2. การใชระบบฐานขอมูลเดียวกันของ <strong>3PL</strong> 1 1 1 1<br />

3. สามารถประมวลผลใหผลลัพธไดหลายรูปแบบ 1 1 1 1<br />

4. ความเร็วของการเปลี่ยนแปลงขอมูล (Updating Data) 1 1 1 1<br />

5. ความมีเสถียรภาพของระบบสื่อสารขอมูล 1 1 1<br />

ปจจัยดานการจัดการและการประสานความรวมมือ<br />

1. การมีนโยบายมุงการประสานความรวมมือ 1 1 1<br />

2. การวางแผนงานที่ดี 1 1 1<br />

3. การปฏิบัติตามกฏระเบียบอยางเครงครัด 1 1 1<br />

4. ความโปรงใสของการจัดการ 1 1 1<br />

5. มีหนวยงานกลางในการประสานงานอยางมีระบบ 1 1 1<br />

ปจจัยดานลีนและความคลองตัว<br />

1. การลดความสูญเสียตลอดทั้งกระบวนการ 1 1 1<br />

2. ความสามารถคาดการณอุปสงค เพื่อการวางแผน 1 1 1<br />

3. ความสามารถในการตอบสนองความตองการของตลาด 1 1 1<br />

1<br />

1<br />

1<br />

1<br />

1<br />

1<br />

1<br />

1<br />

1<br />

1<br />

1<br />

1<br />

1<br />

1<br />

1<br />

1


การพัฒนาการจัดการโลจิสติกสแบบ <strong>4PL</strong> ผูเชี่ยวชาญ 1 ผูเชี่ยวชาญ 2 ผูเชี่ยวชาญ 3 IOC<br />

