22.11.2014 Views

โดยสเตรปโตโซโตซิน - มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

โดยสเตรปโตโซโตซิน - มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

โดยสเตรปโตโซโตซิน - มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

โดยความผิดปกติภายในเซลล (Post-receptor defect) เปนสาเหตุสําคัญ ในขณะที่ความผิดปกติของ<br />

รีเซพเตอรของอินสุลินมีบทบาทนอยมาก ซึ่งปจจัยที่เกี่ยวของกับการเกิดภาวะดื้อตออินสุลินใน<br />

ผูปวยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ไดแก พันธุกรรม ปริมาณและตําแหนงของไขมันในรางกาย อายุ<br />

การขาดการออกกําลังกาย และสภาพแวดลอมในครรภมารดา Phillips, et al (1998 : 150-155, อาง<br />

ถึงใน กมลวรรณ ศรีปลั่ง. 2546 : 6)<br />

5.2.2 ความผิดปกติในการหลั่งอินสุลิน เชื่อวาพันธุกรรมมีสวนกําหนดปริมาณ<br />

และการทํางานของ β-cell เปนตัวกําหนดใหเกิด Apoptosis มากขึ้น (Federic. 2001 : 1290-301)<br />

ซึ่งความผิดปกติของยีนสที่เกี่ยวของกับการหลั่งอินสุลิน เชน Glucokinase หรืออาจเกิดจากการ<br />

หลั่งอินสุลินที่ลดลงในภาวะดื้อตออินสุลินทําใหระดับน้ําตาลในเลือดสูง การตอบสนองของ β-<br />

cell ตอกลูโคสจะลดลง คือ มีผลตอการหลั่งอินสุลินและการทํางานของอินสุลิน โดยพบวาการ<br />

นํากลูโคสเขาเซลลลดลงในภาวะดังกลาว เรียกภาวะนี้วา Glucotoxicity ความอวนอาจเปนอีก<br />

สาเหตุหนึ่ง ซึ่งรางกายมีการสลาย Triglyceride ที่สะสมไวใน Adipocyte เปน Fatty acid ใน<br />

กระแสเลือดสูงขึ้น โดยสามารถถูกเปลี่ยนเปน Triglyceride ภายใน β-cell ได สงผลใหการ<br />

ทํางานของ β-cell ลดลง เกิดภาวะ Lipotoxicity Kahn,& Flier (2000 : 1303-1306, อางถึงใน<br />

กมลวรรณ ศรีปลั่ง. 2546 : 6)<br />

6. การติดตามผลการควบคุมระดับน้ําตาล<br />

การติดตามผลการควบคุมระดับน้ําตาลหลังการรักษา ทําใหสามารถประเมินได<br />

ชัดเจนวาการรักษามีประสิทธิภาพและประสบผลสําเร็จมากนอยเพียงใดเนื่องจากการเปลี่ยนแปลง<br />

ระดับน้ําตาลในเลือดในแตละวัน เวลา ขึ้นกับอาหาร และกิจกรรมออกแรง การติดตามผลเทานั้น<br />

ที่จะแสดงถึงการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นได โดยเฉพาะอยางยิ่งในรายที่ใหการรักษาแบบเขมงวด<br />

เพื่อใหระดับน้ําตาลอยูในเกณฑที่ปกติมากที่สุด จําเปนตองติดตามผลการควบคุมระดับน้ําตาล<br />

อยางใกลชิด การติดตามผลการควบคุมระดับน้ําตาลทําไดหลายรูปแบบไดแก การวัดระดับน้ําตาล<br />

ในเลือดโดยตรง การวัดปริมาณน้ําตาลที่ทนออกมาในปสสาวะซึ่งแตละวิธีมีขอดีและขอจํากัด<br />

ตางกัน เปนการประเมินน้ําตาลในเลือด ณ เวลาที่ตองการ เพื่อใหทราบชัดเจนวาในขณะนั้นระดับ<br />

น้ําตาลในเลือดเปนเทาใด ซึ่งจะใชเปนขอมูลกําหนดหรือตัดสินการรักษา ณ เวลานั้นๆ การวัด<br />

ระดับน้ําตาลในเลือดอาจทําโดยหองปฏิบัติการ หรือใชเครื่องวัดระดับน้ําตาลขนาดเล็กที่สามารถ<br />

พกพาไปในที่ตางๆไดงาย การวัดระดับน้ําตาลในเลือดโดยหองปฏิบัติการ ถือเปนวิธีมาตรฐานที่<br />

ใชในสถานพยาบาลทั่วไปโดยใชเลือดที่เจาะจากเลือดดํา Snacks, et al (2002 : 436-472, อางถึงใน<br />

อภิชาติ วิชญาณรัตน. 2546 : 155) นิยมวัดในพลาสมาที่ใชโซเดียมฟลูออไรดเปนสารกันเลือด<br />

แข็งตัว ในบางครั้งอาจวัดเปนระดับน้ําตาลในเลือด (Whole blood) กรณีที่ไมไดใสสารโซเดียม

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!