22.11.2014 Views

โดยสเตรปโตโซโตซิน - มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

โดยสเตรปโตโซโตซิน - มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

โดยสเตรปโตโซโตซิน - มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

ลําไสโดยที่ตับและไตมากที่สุด แตไมเขาสูสมอง Karunanayake, et al (1974 : 673-683, อางถึงใน<br />

กมลวรรณ ศรีปลั่ง. 2546 : 10)<br />

3. กลไกการออกฤทธิ์ของสเตรปโตโซโตซิน<br />

กลุม Methylnitrosourea ในสเตรปโตโซโตซินนั้นเปนกลุมที่ออกฤทธิ์โดยที่จะไปจับที่<br />

Glucose transporter (GLUT2) และผานเขาไปใน β-cell เกิดการเติมหมู Alkyl ที่สาย DNA<br />

สงผลใหสาย DNA เสียหาย นอกจากนี้สเตรปโตโซโตซินยังทําใหเกิด Nitric oxide (NO) ซึ่งก็มี<br />

ผลในการทําลายที่ β-cell ได Szkudelski (2001 : 536-546, อางถึงใน กมลวรรณ ศรีปลั่ง. 2546 :<br />

10) อยางไรก็ตามมีหลายการทดลองแสดงใหเห็นวาไมเพียงแค NO เทานั้นที่ทําใหสาย DNA ถูก<br />

ทําลายยังมี Superoxide radical (O • .2) ที่เกิดจากสเตรปโตโซโตซินไปยับยั้งการเกิด Kerbs cycle<br />

ลดการใชออกซิเจนที่ไมโตคอนเดรีย สงผลกระตุนการทํางานของ Xanthine oxidase (XOD) เกิด<br />

Superoxide radical (O 2• ), Hydrogen peroxide (H 2 O 2 ) และ Hydroxyl radical (OH • ) ตามมาโดย<br />

NO และ Superoxide radical (O • .2) สามารถทั้งออกฤทธิ์แยกกันและรวมกันเปน Peroxynitrite<br />

(ONOO • ) ซึ่งออกฤทธทําใหสาย DNA เสียหายไดเชนกัน เมื่อสาย DNA ไดรับความเสียหายจะ<br />

กระตุนให poly(ADP-ribose) Synthetase ทํางานโดยมี NAD เปนสารตั้งตนในการซอมแซมสาย<br />

DNA (DNA repair) จึงทําให NAD ภายใน β-cell ลดลง Uchigata, et al (1982 : 6084-6088,<br />

อางถึงใน กมลวรรณ ศรีปลั่ง. 2546 : 10) มีการทดลองยืนยันวาการทดลองของ NAD เปนสาเหตุ<br />

มาจากสเตรปโตโซโตซิน โดยให Nicotinamide และ Picolinamide ซึ่งเปนตัวยับยั้ง Poly (ADPribose)<br />

synthetase สามารถที่จะปองกันการทําลายของ STZ ตอสาย DNA ใน In vivo และ<br />

ปองกันการลดลงของ NAD ใน In vitro การลดลงของ NAD เปนสาเหตุใหเกิดการตายของ<br />

เนื้อเยื่อที่ β-cell การทํางานของ β-cell ผิดปกติมีการสังเคราะห Proinsulin ลดลง จึงทําให<br />

β-cell หลั่งอินสุลินนอยลงเกิดโรคเบาหวานได<br />

4. ปจจัยที่มีอิทธิพลตอการเหนี่ยวนําใหเกิดโรคเบาหวานโดยสเตรปโตโซโตซิน<br />

4.1 อาหาร เมื่อหนูไดรับอาหารที่มีโปรตีนสูงและคารโบไฮเดรตต่ํา (โปรตีน 63%,<br />

คารโบไฮเดรต 6%) กอนการฉีดสเตรปโตโซโตซิน จะทําใหโอกาสการเกิดโรคเบาหวานลดลง<br />

Schmidt, et al (1980 : 161-168, อางถึงใน กมลวรรณ ศรีปลั่ง. 2546 :11)<br />

4.2 ขนาดของสเตรปโตโซโตซินและชนิดของสัตวทดลอง ความรุนแรงของการเกิด<br />

โรคเบาหวานจะขึ้นอยูกับขนาดที่มากขึ้น ขนาดของสเตรปโตโซโตซินที่ใชจะอยูระหวาง 25-200<br />

มิลลิกรัม/กิโลกรัม ตามแตชนิดของสัตวทดลอง โดยขนาดของสเตรปโตโซโตซินที่ใหหนูขาว<br />

ประมาณ 50-65 มิลลิกรัม/กิโลกรัม Karunanayake, et al (1974 : 673-683, อางถึงใน กมลวรรณ<br />

ศรีปลั่ง. 2546 :11)

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!