ดานคุณภาพ<br />

1. ตรงตามความตองการของลูกคา 1 1 1 1<br />

2. ความเหมาะสมในการใชประโยชน 1 0 1 0.67<br />

3. ความปลอดภัยตอสินคาจากการดําเนินกิจกรรม 1 1 1<br />

4. มาตรฐานในการดําเนินกิจกรรม ผานการรับรองจากระบบ ISO 1 1 1<br />

5. กระบวนการเชื่อมโยงอยางตอเนื่อง มีความผันผวนนอย 1 1 1<br />

6. การมีตัวชี ้วัดการดําเนินกิจกรรม 1 1 1<br />

ดานตนทุน<br />

1. ความเหมาะสมของราคาในการดําเนินกิจกรรม 1 1 1<br />

1<br />

2. การรับประกันสินคา 1 0 1 0.67<br />

3. การจัดการในการดําเนินกิจกรรมเพื่อลดตนทุน 1 1 1<br />

4. การมีสินคาคงคลัง 1 1 1<br />

5. การเลือกใชวัสดุ และอุปกรณ 1 1 1<br />

6. การมีสวนรวมของลูกคาในการลดตนทุน 1 1 1<br />

ดานการบริการ<br />

1. ความรูและความชํานาญของบริษัทผูใหบริการ 1 1 1<br />

2. ความยืดหยุนในการใหบริการ 1 1 1<br />

3. ความพรอมและความสามารถในการใหบริการ 1 1 1<br />

4. ความสะดวกสบายของลูกคาที่มารับบริการ 1 1 1<br />

5. เทคโนโลยีที่ทันสมัยในการใหบริการ 1 1 1<br />

6. ความเชื่อถือและไววางใจไดในการบริการตอความตองการของลูกคา 1 0 1 0.67<br />

ดานเวลานํา<br />

1. จากการรับคําสั่งซื ้อ ถึงการสงมอบ 1 0 1 0.67<br />

2. การตรงตอเวลาในการใหบริการ 1 1 1 1<br />

3. การพัฒนาการใหบริการอยางรวดเร็วและประหยัดเวลา 1 1 1 1<br />

4. ความรวดเร็วในการจัดการโดยรวม 1 1 1 1<br />

5. การมีสินคาคงคลังหรืออุปกรณสํารอง 1 1 1 1<br />

การพัฒนาเครือขายทั้งแนวตั้งและแนวนอน<br />

1. ทักษะในการจัดการเครือขาย 1 1 1 1<br />

2. การสรางความสัมพันธอันดีในการประสานงาน 1 1 1 1<br />

3. การสรางคุณคาดวยการทํางานรวมกับบริษัทคูคา 1 1 1 1<br />

4. การกระจายการตั้งเปาหมายเพื่อความสําเร็จในแตละสวนงาน 1 1 1 1<br />

1<br />

1<br />

1<br />

1<br />

1<br />

1<br />

1<br />

1<br />

1<br />

1<br />

1<br />

1<br />

1


คาความเชื่อถือไดของเครื่องมือวัด


Item-Total Statistics<br />

X11<br />

X12<br />

X13<br />

X14<br />

X15<br />

X21<br />

X22<br />

X23<br />

X24<br />

X25<br />

X31<br />

X32<br />

X33<br />

X34<br />

X35<br />

X41<br />

X42<br />

X43<br />

X44<br />

X45<br />

X51<br />

X52<br />

X53<br />

X54<br />

X55<br />

X61<br />

X62<br />

X63<br />

Y11<br />

Y12<br />

Y13<br />

Y14<br />

Y15<br />

Y16<br />

Y21<br />

Y22<br />

Y23<br />

Y24<br />

Y25<br />

Y26<br />

Y31<br />

Y32<br />

Y33<br />

Y34<br />

Y35<br />

Y36<br />

Y41<br />

Y42<br />

Y43<br />

Y44<br />

Y45<br />

Y51<br />

Y52<br />

Y53<br />

Y54<br />

Scale Mean if<br />

Scale<br />

Variance if<br />

Corrected<br />

Item-Total<br />

Cronbach's<br />

Alpha if Item<br />

Item Deleted Item Deleted Correlation<br />

Deleted<br />

219.8750 888.306 .727 .977<br />

219.8125 891.060 .710 .977<br />

220.2188 901.273 .366 .978<br />

220.1250 894.242 .535 .977<br />

219.6563 895.201 .620 .977<br />

219.7813 882.112 .768 .977<br />

219.6563 884.362 .681 .977<br />

219.7500 893.613 .618 .977<br />

219.5938 893.862 .564 .977<br />

219.2813 897.305 .606 .977<br />

219.9063 890.410 .748 .977<br />

219.8438 893.749 .666 .977<br />

219.9375 888.835 .646 .977<br />

220.0625 891.609 .605 .977<br />

219.8125 888.738 .682 .977<br />

219.7500 888.839 .652 .977<br />

220.2188 882.886 .744 .977<br />

220.2188 875.531 .933 .976<br />

219.9688 868.612 .790 .977<br />

219.8750 871.855 .817 .977<br />

219.8750 877.081 .728 .977<br />

219.6563 882.233 .722 .977<br />

219.9063 882.475 .696 .977<br />

219.8438 880.910 .755 .977<br />

219.8438 892.265 .659 .977<br />

219.8750 879.274 .770 .977<br />

220.0313 886.676 .806 .977<br />

219.8438 879.814 .745 .977<br />

219.5313 886.902 .776 .977<br />

219.8750 885.210 .797 .977<br />

219.5938 888.055 .723 .977<br />

219.6563 900.684 .489 .977<br />

220.0938 882.926 .614 .977<br />

220.0625 889.480 .684 .977<br />

219.7813 884.564 .719 .977<br />

219.3750 893.661 .608 .977<br />

219.9063 879.378 .657 .977<br />

220.2500 909.161 .201 .978<br />

220.0938 895.055 .526 .977<br />

220.1250 890.048 .546 .977<br />

219.7188 889.564 .738 .977<br />

219.8438 882.523 .724 .977<br />

219.5938 886.249 .763 .977<br />

219.5938 890.636 .707 .977<br />

219.6563 895.910 .648 .977<br />

219.2813 898.144 .635 .977<br />

219.6250 893.016 .622 .977<br />

219.3438 893.781 .605 .977<br />

219.4063 894.701 .722 .977<br />

219.6250 891.145 .628 .977<br />

220.1875 892.028 .628 .977<br />

219.8125 888.738 .720 .977<br />

219.6563 888.943 .724 .977<br />

219.7500 898.645 .537 .977<br />

219.5938 906.701 .315 .978


ประวัติผูวิจัย<br />

ชื่อ-ชื่อสกุล นายไพบูลย รัตวัตร<br />

วันเดือนปเกิด 3 พฤศจิกายน 2507<br />

สถานที่เกิด อําเภอโกสุมพิสัย จังหวัดมหาสารคาม<br />

ที่อยู เลขที่ 12 หมูบานวัฒนานนท ถนนสรงประภา แขวงสีกัน เขตดอนเมือง<br />

กรุงเทพมหานคร 10210 โทรศัพท 0-2929-8110<br />

สถานที่ทํางาน บริษัท เอ็น เอกซ พี แมนูแฟคเจอรริ่ง (ประเทศไทย) จํากัด<br />

303 หมู 3 ถนนแจงวัฒนะ แขวงหลักสี่ เขตดอนเมือง<br />

กรุงเทพมหานคร 10210<br />

ตําแหนงหนาที่การงาน ผูจัดการแผนก ระบบคุณภาพการทดสอบ<br />

ประวัติการศึกษา<br />

พ.ศ.2524 มัธยมศึกษาปที่สาม โรงเรียนชุมแพศึกษา จังหวัดขอนแกน<br />

พ.ศ.2529 ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง วิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา<br />

วิทยาเขตเทคนิคขอนแกน<br />

พ.ศ.2539 อุตสาหกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีไฟฟาอุตสาหกรรม<br />

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ<br />

กรุงเทพมหานคร<br />

พ.ศ.2551 บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจ<br />

มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร กรุงเทพมหานคร

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!